Macro Views April 2013
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review : ทางเลือกใหม่
.....ในการระดมทุนเพื่อการบริการสาธารณะ HighLight : รายได ้สว่ นบุคคลปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ 1.1% การบริโภคสว่ นบุคคลขยายตัว 0.7% สง่ ผลดี ต่อเศรษฐกิจสหัฐ
Global :
■ สหรัฐ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐช่วงท้ายเดือนมี.ค.จากรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กนปรับเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 78.6 ซึง่ เป็ นระดับ สูงสุดนับตัง้ แต่ตน้ ปี 2551 โดยปจั จัยหนุนมาจากการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องในตลาดแรงงาน : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยรายได้สว่ นบุคคลปรับตัวเพิม่ ขึน้ 1.1% และการบริโภคส่วนบุคคลขยายตัว 0.7% ในเดือนก.พ. ซึง่ สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์ คาดไว้วา่ จะขยายตัว 0.8% หลังจากทีล่ ดลง 3.7% ในเดือนม.ค. ขณะทีก่ ารใช้จา่ ยด้านการบริโภคส่วนบุคคลสูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้เล็กน้อยที่ 0.6% และนับเป็ นการปรับตัวขึน้ สูงสุดนับตัง้ แต่เดือนก.ย. ส่งสัญญาณถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐทีด่ ขี น้ึ ในไตรมาสแรก ■ ยุโรป : คณะกรรมาธิการยุโรป รายงานจีดพี ลี ดลง 0.5% ในช่วงไตรมาสที4่ /55 หดตัวรุนแรงทีส่ ดุ นับตัง้ แต่ปี2552 ■ ฝรังเศส ่ : ยอดขาดดุลสาธารณะปี 2555 แตะ 4.8% ซึง่ ถือเป็ นสถิตทิ ส่ี งู กว่าทีป่ ระธานาธิบดีฝรังเศสได้ ่ ให้คาํ มันไว้ ่ ก่อนหน้านี้ท่ี 4.5% สํานักงานสถิตฝิ รังเศส ่ รายงานหนี้ของประเทศเพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 90.2% ของจีดพี ี จากระดับปีก่อนหน้าที่ 85.8% ■ ไซปรัส : ปริมาณเงินฝากจากธนาคารพาณิชย์ในไซปรัสเดือนก.พ.ลดลง 18% (mom) บ่งชีส้ งั คมวิตกเกีย่ วกับภาษีเงินฝาก ■ จีน : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 50.9 จากเดือนก.พ.ทีร่ ะดับ 50.1 ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6 ทีด่ ชั นี PMI ภาคการผลิตของจีนเคลื่อนไหวเหนือระดับ 50 สะท้อนให้เห็นว่าภาคการผลิตเริม่ ฟื้นตัวขึน้ จากทีเ่ คยหดตัว ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ เผยผลสํารวจความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของกลุม่ ผูผ้ ลิตรายใหญ่ของญีป่ นุ่ ไตรมาส1/56 ยังคงมีทศิ ทางเป็ นลบ แต่ แนวโน้มดีขน้ึ โดยดัชนีความเชื่อมันของกลุ ่ ม่ ผูผ้ ลิตรายใหญ่เพิม่ ขึน้ แตะระดับ -8 จากไตรมาส 4/55 ทีร่ ะดับ -12 เป็ นการเพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกใน รอบ 3 ไตรมาส เพราะได้แรงหนุนจากการอ่อนค่าของเงินเยนและราคาหุน้ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการค้าอุตสาหกรรมและพลังงาน เผยยอดการส่งออกเพิม่ ขึน้ ในมี.ค.0.4% (yoy) สูร่ ะดับ 4.75 หมืน่ ล้านดอลลาร์ ซึง่ หนุ นให้เกาหลีใต้ยงั คงเกินดุลการค้าติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 14 จากอุปสงค์สนิ ค้าไอทีจากประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ได้ชว่ ยหนุ นการส่งออก ซึง่ เป็ นกลไกหลักทีข่ บั เคลื่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากนี้นกั ลงทุนยังมีความกังวลจากสถานการณ์เกาหลีเหนือประกาศภาวะ สงครามกับเกาหลีใต้ เพือ่ ตอบโต้การทีส่ หรัฐฯ ส่งเครือ่ งบินทิง้ ระเบิด บี-2 สเตลธ์ ผ่านน่านฟ้าเกาหลีใต้
