ฝ่าวิกฤตเศรษฐกิจกับการลงทุนภาครัฐ

Page 1

ฝาวิกฤตเศรษฐกิจกับการลงทุน ภาครัฐ 0


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

เรื่อง ฝ่ าวิ กฤตเศรษฐกิ จกับการลงทุนภาครัฐ

1

วันที่ 31 ตุลาคม 2555

0

บทสรุปผูบริหาร การลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects มีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการพัฒนา ประเทศ โดยเปนการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ Mega Projects เปนโครงการแผนงานที่สวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ลงทุนโดยมีวงเงินลงทุนตั้งแต 1,000 ลานบาทขึ้นไป ซึ่งปจจุบันครอบคลุมใน 8 สาขา คือ การขนสง มวลชนขนาดใหญ (Mass Transit) คมนาคม ทรัพยากรน้ํา การศึกษา สาธารณะสุข ที่อยูอาศัย พลังงาน และโทรคมนาคม ผลจากการลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐ พบวา สงผลดีตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ทั้งภาคการลงทุน และการบริโภค รวมถึงทางดานเสถียรภาพทั้งภายในและภายนอกประเทศ การจาง งาน ระดับราคาสินคา และดุลบัญชีเดินสะพัด อีกทั้ง ยังจะชวยทําใหคนทุกกลุมไดรับประโยชน เปน การกระจายรายได สรางโอกาสใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตและความเปนอยูทีดีขึ้น ดวยมูลคาและขนาดของโครงการที่มีขนาดใหญจําเปนตองใชงบประมาณที่สูง ทําใหภาครัฐตองเตรียม ความพรอมในการจัดหาแหลงเงินทุนที่เพียงพอสําหรับการดําเนินโครงการ และพิจารณาแนวทางการ ระดมทุน โดยควรมีการผสมผสานระหวางการใชเงินงบประมาณ เงินรายไดของรัฐวิสาหกิจ เงินกู และ การระดมทุนในวิธีอื่นๆ โดยการเพิ่มบทบาทใหหนวยงานเอกชนเขามามีสวนรวมกับภาครัฐ (PublicPrivate Partnership : PPP) นับเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ที่จะชวยทําใหภาครัฐลดขอจํากัดดาน งบประมาณการลงทุนในโครงการตางๆ นอกจากนี้ การประเมินผลของนโยบายตางๆ ของรัฐบาลจําเปนตองมีความเขาใจที่ถองแทถึงผลกระทบ

บทนํา

ในชวงกวา 3 ทศวรรษที่ผานมา เศรษฐกิจไทยสามารถมีอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจในระดับสูงอยาง ตอเนื่อง ทําใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตและความเปนอยูทีดีขึ้น โดยมีโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลง เปนอยางมาก อยางไรก็ตาม ปญหาเชิงสังคมที่สําคัญในปจจุบันคือ ปญหาความเลื่อมล้ําทางสังคมและการเขาถึง สวัสดิการสังคมของประชาชนที่ยังคงไมทั่วถึง อีกทั้งความผันผวนทางเศรษฐกิจในแตละครั้ง ไดสงผลกระทบตอ ประชาชน โดยเฉพาะกลุมผูมีรายไดนอยที่ยังไมสามารถเขาถึงสวัสดิการสังคม (Social Safety Net) ทั้งในดานสุขภาพ และดานการศึกษาเปนอยางมาก ดังนั้น การมีระบบสวัสดิการสังคมที่ครอบคลุมกลุมเปาหมายจึงกลายเปนสวนหนึ่ง 1

นางสาวคงขวัญ ศิลา เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร ส่วนการวิเคราะห์เศรษฐกิจมหาภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณ ดร.พิสทิ ธิ์ พัวพันธ์ และ

ดร.กุลยา ตันติเตมิท สําหรับข้อแนะนํา

1


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ของนโยบายที่สําคัญเพื่อรองรับผลกระทบทางสังคม และยังเปนการสรางความเปนธรรมในสังคม ทั้งนี้ รัฐบาลได พยายามวางแผนนโยบายดานสวัสดิการขั้นพื้นฐานที่สําคัญในหลายดาน หนึ่งในนั้นคือนโยบายการเพิ่มการลงทุนใน โครงการขนาดใหญของภาครัฐ (Mega projects) โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการ ลงทุนภาครัฐ (Public Investment) เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของประเทศในระยะยาว และยังจะชวยให การกระจายรายไดดีขึ้นและเพิ่มการสรางโอกาสใหกับประชาชน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหและประเมิน ถึงผลกระทบของการลงทุนในโครงการขนาดใหญของภาครัฐตอการขยายตัวของเศรษฐกิจและการกระจายรายได โดย ใชแบบจําลองคํานวณดุลยภาพทั่วไปแบบ Stochastic (Stochastic Computable General Equilibrium: CGE) เพื่อ เปนเครื่องมือในการวิเคราะหผลกระทบดานเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวของ

1. ความสําคัญและความจําเปนของการลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure)

การลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects เปนสวนหนึ่งของการลงทุนภาครัฐ (Public Investment) ที่มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจไทย ซึ่งจะกอใหเกิดการสะสมทุนในระบบเศรษฐกิจเพื่อรองรับ การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ อนาคต การลงทุ น ภาครั ฐ ประกอบด ว ย รั ฐ บาลกลาง องค ก รปกครอง ส ว นท อ งถิ่ น รัฐวิสาหกิจ กองทุนทุกประเภทที่ควบคุมและดําเนินงานโดยรัฐ และหนวยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ ในขณะที่การ ลงทุนภาคเอกชน เปนการลงทุนโดยภาคธุรกิจทั้งสวนที่จดทะเบียนและมิไดจดทะเบียน แบงเปนการลงทุนในสิ่งปลูก สร าง (Construction) และเครื่ องมื อเครื่ องจักร (Equipments) โดยหากพิจ ารณาสัดสว นการลงทุน ภาครัฐ ตอ ผลิตภัณฑมวลรวมรายประเทศ (GDP) ของไทย พบวาลดลงอยางตอเนื่องนับจากป 2540 ที่มีสัดสวนรอยละ 11.6 ของ GDP เปนรอยละ 5.1 ของ GDP ในปจจุบัน ภาพที่ 1 สัดสวนการลงทุนภาครัฐตอผลิตภัณฑมวลรวมรายประเทศ (GDP)

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ดานขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ จากขอมูลลาสุดของ World Economic Forum (WEF) ซึ่ง ไดเผยแพรรายงานขีดความสามารถในการแขงขันอันดับโลกป 2555 – 2556 พบวาขีดความสามารถในการแขงขันของ ประเทศไทยขยับขึ้นหนึ่งอันดับจากอันดับ 39 ในป 2554 มาเปนอันดับที่ 38 ในป 2555 จากทั้งหมด 144 ประเทศ คะแนนรวมอยูที่ 4.5 คะแนน ทั้งนี้ ประเทศสวิตเซอรแลนดมีขีดความสามารถในการแขงขันเปนอันดับที่ 1 ตามดวย 2


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

สิงคโปร และฟนแลนด โดยเมื่อจัดเรียงลําดับขั้นตอนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทยถูกจัดอยูในกลุมประเทศที่มี การพัฒนาเศรษฐกิจในขั้นที่ 2 คือเปนประเทศที่มีการใชประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน ซึ่งมีประเทศถูกจัดอยูในกลุมนี้ ทั้งหมด 39 ประเทศ โดย WEF ไดแบงขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศออกเปน 3 ระดับคือ ระดับที่ 1 เปนกลุม ประเทศที่ใชปจจัยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (Factor driven) มีประเทศที่อยูในกลุมนี้ทั้งหมด 38 ประเทศ รวม กัมพูชาและเวียดนาม ระดับที่ 2 เปนกลุมประเทศที่ใชประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (Efficiency driven) รวมไทยและอินโดนีเซีย และ ระดับที่ 3 ซึ่งเปนระดับสูงสุดโดยเปนประเทศที่ใชนวัตกรรมในการขับเคลื่อนทาง เศรษฐกิจ (Innovation driven) มีประเทศที่ถูกจัดใหอยูในกลุมนี้ 35 ประเทศ รวมประเทศสิงคโปร ภาพที่ 2 ขีดความสามารถการแขงขัน แบงขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ในป 2555 - 2556

ที่มา : World Economic Forum (WEF) ภาพที่ 3 คะแนนขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ของประเทศในกลุ ม ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นป 2555 - 2556

ที่มา : World Economic Forum (WEF) ภาพที่ 4 สัดสวนการลงทุนรวมที่แทจริงตอ GDP ของอาเซียนในชวง 10 ป ที่ผานมา

3


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง นอกจากนี้ หากพิจารณาสัดสวนการลงทุนรวมที่แทจริงตอ GDP ของประเทศไทยเทียบกับกลุมประเทศสมาชิก อาเซียนเฉลี่ย 10 ป พบวาอยูที่รอยละ 21.5 ตอ GDP ซึ่งอยูในอันดับที่ 5 จาก 6 ประเทศ โดยมีประเทศเวียดนามมี สัดสวนสูงสุดเฉลี่ย 10 ป อยูที่รอยละ 35.4 ตอ GDP ดังนั้น ทําใหการพัฒนาศักยภาพเศรษฐกิจในระยะปานกลางอาจ ไดรับผลกระทบ หากภาครัฐยังคงมีการลงทุนในระดับที่ต่ําตอไป ดังนั้น ภาครัฐ จึงไดมีแผนการลงทุนในโครงสราง พื้นฐาน (Infrastructure) อันจะชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในระยะยาว

2. การลงทุนของภาครัฐภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ ชวงป 2555 – 2562

ในป 2555 ภาครัฐมีแผนสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศระยะยาว โดยกําหนดให มีการลงทุนภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ สําหรับในระยะ 7 ป (ป 2555 – 2562) ดวย วงเงินลงทุน 2.27 ลานลานบาท โดยในเบื้องตนไดกําหนดใหมีการลงทุนในดานตางๆ ครอบคลุม 7 สาขา ประกอบดวย ระบบราง ระบบขนสงทางบก ระบบขนสงทางน้ํา ระบบขนสงทางอากาศ ระบบสาธารณูปการ ระบบพลังงาน และ ระบบการสื่อสาร ตารางที่ 1 กรอบแผนการลงทุนเบื้องตนดานโครงสรางพื้นฐานภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตในชวงป 2555 - 2562 สาขาการลงทุน สาขาขนสงทางบก - การพัฒนาโครงขายทางหลวงพิเศษระหวางเมือง - การพัฒนาระบบรถไฟ และรถไฟสายใหม - การพัฒนาระบบรถไฟความเร็วสูง - การพัฒนาระบบขนสงมวลชนทางราง - การพัฒนาโครงขายถนนและขนสงตอเนื่องหลาย รูปแบบ

วงเงินลงทุน (ลานบาท) รอยละ 1,469,879.09 187,305.00 298,237.89 481,066.00 321,316.00

64.7 8.3 13.1 21.2 14.2 8.0

181,954.20 4


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

สาขาขนสงทางอากาศและน้ํา สาขาพลังงาน สาขาสื่อสาร สาขาสาธารณูปการ รวม

148,504.20 499,449.20 35,181.00 117,072.25 2,270,086.74

6.5 22.0 1.5 5.2 100.0

ที่มา: คณะกรรมการยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ สศช. ทั้งนี้ กรอบการลงทุนจะมีวงเงินลงทุนที่จะเบิกจายระหวางป 2555 – 2559 ประมาณ 1.5 ลานลานบาท และ วงเงินลงทุนที่จะเบิกจายภายหลังจากป 2559 จนจบโครงการอีกประมาณ 7.4 แสนลานบาท โดยแหลงเงินที่จะใชใน การลงทุน จะประกอบดวยเงินงบประมาณ เงินกู ซึ่งรัฐบาลจะมุงเนนการกูเงินภายในประเทศเปนหลัก เงินรายไดของ รัฐวิสาหกิจ และการรวมลงทุนกับภาคเอกชนในรูปแบบ PPP 1.3 การศึกษานโยบายการลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects การลงทุ น โครงการขนาดใหญ ข องภาครัฐ หรือ Mega Projects จะมีผ ลกระทบตอ ระบบเศรษฐกิ จ ภายในประเทศ ทั้งในสวนของภาคการลงทุน และการบริโภค รวมถึงการจางงาน และระดับราคาสินคา ทั้งนี้ ในบาง สาขาของโครงการ Mega Projects จําเปนตองนําเขาสินคาตลอดจนวัตถุดิบและเทคโนโลยีจากตางประเทศเปนจํานวน มาก ซึ่งจะสงผลกระทบตอดุลบัญชีเดินสะพัด ภาพที่ 5 (Transmission Mechanism)

