กองทุนรวมของไทย

Page 1

แนวทางการพัฒนาการ จัดจําหนายกองทุนรวม ของไทย


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

วันที่ 31 ตุลาคม 2555 แนวทางการพัฒนาการจัดจําหน่ ายกองทุนรวมของไทย (ตอนที่ 1) 1 0

บทสรุปผูบริหาร  จากปญหาดา นชองทางการจัด จํา หนา ยกองทุน รวมของแตละบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน ที่ไ ม สามารถเขาถึงผูลงทุนไดอยางเทาเทียม ประกอบกับบริการการใหคําปรึกษาการลงทุนจากเจาหนาที่ การตลาดของบริษัทหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน และธนาคารพาณิชยยังมีปญหาทั้งใน เชิงคุณภาพ และความขัดแยงเชิงผลประโยชน อีกทั้งผูลงทุนสวนมากยังขาดความรูความเขาใจดาน การเงินการลงทุน จึงทําใหผูลงทุนมีความเสี่ยงที่จะมีพฤติกรรมเอนเอียงในการตัดสินใจลงทุนและอาจ ทําใหผูลงทุนไมสามารถเลือกลงทุนในผลิตภัณฑที่สอดคลองกับความตองการของตนเอง สงผลใหผู ลงทุนไมไดรับประโยชนจากการลงทุนเทาที่ควร  แนวทางแกไขจึงควรดําเนินการปรับปรุงชองทางการจัดจําหนายใหการเขาถึงสินคาและบริการเปนไป อยางเทาเทียมยิ่งขึ้นพรอมทั้งสงเสริมการใหคําปรึกษาที่มีคุณภาพ กําหนดมาตรการเพื่อบรรเทาและ จัดการกับความขัดแยงเชิงผลประโยชน ตลอดจนพัฒนาความรและความสามารถในการตัดสินใจลงทน

1. บทนํา กองทุนรวมเปนชองทางหลักชองทางหนึ่งในการออมและการลงทุนของประชาชนผานตลาดทุน ที่ผานมาขนาด ของกองทุนรวมไทยเติบโตสูงขึ้นอยางมากจากรอยละ 7.5 ของ GDP ในป 2543 เปนรอยละ 19.7 ในป 2554 และใน อนาคตจะมีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยกาวเขาสูสังคมผู สูงวัย (Aging Society) อยางสมบูรณ 2 จึงมีความจําเปนในการออมสูงขึ้น โดยในป 2552 ประเทศไทยมีผูสูงอายุเปน สัดสวนรอยละ 11.5 ของประชากรทั้งหมดและคาดวาจะเพิ่มสูงขึ้นเปนรอยละ 25.2 ในป 2573 ทั้งนี้ การหวังพึ่ง สวัสดิการและระบบการออมเพื่อการเกษียณอายุของภาครัฐเพียงอยางเดียวคงจะไมเพียงพอ ดังนั้น การสงเสริมกองทุน รวมใหเปนชองทางการออมที่มีประสิทธิภาพ โดยผูออมผูลงทุนสามารถรับประโยชนสูงสุดจากการซื้อหนวยลงทุนตาม แผนการออมและการลงทุนที่สอดคลองกับความตองการของแตล ะบุคคลได จึงเปน สิ่งที่หนวยงานกํากับดูแลและ หนวยงานภาครัฐควรใหความสําคัญ 1

1

ผูเ้ ขียน นายนรพัชร์ อัศววัลลภ เศรษฐกรชํานาญการ ส่วนวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ขอขอบคุณโครงการขอยืมตัว บุคลากรเพือ่ ปฏิบตั งิ านทีส่ ถาบันวิจยั เพือ่ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือให้ขา้ ราชการไปปฏิบตั งิ าน ระหว่างสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เดือนกรกฎาคมถึงตุลาคม 2554) นางสาวกุลยา ตันติเต มิท และนายพิสทิ ธิ์ พัวพันธ์ ทีใ่ ห้การสนับสนุนการจัดทําและเผยแพร่บทความนี้ 2 มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาผูส้ งู อายุไทย (2553) อ้างถึงความหมายของสังคมผูส้ งู อายุว่าเป็ นภาวะทีม่ ผี มู้ อี ายุ 60 ปีขน้ ึ ไปมากกว่าร้อยละ 10 ของ ประชากรทัง้ หมด

1


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

อยางไรก็ตาม งานศึกษาของ สรายุทธ (2553)3 ชี้ใหเห็นถึงลักษณะเดนบางประการของอุตสาหกรรมกองทุน รวมไทย (ขอมูล ณ มิถุนายน 2553) วากองทุนรวมตราสารหนี้ไดเติบโตอยางมากในระยะหลังโดยมีขนาดสูงถึงรอยละ 76 ของมูลคาสินทรัพยภายใตการบริหาร (Asset Under Management: AUM) ทั้งหมด ซึ่งการเติบโตของกองทุนรวม ตราสารหนี้ดังกลาว รอยละ 44 กระจุกตัวอยูในกองทุนรวมตราสารหนี้ที่มีลักษณะคลายเงินฝาก (Money market fund) และสวนแบงการตลาดของกองทุนรวมตราสารหนี้รอยละ 95 กระจุกตัวอยูในกลุมบริษัทหลักทรัพยจัดการ กองทุน (บลจ.) ที่อยูในเครือของธนาคารพาณิชย ทั้งๆ ที่กองทุนรวมตราสารหนี้ภายใตการจัดการของ บลจ. ในเครือ ธนาคารพาณิชยมีอัตราผลตอบแทนต่ํากวาและมีอัตราคาธรรมเนียมสูงกวา บลจ. กลุมอื่น สําหรับกองทุนรวมตราสาร ทุน พบวา แนวโนมสวนแบงการตลาดของ บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชยเพิ่มสูงขึ้นเชนกัน (รอยละ 75 ณ มิถุนายน 2553) แมวาอัตราผลตอบแทนและคาธรรมเนียมจะมีระดับใกลเคียงกับกองทุนภายใตการจัดการของ บลจ. กลุมอื่นก็ ตาม ทั้งนี้ เนื่องจากธนาคารพาณิชยมีความไดเปรียบในเรื่องชองทางการจัดจําหนายที่เขาถึงลูกคาโดยการใชสาขาของ ธนาคารพาณิชยซึ่งกระจายอยูอยางแพรหลาย ประกอบกับการใหบริการทางการเงินที่ครบวงจรเมื่อเปรียบเทียบกับ บลจ. กลุมอื่น ดังนั้น ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนายหนวยลงทุนจึงเปนปจจัยหลักสําคัญที่นํามาสูขอกังวลเกี่ยวกับการ พัฒนาอุตสาหกรรมกองทุนรวมไทยวา ทุกวันนี้ประชาชนผูซื้อหนวยลงทุนไดรับประโยชนสูงสุดจากกองทุนรวมหรือไม และในระยะยาวหาก บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชยซึ่งเนนผลิตภัณฑกองทุนรวมตราสารหนี้เติบโตมากขึ้นในขณะที่ บลจ. กลุมอื่นซึ่งเนนผลิตภัณฑประเภทนวัตกรรมใหมกลับอยูในสภาพถดถอยอยางตอเนื่อง จะทําใหการพัฒนาตลาด ทุนไทยโดยรวมขาดมิติดานความหลากหลายของผลิตภัณฑซึ่งเทากับเปนการเพิ่มขอจํากัดของทางเลือกในการออมการ ลงทุนที่สอดคลองกับความตองการของบุคคลลง บทความฉบับนี้จึงจัดทําขึ้นเพื่อศึกษาหาแนวทางการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายหนวยลงทุนของกองทุน รวมเพื่อจัดการกับขอกังวลขางตน โดยเริ่มจากการทําความเขาใจพฤติกรรมของทั้ง บลจ. ผูจําหนายหนวยลงทุน และผู ล งทุ น เพื่ อ ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง สภาพป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมถึ ง ศึ ก ษาประสบการณ แ ละแนวทางการดํ า เนิ น การใน ตางประเทศวามีชองทางการจัดจําหนายหนวยลงทุนตลอดจนการคุมครองผูลงทุนใหไดรับประโยชนสูงสุดจากการลงทุน ไดอยางไร และสุดทายจะเปนการสรุปปญหาและขอเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมเพื่อปรับใชกับอุตสาหกรรมกองทุน รวมของประเทศไทย