Thailand updates :
■ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) รายงานปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาพรวมในปีน้ี คาดว่า จะขยายตัวเพิม่ ร้อยละ 5 ตามภาวะ เศรษฐกิจทีข่ ยายตัว คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 4.5 แสนลบ. โดยในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2556 เฉลีย่ การใช้ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 3 โดยสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าแบ่งเป็ น การใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 50 ภาคธุรกิจและบริการ ร้อยละ 30 และ ภาคครัวเรือนร้อยละ 20 ทัง้ นี้ หากในอนาคตก๊าซอ่าวไทยหมดก็ตอ้ งนําเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (แอลเอ็นจี) มาใช้ผลิตไฟฟ้ามากขึน้ ส่งผลให้คา่ ไฟฟ้า มีโอกาสสูงกว่า 5 บาทต่อหน่วย จากปจั จุบนั ที่ 2-3 บาทต่อหน่วย ■ เงินบาทปิดตลาด (29 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.29/30 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.32/34 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ปิดทําการ เนื่องในวัน Good Friday ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 61.95 จุด หรือ 0.50% ปิดที่ 12,397.91 จุด จากนักลงทุนคลายความวิตกกังวลเกีย่ วกับวิกฤตภาคธนาคารของ [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 1 ไซปรัส ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 0.32 จุด หรือ 0.01% ปิ ดที่ 2,236.62 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 165.19 จุด หรือ 0.74% ปิ ดที่ 22,299.63 จุด ตลาด หุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,561.06 จุด เพิม่ ขึน้ 16.49 จุด หรือคิดเป็ น 1.07% ปรับเพิม่ ขึน้ สูงเพราะได้รบั แรงหนุนจากทีต่ ลาดหุน้ สหรัฐฯปิดบวก ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 4 ประจําว ันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Review : ทางเลือกใหม่ .....ในการระดมทุนเพือ ่ การบริการสาธารณะ
องค์กร St Mungo คือองค์กรทีช่ ว่ ยเหลือบุคคลไร้ทอ่ี ยูอ่ าศัยให้มแี หล่งพักพิง เพื่อไม่ให้ กลายเป็ นบุคคลเร่รอ่ น ซึง่ ได้รบั เงินทุนสนับสนุ นจากการดําเนินการออกพันธบัตร ซึง่ เรียกว่า” พันธบัตรเพื่อลดผลกระทบในสังคม”(Social Impact Bond : SIB) พันธบัตรดังกล่าวมีขอ้ ตกลงในการ จ่ายผลตอบแทนแก่นกั ลงทุนเอกชนทีเ่ ข้ามาลงทุน โดยเงินทุนทีร่ ะดมได้จากนักลงทุนมีถงึ มูลค่า 5 ล้านปอนด์(หรือ 8 ล้านดอลลาร์) สําหรับจัดสรรให้แก่องค์กร ST Mungo และองค์กร Thame Reach โดยรับผิดชอบบุคคลเร่รอ่ นกว่า 400 ชีวติ เงินทุนดังกล่าวใช้สาํ หรับดําเนินโครงการในระยะเวลา 3 ปี เพื่อเข้าช่วยเหลือบุคคลทีน่ อนริมถนน โดยผลสําเร็จของโครงการวัดจากจํานวนตัวเลขทีว่ ดั ได้เช่น จํานวนคืนทีพ่ กั ริมถนม จํานวนคืนทีเ่ ข้ารักษาทีโ่ รงพยาบาล เป็ นต้น
ด้วยวิธกี ารระดมเงินทุนแบบนี้ ทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ประโยชน์ หากบรรลุเป้าหมายตามทีก่ าํ หนดไว้ The Greater London Authority (GLA) องค์กรหลักทีร่ บั ผิดชอบบริหาร SIB จะจ่ายเงินคืนให้แก่นกั ลงทุน เนื่องจากจํานวนผูเ้ ร่รอ่ นเข้ามาใช่บริการสาธารณะของ รัฐลดน้อยลง ทําให้ภาระของภาครัฐลดลงไปด้วยและเงินจํานวนดังกล่าวจากการลดภาระของรัฐจะนําไปจ่ายคืนแก่นกั ลงทุนด้วยผลตอบแทน ร้อยละ 6.5 นอกจากนี้ เมือ่ การใช้เงินทีไ่ ด้รบั จากการจัดเก็บจากภาษีถกู