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1.3.1 สมมติฐานในการศึกษา 5


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

สมมติฐานการลงทุนภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ ในชวงป 2555-2662 วงเงิน 2,270,086.74 บาท คาดวาจะเปนโครงการใหมรอยละ 30 หรือคิดเปนจํานวน 681,026.022 บาท และคาดวาจะมีการ เบิ ก จ า ยกระจายเท า กั น ในระยะ 7 ป โดยมี ส มมติฐ านอัต ราการขยายตัว ของรายจ ายภาครั ฐ เพื่ อการลงทุน ใหม (Incremental investment) ในแตละป ดังนี้ ตารางที่ 2 สมมติฐานอัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหมจากกรณีฐาน สมมติฐาน อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหมจากกรณีฐาน* ปที่ 1 3.02 ปที่ 2 ปที่ 3

2.80 2.59

ปที่ 4 ปที่ 5

2.40 2.23

ปที่ 6 ปที่ 7

2.06 1.91

หมายเหตุ * สมมติฐานอัตราการขยายตัว ณ ราคาปจจุบัน ของรายจายภาครัฐในกรณีฐานเทากับ 8.3 ซึ่งคํานวณจากขอมูลเชิงประจักษคาเฉลี่ยอัตราขยายตัวชวงป 2542 – 2554 1.3.2 ผลการศึกษา: ตัวแปรทางมหภาค  ผลกระทบจากการลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects ในแบบจํ า ลองดุ ล ยภาพทั่ ว ไปนี้ รายจ ายภาครัฐ เพื่อ การลงทุ น ใหม ได ถูกกํ าหนดใหเ ปน ตั ว แปรภายนอก แบบจําลอง (Exogenous Variable) เพื่อใหผูวิจัยสามารถศึกษาผลกระทบและกลไกตัวแปรที่สําคัญในระดับ มหภาค ซึ่งผลจากการลงทุนของภาครัฐ พบวา เมื่อรัฐบาลมีรายจายสําหรับการลงทุนใหม สงผลทําใหการลงทุนและการบริโภค ในประเทศ (Domestic Demand) เพิ่มขึ้น และทําใหผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้น เมื่อผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้น สงผลทําใหการนําเขาสินคาเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน การลงทุนใหมของภาครัฐนับเปนการอัดฉีดเม็ดเงินเขาไปในระบบโดยตรง สงผลทําใหดัชนีราคาสินคาโดยรวมเพิ่มสูงขึ้น ในชวงปแรกๆ (ตามสมมติฐานที่คาดวาโครงการลงทุนภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศที่มี วงเงินลงทุน 2.27 ลานลานบาท จะเปนการลงทุนขนาดใหญ ในระยะ 7 ป ซึ่งจะมีการเรงรัดการเบิกจายหรือจะมีอัตรา การขยายตัวของรายจายภาครัฐเพื่อการลงทุนใหมสูงในชวงปแรก ๆ) อยางไรก็ตาม ปริมาณการลงทุนที่สูงกวาดัชนี ราคาสินคาโดยรวมที่เพิ่มสูงขึ้น สงผลทําใหผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ (Real GDP) ปรับตัวสูงขึ้น ดัง แสดงในรูปภาพที่ 6

6


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ภาพที่ 6 ผลกระทบจากการลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects ตอตัวแปรทางมหภาค มูลค่าการบริโภครวมในประเทศในแต่ละปี