2. ปญหาและทางออกของการจัดจําหนายหนวยลงทุนกองทุนรวม : จากตลาดโลกสูตลาดไทย

การซื้อขายหนวยลงทุนของไทยสามารถทําไดที่ บลจ. หรือตัวแทนขายที่ บลจ. แตงตั้ง โดยตัวแทนขาย เหลานั้นตองเปนผูที่ไดรับใบอนุญาตนายหนา คา จัดจําหนายหลักทรัพย หรือใบอนุญาตนายหนา คา จัดจําหนายหนวย ลงทุน (Limited Brokerage/Dealing/Underwriting หรือ LBDU) ซึ่งสวนใหญมักเปนธนาคารพาณิชย บริษัท หลักทรัพย หรือบริษัทประกันชีวิตที่เปนบริษัทในเครือหรือเปนพันธมิตรทางธุรกิจของ บลจ. และมีพนักงานหรือผู 3

สรายุทธ์ นาทะพันธ์. (2553). พัฒนาการของอุตสาหกรรมกองทุนรวมไทย: โอกาสและความท้าทายในทศวรรษหน้า. เอกสารงานวิจยั ฉบับที ่ 4/2553. สถาบันวิจยั เพือตลาดทุ ่ น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

2


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

แนะนํ า การลงทุ น ที่ ไ ด รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นกั บ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย (ก.ล.ต.) และปฏิบัติตามหลักเกณฑและมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ ก.ล.ต. กําหนด 4 อยางไรก็ตาม ยังมีปญหาที่แฝงอยู ในกระบวนการจัดจําหนายซึ่งอาจแยกพิจารณาตามลักษณะของผูรวมตลาดเปนอยางนอยสองกลุม ไดแก กลุมผูจัดการ กองทุนและผูจัดจําหนาย และกลุมผูลงทุน โดยจะกลาวถึงกรณีของประเทศไทยและนําบทเรียนจากตางประเทศมา แสดงประกอบ กลาวคือ 2.1 ผูจัดการกองทุน (Fund manager) และผูจัดจําหนาย (Distributor) แมวาผูจัดการกองทุน ผูจัดจําหนาย รวมถึงผูแนะนําการลงทุนจะไดรับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. อยาง ถูกตอง แตก็ยังมีขอกังวลตางๆ รวมถึงกรณีศึกษาในตางประเทศที่สามารถนํามาเทียบเคียงได ดังนี้ 2.1.1 คุณภาพของการใหคําปรึกษาการลงทุน เปนสิ่งสําคัญเนื่องจากการลงทุนทางการเงินมีความซับซอน และโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อผูลงทุนยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการลงทุน ดังนั้น คุณภาพของการใหคําปรึกษาที่ดี จะชวยใหผูลงทุนไดรับประโยชนจากการลงทุน สามารถลงทุนไดถูกตองสอดคลองกับความตองการของตน ซึ่งเปน ปจจัยสําคัญที่ชวยขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกองทุนรวมใหเติบโตอยางยั่งยืนในระยะยาว จึงมีประเด็นที่ควรพิจารณา ไดแก 1) คุณสมบัติของที่ปรึกษาทางการเงิน (ผูแนะนําการลงทุน) สําหรับประเทศไทย เมื่อตนป 2553 สํานักงาน ก.ล.ต. ปรับคุณสมบัติของผูแนะนําการลงทุน (ในบางกรณี) เพื่อใหสอดคลองกับสภาวการณของตลาดทุนไทยมากขึ้น โดยผอนผันใหผูแนะนําการลงทุนไมจําเปนตองมีวุฒิปริญญาตรี แตตองสอบผานขอสอบความรู กฎระเบียบ และมี ประกาศนียบัตรตางๆ ตามที่กําหนดตามประเภทของการขึ้นทะเบียน และตองตออายุการขึ้นทะเบียนเปนประจําทุก 2 ปและอบรมเพิ่มเติมอยางนอย 15 ชั่วโมง ในตางประเทศ หากพิจารณากระแสการเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้จะพบวา ภายหลังจากวิกฤติการเงินป 2551 (ค.ศ. 2008) หนวยงานกํากับดูแลทั่วโลกตื่นตัวกับการออกมาตรการคุมครองผูลงทุนมากขึ้น โดยการยกระดับมาตรฐาน ผูใหคําปรึกษาการลงทุนเปนสวนหนึ่งของชุดมาตรการดังกลาว สําหรับประเทศที่ไดรับการกลาวถึงมากที่สุดจะเปน ประเทศอังกฤษ (ภายใต Retail Distribution Review: RDR ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอถัดไป) ซึ่งที่ปรึกษาทางการเงิน จะตองสอบขอสอบตามเกณฑมาตรฐานใหมที่เขมงวดขึ้นและมีความทันสมัยมากขึ้นโดยหากที่ปรึกษาทางการเงินยังมี คุณสมบัติไมครบตามที่กําหนดจะตองมี Qualification gap-fill เปนสวนเสริมโดยอาจเปนการทําขอสอบเพิ่มเติมหรือ ดวยวิธีอื่นใดที่กําหนดก็ได นอกจากนี้ ยังมีระบบการศึกษาตอเนื่องปละ 35 ชั่วโมงรวมถึงการเสริมสรางจริยธรรม (Ethics) ซึ่งเปนสวนที่เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานเดิม ซึ่งเกณฑที่มีการปรับปรุงใหมนี้ยอมสงอิทธิพลใหอุตสาหกรรมการให คําปรึกษาทางการเงินในยุโรปมีความตื่นตัวและเกิดการปรับตัวไปดวยกัน สําหรับในเอเชีย ยกตัวอยางเชน ประเทศ สิงคโปร ไดกําหนดขอสอบและการฝกอบรมเจาหนาที่การตลาดเพิ่มเติมในกรณีของผลิตภัณฑใหมหรือผลิตภัณฑที่มี ความซับซอนเนื่องจากเปนกลุมผลิตภัณฑที่กอใหเกิดความเสียหายตอผูลงทุนในชวงวิกฤติการเงินป 2551 (ค.ศ. 2008) 3

4

ดูรายละเอียดเพิม่ เติมที ่ www.sec.or.th

3


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

2) ความขัดแยงเชิงผลประโยชนของที่ปรึกษาทางการเงิน แมผูแนะนําการลงทุนจะมีความรูความเขาใจทาง การเงินการลงทุนที่ดี และสํานักงาน ก.ล.ต. มีประกาศเกี่ยวกับมาตรฐานการปฏิบัติงานของผูแนะนําการลงทุนซึ่งระบุ ให การให คํา แนะนํ า ต องมี ความเป น กลางและตองคํานึงถึงประโยชนของผูลงทุน ก็ตาม แตก็ยังมีขอกังวลเกี่ย วกับ แรงจูงใจจากความขัดแยงเชิงผลประโยชน (Conflict of interest) ของผูแนะนําการลงทุนที่อาจมีผลกระทบตอ คุณภาพของคําแนะนําไดโดยอาจแบงพิจารณาไดเปน 2 ประการ คือ 1) ความไมเปนกลางของคําแนะนําระหวาง กองทุนแตละกอง และ 2) ความไมเปนกลางของคําแนะนําระหวางกองทุนภายใตการบริหารจัดการของแตละ บลจ. ประเด็ น แรก แม ว า สํ า นั กงาน ก.ล.ต. จะออกประกาศเกี่ ย วกับ การเปดเผยขอมู ล หากมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนไวแลวในระดับหนึ่ง เชน ผูแนะนําการลงทุนตองแจงใหผูลงทุนทราบหากตนไดรับคาธรรมเนียมการขายใน อัตราที่แตกตางกันระหวางการขายกองทุนแตละกอง แตในทางปฏิบัติจะสังเกตจากขอมูลในภาพรวมไดวา บลจ. ใน เครือของธนาคารพาณิชยมีพฤติกรรม Cross-selling คือพยายามขายสินคาเพิ่มเติมใหกับลูกคา เนื่องจากมีการเติบโต ของกองทุนรวมที่กระจุกตัวอยูในกองทุนรวมตราสารหนี้ที่มีลักษณะคลายเงินฝาก ประเด็น ที่ส อง เนื่องจากพนักงานธนาคารหรือผูแนะนําการลงทุน สว นใหญจะขายเฉพาะหนวยลงทุน ของ กองทุนที่อยูภายใตการจัดการของบริษัทในเครือหรือกลุมพันธมิตร (In-house product) เทานั้น การใหคําแนะนําจึง มักจะถูกตีวงจํากัดอยูเฉพาะในกลุมของสินคาที่ขายเพียงอยางเดียว หมายความวา ผูแนะนําการลงทุนมีแนวโนมที่จะไม ยอมเสียลูกคาใหกับคูแขง โดยการแนะนําชักชวนใหผูลงทุนซื้อหนวยลงทุนเฉพาะกองทุนรวมที่ตนเองจําหนายแมวา กองทุนภายใตการจัดการของ บลจ. อื่นอาจมีความเหมาะสมกับผูลงทุนมากกวาก็ตาม ดังนั้น การวิเคราะหวากองทุน ภายใตการจัดการของ บลจ. ใดมีความคุมคามากกวากันจึงตกเปนภาระของผูลงทุนเพียงลําพัง ในขณะที่ผูลงทุนเองอาจ ไม ส ามารถหรือไม พยายามแสวงหาข อมู ล รวมถึงอาจไมมีความรูเพีย งพอในการวิเคราะหเพื่อตัดสินใจเลือกลงทุน (แนนอนวา ณ จุดขายจะไมมีขอมูลของทุกกองทุนรวมไวใหผูลงทุนใชในการเปรียบเทียบ) หรือยิ่งไปกวานั้นคือ ผูลงทุน อาจไมไดตระหนักถึงขอจํากัดในเรื่องนี้เลยก็ได นอกจากนี้ แมวาสํานักงาน ก.ล.ต. จะมีแนวปฏิบัติในการขายเพื่อ คุ มครองผู ล งทุ น อยู แ ล ว ในระดั บ หนึ่ ง เช น ห ามเรงรั ดการตั ดสิน ใจของผูล งทุน และการควบคุม พฤติ กรรม Cold calling5 เปนตน แตผูแนะนําการลงทุน (เชน พนักงานธนาคารพาณิชย บริษัทหลักทรัพย) ยังมีแรงจูงใจในฐานะ พนั กงานบริ ษัทซึ่ งมั กต องทํ า ยอดขายให บ รรลุตามเปาหรือระบบแรงจูงใจของบริษัทที่ว างไวเพื่อประโยชนในเชิ ง ผลตอบแทนที่ไดรับจากบริษัท (นายจาง) แมจะเปนการทํายอดขายในภาพรวมของการขายกองทุนทุกประเภทก็ตาม ซึ่ง อาจสงผลใหเกิดการชักชวนใหผูลงทุนซื้อหนวยลงทุนที่ไมสอดคลองกับความตองการของตนเองไดเชนกัน 6 5