ใช้ภายใต้แรงกัดดัน ทําให้มกี ารใช้จา่ ยมีประสิทธิภาพและปญั หา สังคมก็ลดน้อยลง เงินทุนทีไ่ ด้รบั ด้วยวิธกี ารออกพันธบัตรแบบนี้ ระยะเวลายาวเพียงพอทีจ่ ะฟื้นฟูและให้บาํ บัดผูม้ ปี ญั หา ซึง่ ต่างจากเงินช่วยเหลือจาก รัฐบาลโดยตรงทีร่ ะยะเวลาสัน้ กว่า ทัง้ นี้ กองทุน SIB สําหรับช่วยเหลือผูเ้ ร่รอ่ น เป็ น 1 ใน 14 กองทุน ทีม่ กี ารพัฒนาในสหราชอาณาจักรมา ตัง้ แต่ปี 2010 จากกองทุนสําหรับการบําบัดสมรรถภาพนักโทษในเมือง Peterborough ซึง่ ตอนนัน้ ให้ผลตอบแทนนักลงทุนร้อยละ 13 เพือ่ ให้ความมันใจแก่ ่ นกั ลงทุน และต้องบําบัดนักโทษและลดจํานวนมิให้กลับมาเป็ นนักโทษอีกร้อยละ 7.5 ผลสําเร็จทําให้เป็ นแบบอย่างให้ หลายเมืองทําตาม แม้กระทัง้ ในมลรัฐนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกาก็เห็นด้วยกับการจัดตัง้ กองทุนลักษณะเช่นนี้ และมีการการเปิดตัวกองทุน SIB เมือ่ ปี ก่อนเพือ่ แก้ปญั หาและฟ้นฟูผตู้ อ้ งขัง ในเรือนจําเกาะไรเคอร์(Rikers Island ) โดยมี บริษทั โกล์ดแมนแซค (Goldman Sachs) เป็ นหนึ่งในนักลงทุนด้วยและปจั จุบนั มีกองทุน ลักษณะเช่นนี้ 1 กองทุนทีน่ ิวยอร์ค และ 2 กองทุนในรัฐแมสซาซูเซสโดยมีทป่ี รึกษา นาย Jeffrey Liebman อาจารย์มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ ชาวอเมริกนั เข้ามาช่วยเหลือทางด้าน เทคนิคให้แก่ทงั ้ 3 กองทุนนี้ และขณะนี้มอี กี กว่า 28 แห่งจากมลรัฐและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ต่างๆทีย่ น่ื เสนอขอความช่วยเหลือในการจัดตัง้ SIB ในประเทศตลาดเกิดใหม่กใ็ ห้ความสนใจในการจัดตัง้ กองทุน SIB เช่นกัน ภายใต้ช่อื ว่า “พันธบัตรเพื่อการพัฒนาและลดผลกระทบทาง สังคม” (Development-impact bonds) นาย Micheal Belinsky ผูร้ เิ ริม่ องค์กร SIB ในประเทศยากไร้ ซึง่ ปจั จุบนั ทํางานให้กบั SIB ใน อินเดีย เพือ่ พัฒนาการศึกษาสําหรับผูห้ ญิงในรัฐราชสถาน (ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย) และการลดภาวะการตัง้ ครรภ์ในวัยรุน่ และ อัตราการออกจากโรงเรียนในประเทศโคลัมเบีย พบว่าผลตอบแทนทีจ่ ะได้จากการลงทุนในกองทุนเช่นนี้ไม่ใช่เป็ นเบ้าหมายหลัก เนื่อง ประเทศเหล่านี้ยากจนและแถบจะไม่มมี าตราการป้องกันและเยียวยาทางสังคม ดังนัน้ แหล่งเงินทุนหลักมักจากจากองค์กรการพัฒนา ความช่วยเหลือระหว่างประเทศมากกว่า ดังนัน้ การขยายตัวของ SIB จึงค่อนข้างจํากัดและไม่น่าสนใจสําหรับนักลงทุน เพราะบาง โครงการต้องใช้ระยะเวลาหลายปีกว่าจะเห็นผล เช่น การลดปญั หาในวัยเรียนก่อนเข้ามหาวิทยาลัย อย่างไรก็ดี เชื่อว่าในระยะแรกอาจต้องประสบปัญหาและหากมีพฒ ั นาต่อไปเช่นเดียวกับประเทศสหราชอาณาจักร ก็สามารถ พัฒนาเป็ นตราสารหนี้ ได้ [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
, The economist , Feb 23 2013 Social-impact bonds
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : ภาคการผลิตสหร ัฐขยายต ัวชะลอลงแตะ 51.3 ตํา ่ กว่าทีค ่ าด 54.2
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยการใช้จา่ ยด้านการก่อสร้างในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ 1.2% สูร่ ะดับ 8.8513 แสนล้านดอลลาร์ หลังจากใน เดือนก่อนหน้าทีล่ ดลง 2.1% โดยปจั จัยจากการก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยและการก่อสร้างในเชิงพาณิชย์ทเ่ี พิม่ ขึน้ ได้ชว่ ยหนุนการใช้จา่ ยด้าน ก่อสร้างให้ปรับตัวขึน้ ในเดือนก.พ. : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ รายงานว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคการผลิตของสหรัฐขยายตัวชะลอลงผิดคาดแตะ 51.3 ในเดือนมี.