Macro Morning Focus Feb2013

Page 1

February 2013

Macro Morning Focus


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. สภาพัฒน์ เผย GDP ไตรมาส 4/55 ขยายร้ อยละ 18.9 ทัง้ ปี 55 ขยายตัวร้ อยละ 6.4 2. ธปท. มองการลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐานของรัฐบาลและการที่เศรษฐกิจดีเป็ นตัวกระตุ้น ภาคอสังหาริมทรัพย์ 3. ยอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดยูโรโซนลดลงแตะ 1.39 หมื่นล้ านยูโรในเดือน ธ.ค.55 Highlight 1. สภาพัฒน์ เผย GDP ไตรมาส 4/55 ขยายร้ อยละ 18.9 ทัง้ ปี 55 ขยายตัวร้ อยละ 6.4  เลขาธิ การส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิ จ และสังคมแห่งชาติ ระบุว่า ในช่ว งไตรมาส 4/55 เศรษฐกิจไทย (GDP) ขยายตัวร้ อยละ 18.9 สูงสุดเป็ นประวัติการณ์นับตัง้ แต่มีการจัดทา GDP ของไทยตัง้ แต่ ปี 2536 ทาให้ ทัง้ ปี 55 เศรษฐกิ จไทยขยายตัวสูงถึง ร้ อยละ 6.4 ส่วนเศรษฐกิ จไทยในปี 2556 คาดว่าจะ ขยายตัว ได้ ในช่วงร้ อยละ 4.5 - 5.5 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากรายได้ ภาคครั วเรื อนที่เพิ่มขึน้ การปรั บเพิ่ม ค่าแรงขัน้ ต่ า อัตราดอกเบีย้ อยู่ในระดับต่ า ทาให้ การบริ โภคภายในประเทศสูงขึน้ บวกกับ การลงทุนของ ภาคเอกชน การเบิกจ่ายเงิ นลงทุนของภาครั ฐในงบประมาณประจาปี 56 และเม็ดเงิ นลงทุน เพิ่มเติ มจาก พ.ร.ก. เงินกู้บริ หารจัดการน ้า 3.5 แสนล้ านบาท รวมกับเงินลงทุนโครงสร้ างพื ้นฐานอีก 2 ล้ านล้ านบาท  สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิ จ ไทยในไตรมาส 4/55 ขยายตัวได้ ดีต่อเนื่อง โดยเมื่อเทีย บกับไตรมาส ก่ อนหน้ าขยายตัวได้ ในอัตราเร่ งที่ร้อยละ 3.6 (%qoqsa) สะท้ อนให้ เห็นถึงพืน้ ฐานที่เข้ มแข็งของ เศรษฐกิจไทยถึงแม้ จะเผชิญกับการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลก เมื่อพิจารณาถึงแหล่ งที่มาของการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจด้ านอุปทาน (Contribution to GDP) ในไตรมาส4/55 จะพบว่ าการผลิ ตใน หมวดอุตสาหกรรมเป็ นแรงขับเคลื่อนหลัก โดยเฉพาะในการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งได้ รับ อานิสงค์ จากนโยบายรถยนต์ คันแรก และยอดคาสั่งซือ้ จากต่ างประเทศที่เพิ่มขึน้ ส่ วนในด้ านอุปสงค์ พบว่ าแหล่ งที่มาของการขยายตัวทางเศรษฐกิจหลักมาจากการบริ โภคภาคเอกชน การส่ งออกสินค้ า และบริการสุทธิ และการลงทุนภาคเอกชน ตามลาดับ 2. ธปท. มองการลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐานของรัฐบาลและการที่เศรษฐกิจดีเป็ นตัวกระตุ้นภาค อสังหาริมทรัพย์  ผู้อานวยการสานักนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงภาพรวมตลาดอสังหาริ มทรัพย์ปี 56 ว่า ยังคงขยายตัวได้ จากการลงทุนโครงสร้ างพื น้ ฐานของรั ฐบาล ประกอบกับเศรษฐกิ จไทยขยายตัว ต่อเนื่อง นอกจากนี ้ จากค่าแรงที่ปรับเพิ่มขึ ้นและการว่างงานที่อยูใ่ นระดับต่า ส่งผลให้ ประชาชนเชื่อมัน่ ในการ ใช้ จ่ายมากขึ ้น  สศค. วิเคราะห์ ว่า รัฐบาลมีแผนการลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐานของประเทศ 2 ล้ านล้ านบาทเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่ งขั น โดยเน้ นการลงทุ น ทางรางเป็ นหลั ก เพื่ อกระตุ้ นการลงทุ น ภายในประเทศ ในขณะที่ภาคอสังหาริ มทรั พย์ ของไทยในช่ วงที่ผ่านมามีการขยายตัวอย่ างต่ อเนื่อง โดยในไตรมาส 4 ปี 55 ภาคอสังหาริ มทรั พย์ ขยายตัวร้ อยละ 8.0 โดยเป็ นผลมาจากความต้ องการที่ อยู่อาศัยของภาคเอกชนที่เพิ่มขึน้ สะท้ อนได้ จากรายได้ จากภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริ มทรั พย์ รวมในเดือน ม.ค. 56 พบว่ า ขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 56.5 โดยสาเหตุหลักมาจากความเชื่อมั่น ของผู้ บ ริ โ ภคที่ กลั บสู่ ส ภาวะปกติ จากสถานการณ์ เ ศรษฐกิ จ ในประเทศที่ มี แนวโน้ มปรั บ ตั วดี ขึ น้ ต่ อเนื่อง สะท้ อนจากการขยายตัวของ GDP ที่สูงถึงร้ อยละ 6.4 ในปี 55 ในขณะที่อุปทานของภาค อสังหาริมทรัพย์ คาดว่ าจะยังคงขยายตัวต่ อเนื่องเช่ นเดียวกัน สะท้ อนจากจานวนที่อยู่อาศัยเปิ ดขาย ใหม่ ท่ ีเพิ่มขึน้ โดยในเดือน ธ.ค. 55 อยู่ท่ ี 9,846 หน่ วย (ปรั บฤดูกาลเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน) โดย เป็ นการเพิ่มขึน้ จากที่อยู่อาศัยทุกประเภทโดยเฉพาะอาคารชุดที่เพิ่มขึน้ เกือบเท่ าตัว 3. ยอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดยูโรโซนลดลงแตะ 1.39 หมื่นล้ านยูโรในเดือน ธ.ค.55  ธนาคารกลางยุโ รป (อี ซีบี ) รายงานว่า ยูโ รโซนมี ยอดเกิ น ดุล บัญ ชี เ ดิ น สะพัด ที่ มี การปรั บตามฤดูก าลอยู่ ที่ 1.39 หมื่นล้ านยูโรในเดือน ธ.ค. ลดลงจากยอดเกินดุล 1.59 หมื่นล้ านยูโรในเดือน พ.ย. ซึ่งเป็ นตัวเลขที่ถกู ปรับทบทวนขึ ้นจากยอดเกินดุล 1.48 หมื่นล้ านยูโรในรายงานก่อนหน้ านี ้ 

