January 2013
Macro Morning Focus
Bureau of Macroeconomic Policy
Macro Morning Focus
Fiscal Policy Office 14 มกราคม 2556
1. ไม่ หวั่นยุโรปตัด GSP มั่นใจส่ งออกตามเป้า 2. กระทรวงพาณิชย์ ดึงโรงงานเอทานอลซือ้ หัวมันสด 1.6 ล้ านตัน 3. สหรั ฐฯ ขาดดุลงบประมาณ 260 เหรี ยญสหรั ฐเดือน ธ.ค. Highlight 1. ไม่ หวั่นยุโรปตัด GSP มั่นใจส่ งออกตามเป้า อธิบดีกรมการค้ าต่างประเทศเปิ ดเผยว่า สหภาพยุโรป (อีย)ู ได้ ระงับสิทธิพิเศษทางภาษี ศล ุ กากรเป็ น การทัว่ ไป (GSP) เป็ นรายหมวดสินค้ าจากไทย ได้ แก่ 1.ของปรุ งแต่งจากเนื ้อสัตว์ ปลา กุ้ง และสัตว์ น ้า 2. น ้าตาล/ขนมที่ทาจากน ้าตาล โกโก้ ช็อกโกแลต ผลิตภัณฑ์ธัญพืช มอลต์ พาสต้ า ขนมปั ง ผัก ผลไม้ อาหารปรุ งแต่ง ซอสและของปรุ งแต่งเครื่ องดื่ม อาหารสัตว์ และ 3.อัญมณี และเครื่ องประดับ โดยจะมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ม.ค. 57 ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 59 ซึง่ การตัดสิทธิฯ ดังกล่าว จะไม่ส่งผลกระทบ ต่อการส่งออกสินค้ าไทย เนื่องจากมัน่ ใจว่าผู้บริ โภคยังคงต้ องการสินค้ าคุณภาพสูงจากไทย สศค. วิเคราะห์ ว่า การตั ดสิทธิ GSP ในหลายหมวดสินค้ าของไทยมีสาเหตุหลักจากการที่ ไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่ม upper middle income ของธนาคารโลกติดต่ อกันนาน 3 ปี สหภาพ ยุโรปจึงระงับสิทธิพิเศษทางภาษีในหลายสินค้ าของไทย โดยการตัดสิทธิจะส่ งผลให้ ราคา สิ น ค้ าของไทยมี ร าคาที่ สู ง ขึ ้น และอาจมี ค วามเสี ย เปรี ยบด้ านการแข่ งขั น ทาง ผู้ประกอบการจึงต้ องมีการปรั บตัวด้ านคุณภาพสินค้ า และความหลากหลายของผลิคภัณฑ์ เพื่อที่จะสามารถรั กษาตลาดไว้ นอกจากนี ้ ผู้ประกอบการอาจจะต้ องหาตลาดสินค้ าใหม่ เพื่อทดแทนตลาด อียูในอนาคต รวมถึงการขยายการลงทุนไปยังประเทศเพื่อนบ้ าน อาทิ กัมพูชา ลาว พม่ า และเวียดนาม เพื่อลดต้ นทุนและสามารถใช้ สิทธิ GSP ของประเทศ เพื่อนบ้ านได้ ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่ ามูลค่ าการส่ งออกของไทยในปี 56 จะสามารถขยายตัวได้ ร้ อยละ 10.0 (ช่ วงคาดการณ์ ท่ รี ้ อยละ 9.0-11.0) คาดการณ์ ณ ธ.ค. 55 2. กระทรวงพาณิชย์ ดงึ โรงงานเอทานอลซือ้ หัวมันสด 1.6 ล้ านตัน รมต.กระทรวงพาณิ ช ย์ เ ปิ ดเผยภายหลัง การประชุ ม คณะกรรมการนโยบายมัน ส าปะหลัง ว่ า กระทรวงพลังงานได้ ประสานให้ โรงงานผลิตเอทานอลเข้ ารับซื ้อหัวมันสาปะหลังสดในราคาเท่ากับที่ รัฐบาลรับจานาที่ราคา 2.50 ต่อกก. จานวน 1.6 ล้ านตัน ระหว่างเดือน ม.ค.-มี.