ค. จาก 54.2 ในเดือนก.พ. โดยก่อนหน้านี้ นักวิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่าดัชนีภาคการผลิตสหรัฐจะมีการขยายตัวใกล้เคียงกับในเดือนก.พ. : มาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของสหรัฐในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ แตะ 54.6 จาก 54.3 ในเดือนก.พ. ซึง่ ส่งสัญญาณว่า ภาคการผลิตของสหรัฐมีการขยายตัวต่อเนื่อง ■ ไซปรัส : แบงก์ ออฟ ไซปรัส เผยเสร็จสิน้ การเพิม่ ทุนซึง่ จะทําให้ธนาคารปฏิบตั ติ ามข้อกําหนดเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสีย่ งขัน้ ตํ่าได้อย่าง เต็มที่ และจะยังคงสัดส่วนเงินกองทุนขัน้ ที่ 1 (Core Tier 1) ไว้ท่ี 9% ภายใต้สถานการณ์ทเ่ี ลวร้าย ซึง่ ได้รบั การประเมินโดย PIMCO ■ จีน : ราคาบ้านใหม่ใน 100 เมืองใหญ่ของจีนในเดือนมี.ค. ปรับตัวสูงขึน้ 1.06% (mom) ซึง่ สูงกว่าทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.83% ในเดือนก.พ. ขณะที่ ราคาอสังหาริมทรัพย์จนี ใน 100 เมืองใหญ่ทะยานขึน้ 3.9% (yoy)ในเดือนมี.ค. ซึง่ สูงกว่าทีเ่ พิม่ ขึน้ 2.48% ในเดือนก.พ. ■ ญี่ปนุ่ : ยอดขายรถยนต์ใหม่ของญีป่ นุ่ ยกเว้นรถยนต์ขนาดเล็ก ลดลง 15.6% ในเดือนมี.ค. (yoy) แตะ 420,069 คัน นับเป็ นการลดลง ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 7 ในขณะทีย่ อดขายรถยนต์นงขนาดเล็ ั่ กขยับขึน้ 1.9% สูร่ ะดับ 200,988 คัน โดยเพิม่ ขึน้ เป็ นเดือนที่ 18 ติดต่อกัน ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงโยธาธิการเกาหลีใต้ เผยจะมีการออกมาตรการเพือ่ กระตุน้ ตลาดอสังหาริมทรัพย์ทก่ี ําลังซบเซา ซึง่ รวมถึงการ ยกเว้นการเก็บภาษีครอบครองอสังหาริมทรัพย์และภาษีกาํ ไรจากอสังหาริมทรัพย์เป็ นการชัวคราว ่ โดยผูซ้ อ้ื บ้านหลังแรกมีรายได้ต่าํ กว่า 60 ล้านวอน/ปี จะได้รบั การยกเว้นภาษีการซือ้ อสังหาฯทีม่ มี ลู ค่าตํ่ากว่า10เท่าของรายได้ ส่วนผูท้ ม่ี ที อ่ี ยูอ่ าศัยมากกว่า1แห่งจะได้รบั การ ลดหย่อนภาษีกําไรจากการขายอสังหาฯ อัตราดอกเบีย้ เงินกูซอ้ื บ้านลดลงจาก 3.8% เป็ น 3.3-3.5% และทางการจะช่วยรีไฟแนนซ์เงินกูซ้ อ้ื บ้านทีผ่ กู้ มู้ ปี ญั หาการผิดนัดชําระหนี้
Thailand updates :
■ อัตราเงินเฟ้อเดือนมี.ค. ขยายตัว 2.69% (yoy) ซึง่ ชลอตัวลงจากเดือนก.พ.ที่ 3.23% (yoy) และตํ่ากว่าทีต่ ลาดคาดไว้ท่ี 3.00% (yoy) ดัชนีราคา ผูบ้ ริโภคพืน้ ฐาน ( Core CPI ) ขยายตัว 1.23 % (yoy) อย่างไรก็ตามกระทรวงพาณิชย์ยงั คงคาดการณ์อตั ราเงินเฟ้อทัวไปอยู ่ ท่ ่ี 2.8 -3.4% ■ เงินบาทปิดตลาด (1 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.32/33 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวในวงแคบ จากหลายตลาดในโซนยุโรปปิ ดทําการ โดยมีแรงซือ้ ดอลลาร์เข้ามา ในช่วงท้าย จึงทําให้บาทอ่อนค่าลงจากช่วงเช้าดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 5.69 จุด หรือ 0.04% ปิดที่ 14,572.85 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 7.02 จุด หรือ 0.45% ปิดที่ 1,562.17 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 28.35 จุด หรือ 0.87% ปิดที่ 3,239.17 จุด จากสหรัฐเผยว่าภาคการผลิตชะลอตัวลงในเดือนมี.ค. ■ ตลาดหุน้ ดัชนีนิกเกอิลดลง 262.89 จุด หรือ 2.12% แตะที่ 12,135.02 จุด จากบีโอเจเผยผลสํารวจความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของกลุม่ ผูผ้ ลิต รายใหญ่ประจําไตรมาส1/56 ตํ่ากว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 2.23 จุด หรือ 0.1% ปิ ดที่ 2,234.40 จุด ดัชนีฮงั ่ เส็งปิ ดทําการเนื่องจากวัน EASTER MONDAY ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,549.55 จุด ลดลง 11.51 จุด หรือ 0.74% จากความ กังวลปญั หาในคาบสมุทรเกาหลีและญีป่ นุ่ เปิดเผยผลสํารวจความเชื่อมันทางธุ รกิจของกลุม่ ผูผ้ ลิตรายใหญ่ออกมาตํ่ากว่าทีน่ กั วิเคราะห์ ่ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