มูลค่าการลงทุนรวมในแต่ละปี

5200

5500 C_base

C

I_base

5000

I

5000

4800

4500 4600

4000 4400

3500

4200

3000

4000 1

2

3

4

5

1

6

2

มูลค่าการส่งออกรวมในแต่ละปี

3

4

5

6

5

6

มูลค่าการนําเข้ารวมในแต่ละปี 9000

6500 X_base

X

M_base

8500

6000

M

8000 7500

5500

7000 5000

6500 6000

4500

5500 5000

4000 1

2

3

4

5

1

6

2

3

4

มูลคาของ Nominal GDP ในแตละป

มูลคาของ Real GDP ในแตละป 10000

11500 RGDP_base

9500

RGDP

GDP_base

11000

9000

10500

8500

10000

8000

9500

7500

9000

7000

8500

GDP

8000

6500

7500

6000 1

2

3

4

5

1

6

2

3

4

5

6

ดัชนีราคาสินคาโดยรวมเมื่อมีการลงทุนใหมของภาครัฐ 1.16 Pindex_base

1.14

Pindex

1.12 1.1 1.08 1.06 1.04 1.02 1

2

3

4

5

6

ที่มา : ผลจากการใชแบบจําลอง CGE Model หมายเหตุ : เสนประคือผลจากแบบจําลองเมื่อมีการลงทุนใหมของภาครัฐ ผลกระทบตอตัวแปรมหภาคดังแสดงในตารางที่ 3 พบวา การลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐ (Mega Projects) ภายใตการลงทุนภายใตยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟูและสรางอนาคตประเทศ สําหรับในระยะ 7 ป สงผลทําให การลงทุนที่แทจริงโดยรวม (Real investment) เพิ่มขึ้นรอยละ 3.26 จากในกรณีฐาน การบริโภคที่แทจริง (Real consumption) เพิ่มขึ้นรอยละ 0.09 จากในกรณีฐาน ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้น รอยละ 1.2 จากในกรณีฐาน ทั้งนี้ เมื่อผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Nominal GDP) ปรับตัวสูงขึ้น สงผลทําใหมี การนําเขาสินคาเพิ่มขึ้นรอยละ 2.18 จากในกรณีฐาน ในขณะเดียวกัน เมื่อการลงทุนและการบริโภคเพิ่มขึ้นมีผลทํา ใหดัชนีราคาสินคาโดยรวมเพิ่มสูงขึ้นรอยละ 0.74 จากในกรณีฐาน และเมื่อราคาสินคาในประเทศเพิ่มขึ้นสงผลใหการ สงออกลดลงรอยละ -0.07 จากในกรณีฐาน อยางไรก็ตาม ปริมาณการลงทุนที่สูงกวาดัชนีราคาสินคาโดยรวมที่เพิ่ม สูงขึ้น สงผลทําใหผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ณ ราคาคงที่ (Real GDP) ปรับตัวสูงขึ้นรอยละ 0.42 จากในกรณีฐาน ตารางที่ 3 ผลกระทบตอในระดับมหภาคเมื่อมีรายจายภาครัฐเพื่อการลงทุน 2.27 ลานลานบาท ตัวแปรทางมหภาค

กรณีฐานป 2556 (รอยละ)

กรณีลงทุนภาครัฐเพิ่มขึน้ 7


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค ผลิตภัณฑมวลรวม (Nominal GDP) ผลิตภัณฑมวลรวม ณ ราคาคงที่ ดัชนีราคาสินคาโดยรวม (Price index) การบริโภค (Real consumption) การลงทุนรวม (Real investment) การสงออก (Real exports) การนําเขา (Real imports)

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค 7.7 5.2 2.4 3.9 11.4 7.3 5.4

+1.20 +0.42 +0.74 +0.09 +3.26 -0.07 +2.18

ที่มา : ผลจากการใชแบบจําลอง CGE Model  ผลกระทบตอการกระจายรายได สํ า หรั บ ผลกระทบต อ การกระจายรายได นั้น พบว าการลงทุน โครงการขนาดใหญ ของภาครัฐ หรื อ Mega Projects ทั้งในระบบขนสงทางถนน ราง น้ํา และอากาศยาน ระบบสาธารณูปโภค และระบบโครงขายโทรคมนาคม ถือเปนโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนตอการพัฒนาประเทศ เปนผลทําใหกลุมเกษตรกรที่มีรายไดครัวเรือนในระดับลางเปน ผูที่ไดรับประโยชนโดยตรงจากการลงทุนดังกลาว ตารางที่ 15 พบวา รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 1 ถึง 5 มีการ ปรับตัวสูงจากกรณีฐานที่มีรายได 312.2 510.1 734.3 1,226.1 และ 2,728.3 พันลานบาท ตามลําดับ โดยมีรายได เพิ่มขึ้นรอยละ 1.27 1.22 0.83 0.65 และ 0.43 ตามลําดับ จากการลงทุนของภาครัฐที่เพิ่มขึ้น ตารางที่ 4 ผลกระทบตอรายไดของครัวเรือนเมื่อมีการลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น รายไดครัวเรือน รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 1 รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 2 รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 3 รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 4 รายไดครัวเรือนระดับรายไดที่ 5

รายไดกรณีฐาน ณ ป 2554 (พันลาน บาท) 312.2 510.1 734.3 1226.1 2728.3

รายไดกรณีเมื่อมีการลงทุน ภาครัฐเพิ่มขึ้น (รอยละการเปลี่ยนแปลง) +1.27 +1.22 +0.83 +0.65 +0.43