Fiscal Policy Office 19 กุมภาพันธ์ 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Dubai

เดินสะพัดที่ดีขนึ ้ โดยเพิ่มขึน้ จาก 8.9 พันล้ านยูโรในปี 54 มาอยู่ท่ รี ะดับ 1.16 แสนล้ านยูโรในปี 55 ซึ่ง อาจส่ งผลในทางบวกต่ อความเชื่อมั่นในระยะยาวของนักลงทุนและประเทศคู่ค้า เนื่องจากดุลบัญชี เดินสะพัดคานวณจากข้ อมูลตัวเลขการนาเข้ าและส่ งออก ทัง้ สิ นค้ าและบริ การ ตลอดจนการถ่ าย โอนต่ างๆ ที่สะท้ อนความสามารถในการชาระเงินของประเทศ อย่ างไรก็ตาม แต่ ละประเทศในยูโร โซนยังคงมีอัตราว่ างงานที่ทรงตัวในระดับสูง และความต่ อเนื่องในการแก้ ไขปั ญหาหนีส้ าธารณะ ของทางการยุโรปยังคงเป็ นปั จจัยเสี่ยงสาคัญต่ อความเชื่อมั่นภาคเอกชน

112.24

109.26

113.0

29.79

29.95

30.70

Jan

Feb

105.61

106.81

104.89

107.91

30.47

30.11

30.99

30.05

Bath/USD

Economic Data Exchange Rate Currencies

15 Feb 13

18 Feb 13

19 Feb 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

29.84

29.86

0.07

29.88

JPY/USD

93.48

93.96

0.51

93.82

CNY/USD

6.2323

6.2425

0.1637

6.2423

USD/EUR

1.3362

1.3351

-0.0823

1.3346

NEER Index (Average 08=100)

105.81

105.97

0.16

105.85

Stock Market 15 Feb 13 (Close)

18 Feb 13 (Close)

1,521.52

1,523.29

0.16

13,981.76

ปิ ดทำกำร

-

6,328.26

6,318.19

-0.16

NIKKEI-225

11,173.83

11,407.87

2.09

Hang Seng

23,444.56

23,381.94

-0.27

3,283.07

3,288.14

-0.27

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.796

0.023

-9.439

-31.761

Thailand-10 Year

3.605

-0.092

-3.530

26.153

USA-2 Year

0.270

0.410

2.090

0.010

USA-10 Year

2.005

0.690

15.510

7.250

15 Feb 13

18 Feb 13

19 Feb 13 (Spot)

113.13

113.06

-

-0.09

95.95

95.51

-

-0.46

118.55

118.6

-

0.04

Gasohol-95 (Bt/litre)

39.93

40.53

40.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

37.48

38.08

38.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,609.06

1,609.55

1,613.65

0.25

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Ast.13

2013

Q4

สศค. วิเคราะห์ ว่า แม้ สถานการณ์ ดุลบัญชีเดินสะพัดในเดือน ธ.ค. 55 จะปรั บลดลงเมื่อเทียบกั บ เดื อนก่ อนหน้ า อย่ า งไรก็ ดี หากพิจ ารณาเฉลี่ ยตลอดทั ง้ ปี พบว่ า ยู โรโซนมี สถานการณ์ ดุ ลบั ญ ชี