้ื ภาคโรงงานสหร ัฐเพิม ้ 3% จากเครือ HighLight : เดือนก.พ.ยอดสง่ ั ซอ ่ ขึน ่ งบิน,ยานยนต์ และยูโรโซน ว่างงานสูงสุดเป็นประว ัติการณ์ 12%
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์ เผยยอดสังซื ่ อ้ ภาคโรงงานปรับตัวขึน้ 3.0% ในเดือนก.พ. หลังจากทีล่ ดลง 1% ในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ สูงสุดในรอบ 5 เดือน สูง กว่าทีค่ าดการณ์ไว้ท่ี 2.9% จากยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนทีท่ ะยานขึน้ นําโดยเครื่องบินพาณิชย์และยานยนต์ ซึง่ ช่วยชดเชยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าทุนหลักทีร่ ว่ งลง ■ ยุโรป : ยูโรสแตท เผยอัตราว่างงานยูโรโซนในเดือนก.พ. ทรงตัวอยูท่ ่ี 12.0% สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ ส่งสัญญาณว่าเศรษฐกิจภูมภิ าค ยังคงอยูใ่ นภาวะถดถอยอย่างต่อเนื่อง ส่วนอัตราว่างงานในกลุ่มคนหนุ่มสาวเพิม่ ขึน้ แตะ 23.9% : มาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนมี.ค.ปรับตัวลงสูร่ ะดับ 46.8 จาก 47.9 ในเดือนก.พ. ซึง่ บ่งชี้ ว่าภาคการผลิตยังคงอยูใ่ นภาวะหดตัวอย่างต่อเนื่อง ■ อิ ตาลี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของอิตาลีในเดือนมี.ค.ทีป่ รับตัวลดลงแตะ 44.5 จาก 45.8 ในเดือนก.พ. ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าเศรษฐกิจของอิตาลียงั คงอยูใ่ นภาวะถดถอยอย่างต่อเนื่อง จากความไม่มนคงทางการเมื ั่ อง ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานของอิตาลีในเดือน ก.พ.ลดลงมาสูร่ ะดับ 11.6% จาก 11.7% (mom) แต่อตั ราว่างงานเพิม่ สูงขึน้ ทีร่ ะดับ 10.1% (yoy) ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนมี.ค. เพิม่ ขึน้ 1.4% (yoy) ตํ่าสุดในรอบ 2 ปี ในเดือนมี.ค.56 อัตราเงินเฟ้อของเยอรมนีปรับตัวขึน้ 0.5% (mom) ธนาคารกลางเยอรมนีคาดการณ์วา่ อัตราเงินเฟ้อรายปีของเยอรมนีจะอยูท่ ่ี 1.5% ในปีน้ี และ 1.6% ในปี หน้า ขณะทีด่ ชั นีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของเยอรมนีในเดือนมี.ค.หดตัวลงที่ 49.0 จาก 50.3 ในเดือนก.พ. ■ ไซปรัส : รัฐมนตรีกระทรวงการคลังไซปรัสลาออก หลังช่วยให้ได้รบั เงิน Troika และได้ขยายเวลาแก้ไขปญั หาออกไปอีก 2 ปี จนถึงปี 2561 ■ จีน : สมาพันธ์อุตสาหกรรมปิ โตรเลียมและเคมีจนี (CPCIF) เผยมูลค่าการลงทุนในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของจีนอยูท่ ่ี 9.6 หมืน่ ล้าน หยวนในระหว่างเดือนม.ค.-ก.พ. เพิม่ ขึน้ 13.6% (yoy) ทัง้ นี้ ในช่วงเดือนม.ค.-ก.พ. มูลค่าผลผลิตของภาคปิโตรเคมีเพิม่ ขึน้ 11.6% (yoy) แตะ 1.7173 ล้านล้านหยวน โดยอัตราการขยายตัวตํ่ากว่าในเดือนธ.ค. ปี 2555 ที่ 5.2% : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รายงานผลกําไรของบริษทั รถยนต์รายใหญ่ๆทัวประเทศในช่ ่ วง 2 เดือนแรกเพิม่ ขึน้ 19.8% (yoy) แตะที่ 6.12 หมืน่ ล้าน หยวน ยอดขายรถยนต์ในเดือนม.ค-ก.พ. ขยายตัว 14.72% สู่ 3.39 ล้านคัน ขณะทีก่ ารผลิตรถยนต์โดยรวมขยายตัว 14.06% แตะที่ 3.31 ล้านคัน ■ ออสเตรเลีย : ธนาคารกลางออสเตรเลียคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ท่ี 3%