5

การติดต่อจากผูข้ ายหน่ วยลงทุนดดยไม่ได้รอ้ งขอ ซึง่ มักจะมาในรูปของการเสนอขายหรือชักชวนให้ซ้อื หน่วยลงทุนทางโทรศัพท์หรือขอเข้าพบเพือ่ การขายโดยตรง 6 ั บนั ว่ามีผแู้ นะนําการลงทุน นางวรวรรณ ธาราภูม ิ (อดีตนายกสมาคมบริษทั จัดการลงทุน) กล่าวถึงความไม่ถูกต้องของการให้คาํ แนะนําลูกค้าในปจจุ หรือผูข้ ายกองทุนบางรายพยายามแนะนําให้ลกู ค้ากูย้ มื ในรูปแบบต่างๆ เพือ่ นําเงินไปซื้อกองทุนรวม เช่น แนะนําให้ซ้อื กองทุนรวมผ่านเครดิตการ์ด เพือ่ รับแต้มสะสมรับของรางวัลและอ้างว่าอัตราดอกเบี้ยจากบัตรเครดิตซึง่ มีระดับตํา่ หรือปลอดดอกเบี้ยระยะหนึง่ จะคุม้ กับการประหยัดภาษีเงินได้ของ ลูกค้า โดยไม่ได้ช้แี จงให้ลกู ค้าเข้าใจถึงความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยเฉพาะความเสีย่ งทีอ่ าจจะขาดทุนในระยะสัน้ นอกจากนี้ ยังพบว่าพนักงานขาย กองทุนของธนาคารต่างประเทศยังใช้วธิ ที คี ่ ล้ายคลึงกันโดยการชักชวนผ่านโทรศัพท์ให้ลกู ค้าซื้อกองทุนผ่านบัตรเครดิตโดยอ้างว่าเมือ่ หุน้ ขึน้ จะได้กาํ ไร

4


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

งานศึกษาหลายชิ้นระบุตรงกันวาคําแนะนําการลงทุนของผูแนะนําการลงทุนหรือพนักงานธนาคารมีนัยสําคัญ ตอการตัดสินใจของผูลงทุน 7 ดังนั้น เมื่อรวมทั้งสองประเด็นเขาดวยกันก็อาจมีขอสงสัยวาผูลงทุน สวนใหญจะไดรับ ประโยชนสูงสุดจากคําแนะนําของผูแนะนําการลงทุนตามเจตนารมณของการกํากับดูแลหรือไม ซึ่งทุกวันนี้พบวา การให คําปรึกษาของไทยยังมีปญหาดานคุณภาพ เชน ผูแนะนําการลงทุนไมมีความรูความเขาใจในสินคาเพียงพอ ไมสามารถ ตอบคําถามผูลงทุนได ใหขอมูลที่ทําใหเกิดความเขาใจผิด หรือขายสินคาที่ไมตรงกับความตองการของผูลงทุน เปนตน 8 แมว าในระยะหลังสํา นักงาน ก.ล.ต. ได พยายามปรับ ปรุงกฎเกณฑดานคุณสมบัติผูใหคําแนะนําการลงทุน รวมถึง ประกาศใหผูลงทุนตองทํา Suitability test เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใหคําแนะนําแตก็ยังอาจยังไมสามารถแกปญหาที่ กลาวขางตนไดทั้งหมด ในตางประเทศ อันที่จริงมีหลายประเทศที่ประสบปญหาเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาการลงทุนเนื่องจากผูลงทุนไม มีความรูความเขาใจทางการเงินจึงไมตระหนักถึงความสําคัญของบริการดานคําปรึกษาที่มีคุณภาพ ทําใหการเติบโตของ อุ ต สาหกรรมการให บ ริ การเป น ไปได ย าก นอกจากนี้ ธนาคารพาณิช ยซึ่งเปน ผูเ ลน หลักในตลาดมักมุงเนน เฉพาะ ผลิตภัณฑประเภทตราสารหนี้ระยะสั้น จึงไมมีแรงจูงใจที่จะใหความสําคัญกับการใหบริการคําปรึกษาการเงินอีกดวย สําหรับแนวทางการแกไขความขัดแยงเชิงผลประโยชนที่ไดรับการกลาวถึงอยางมากในระยะหลังนี้คงหนี้ไมพน Retail Distribution Review (RDR)9 ของประเทศอังกฤษซึ่งจะมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปนตนไป มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการแกปญหาที่สาเหตุของความขัดแยงเชิงผลประโยชนของผูใหคําปรึกษาทางการเงิน (Advisor) และเปดเผยขอมูลของที่ปรึกษาเพื่อใหผูลงทุนตระหนักถึงขอจํากัดของบริการที่ตนไดรับ โดยแบงผูใหคําปรึกษาทาง การเงินเปน 2 กลุมซึ่งที่ปรึกษาทางการเงินตองแจงนักลงทุนทราบอยางชัดเจน (ทั้งโดยวาจาและลายลักษณอักษร) วา ตนเองเปนที่ปรึกษาทางการเงินที่ใหคําแนะนําแบบ Independent advice หรือ Restricted advice โดยทั้งคูจะมี ขอบังคับในเรื่องของคุณสมบัติ (Qualification) ของที่ปรึกษาและระบบการจัดเก็บคาธรรมเนียมที่เหมือนกัน แต ตางกันในแงความครอบคลุมคือ คําแนะนําแบบ Independent ตองสามารถใหคําแนะนําที่ครอบคลุมสินคาทุกชนิด จากทุก บลจ. แตคําแนะนําแบบ Restricted จะจํากัดการใหบริการโดยตองชี้แจงวาจํากัดในลักษณะใด เชน จํากัดตาม กองทุนภายใตการจัดการของ บลจ. ใด หรือจํากัดในแงชนิดของกองทุนประเภทใด เปนตน อีกประการหนึ่ง RDR ได 6