ค. 56 เพื่อบรรเทา ปั ญหาผลผลิตล้ นตลาดและราคาตกต่า พร้ อมกับหารื อความร่ วมมือต่อเนื่องในปี การผลิต 56/57 โดยขอให้ โรงงานผลิตเอทานอลรับซื ้อเพิ่มอย่างน้ อย 7.5 ล้ านตัน สศค. วิเคราะห์ ว่า การที่กระทรวงพาณิชย์ ร่วมมือกับโรงงานผลิตเอทานอลเข้ ารั บซือ ้ หัวมัน สาปะหลังสด นอกเหนือจากโครงการรั บจานามันสาปะหลังของรั ฐบาลนัน้ นอกจากจะช่ วย แก้ ไขปั ญหาผลผลิตมันสาปะหลังล้ นตลาดและราคาสินค้ าตกต่ าโดยตรงได้ แล้ วนัน้ ยังจะ ส่ งผลบวกโดยอ้ อม คื อช่ วยลดแรงกดดันต่ อ ราคานา้ มันที่มีแนวโน้ มปรั บตั วสู งขึ น้ อย่ าง ต่ อ เนื่ อ งได้ เนื่ องจากสามารถผลิ ต น า้ มั น ทดแทนได้ เ พิ่ ม ขึ น้ ทั ้ง นี ้ ในปี 55 ราคามั น สาปะหลังเฉลี่ยอยู่ท่ ี 2.0 บาทต่ อกก. หรื อหดตัวร้ อยละ -15.2 จากปี 54 ในขณะที่ผลผลิต คาดว่ าจะอยู่ท่ ี 27.5 ล้ านตัน ในปี 55/56 3. สหรั ฐฯ ขาดดุลงบประมาณ 260 เหรี ยญสหรั ฐเดือน ธ.ค. กระทรวงการคลัง สหรัฐเผยรั ฐบาลกลางสหรัฐขาดดุลงบประมาณ 260 ล้ านเหรี ยญสหรัฐในเดือน ธ.ค. โดยรัฐบาลกลางมีรายรับที่ 2.695 แสนล้ านดอลลาร์ ในเดือน ธ.ค. ซึง่ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 12 จาก เดือน ธ.ค. 54 ขณะที่รายจ่ายอยู่ที่ 2.697 แสนล้ านเหรี ยญสหรัฐ ซึง่ ลดลงร้ อยละ 17 จากช่วงเดียวกัน ของปี 54 ส่งผลให้ ยอดขาดดุลงบประมาณในช่วง 3 เดือนแรกของปี งบประมาณ 56 ซึง่ เริ่ มตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ต.ค. นัน้ มีจานวนทังสิ ้ ้น 2.92 แสนล้ านเหรี ยญสหรัฐ สศค. วิเคราะห์ ว่า การขาดดุลงบประมาณของสหรั ฐฯ ในช่ วง 3 เดือนแรกของปี งบประมาณ 56 นัน้ ถือเป็ นการขาดดุลลดลงร้ อยละ 9 เทียบกับช่ วง 3 เดือนแรกของปี งบประมาณก่ อน หน้ า ซึ่งถือเป็ นการส่ งสั ญญานที่ดีของฐานะการคลั งของสหรั ฐ เนื่ องจากในช่ วงก่ อนหน้ า ยอดขาดดุลงบประมาณของรั ฐบาลกลางสหรั ฐได้ แตะระดับ 1.1 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐใน ปี งบประมาณ 2555 ที่สิน้ สุดในเดือน ก.ย. ที่ผ่านมา ซึ่งนับว่ าสูงกว่ าระดับ 1 ล้ านล้ านเหรี ยญ สหรั ฐมาเป็ นปี ที่ 4 ติดต่ อกั น โดยฐานะการคลั งที่ส่ง สั ญญานดีขึน้ นี ค้ าดว่ าจะส่ งผลให้ เศรษฐกิจ สหรั ฐ มีก ารเติบ โตอย่ างมี เสถีย รภาพมากขึน้ ในระยะต่ อไป ทั ง้ นี ้ สศค. คาดว่ า เศรษฐกิจสหรั ฐฯ ปี 56 จะเติบโตร้ อยละ 2.2 (คาดการณ์ ณ ธ.ค. 55)
Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 325
Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012
Dubai
Year to Date
Ast.13
107.60
107.60
113.0
30.37
30.37
30.70
2012
2013
Q3
Q4
Dec
Jan
105.61
106.81
104.89
106.28
30.47
30.11
30.99
30.60
2012
Bath/USD
Economic Data Exchange Rate Currencies
10 Jan 13
11 Jan 13
14 Jan 13 (spot)
% change
THB/USD (onshore)
30.28
30.25
-0.10
30.27
JPY/USD
88.78
89.17
0.44
89.46
CNY/USD
6.2230
6.2156
-0.1189
6.2132
USD/EUR
1.3269
1.3343
0.5577