Thailand updates : ■ กระทรวงอุตาสาหกรรม รายงานดัชนีความเชื่อมันภาวะอุ ่ ตสาหกรรมอาหารไทย (CEOs Food Index) เดือนก.พ.56 อยูท่ ร่ี ะดับ 50.5 สําหรับแนวโน้ม 3 เดือนข้างหน้า (มี.ค-พ.ค) ดัชนีอยูท่ ร่ี ะดับ 55.7 แสดงถึงผูป้ ระกอบการมีความเชื่อมันที ่ ด่ ตี ่อภาวะธุรกิจ ■ เงินบาทปิดตลาด (1 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.35/37 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.30/32 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 89.16 จุด หรือ 0.61% ปิดที่ 14,662.01 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 8.08 จุด หรือ 0.52% ปิดที่ 1,570.25 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 15.69 จุด หรือ 0.48% ปิดที่ 3,254.86 จุด จากยอดสังซื ่ อ้ ภาคโรงงานของสหรัฐทีเ่ พิม่ ขึน้ ในเดือนก.พ. ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 131.59 จุด หรือ 1.08% ปิดที่ 12,003.43 จุด จากเศรษฐกิจทีย่ ่าํ แย่ของสหรัฐและจีน ประกอบกับเงิน เยนทีแ่ ข็งค่าขึน้ ได้บนทอนความเชื ั่ ่อมันของนั ่ กลงทุน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 6.66 จุด หรือ 0.3% ปิ ดที่ 2,227.74 จุด ดัชนีฮงเส็ ั่ ง เพิม่ ขึน้ 68.19 จุด หรือ 0.31% ปิดที่ 22,367.82 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,550.54 จุด เพิม่ ขึน้ 0.99 จุด หรือ 0.06% จาก ความผันผวนสูงซึง่ ตลาดยังไม่มปี จั จัยใหม่ๆเข้ามาชีน้ ําทิศทาง ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Research : เงินเยนอ่ อนค่ า...กลับไม่ กระตุ้นภาคการส่ งออกญี่ปุ่น
HighLight : ดัชนีภาคบริการสหรัฐเดือนมี.ค.ชะลอตัวลงแตะ 54.4 ตํา่ สุดในรอบ 7 เดือน
Global :
■ สหรัฐ : สถาบันจัดการอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผยดัชนีภาคบริการของสหรัฐขยายตัวชะลอลงแตะ 54.4 ในเดือนมี.ค. ซึง่ ตํ่าสุดในรอบ 7 เดือน จากระดับ 56.0 ในเดือนก.พ. ตํ่ากว่าทีค่ าดว่าดัชนีจะขยายตัวใกล้เคียงกับในเดือนก.พ. : ADP บริษทั วิจยั ตลาดแรงงานในสหรัฐ เผยภาคเอกชนทัวสหรั ่ ฐมีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ 158,000 ตําแหน่งในเดือนมี.ค. ซึง่ ตํ่ากว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ น ใหญ่คาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ ราว 190,000-200,000 ตําแหน่ง นอกจากนี้ นักลงทุนยังจับตาดูกระทรวงแรงงานสหรัฐเปิ ดเผยตัวเลขการจ้างงานนอก ภาคเกษตรเดือนมี.ค.ในวันศุกร์น้ี ซึง่ คาดว่าตัวเลขจ้างงานจะเพิม่ ขึน้ 200,000 ตําแหน่ง และคาดว่าอัตราว่างงานจะทรงตัวที่ 7.7% ■ ยุโรป : ยูโรสแตท เผยอัตราเงินเฟ้อรายปีในสมาชิก 17 ประเทศทีใ่ ช้เงินยูโร ชะลอลงแตะ 1.7% ในเดือนมี.ค. จาก 1.8% ในเดือนก.พ. ราคาพลังงานทีล่ ดลงเป็ นปจั จัยหลักทีส่ ง่ ผลให้เงินเฟ้อในยูโรโซนลดลง ซึง่ ตํ่ากว่าเป้าของอีซบี เี ล็กน้อยที่ 2% จึงคาดกันว่าอีซบี จี ะตรึงอัตรา ดอกเบีย้ ไว้ท่ี 0.75% ในการประชุมกําหนดนโยบายการเงินทีจ่ ะมีขน้ึ ในวันพรุง่ ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปน เผยหนี้สนิ ภาคครัวเรือนของสเปนในเดือนก.พ.ปรับตัวลดลง 4.3% (yoy) มาอยูท่ ร่ี ะดับ 8.2349 แสนล้านยูโร ซึง่ ตํ่าสุด นับตัง้ แต่เดือนพ.ค. 2550 จากระดับ 8.6103 แสนล้านยูโรในเดือนก.