7

คุม้ ค่ากับดอกเบี้ยบัตรเครดิต (ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์, 1 มีนาคม 2554) 7 วารุณี พรรณาผลากูล. (2552). ปจั จัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมของนักลงทุนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อริยาภัณฑ์ ศรีวลิ ยั . (2553). พฤติกรรมของนักลงทุนในกองทุนรวมตลาดเงินของบริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนธนชาต จํากัด จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อัฉรีวรรณ ผดุงนิธมิ านนท์. (2552). ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการลงทุนของลูกค้าในกองทุนเปิดยูโอบีชวั ร์เดลี ่ ธนาคารยูโอบี จํากัด (มหาชน) ในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 8 ช่วยกันสร้างคุณภาพคนขาย โดย สุรรี ตั น์ สุรเดชะ กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ วันที ่ 22 มีนาคม 2555 9 ดูรายละเอียดเพิม่ เติมที ่ www.fsa.gov.uk

5


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ปฏิ รู ป การจั ด เก็ บ ค า ธรรมเนี ย ม 10สํ า หรั บ ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น ใหม โ ดยเปลี่ ย นจากระบบเดิ ม ซึ่ ง ผู จั ด จํ า หน า ย (Distributor) ไดรับผลประโยชนจูงใจจากผูจัดการกองทุนไมวาจะเปนในรูปของสัดสวนคาธรรมเนียมที่อิงกับมูลคา กองทุนที่ขายได (commission-based) หรือการรับเงินคืน (Rebate) หรือประโยชนอื่นใดก็ตาม เปนระบบใหมซึ่งผูจัด จําหนายรับผลประโยชนโดยตรงจากผูลงทุนในลักษณะใดก็ไดแลวแตจะตกลงกัน เชน การจายคาธรรมเนียมเพื่อรับ คําปรึกษา (Fee-only) โดยคาธรรมเนียมไมจําเปนตองขึ้นอยูกับมูลคาหรือประเภทของกองทุนที่จะลงทุน เปนตน อยางไรก็ตาม ประเด็นสําคัญอยูที่การเปลี่ยนระบบแรงจูงใจของที่ปรึกษาทางการเงินจากการทํางานใหผูจัดการกองทุน มาเปนการทํางานใหผูลงทุนโดยตรงเพื่อปรับระบบแรงจูงใจเพื่อใหที่ปรึกษาทางการเงินมีผลประโยชนที่สอดคลองกับ ผลประโยชนของผูลงทุน ทั้งนี้ เมื่อมีการตกลงกันระหวางที่ปรึกษาและผูลงทุนอยางชัดเจน การจายคาตอบแทนอาจจะ เปนการจายเพื่อการใหบริการครั้งเดียว หรือจายเปนประจําเพื่อรับบริการตอเนื่อง หรืออาจจะอิงกับมูลคากองทุนที่ซื้อก็ ได ทั้งนี้แลวแตจะตกลงกันแตจะไมเกี่ยวของกับผูจัดการกองทุน 11 ประเทศอังกฤษไมไดเปนเพียงประเทศเดียวที่เห็นความสําคัญของการใหคําปรึกษาที่มีคุณภาพและพยายาม จัดการกับความขัดแยงทางผลประโยชนของที่ปรึกษาการลงทุนโดยการเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บคาธรรมเนียม ในประเทศ ออสเตรเลียไดมีการประกาศตั้งแตเดือนเมษายน 2553 วาจะหาม บลจ. จัดเก็บคาคอมมิสชันจากการขายกองทุนซึ่งมี ผลบั งคั บ ใช ในเดื อนกรกฎาคมป 2555 ในประเทศอินเดีย ก็เชนกัน หนว ยงานกํากับดูแลประกาศหามการเก็บ คาธรรมเนี ยมแบบ Front-end load ตั้งแตเดือนสิงหาคมป 255212 แตประเทศที่เขมงวดมากที่สุดนาจะเปน เนเธอรแลนดซึ่งอยูระหวางการพิจารณาเพื่อไมเพียงจะเสนอหามการจาย Commission ที่ผูจัดจําหนายรับจากผูจัดการ กองทุนเทานั้น แตยังรวมถึงการหามจายผลประโยชนใหกับ Execution-only business ดวย เนื่องจากเห็นวาเปนการ สรางความเทาเทียม (Level playing field) ในการแขงขันระหวาง Execution-only platform 13 และที่ปรึกษาการ ลงทุนได 9

10

10

การจัดเก็บค่าธรรมเนียมมี 3 แบบคือ 1) Commission-based คือ การรับผลตอบแทนจากผูจ้ ดั การกองทุนซึง่ อาจแปรผันตามมูลค่าของกองทุนทีข่ าย ได้ 2) Fee-only คือ การรับผลตอบแทนจากผูซ้ ้อื หน่วยลงทุนเท่านัน้ 3) Fee-based คือ การรวมทัง้ สองอย่างแรกเข้าด้วยกัน 11 แม้แนวคิด RDR จะมีอทิ ธิพลต่อการออกกฎหมายเพือ่ กํากับดูแลในภูมภิ าคยุโรปตลอดจนประเทศอืน่ ๆ ทัวโลก ่ แต่กม็ กี ระแสคัดค้านเช่นกัน เช่น ผู้ เล่นในประเทศฝรังเศสกล่ ่ าวว่าหากนํา RDR มาใช้จะส่งผลเสียต่ออุตสาหกรรมกองทุนรวมโดยรวมอย่างมาก เพราะแม้ธนาคารพาณิชย์จะเป็นช่อง ทางการจัดจําหน่ายหลักของกองทุนรวมแต่ธุรกิจกองทุนรวมไม่ใช่ธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์ ดังนัน้ การตัดแรงจูงใจในการขายหรือเพิม่ ต้นทุน ให้กบั ธนาคารพาณิชย์อาจทําให้ธนาคารพาณิชย์ออกหรือลดบทบาทจากการทําธุรกิจกองทุนรวมลงซึง่ จะส่งผลให้อุตสาหกรรมกองทุนรวมหดตัวอย่าง มาก นอกจากนี้ แม้แต่ในประเทศอังกฤษเองก็ยงั มีขอ้ กังวลว่า RDR จะทําให้ธุรกิจการให้คาํ ปรึกษามีตน้ ทุนสูงขึน้ และหดตัวลง 12 อย่างไรก็ตาม การดําเนินการในอินเดียก่อให้เกิดปญั หาการหดตัวของกองทุนรวมอย่างต่อเนือ่ งเพราะส่วนแบ่งทีต่ กกับผูจ้ ดั จําหน่ ายลดลง จึงหันไป สนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์อนื ่ ทีใ่ ห้สว่ นแบ่งสูงกว่าแทน เช่น Unit-linked insurance plans 13 Platform คือ บริการผ่านเว็บไซต์ทเี ่ ป็นศูนย์รวมกองทุนรวมจํานวนมากทีผ่ ลู้ งทุนสามารถเข้ามาซื้อขายหน่ วยลงทุนได้ และหากเป็ น Execution only หมายถึง การที ่ Platform ไม่มบี ริการอืน่ เสริมเลย เช่น บริการให้คาํ แนะนําการลงทุน