ที่มา : ผลจากการใชแบบจําลอง CGE Model  ดานผลกระทบตอภาคการผลิตรายสาขา ดานผลกระทบตอภาคการผลิตรายสาขานั้น ผลการใชแบบจําลองวิเคราะหผลกระทบไดแสดงใหเห็นวา สาขา การผลิตที่ไดรับผลกระทบเชิงบวกอันเนื่องมาจากการลงทุนของภาครัฐเพิ่มขึ้น ดังแสดงในตารางที่ 5 มีสาขาการผลิต มากถึง 24 สาขา จากสาขาการผลิตทั้งหมด 43 สาขา โดยสาขาการกอสรางไดรับประโยชนมากที่สุดอยูที่รอยละ 2.54 รองลงมาคือ สาขาบริการ ไดรับประโยชนเพิ่มขึ้นรอยละ 1.81 รองลงมาคือ อุปกรณการขนสงอื่น ๆ ไดรับประโยชน เพิ่มขึ้นรอยละ 1.63 ขณะที่สาขาการผลิตที่ไดรับผลกระทบเชิงลบมี 19 สาขา โดยสาขาการผลิตที่เสียประโยชนมาก 8


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ที่สุดคือ สาขาที่เกี่ยวของกับการเกษตร เชน โรงกลั่นน้ําตาล ผลิตภัณฑยางและอาหารสัตว เสียประโยชนรอยละ - 0.69 -0.51 และ -0.48 ตามลําดับ ตารางที่ 5 สาขาการผลิตที่ไดรับผลกระทบสูงสุด 43 สาขา เมื่อมีการลงทุนจากภาครัฐเพิ่มขึ้น สาขาการผลิ ต Sugar Refineries Rubber Products

ร้ อยละการ เปลี�ยนแปลง -0.69 -0.51

สาขาการผลิ ต Beverages Unclassified

ร้ อยละการ เปลี�ยนแปลง 0.10 0.11

Animal Food Electrical Machinery and Apparatus

-0.48 -0.43

Metal Ore and Non-Metal Ore Basic Chemical Products

0.13 0.15

Computers and parts Jewelry & Related Articles Spinning Weaving Non-ferrous Metal Tobacco Processing and Products

-0.43 -0.38 -0.32 -0.32 -0.31

Transportation and Communication Crude Oil and Coal Petroleum Refineries Other Manufacturing Products Trade

0.19 0.20 0.22 0.35 0.38

Public Utilities Leather Products Saw Mills and Wood Products Textile Bleaching Made-up Knitting Agriculture Rice and Other Grain Milling Slaughtering Wearing Apparels Carpets and Cordage Plastic Wares Motor Vehicles and Repairing

-0.28 -0.16 -0.10 -0.09 -0.08 -0.07 -0.04 -0.03 -0.02 0.00

Other Chemical Products Cement and Concrete Products Paper and Paper Products Other Non-metallic Products Industrial Machinery Printing and Publishing Iron and Steel Fabricated Metal Products Fertilizer and Pesticides Other Transportation Equipment

0.64 0.71 0.75 0.75 0.78 1.01 1.33 1.40 1.59 1.63

Services Construction

1.81 2.54

Processing and Preserving of Foods Other Foods

0.05 0.07

ที่มา : ผลจากการใชแบบจําลอง CGE Model 1.4 บทสรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย การลงทุนโครงการขนาดใหญของภาครัฐหรือ Mega Projects มีสวนชวยในการเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันในระยะยาว ชวยสนับสนุนการพัฒนาประเทศ และยกระดับคุณภาพชีวิต โดยจากการศึกษาพบวา จะทําใหคน ทุกกลุมไดรับประโยชนจากการลงทุนของภาครัฐ และจะสงผลดีตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) แตดวยมูลคาและ ขนาดของโครงการที่มีขนาดใหญจําเปนตองใชงบประมาณที่สูง ทําใหภาครัฐตองเตรียมความพรอมในการจัดหาแหลง เงินทุนที่เพียงพอสําหรับการดําเนินโครงการ พิจารณาแนวทางการระดมทุน โดยควรมีการผสมผสานระหวางการใชเงิน งบประมาณ เงินรายไดของรัฐวิสาหกิจ เงินกู และการระดมทุนในวิธีอื่นๆ โดยการเพิ่มบทบาทใหหนวยงานเอกชนเขา มามีสวนรวมกับภาครัฐ (Public-Private Partnership : PPP) นับเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ที่จะชวยทําใหภาครัฐลด ขอจํากัดดานงบประมาณการลงทุนในโครงการตางๆ ของรัฐบาลในชวงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ทําใหรัฐบาลจัดเก็บรายได ไมเพียงพอกับความตองการการลงทุน ในขณะการกูเงินที่มักถูกจํากัดดวยกรอบกฎหมายตางๆ นอกจากนี้ PPP ยังชวย เพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน สรางทางเลือกทางการทํางานใหมากขึ้น และเปนการขยายการเขาถึงบริการของรัฐกับ ภาคประชาชน