พ.2555 ขณะทีห่ นี้สนิ ภาคครัวเรือนของสเปนลดลง 5.23 พันล้านยูโร (mom) : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของสเปนในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากเดือนก.พ. 1.4 จุด อยูท่ ่ี 52.1 จุด ซึง่ ยังคงเป็ นมุมมองทีเ่ ป็ นลบอย่าง ชัดเจนต่อสถานการณ์ในสเปน ■ โปรตุเกส : สํานักงานสถิตยิ โุ รป เผยอัตราการว่างงานในโปรตุเกสยังคงเคลื่อนไหวอยูท่ ่ี 17.5% ในเดือนก.พ. สะท้อนให้เห็นว่าโปรตุเกสยังคงเป็ น ประเทศทีม่ อี ตั ราการว่างงานสูงทีส่ ดุ เป็ นลําดับสามในยูโรโซน ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานในยูโรโซนอยูท่ ่ี 12% และสหภาพยุโรปอยูท่ ่ี 10.9% ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ รายงานทุนสํารองเงินตราต่างประเทศของเกาหลีใต้อยูท่ ่ี 3.2741 แสนล้านดอลลาร์ ณ สิน้ เดือนมี.ค. ขยับขึน้ เล็กน้อยจากระดับ 3.274 แสนล้านดอลลาร์ ซึง่ มีระดับใกล้เคียงกับเดือนก่อนหน้า จากรายได้การลงทุนปรับตัวสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ทุนสํารองเงินตราต่างประเทศขยับขึน้ ไม่มากนัก เนื่องจากมูลค่าสินทรัพย์ทไ่ี ม่ใช่สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐปรับตัวลดลง
Thailand updates :
■ กนง. มีมติคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ทร่ี อ้ ยละ 2.75%/ปี อย่างไรก็ตาม ปจั จัยเสีย่ งซึง่ ยังคงเป็ นการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็ นค่อยไปของ เศรษฐกิจโลก แต่ปญั หาทางการคลังยังคงเป็ นปญั หาทีต่ อ้ งติดตาม ขณะทีส่ ถานการณ์ในประเทศยังต้องติดตามภาวะแวดล้อมทีอ่ าจทําให้ เกิดฟองสบูใ่ นอนาคตอย่างใกล้ชดิ แต่ในขณะนี้ยงั ไม่พบสัญญาณฟองสบู่ ทัง้ ในภาคอสังหาริมทรัพย์และหนี้สนิ ภาคครัวเรือน ■ เงินบาทปิดตลาด (1 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.36/38 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ จากช่วงเช้าหลัง กนง.มีมติให้คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ท่ี 2.75% /ปี และแรงเทขายดอลลาร์ของผูส้ ง่ ออก
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 111.66 จุด หรือ 0.76% ปิดที่ 14,550.35 จุด ดัชนี S&P ลดลง 16.56 จุด หรือ 1.05% ปิดที่ 1,553.69 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 36.26 จุด หรือ 1.11% ปิดที่ 3,218.60 จุด จากดัชนีภาคบริการทีช่ ะลอตัวลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 7 เดือน ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 358.77 จุด หรือ 2.99% ปิดที่ 12,362.20 จากเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลงหลังจากสหรัฐเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่ แข็งแกร่ง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 2,225.30 จุด ลดลง 2.44 จุด หรือ 0.11% ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 30.33 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 22,337.49 จุด ตลาด ขอ้ ความ] หุน้ ไทย SET[พิปิมดพ์ตลาดที ร่ ะดับ 1,520.52 จุด ลดลง 30.02 จุด หรือ 1.94% จากปจั จัยในความกังวลเรือ่ งการแก้รฐั ธรรมนูญ และป.ป.ช. หน้ จะพิาจ1 ารณากรณีท่ี นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีปล่อยเงินกูใ้ ห้แก่บริษทั คูส่ มรส
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 15 ประจําว ันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Research : เงินเยนอ่อนค่า...กล ับไม่กระตุน ้ ภาคการส่งออกญีป ่ ่น ุ