1.3371
NEER Index (Average 08=100)
102.48
102.62
0.14
102.62
Stock Market 10 Jan 13 (Close)
11 Jan 13 (Close)
1405.99
1412.06
0.43
13471.22
13488.43
0.13
6101.51
6121.58
0.33
NIKKEI-225
10578.57
10652.64
0.70
Hang Seng
23354.31
23264.07
-0.39
3226.25
3216.50
-0.30
Market SET Dow Jones FTSE-100
Straits Time
% change
Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year
Gov’t Bond Yield
Yield (%)
Thailand - 2 Year
2.918
1.242
4.216
-14.774
Thailand-10 Year
3.675
2.889
16.723
45.356
USA-2 Year
0.2489
-0.340
1.080
1.640
USA-10 Year
1.8659
-3.340
25.460
-3.950
Commodities 10 Jan 13
11 Jan 13
108.10
107.82
-
-0.26
93.81
93.60
-
-0.22
114.33
110.95
-
-2.96
Gasohol-95 (Bt/litre)
38.33
38.33
38.33
-
Gasohol-91 (Bt/litre)
35.88
35.88
35.88
-
Diesel (Bt/litre)
29.79
29.79
29.79
-
1674.64
1662.44
1664.74
0.14
Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)
Spot Gold
14 Jan 12 (Spot)
%change
Bureau of Macroeconomic Policy
Macro Morning Focus
Fiscal Policy Office 29 มกราคม 2556
1. สศอ.เผย MPI ปี 55 ขยายตัวร้ อยละ 2.5 และคาดปี 56 จะขยายตัวร้ อยละ 3.5 - 4.5 2. สมาคมตราสารหนีค้ ้ านใช้ capital control แก้ บาทแข็งแนะขึน้ ทะเบียนนักลงทุนต่ างชาติ 3. สิงคโปร์ เผยการลงทุนในสินทรั พย์ คงที่เพิ่มขึน้ 17% ในปี 2555 Highlight 1. สศอ.เผย MPI ปี 55 ขยายตัวร้ อยละ 2.5 และคาดปี 56 จะขยายตัวร้ อยละ 3.5 - 4.5 ผู้ อ านวยการส านั ก งานเศรษฐกิ จ อุต สาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุต สาหกรรม เผยดัช นี ผ ลผลิ ต อุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ธ.ค. 55 อยู่ที่ระดับ 116.2 จากระดับ 188.1 ในเดือน พ.ย.55 ขยายตัว เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 23.4 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื่องจากได้ รับอานิสงน์จากตัวเลขฐานที่ต่าในเดือน ธ.ค. 54 ซึง่ ภาคอุตสาหกรรมประสบเหตุอทุ กภัย ส่งผลให้ ภาพรวมทั ้งปี 55 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.5 ขณะที่ปี 56 คาดว่า MPI จะขยายตัวร้ อยละ 3.5 - 4.5 สศค. วิเคราะห์ ว่า การผลิตภาคอุ ตสาหกรรมในปี 55 ที่ข ยายตัวเป็ นบวก สะท้ อ นถึงภาค การผลิต สามารถกลั บมาผลิต ได้ ตามปกติ หลั งประสบปั ญ หานา้ ท่ ว มในช่ วงปลายปี 54 โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมหลั ก อาทิ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรมอาหาร และ เครื่ องใช้ ไฟฟ้าที่ขยายตัวร้ อยละ 73.1 ร้ อยละ 6.9 และร้ อยละ 11.7 ตามลาดับ ตามการ ฟื ้ นตัวของอุปสงค์ ในประเทศ โดยเฉพาะการบริ โภคภาคเอกชน