2012

Year to Date

2013

Q3

2012

%change


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. เบรกเรือขึน้ ค่ าโดยสารชีร้ าคาดีเซลไม่ ถึงเงื่อนไข 2. คมนาคมเล็งเห็นเสนอแผนพัฒนาทวาย มี.ค. นี ้ 3. จีนนําเข้ าเพิ่มขึน้ 733% แตะ 303,963 ในเดือน ม.ค. Highlight 1. เบรกเรือขึน้ ค่ าโดยสารชีร้ าคาดีเซลไม่ ถึงเงื่อนไข  รองอธิ บดี กรมเจ้ าท่ า เปิ ดเผยว่ า จากที่ ผ้ ป ู ระกอบการเรื อด่ วนเจ้ าพระยา เรื อคลองแสนแสบ และเรื อ ผู้โดยสารข้ ามฟาก ซึง่ ได้ เสนอขอปรับขึ ้นอัตราค่าโดยสาร โดยระบุว่า ได้ รับผลกระทบเกี่ยวกับนโยบายการ ปรับค่าแรง 300 บาทต่อวัน และค่านํ ้ามัน โดยล่าสุดได้ มีการประชุมร่ วมกับผู้ประกอบการแล้ ว เบื ้องต้ นที่ ประชุมมีมติว่าจะยังไม่มีการปรับขึ ้นค่าโดยสารในขณะนี ้เนื่องจากเงื่อนไขที่ได้ ตกลงร่ วมกันระหว่างกรม เจ้ าท่าและผู้ประกอบการระบุว่า หากราคานํ ้ามันดีเซลอยู่ในระดับ 29-33 บาท ต่อ ลิตร จะยังไม่มีการปรับ ค่าโดยสาร ทังนี ้ ้คณะทํางานจะใช้ เวลาศึกษาอัตราค่าโดยสารที่เหมาะสมเพิ่มเติมอีก 3 เดือน  สศค. วิเ คราะห์ ว่า การปรั บ ขึน ้ ราคาค่ าโดยสารเรื อสาธารณะอาจส่ งผลกระทบต่ อ อัตราเงินเฟ้อให้ ปรั บตัวสูงขึน้ เนื่องจากค่ าโดยสารเรื อสาธารณะเป็ นบริ การหนึ่งที่ อยู่ในตะกร้ าเงินเฟ้อของไทย โดยมีนํา้ หนักร้ อยละ 5.2 ของทัง้ หมด ดังนัน้ การปรั บ ขึน้ ค่ าโดยสารเรื อสาธารณะจึงต้ องมีการพิจารณาอย่ างรอบคอบและเป็ นธรรมแก่ ทัง้ ประชาชน และผู้ประกอบการ โดยทําการศึกษาทัง้ ในเรื่ องรายได้ ท่ เี พิ่มขึน้ และ ต้ น ทุ น ที่ เ พิ่ ม ขึ น้ หลั ง มี ก ารปรั บ ขึน้ ค่ า แรงขั น้ ตํ่า และราคาพลั งงานที่ มีแ นวโน้ ม เพิ่มขึน้ ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่ าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 56 จะอยู่ท่ ีร้อยละ 3.0 ซึ่งเป็ น ระดับที่เหมาะสมกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ร้อยละ 5.0 2. คมนาคมเล็งเห็นเสนอแผนพัฒนาทวาย มี.ค. นี ้  ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เปิ ดเผยว่า สนข.ได้ ส่งรายงานสรุ ป สาระสําคัญในการประชุมคณะกรรมการประสานงานร่ วมระหว่างไทย-เมียนมาร์ เพื่ อการพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษทวายและพื ้นที่โครงการที่เกี่ยวข้ อง ในสาขาโครงสร้ างพื ้นฐานและการก่อสร้ าง เสนอ ต่อ รมว.กระทรวงคมนาคมของไทยพิจารณาก่อนการประชุมคณะกรรมการร่ วมระหว่างไทย-เมียนมาร์ ครัง้ ที่ 3 ระหว่างวันที่ 6-8 มี.ค.นี ้  สศค. วิเคราะห์ ว่า เมื่อพิจารณาในช่ วง 20 ปี ที่ผ่านมา (พ.ศ. 2531– 2553) ประเทศ ไทยเป็ นประเทศที่มี มูลค่ าเงิน ลงทุ นสะสมในเมีย นมาร์ สู งที่ สุด โดยมี มูลค่ าการ ลงทุนประมาณ 7,422.1 ล้ านเหรี ยญสหรั ฐ หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 46.2 ของมูลค่ าเงิน ลงทุ นรวมในเมี ยนมาร์ ทัง้ นี ้ การพั ฒ นาโครงการทวายจะเป็ นเครื่ อ งมื อในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชีย เนื่องจากเป็ นประตูการค้ าฝั่ งตะวันตกของ ภูมิภาคและเป็ นสะพานเชื่อมโยงเศรษฐกิจและการค้ าระหว่ างเอเชียตะวันออกและ ประเทศชายฝั่ งตะวันตก โดยจากผลการศึกษาของสถาบัน Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA) พบว่ า โครงการทวายฯ จะสามารถสร้ าง อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยประมาณร้ อยละ 1.9 3. จีนนําเข้ าเพิ่มขึน้ 733% แตะ 303,963 ในเดือน ม.ค.  สํานักงานศุลกากรจีนเปิ ดเผยว่า จีนนําเข้ าข้ าว 303,963 เมตริ กตันในเดือนมกราคม ทะยานขึ ้น 732.94% จากช่วงเวลาเดียวกันของปี ก่อน สําหรับตลอดทังปี ้ 2555 จีนนําเข้ าข้ าวเป็ นจํานวนทังสิ ้ ้น 2.34 ล้ านตัน พุ่งขึ ้น 305% เมื่อเทียบรายปี สํานักข่าวซินหัวรายงาน  สศค. วิเคราะห์ ว่า ในช่ วงเดือนแรกของปี 2556 จีนมียอดเกินดุลการค้ า 2.92 หมื่น ล้ านดอลลาร์ จากอัตราการขยายตัวของการส่ งออกและนําเข้ าของจีนที่ร้อยละ 25 และ 29 ต่ อปี ตามลําดับ (จากอัตราเฉลี่ยในปี 2555 ที่ร้อยละ 7.9 และ 4.4 ต่ อปี ตามลําดับ) ซึ่งเป็ นสัญญาณสะท้ อนความต้ องการภายในประเทศที่แข็งแกร่ ง และ การฟื ้ น ตัว อย่ างต่ อเนื่ อ งของเศรษฐกิ จ จี น หลั งจากที่รัฐ บาลได้ ดํ าเนิ นนโยบาย การเงินแบบผ่ อนคลายมากขีน้ หลัง โดยปรั บลดอัตราสํารองเงินสดสํารอง (RRR) สําหรั บธนาคารพาณิชย์ มาอยู่ท่ ีระดับร้ อยละ 19.5 และอัตราดอกเบีย้ นโยบาย (1 year lending) อยู่ท่รี ้ อยละ 6.0 Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 26 กุมภาพันธ์ 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012