6


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

อยางไรก็ตาม ระบบการจายเงินเพื่อรับคําปรึกษานอกเหนือจากคาธรรมเนียมที่ระบุในหนังสือชี้ชวน แมจะเปน สิ่งที่พบเห็นไดในหลายประเทศเชน ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา แตจะเปนเรื่องใหมมาก หากมีการนํามาใชในประเทศไทย 2.1.2 การเขาถึงของประชาชน ปญหาของการจัดจําหนายกองทุนรวมไมไดอยูที่การเขาไมถึงของประชาชน แตอยูที่การจัดการของแตละ บลจ. ที่ไมสามารถเขาถึงประชาชนไดอยางเทาเทียมกัน ดังที่ไดกลาวขางตน การจัด จําหนายหนวยลงทุนของไทยสวนมากจะทําผานสาขาของธนาคารพาณิชยซึ่งเปนชองทางที่เขาถึงผูลงทุนสวนใหญจนทํา ให บลจ. ที่เปนเครือขายของธนาคารพาณิชยเติบโตอยางมากในชวงที่ผานมา แตเนื่องจากธนาคารพาณิชยแตละแหง จําหนายหนวยลงทุนของ บลจ. ในเครือหรือกลุมพันธมิตร (In-house product) เทานั้น หรือเรียกชองทางการจัด จําหนายแบบนี้วาเปนแบบปด (ตรงขามกับแบบเปดซึ่งจะจําหนายกองทุนทั้งที่เปน In-house product และ Thirdparty product) ทําใหกองทุนที่เขาถึงประชาชนสวนใหญอาจไมใชกองทุนที่ใหผลตอบแทนคุมคาและมีตนทุนต่ํา รวมถึงทําให บลจ. รายใหมที่จะเขามาแขงขันในตลาดทําไดยากขึ้น และอาจสงผลตอความหลากหลายของสินคาใน ตลาดดวย ในหลายประเทศก็ประสบปญหาในลักษณะนี้เชนเดียวกัน อยางไรก็ตาม พบวาไมมีประเทศใดที่บังคับใหการ ขายหนวยลงทุน (ไมวาจะผานชองทางใดก็ตาม) ตองเสนอขายกองทุนใหครบทุกกองทุนหรือเสนอขายกองทุนภายใต การจัดการของทุก บลจ. แตจะแกปญหาดวยกลไกหรือแรงจูงใจอื่น เชน การสงเสริมคุณภาพการใหคําปรึกษา การ เปดเผยขอมูล สงเสริมการแขงขัน และการสงเสริมใหผูลงทุนมีความรูความเขาใจในการลงทุน เปนตน ดังนั้น เพื่อทํา ความเขาใจลักษณะ/สาเหตุของชองทางการจัดจําหนายในตางประเทศใหดียิ่งขึ้นเพื่อเปนบทเรียนสําหรับประเทศไทย จึงขอนําเสนอใน 2 มุมมอง ดังนี้ 1) ภาพรวมของชองทางการจัดจําหนาย (Distribution channel) ของกองทุนรวม ประเทศไทยไมไดเปนเพียงประเทศเดียวที่มีการจําหนายกองทุนรวมผานเครือขายธนาคารพาณิชยเปนหลัก อัน ที่จริงในตางประเทศสวนใหญในโลกไมวาจะเปนในภูมิภาคเอเซีย ยุโรป และลาตินอเมริกาก็จัดจําหนายกองทุนรวมผาน เครือขายของธนาคารพาณิชยเปนสวนใหญเชนกัน โดยประเทศที่มีธนาคารพาณิชยเปนชองทางจัดจําหนายหลัก ไดแก เบลเยียม จีน ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุน เนเธอรแลนด นิวซีแลนด นอรเวย สิงคโปร สเปน สวีเดน และไตหวัน เปน ตน แมว าการจัดจําหนายผานเครือขายธนาคารพาณิช ยจะเปนที่นิยมในประเทศสว นใหญ แตชองทางการจัด จําหนายอื่นๆ ก็เปนที่นิยมในบางประเทศเชนกัน ยกตัวอยางเชน การจําหนายผานอินเทอรเน็ตเปนที่นิยมในประเทศ ออสเตรเลีย จีน เยอรมนี สิงคโปร และไตหวัน การขายตรงเปนที่นิยมในอินเดีย และนอรเวย ในขณะที่บางประเทศ อาศั ย ระบบที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น เช น ออสเตรเลี ย อิ น เดี ย นิ ว ซี แ ลนด และอั ง กฤษ เป น ต น สํ า หรั บ ประเทศ สหรัฐอเมริกาแมจะมีชองทางการจัดจําหนายใหผูลงทุนเลือกครบทุกชองทางแตก็ไมมีชองทางใดที่โดดเดนเหนือชองทาง อื่นเปนพิเศษ อยางไรก็ตาม หากไมนับการลงทุนในกองทุนรวมที่ผานระบบบํานาญขององคกร นักลงทุนรายยอยของ สหรัฐอเมริกาที่ลงทุนผานที่ปรึกษาทางการเงินมีสูงถึงรอยละ 81 2) ตัวอยางของลักษณะการจัดจําหนายที่เปนแบบปดและแบบเปด 7


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

แนนอนวาลักษณะการจัดจําหนายแบบเปดยอมสนับสนุนใหเกิดการแขงขันในตลาดกองทุนรวมและสงเสริม การเขาถึงกองทุนรวมของผูลงทุนไดอยางเทาเทียมมากกวา อยางไรก็ตาม ยังคงมีทั้งประเทศที่ชองทางการจัดจําหนาย เปนแบบปดหรือเปดดังนี้ - ประเทศที่มีชองทางการจัดจําหนายแบบปดคอนขางชัดเจน ยกตัวอยางเชน เบลเยียม นอรเวย เยอรมัน สเปน เม็กซิโก ฝรั่งเศส และรวมถึงประเทศไทยดวย แตไมไดหมายความวาประเทศเหลานี้จะไมมีระบบที่สามารถ รองรับการจัดจําหนายแบบเปด (เชน Platform ) ได แตเปนเพราะชองทางดังกลาวอาจไมไดรับความนิยมหรืออาจถูก ใชเปนชองทางแบบปดเนื่องจากผูกอตั้ง Platform มีความเกี่ยวของกับการจัดการกองทุนจึงจําหนายเฉพาะสินคาของ ตัวเองเทานั้น ทั้งนี้ สาเหตุที่ทําใหการจัดจําหนายแบบปดแพรหลายในประเทศดังกลาวอาจมีสาเหตุที่หลากหลาย แตกตางกัน เชน บลจ. รายใหญไดรับความเชื่อถือจากผูลงทุนมากเกินไปจนทําใหมีอํานาจทางการตลาดสูงขึ้นสงผลให บรรยากาศในการแขงขันลดลง หรือการที่หนวยงานกํากับดูแลตลอดจนองคกรที่เกี่ยวของ (เชน สมาคมบริษัทจัดการ ลงทุน) ขาดประสิทธิภาพหรือไมมีความเขมแข็งจนไมสามารถสงเสริมใหเกิดการแขงขันในตลาดกองทุนรวมได อยางไรก็ ตาม เหตุผลที่สําคัญประการหนึ่งก็คือ การขาดความรูความเขาใจของผูลงทุนเอง เพราะหากผูลงทุนมีอุปสงคในสินคาที่ หลากหลายและมีความตองการในการแสวงหาเพื่อเปรียบเทียบขอมูลตางๆ ก็ยอมจะเปนแรงผลักดันใหเกิดการแขงขัน ของผูใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของผูลงทุน แตเนื่องจากผูลงทุนสวนมากยังขาดความรูความเขาใจดานการ ลงทุนจึงทําใหผูจัดการกองทุนสามารถเลือกใชกลยุทธการจัดจําหนายแบบปดเพื่อประโยชนทางธุรกิจได - ประเทศที่มีชองทางการจัดจําหนายที่เปนแบบเปดชัดเจน ยกตัวอยางเชน อังกฤษ อิตาลี สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุน ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ไตหวัน และสิงคโปร เปนตน ลักษณะรวมบางประการของประเทศในกลุมนี้ที่เอื้อตอการเขาถึงกองทุนรวมอยางเทาเทียม คือ การมีชองทาง การจัดจําหนายผานที่ปรึกษาทางการเงินและ/หรืออินเทอรเน็ต (เชน Platform เปนตน) ที่ไดรับความนิยม เนื่องจากที่ ปรึกษามีความอิสระที่จะแนะนํากองทุนและสามารถซื้อขายกองทุนจํานวนมากผานเว็บไซตไดโดยสะดวก ยกตัวอยาง คนอเมริกันซึ่งมีพฤติกรรมนิยมการใชอินเทอรเน็ตในการทําธุรกรรมทางการเงินอยูแลว 14 แตกตางจากผูลงทุนรายยอย สวนใหญในสหภาพยุโรปที่นิยมติดตอรับบริการผานสาขาของธนาคารพาณิชยมากกวาและตองเผชิญกับชองทางการ จําหนายแบบปด (ยกเวนประเทศอังกฤษซึ่งเปนศูนยกลางทางการเงินของโลก ดังนั้น ผูลงทุนจึงมีทางเลือกในการลงทุน ไดอยางหลากหลาย) อยางไรก็ตาม ประเทศที่มีธนาคารพาณิชยเปนชองทางการจําหนายหลักไมจําเปนที่จ ะตองมี ชองทางการจําหนายแบบปดเสมอไปหากมีแรงกดดันจากการแขงขันมากขึ้น 2.1.3 กรณีศึกษาอื่นที่เกี่ยวของในตางประเทศที่นาสนใจ เพื่อเปนขอคิดสําหรับตลาดกองทุนรวมไทย ดังนี้ 1) การใหผลตอบแทนแกผูจัดจําหนายสําหรับกองทุนใหมโดยเฉพาะชวง Initial public offering เพื่อจูงใจให ผูจําหนายขายกองทุนใหมมากกวาที่จะขายกองทุนที่มีอยูเดิม เปนสิ่งที่เคยเกิดขึ้นในประเทศจีนสงผลใหเกิดปญหาการ 13