ในขณะที่แนวโน้ มการผลิต อุตสาหกรรมในปี 56 คาดว่ าจะยังคงขยายตัวต่ อเนื่ อง ตามการปรั บตัวดีขึ น้ ของเศรษฐกิจ โลก โดยเศรษฐกิจประเทศคู่ ค้าคาดว่ าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 และการขยายตัวต่ อเนื่ อง ของเศรษฐกิจในประเทศ 2. สมาคมตราสารหนีค้ ้ านใช้ capital control แก้ บาทแข็งแนะขึน้ ทะเบียนนักลงทุนต่ างชาติ กรรมการผู้จัดการสมาคมตลาดตราสารหนี ไ้ ทยเปิ ดเผยถึง กรณี ที่ ผ้ ูป ระกอบการส่ง ออกเตรี ย มเสนอให้ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ออกมาตรการควบคุมการไหลเข้ าของเงินทุนหรือ Capital Control เพื่อ ลดการแข็งค่าของเงินบาทว่า หากธปท.ออกมาตรการดังกล่าวจริงจะส่งผลกระทบต่อการลงทุนในระยะ ยาว เพราะการออกมาตรการชั่วคราวเพื่อสกัดกั ้นการไหลเข้ าของเงิ นต่างชาติจะทาให้ นัก ลงทุนไม่ก ล้ า เข้ ามาลงทุน เนื่องจากไม่สามารถคาดการณ์ได้ ว่าภาครัฐจะออกมาตรการมาควบคุมเมื่อใด ทั ้งนี เ้ ห็นว่า ธปท.ควรออกนโยบายป้ องกันเงินไหลเข้ าแบบเดีย วกับ ประเทศมาเลเซีย ที่ดาเนิ นการอยู่คือ การให้ นัก ลงทุนต่างชาติลงทะเบียนก่อนเข้ ามาลงทุน และหากพบว่านักลงทุนรายใดมีแนวโน้ มที่จะลงทุนเพื่อโจมตี ค่าเงิน หรือลงทุนผิดปกติ ก็ให้ ระงับการลงทุนในประเทศไป สศค.วิเคราะห์ ว่า ค่ าเงินบาทในปี 56 แข็งค่ าขึน ้ อย่ างรวดเร็ วจากระดับ 30.6 บาท/ดอลลาร์ สหรั ฐ ในช่ วงต้ นปี มาอยู่ท่ ี 29.9 บาท/ดอลล่ าร์ สหรั ฐ คิ ดเป็ นการแข็ง ค่ าขึ น้ ร้ อยละ 2.9 ภายในระยะเวลาหนึ่งเดือน เนื่องจากมี เม็ ดเงินไหลเข้ าสู่ประเทศไทยทัง้ ในตลาดตราสาร หนีแ้ ละตลาดสารทุน โดยในตลาดตราสารหนี พ้ บว่ ามี เม็ ดเงินไหลเข้ ามากกว่ า 1 แสนล้ าน บาทซึ่งส่ วนใหญ่ มากกว่ าร้ อยละ 90 มาลงทุนในตราสารหนี ร้ ะยะสัน้ ขณะที่มีเม็ ดเงินไหล เข้ าตลาดตราสารทุน 15,000 ล้ านบาท ทัง้ นี ใ้ นปี 56 ประเทศไทยจะมี การลงทุนก่ อสร้ าง โครงสร้ างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ ของประเทศ ซึ่งต้ องใช้ เงินดอลล่ าร์ สหรั ฐจานวนมากเพื่อการ นาเข้ าสินค้ าที่ใช้ ในการก่ อสร้ าง ประเทศไทยจึงสามารถใช้ โอกาสที่ค่าเงินบาทแข็งค่ าขึน้ นี ้ ในการสนับสนุนการลงทุนดังกล่ าวได้ 3. สิงคโปร์ เผยการลงทุนในสินทรั พย์ คงที่เพิ่มขึน้ 17% ในปี 2555 คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิ จ (EDB) ของสิง คโปร์ เ ปิ ดเผยว่า การลงทุน ในสิน ทรัพย์ คงที่ ในสิง คโปร์ เพิ่มขึ ้น 17% แตะ 1.6 หมื่นล้ านดอลลาร์สิงคโปร์ (1.29 ดอลลาร์สหรัฐ) ในปี ที่แ ล้ ว จาก 1.37 หมื่นล้ าน ดอลลาร์ สิ งคโปร์ ใ นปี 54 ทั ้งนี ้ การลงทุน ในสิ น ทรัพ ย์ ค งที่ ใ นสิ ง คโปร์ ปี ที่แ ล้ ว มี มูล ค่ าสูง ที่ สุด เป็ น ประวัติการณ์ หากไม่นับตัวเลข 1.8 หมื่นล้ านดอลลาร์สิงคโปร์ในปี 51 ซึง่ ถือเป็ นปรากฏการณ์ ชั่วคราวที่ เกิดจากการลงทุนในภาคปิ โตรเคมีที่พ่งุ ขึน้ อย่ างรวดเร็ ว โดยส่วนใหญ่ ก ารลงทุนในปี ที่แ ล้ ว อยู่ที่ภาค อิเล็กทรอนิกส์ และเคมีภณ ั ฑ์ ซึง่ รวมกันได้ ประมาณ 80% ของมูลค่าการลงทุนทั ้งหมดของปี ที่แล้ ว สศค.