Dubai

Year to Date

Ast.13

111.71

109.45

113.0

29.80

29.94

30.70

2013

2013

Q3

Q4

Jan

Feb

105.61

106.81

104.89

107.91

30.47

30.11

30.99

30.05

2012

Bath/USD

Economic Data Exchange Rate Currencies

22 Feb 13

26 Feb 13 (spot)

% change

25 Feb 13

THB/USD (onshore)

29.81

ปิ ดทําการ

JPY/USD

93.38

91.83

-1.66

92.49

CNY/USD

6.2346

6.2337

-0.0144

6.2293

USD/EUR

1.3188

1.3060

-0.9706

1.3084

NEER Index (Average 08=100)

106.15

105.87

-0.27

105.91

-

29.84

Stock Market 22 Feb 13 (Close)

25 Feb 13 (Close)

1,540.13

ปิ ดทําการ

-

14,000.57

13,784.17

-1.55

6,335.70

6,355.37

0.31

NIKKEI-225

11,385.94

11,662.52

2.43

Hang Seng

22,782.44

22,820.08

0.17

3,288.13

3,288.76

0.02

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.809

-0.221

-8.668

-30.975

Thailand-10 Year

3.599

-1.153

-8.159

23.538

USA-2 Year

0.242

-0.810

-3.410

-6.690

USA-10 Year

1.865

-9.640

-8.360

-11.200

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL) WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

19 Feb 13

20 Feb 13

21 Feb 13 (Spot)

109.55

109.78

-

0.21

93.12

92.73

-

-0.42

%change

114.89

115.71

-

0.71

Gasohol-95 (Bt/litre)

40.53

40.53

40.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

38.08

38.08

38.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,580.30

1,593.86

1,579.51

0.23

Spot Gold


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.