14

Investment Company Institute. (2010). Ownership of Mutual Funds, Shareholder Sentiment, and Use of the Internet. Research Fundamental, Vol 19, No 6. ระบุว่าผูถ้ อื หน่ วยลงทุนในอเมริกาประมาณ 8 คนใน 10 คนใช้อนิ เทอร์เน็ตเพือ่ จุดประสงค์ทางการเงิน เช่น ใช้บญ ั ชี ออนไลน์ดา้ นเงินฝากหรือกองทุนรวม รับข้อมูลเพือ่ การลงทุน และซื้อขายหน่ วยลงทุน เป็ นต้น

8


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

เพิ่มขึ้นของจํานวนกองทุนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยแตละกองทุนมีขนาดไมใหญเพราะผูจัดจําหนายมีแรงจูงใจที่จะชักชวนใหผู ลงทุนซื้อกองทุนใหมอยูตลอดเวลา ดังนั้น แมวาจีนจะมีชองทางการจําหนายกองทุนแบบเปดแตดวยแรงจูงใจที่ไมเปน กลางของผูขายผนวกกับการไมมีระบบการใหคําปรึกษาที่เปนอิสระจึงทําใหผูลงทุนไมไดรับประโยชนเทาที่ควร และไม สงผลดีตอการพัฒนาอุตสาหกรรมกองทุนรวมที่ตองการความประหยัดตอขนาด (Economy of scale) ดังนั้น จีนจึง ประกาศหามการจายผลตอบแทนในลักษณะดังกลาวโดยมีผลบังคับใชแลวตั้งแตเดือนมีนาคมป 2553 ที่ผานมา และไม เพียงแตประเทศจีนเทานั้น หลายประเทศในสหภาพยุโรปก็มีพฤติกรรมการออกกองทุนใหมบอยๆ เพื่อสรางรายได คาธรรมเนียมเชนกัน แมวาปจจุบันแนวโนมของปญหาดังกลาวจะเริ่มลดลงแลวเนื่องจากธนาคารพาณิชยใหความสนใจ กับธุรกิจหลักดานการธนาคาร เชน การระดมเงินฝาก มากกวาดานตลาดทุน ในประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. ไมไดหามการจายผลตอบแทนในลักษณะดังกลาว แตมีแนวปฏิบัติสําหรับผู แนะนําการลงทุนวาเมื่อไดรับผลประโยชนที่แตกตางกันจากการขายกองทุนรวมแตละกองจะตองเปดเผยขอมูลใหผู ลงทุนทราบกอนตัดสินใจลงทุน 2) ภายหลังจากวิกฤติการเงินป 2551 (ค.ศ. 2008) ประเทศที่ไดรับผลกระทบทั่วโลกมีแนวโนมในการปรับ กฎเกณฑการกํากับดูแลใหเขมงวดยิ่งขึ้น สําหรับตัวอยางในภูมิภาคเอเชีย เชน สิงคโปรและฮองกง ไดปรับเกณฑการ กํากับดูแลเพื่อควบคุมการจัดจําหนายผลิตภัณฑการลงทุนผานธนาคารพาณิชยใหเขมงวดขึ้นเชนกัน ยกตัวอยางเชน การแบงโซนทําธุรกรรมธนาคารและการลงทุนแยกออกจากกันโดยหามพนักงาน (ฝาก-ถอน) ของธนาคารแนะนําการ ซื้อสินคาเพื่อการลงทุนใหลูกคา การหาม Cross-selling รวมถึงการหามใชคําที่มีความหมายเกี่ยวกับการคุมครองเงิน ตน การตรวจจับที่ปรึกษาการเงินที่มีพฤติกรรมไมเหมาะสมดวย Mystery shopper 15 การจัดใหมีเอกสารสรุป ประกอบการขายผลิตภัณฑการลงทุนที่ครบถวนและกระชับ การเปดเผยความขัดแยงเชิงผลประโยชน และสงเสริมการ ใหคําแนะนําที่มีความเหมาะสมกับลูกคาแตละราย เปนตน อยางไรก็ตาม แมระดับการคุมครองผูลงทุนจะสูงขึ้น แตขอกังวลที่ตามมานั้นไมแตกตางจากขอกังวลที่เกิดขึ้น ในกลุมประเทศอื่นที่อาศัยธนาคารพาณิชยเปนชองทางในการจัดจําหนายหลัก เนื่องจากเกรงวาธนาคารพาณิชยจะลด บทบาทในตลาดกองทุ น รวมลง หรื ออาจหั น ไปใหความสนใจกับ กลุมลูกคากลุมอื่น ที่ไมใชร ายยอย ซึ่งจะสงผลให อุตสาหกรรมกองทุนรวมหดตัวลงนั่นเอง สําหรับประเทศไทย แมสํานักงาน ก.ล.ต. จะมีมาตรการเพื่อคุมครองผูลงทุนอยูแลวในระดับหนึ่ง เชน การทํา Suitability test ของผูลงทุน การตรวจสอบผูแนะนําการลงทุนดวย Mystery shopper การจัดทําหนังสือชี้ชวนสวน สรุปขอมูลสําคัญ และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกองทุนที่มีนโยบายการคุมครองเงินตน เปนตน แตก็ยังไมเขมงวด เทาที่ควร 3) ความขัดแยงเชิงผลประโยชนของ บลจ. นอกเหนือจากกรณีชองทางการจัดจําหนายที่กลาวขางตน มี การศึ กษาในสหรั ฐ อเมริ ก า พบว า กองทุ น รวมภายใต การจั ดการของบริษั ทที่ อยู ในเครือ ของธุ ร กิ จ วาณิ ช ธนกิ จ มี ผลตอบแทนที่ต่ํากวากองทุนอื่นเนื่องจากมีความขัดแยงเชิงผลประโยชนทําใหผูจัดการกองทุนเลือกที่จะใชกองทุนรวม 15

เจ้าหน้าทีท่ างการทําตัวเป็นลูกค้าเพือ่ ขอรับบริการและประเมินการให้บริการว่าเป็ นไปตามเกณฑ์การกํากับดูแลของทางการหรือไม่

9


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

เปนเครื่องมือในการถือหลักทรัพยของลูกคาวาณิชธนกิจมากเกินกวาที่ควรจะเปน สงผลใหตนทุนตกอยูกับผูถือหนวย ลงทุน ในทางกลับกัน ผูจัดการกองทุนที่มีความเกี่ยวของกับธุรกิจการจัดจําหน าย (Underwriting) ก็ส ามารถใช ประโยชนจากการมีขอมูลขาวสารเหนือผูอื่นเกี่ยวกับการ Initial public offering ไดดวย จึงเปนที่นาสนใจวาในกรณีของธนาคารพาณิชยไทยซึ่งประกอบธุรกิจจัดการลงทุนและวาณิชธนกิจควบคูกันจะ ทําใหเกิดผลเสียตอผูลงทุนหรือไม โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนไมใชธุรกิจหลักของธนาคาร พาณิชย จึงอาจมีแรงจูงใจใหธนาคารพาณิชยใชธุรกิจจัดการลงทุนเพื่อเกื้อหนุนธุรกิจอื่นได 2.2 ผูลงทุน หากจะกลาวถึงผูซื้อหรือผูลงทุนที่ดีตามสมมติฐานทางเศรษฐศาสตรแลว ผูลงทุนจะตองมีความรอบรู มีขอมูล ขาวสารที่เพียงพอ และตองมีความสามารถในการวิเคราะหขอมูลไดอยางมีเหตุมีผล รวมถึงมีความเห็นแกตัวคํานึงถึง ประโยชนของตนเอง มิฉะนั้นการซื้อขายในตลาดก็อาจไมมีประสิทธิภาพ ผูลงทุนอาจเสียประโยชนจากการตัดสินใจ เลือกสินคาที่ไมตรงตามความตองการของตัวเอง รวมถึงอาจถูกผูขายเอารัดเอาเปรียบได ในทางกลับกัน หากผูลงทุนมี ความเขมแข็ง ก็จะเปนกุญแจสําคัญในการพัฒนาตลาดใหมีประสิทธิภาพทั้งในแงการกระตุนใหเกิดความหลากหลาย ของผลิตภัณฑ การแขงขัน และผลิตภาพในการผลิตสินคาและบริการของ บลจ. 2.2.1 การสํารวจความรูความเขาใจในการลงทุนของประชาชนไทย ในความเปนจริง นักลงทุนไทยมิไดมีคุณสมบัติสอดคลองกับสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร เห็นไดจากผลการ สํารวจความรูความเขาใจในการลงทุนของประชาชนป 2553 ของสํานักงาน ก.ล.ต. พบวา กลุมตัวอยางของผูลงทุน ปจจุบันยังมีความเขาใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ลักษณะและความเสี่ยง เชน รอยละ 38 เขาใจวาสัญญาซื้อขายลวงหนามี ความเสี่ย งต่ําถึงปานกลาง และประมาณครึ่งหนึ่งของกลุมตัวอยางผูลงทุนไมสนใจอานเอกสารประกอบการลงทุน นอกจากนี้ สําหรับกลุมตัวอยางผูที่คาดวาจะลงทุนเร็วๆ นี้ พบวา มีความสนใจที่จะลงทุนในกองทุนรวมถึงรอยละ 60 และอีกรอยละ 33 สนใจลงทุนในหุน แตกวารอยละ 60 ตอบวายังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑทางการเงิน โดยจะศึกษาขอมูลเพื่อทําความเขาใจกอนลงทุน และรอยละ 86 ของกลุมนี้จะตัดสินใจลงทุนดวยตนเอง แตยังคง ตองการขอมูลและคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญการลงทุนและผูแนะนําการลงทุน ซึ่งสวนใหญพึ่งพาขอมูลจากผูแนะนําการ ลงทุนและพนั กงานธนาคารในการตัดสินใจลงทุนเปนหลัก ซึ่งความนาเชื่อถือของผูแนะนําการลงทุน และพนักงาน ธนาคารแมวาจะขึ้นทะเบียนกับสํานักงาน ก.ล.ต. อยางถูกตอง แตก็ยังมีปญหาความขัดแยงเชิงผลประโยชนและ คุณภาพของคําปรึกษาดังที่ไดกลาวไปแลว นอกจากนี้ ประเทศไทยยังไมมีระบบการใหคําปรึกษาผานที่ปรึกษาอิสระที่ แพรหลาย ดังนั้น ผูลงทุนไทยจะมีความสามารถในการเลือกลงทุนไดอยางเหมาะสมหรือไม จึงเปนประเด็นที่นากังวล อยางยิ่ง 2.2.2 การสํารวจความรูความเขาใจดานการเงินการลงทุนในตางประเทศ แบงเปนการศึกษาในสหภาพ ยุโรปและสหัฐอเมริกา ดังนี้