นอกจากนี้ การเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ภายในป 2558 ทําใหประเทศจําเปนตองเตรียมความพรอม โดยภาครัฐควรกําหนดยุทธศาสตรเพื่อรักษาความสามารถในการแขงขัน 9


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ของประเทศ ทั้งในดานประสิทธิภาพของแรงงาน ดานเทคโนโลยี และระบบสาธารณูปโภคที่ควรปรับปรุงใหทันสมัยอยู เสมอ รวมถึงความตอเนื่องและความชัดเจนของนโยบายในการลงทุนภาครัฐและการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานขนาด ใหญของประเทศ ซึ่งการดําเนินการทั้งหมด จะมีผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจภายในประเทศตั้งแตภาคการลงทุน การ บริโภค การจางงาน ระดับราคาสินคาซึ่งเกี่ยวของกับเสถียรภาพภายในประเทศ และมีผลกระทบตอเสถียรภาพ ภายนอกของระบบเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวของกับดุลบัญชีเดินสะพัดและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ดังนั้น การ ตัดสินใจดําเนินการลงทุนในโครงการตางๆ จึงจําเปนตองพิจารณาในรายละเอียดของโครงการอยางรอบคอบ เพื่อใหมีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนและสังคม --------------------------------------------------------------------------------------------

10


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

กลยุทธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค “วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยํา และทันตอเหตุการณ เพื่อใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถกู ตองตอสาธารณชน” คณะผูจัดทํา ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค (นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ : boonchar@mof.go.th) ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค (นายพิสิทธิ์ พัวพันธ : ppuapan@yahoo.com) ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ (นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ : wiparat@fpo.go.th) ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ (ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol.fpo@gmail.com) ผูอํานวยการสวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ (นางสาวสิริกัลยา เรืองอํานาจ : sirigunya@hotmail.com)

ภาคเศรษฐกิจ

ผูวิเคราะห/รับผิดชอบ

Email

นรพัชร อัศววัลลภ วรพล คหัฎฐา นิภัทร ชมบานแพว สุธิรัตน จิรชูสกุล

norabajra@hotmail.com worpol1@yahoo.com

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ อรอุมา หนูชว ย

thammaritud@yahoo.com

ภาคเกษตรกรรม

กาญจนา จันทรชิต

kulmbe6@yahoo.com

ภาคการเงิน

อารจนา ปานกาญจโนภาส

archana.fpo@gmail.com

เศรษฐกิจตางประเทศ

พีรพรรณ สุวรรณรัตน ภัทราพร คุมสะอาด

peerapan.ps@gmail.com phattraporn088@gmail.com

ภาคการคาระหวางประเทศ

ธนิต ภัทรแสงไทย อรุณรัตน นานอก

thanitcfa@gmail.com

คงขวัญ ศิลา รชานนท ฉิมเชิด

kongkwan@fpo.go.th

ภาคการบริโภค การลงทุน และ อสังหาริมทรัพย

วรพล คหัฎฐา กาญจนา จันทรชิต

worpol1@yahoo.com

อัตราเงินเฟอและตลาดน้ํามัน

ยุทธภูมิ จารุเศรนี

iam5111@msn.com

อัตราแลกเปลี่ยน

ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ

pim.hirankasi@gmail.com

ภาคการจางงาน

พนันดร อรุณีนิรมาน กมลพงศ วิศิษฐวาณิชย

panundorn.a@gmail.com

การคลัง

ภาคอุตสาหกรรม

ภาคบริการดานการทองเที่ยว

nipat44@hotmail.com j_suthi01@yahoo.com onumaneung@hotmail.com

aobcy2000@hotmail.com rachanon.fpo@gmail.com kulmbe6@yahoo.com

sasri_aorn13@hotmail.com

11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.