วิเคราะห์ ว่า ใน 185 ประเทศทั่วโลก สิงคโปร์ เป็ นประเทศที่มี ค วามสะดวกในการเข้ า ไปประกอบธุรกิจมากที่สุด (อ้ างอิงจาก Doing Business 2013) เหนือกว่ าฮ่ องกง และไทย ที่ อยู่ในลาดับที่ 2 และ 18 ตามลาดับ ทัง้ นี ้ หลายๆ ประเทศในภูมิภาคเอเชียเป็ นแหล่ งดึงดูด การลงทุนในลาดับต้ นๆ เนื่องจากมีปัจจัยพืน้ ฐานที่เอื อ้ ต่ อการลงทุน ประกอบกับหลายๆ ประเทศในยุโรป และสหรั ฐ มีภาวะเศรษฐกิจที่เปราะบาง ส่ งผลให้ เม็ ดเงินลงทุนไหลออก จากภูมิภาคดังกล่ าวมาเอเชียเพิ่มขึน้ (โดยในปี 55 นัน้ FDI จากสหรั ฐ และยุโ รป ไหลเข้ าสู่ สิง คโปร์ ประมาณ 5.7 พั นล้ า น และ 3.1 พั น ล้ า นดอลลาร์ สิง คโปร์ ตามล าดั บ เพิ่ ม ขึ น้ จาก 5 พันล้ าน และ 2.1 พันล้ านดอลลาร์ สิงคโปร์ ตามลาดับ ในปี 54) Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257
Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012
Dubai
Year to Date
Ast.13
30.08
30.08
113.0
107.62
107.62
30.70
2012
2013
Q3
Q4
Dec
Jan
105.61
106.81
104.89
106.28
30.47
30.11
30.99
30.61
2012
Bath/USD
Economic Data Exchange Rate Currencies
25 Jan 13
28 Jan 13
29 Jan 13 (spot)
% change
THB/USD (onshore)
29.89
29.96
0.23
29.85
JPY/USD
90.90
90.80
-0.11
90.66
CNY/USD
6.2203
6.2224
0.0338
6.2230
USD/EUR
1.3460
1.3452
-0.0594
1.3446
NEER Index (Average 08=100)
104.56
104.45
-0.11
104.90
Stock Market 25 Jan 13 (Close)
28 Jan 13 (Close)
1461.41
1472.05
0.73
13895.98
13881.93
-0.10
6284.45
6294.41
0.16
NIKKEI-225
10926.65
10824.31
-0.94
Hang Seng
23580.43
23671.88
0.39
3269.31
3273.91
0.14
Market SET Dow Jones FTSE-100
Straits Time
% change
Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year
Gov’t Bond Yield
Yield (%)
Thailand - 2 Year
2.897
0.463
1.409
-17.866
Thailand-10 Year
3.691
0.856
16.832
47.723
USA-2 Year
0.2802
0.420
2.980
6.550
USA-10 Year
1.9613
1.230
26.040
7.030
25 Jan 13
28 Jan 13
29 Jan 13 (Spot)
109.15
108.80
-
-0.32
95.15
95.87
-
0.76
114.63
115.13
-
0.44
Gasohol-95 (Bt/litre)
37.83
37.83
37.83
-
Gasohol-91 (Bt/litre)
35.38
35.38
35.38
-
Diesel (Bt/litre)
29.79
29.79
29.79
-
1658.31
1654.34
1658.45
0.25
Commodities Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)
Spot Gold
%change