10


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

1) สหภาพยุโรป ไมเพียงแตนักลงทุนไทยเทานั้นที่มีปญหาดานความรูความเขาใจทางการลงทุน หากนําผลการ สํารวจในสหภาพยุโรป 16ซึ่งมีชองทางการจัดจําหนายหลักแบบปดและพึ่งพิงระบบสาขาของธนาคารพาณิชยเหมือนกับ ประเทศไทยมาพิจารณาเทียบเคียง ก็จะพบประเด็นที่นาสนใจและมีความคลายคลึงกันหลายประการ กลาวคือ ผูลงทุน ในสหภาพยุโรปยังสับสนและไมเขาใจธรรมชาติของสิ่งที่ตนเองลงทุนอยู เชน ผูที่เขารวมในระบบบํานาญ (Pensions) และผูที่ซื้อผลิตภัณฑประเภท Structured products ไมรูวาตนเองกําลังเผชิญกับความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสาร ทุนหรือไม ยิ่งไปกวานั้น ประมาณรอยละ 40 เชื่อวาการลงทุนในหุนจะไดรับความคุมครองเงินตน (ซึ่งเปนความเชื่อที่ ผิดอยางยิ่ง) โดยมีผูลงทุนเพียงรอยละ 33 ทําการเปรียบเทียบกองทุนกอนตัดสินใจลงทุน นอกจากนี้ ผูลงทุนยังมีความ เชื่อถือในการรับคําแนะนําการลงทุนจากที่ปรึกษาการลงทุนสูงโดยไมตระหนักถึงความขัดแยงเชิงผลประโยชนของผูให คําปรึกษา โดยการลงทุนประมาณรอยละ 80 เปนแบบ Face-to-face กับผูจําหนายและรอยละ 58 ตัดสินใจเลือก ผลิตภัณฑการลงทุนตามคําแนะนําที่ไดรับจากผูใหคําปรึกษา 2) ประเทศฟนแลนด มีรายงานการศึกษา 17 ที่นาสนใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนในประเทศ ฟนแลนดซึ่งมีลักษณะคลายกรณีของประเทศไทยเนื่องจาก บลจ. ในเครือธนาคารพาณิชยมีสวนแบงการตลาดใหญกวา บลจ. กลุ ม อื่ น ทั้ งๆ ที่ ก องทุ น ภายใต ก ารจั ด การของ บลจ. ในเครื อ ธนาคารพาณิ ช ย จ ะมี ต น ทุ น สู ง กว า และมี ผ ล ประกอบการที่ต่ํากวากองทุนของ บลจ. กลุมอื่น โดยพบวา กระแสเงินไหลเขากองทุนในเครือของธนาคารพาณิชยไมมี ความสัมพันธ (มีความสัมพันธแบบสุม; Random) กับผลประกอบการกองทุนตามการจัดลําดับของ Morningstar 18 ในขณะที่หากเปนกองทุนภายใตการจัดการของ บลจ. กลุมอื่นจะพบวา กองทุนที่ไดรับดาว 5 ดวง (ผลตอบแทนสุทธิ หลังปรับความเสี่ยงสูง) จะสามารถดึงดูดเงินทุนจากผูลงทุนไดมากกวากองทุนที่ไดรับดาวนอยกวา (ผลตอบแทนสุทธิ หลังปรับความเสี่ยงต่ําลง) ตามลําดับ และในบางกรณีกองทุนที่ไดรับดาวนอยจะมีเงินไหลออกดวย ซึ่งพฤติกรรมการ เคลื่อนยายเงินทุนในกรณีหลังนี้สอดคลองกับพฤติกรรมการลงทุนในสหรัฐอเมริกาเนื่องจากกองทุนที่ไดรับดาวมากกวา จะดึงดูดเงินลงทุนไดมากกวาโดยเฉพาะอยางยิ่งกองทุน 5 ดาวจะยิ่งดึงดูดเงินลงทุนไดมากเปนพิเศษ ทั้งนี้ เปนที่เชื่อวา ผูลงทุนในกองทุนเครือธนาคารพาณิชยอาจใหความสําคัญกับความสะดวกและความนาเชื่อถือขององคกร (Branding) มากกวาผลประกอบการของกองทุนในอดีต นอกจากนี้ ยังมีขอสังเกตที่นาสนใจอีกประการหนึ่ง คือ การใหบริการดานกองทุนรวมโดยธนาคารพาณิชยใน สหรัฐอเมริกามีความครบวงจรหรือมี Economy of scope จึงอาจมีผลใหตนทุนคาธรรมเนียมลดลงได แตในทางตรง 15

16

16

Chater Huck and Inderst (2010) ). Consumer Decision-Making in Retail Investment Services: A Behavioural Economics Perspective. ทํา การสํารวจออนไลน์จากผูล้ งทุนรายย่อย 6,000 รายในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป 8 ประเทศ ได้แก่ สาธารณรัฐเช็ก ฝรังเศส ่ เยอรมัน อิตาลี โปแลนด์ โรมาเนีย สวีเดน และอังกฤษ 17

Knuutila M., Puttonen V., Smythe T. (2007). The Effect of Distribution Channels on Mutual Fund Flows. Journal of Financial Services Marketing, 12, 88–96. 18 Morningstar ให้บริการการจัดอันดับกองทุนรวมฟรีผ่านเว็บไซต์โดยเปรียบเทียบผลตอบแทนทีป่ รับความเสีย่ งแล้วหลังหักต้นทุนค่าธรรมเนียมซื้อ ขายของแต่ละกองทุน โดยกองทุนกลุม่ ทีม่ ผี ลตอบแทนสุทธิดที สี ่ ุดจะได้รบั ดาว 5 ดวง และลดหลันลงตามลํ ่ าดับจนกลุ่มทีด่ อ้ ยทีส่ ุดจะได้รบั ดาวเพียง 1 ดวง

11


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ขาม การใหบริการดานกองทุนรวมในฟนแลนดกลับอาศัยความไดเปรียบจากความสามารถในการดึงดูดลูกคากลุมใหญ ของธนาคารพาณิชยในการคิดคาธรรมเนียมจากผูลงทุนสูงขึ้น ทั้งนี้ สาเหตุสวนหนึ่งอาจมาจากความรูความเขาใจและ ความมีเหตุมีผลของผูลงทุนในฟนแลนด ในขณะที่ การแขงขันในสหรัฐอเมริกามีความรุนแรงมากกวารวมถึงการที่ กองทุนในสหรัฐอเมริกามีขนาดใหญจึงมีความประหยัดตอขนาดมากกวาก็ได 3) ประเทศสหรัฐอเมริกา จากรายงานประจําป 19ของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน ประเทศสหรัฐอเมริกา ระบุวา ผูลงทุนในสหรัฐอเมริกามีพฤติกรรมเลือกลงทุนในกองทุนที่มีตนทุนต่ํากวา เนื่องจากคาเฉลี่ย (Simple average) ของ expense ratio20 ของกองทุนที่มีการเปดเผยขอมูลทั่วไปนั้น มีคาสูงกวาคาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (Weighted average) ที่ นักลงทุนไดจายออกไปจริงๆ ใหกับกองทุนตลอดระยะเวลา 15 ปที่ผานมา ทั้งนี้ สวนหนึ่งเปนเพราะผูลงทุนนิยมกองทุน ประเภท No-load21 มากขึ้น (รวมถึงกองทุน Pension ดวย) ซึ่งทําใหแรงจูงใจในการเปดกองทุนใหมลดลง ทําใหกอง ทุนเดิมที่มีอยูมีขนาดใหญและมีความประหยัดตอขนาด นอกจากนี้ ยังมีรายงานอีกฉบับหนึ่งของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน 22 สํารวจผูลงทุนในสหรัฐอเมริกา พบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลกับมุมมองตออุตสาหกรรมกองทุนรวม (Investor Opinion of the Fund Industry) ของผูลงทุนมาก ที่สุดคือ ผลประกอบการของกองทุนรวม สวนปจจัยรองลงมาคือ ความเห็นของที่ปรึกษาการลงทุน และปจจัยที่แทบจะ ไมมีผลกระทบเลยคือ สื่อประชาสัมพันธโฆษณา ดังนั้น จึงเห็นไดวาผูลงทุนในสหรัฐอเมริกามีความสามารถในการตัดสินใจเลือกลงทุนไดดีในระดับหนึ่งเนื่องจาก มีความตระหนักในตนทุนและผลประกอบการของกองทุนรวม อยางไรก็ตาม นักลงทุนอเมริกันไมไดมีพฤติกรรมการ ลงทุนที่เหมาะสมเสมอไป โดยมีการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เอนเอียง (Bias) ของนักลงทุนอเมริกัน 23 พบวา หากเปน กรณีนักลงทุนกลุม Sophisticated investor (เขาถึงขอมูลขาวสารมากกวา รายไดสูงกวา อายุมากกวา และมี ประสบการณ มากกว า) ก็ มักจะได ป ระโยชนจ ากการลงทุน ในกองทุน รวม โดยมีพฤติกรรมในการลงทุน ระยะยาว หลีกเลี่ยงกองทุนที่มี Expense ratio สูง และเลือกถือกองทุนที่มีผลประกอบการดี แตหากเปนนักลงทุนที่มีพฤติกรรม เอนเอียงมักจะไมนิยมซื้อกองทุนรวมแตจะลงทุนในหุนโดยตรงแทน หรืออาจซื้อกองทุนรวมดวยเหตุจูงใจอื่นเชน สิทธิ ประโยชนทางภาษี แตเมื่อถือหนวยลงทุนแลวก็มักจะซื้อขายหนวยลงทุนบอย แตมีจังหวะเวลาที่ไมถูกตอง เชน ซื้อเมื่อ ราคาสูง และขายเมื่อราคาต่ํา ทําใหทายที่สุดนักลงทุนไมไดประโยชนจากการลงทุนเทาที่ควร หลังจากที่ไดเห็น ภาพรวมของการจัดจําหนายกองทุนรวมในฟากผูใหบ ริการไมวาจะเปนประเด็นปญหาที่ เกี่ยวกับ บลจ. และผูติดตอกับผูลงทุน รวมถึงฝากผูลงทุนวามีสถานะความรูความเขาใจดานการเงินการลงทุนเปน อยางไร ในตอนตอไปจะเปนการพิจารณาความเสี่ยงของผูลงทุนในเชิงลึกยิ่งขึ้นวามีโอกาสที่จะตัดสินใจในการเลือก 18

21

22

19 20 21

22

Investment Company Institute. (2011). 2011 Investment Company Fact Book. 51st edition. ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนทีใ่ ช้ในการบริหารจัดการกองทุน โดยคิดเป็ นสัดส่วนต่อมูลค่าทรัพย์สนิ ทัง้ หมดของกองทุน กองทุนทีไ่ ม่มกี ารคิดค่าธรรมเนียมในการซื้อหรือขายหน่ วยลงทุน

Investment Company Institute. (2010). Ownership of Mutual Funds, Shareholder Sentiment, and Use of the Internet. Research Fundamental, Vol 19, No 6. 23 Bailey W., Kumar A., Ng D. (2010). Behavioral Biases of Mutual Fund Investors. financially supported by BSI Gamma Foundation.

12


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

ลงทุนผิดพลาดอยางไรบางโดยอาศัยตัวอยางจากการสํารวจในตางประเทศ รวมถึงการใชเครื่องชี้วัดอยางงายที่แสดงให เห็นถึงระดับปญหาของตลาดกองทุนรวมในประเทศไทย และจะเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาของภาครัฐตลอดจน หนวยงานกํากับดูแลวาควรเปนไปในทิศทางใดเพื่อใหการพัฒนาอุตสาหกรรมกองทุนรวมของไทยสามารถเติบโตอยาง ยั่งยืนและกอใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูลงทุนตอไป --------------------------------------------------------------------------------------------

13


สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง

MACROECONOMIC ANALYSIS BRIEFING สวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค

สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

กลยุทธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค

“วิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจไดอยางมีคุณภาพ แมนยํา และทันตอเหตุการณ เพื่อใหสามารถเสนอแนะนโยบายเศรษฐกิจมหภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสรางความเขาใจที่ถกู ตองตอสาธารณชน” คณะผูจัดทํา ผูอํานวยการสํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค (นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ : boonchar@mof.go.th) ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเศรษฐกิจมหภาค (นายพิสิทธิ์ พัวพันธ : ppuapan@yahoo.com) ผูอํานวยการสวนแบบจําลองและประมาณการเศรษฐกิจ (นางวิภารัตน ปนเปยมรัษฎ : wiparat@fpo.go.th) ผูอํานวยการสวนการวิเคราะหเสถียรภาพเศรษฐกิจ (ดร.ศรพล ตุลยะเสถียร : soraphol.fpo@gmail.com) ผูอํานวยการสวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ (นางสาวสิริกัลยา เรืองอํานาจ : sirigunya@hotmail.com)

ภาคเศรษฐกิจ

ผูวิเคราะห/รับผิดชอบ

Email

นรพัชร อัศววัลลภ วรพล คหัฎฐา นิภัทร ชมบานแพว สุธิรัตน จิรชูสกุล

norabajra@hotmail.com

ภาคอุตสาหกรรม

ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ อรอุมา หนูชว ย

thammaritud@yahoo.com onumaneung@hotmail.com

ภาคเกษตรกรรม

กาญจนา จันทรชิต

kulmbe6@yahoo.com

ภาคการเงิน

อารจนา ปานกาญจโนภาส

archana.fpo@gmail.com

เศรษฐกิจตางประเทศ

พีรพรรณ สุวรรณรัตน ภัทราพร คุมสะอาด

peerapan.ps@gmail.com

ธนิต ภัทรแสงไทย อรุณรัตน นานอก

thanitcfa@gmail.com

ภาคบริการดานการทองเที่ยว

คงขวัญ ศิลา รชานนท ฉิมเชิด

kongkwan@fpo.go.th rachanon.fpo@gmail.com

ภาคการบริโภค การลงทุน และ อสังหาริมทรัพย

วรพล คหัฎฐา กาญจนา จันทรชิต

worpol1@yahoo.com

อัตราเงินเฟอและตลาดน้ํามัน

ยุทธภูมิ จารุเศรนี

iam5111@msn.com

อัตราแลกเปลี่ยน

ดร.พิมพนารา หิรัญกสิ

pim.hirankasi@gmail.com

ภาคการจางงาน

พนันดร อรุณีนิรมาน กมลพงศ วิศิษฐวาณิชย

panundorn.a@gmail.com

การคลัง

ภาคการคาระหวางประเทศ

worpol1@yahoo.com nipat44@hotmail.com j_suthi01@yahoo.com

phattraporn088@gmail.com aobcy2000@hotmail.com

kulmbe6@yahoo.com

sasri_aorn13@hotmail.com

14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.