กรมศุลกากรรายงานยอดขาดดุลการค้าในเดือนกุมภาพันธ์สงู มาก เป็ นผลมา จากค่าเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลง ซึง่ ยังไม่สง่ ผลให้ปริมาณการส่งออกเพิม่ ขึน้ เนื่องจาก อัตราแลกเปลีย่ นมีความผันผวนและกว่าจะกระทบต่อปริมาณการส่งออกและนําเข้า อาจต้องใช้ระยะเวลาประมาณหนึ่งปี ค่าเงินเยนอ่อนตัวลงมากตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2012 ซึง่ คาดว่าจะส่งผลต่อ ปริมาณการส่งออกและนําเข้าในช่วงปลายปี 2013 - 2014 โดยส่วนแบ่งทางการตลาดและ ปจั จัยอื่นๆ เครื่องจักรทัวไป ่ (สินค้าทุน) เริม่ มีผลกระทบเชิงบวกบ้างแล้ว จากข้อมูลเดือนก.พ.ปริมาณการส่งออกลดลง 2.9% ขณะทีป่ ริมาณการนําเข้าเพิม่ ขึน้ 11.9% ส่งผลให้ขาดดุลการค้า 777.5 พันล้านเยน เป็ นการ ขาดดุลทีล่ ดลงจากเดือนม.ค.ทีร่ ะดับ 1,630.9 พันล้านเยน ทําให้ดุลการค้ามีแนวโน้มทีจ่ ะขาดดุลเพิม่ ขึน้ เมือ่ พิจารณาแนวโน้มจากช่วงก่อนหน้า และ หากตัดผลทางฤดูกาลออก พบว่าการนําเข้าเพิม่ ขึน้ 6.8% (mom) สูงกว่าการขยายตัวของการส่งออก 1.3 % ดังนัน้ ดุลการค้ายังคงขาดดุลเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี ระดับ 1,086.6 พันล้านเยนจาก 737.3 พันล้านเยน ในเดือนก่อนหน้า ส่วนราคาสินค้าส่งออกในเดือน ก.พ.เพิม่ ขึน้ 15% ส่งผลให้ปริมาณการส่งออก ลดลง 15.5% และไม่มแี นวโน้มจะฟื้นตัวหลังจากทีล่ ดลงในช่วงครึง่ หลังของปี 2012 ในขณะเดียวกันปริมาณการนําเข้ายังคงทรงตัวจากเดิม โดยลดลง เล็กน้อย 0.1% ขณะทีร่ าคาสินค้านําเข้าเพิม่ ขึน้ มากถึง 11.9% สะท้อนให้เห็นผลของค่าเงินเยนทีอ่ ่อนตัวลง ในกรณีของญีป่ นุ่ เมือ่ เปรียบเทียบราคาสินค้าส่งออกและนําเข้าทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยปริมาณไม่เปลีย่ นแปลง ทําให้ขาดดุลการค้าเพิม่ ขึน้ จาก การนําเข้าพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ มากในช่วงเดือน มี.ค. 2011 หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว (มูลค่าการนําเข้าสูงกว่ามูลค่าการส่งออกอย่างมาก) นักวิเคราะห์คาดว่าค่าเงินเยนทีอ่ ่อนตัวลงมากตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2012 จะทําให้ปริมาณการส่งออกและนําเข้าเริม่ ดีขน้ึ การขาดดุล น้อยลงในช่วงปลายปี 2012และขยายตัวดีในช่วงครึง่ แรกของปี 2013 ผลกระทบของเงิ นเยนอ่อนค่าต่อเศรษฐกิ จญี่ปนุ่ การส่งออกในเดือนม.ค. - ก.พ. เพิม่ ขึน้ 1.3% (yoy) โดยเฉพาะการส่งออกไป สหรัฐฯ ขณะทีก่ ารส่งออกไปสหภาพยุโรปลดลงแสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจของยุโรป อยูใ่ นภาวะถดถอยและภาคการเงินยังไม่มเี สถียรภาพเมือ่ เทียบกับสหรัฐฯ การส่งออกไปยังประเทศจีนลดลงในขณะทีก่ ารส่งออกไปยังกลุ่มประเทศ เอเชียเพิม่ มากขึน้ ซึง่ โดยรวมการส่งออกสินค้าประเภทวัตถุดบิ อยูใ่ นเกณฑ์ดี ในขณะทีส่ นิ ค้าประเภทเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ยงั ไม่ดเี ท่าทีค่ วร แนวโน้มชีใ้ ห้เห็นว่า ภาคการผลิตเริม่ จะฟื้นตัวแม้วา่ ด้านการลงทุนจะยังไม่ดขี น้ึ ก็ตาม จากการส่งออกสินค้าประเภทอุปกรณ์เครือ่ งจักรไฟฟ้าไปยังประเทศจีนทีล่ ดลงอาจเป็ นผลจากความสัมพันธ์ของจีนและญีป่ นุ่ อยูใ่ นภาวะตึงเครียด การนําเข้าสินค้ามีปริมาณเพิม่ ขึน้ สูงถึง 9.4 % เมือ่ เทียบกับปี ก่อน ซึง่ ส่วนใหญ่มาจาก 3 ปจั จัยหลัก คือ 1) การนําเข้านํ้ามันดิบก๊าซ ธรรมชาติและเชือ้ เพลิงต่างๆเพิม่ ขึน้ 2) การนําเข้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เช่น Smart Phone สินค้าอิเล็กทรอนิกส์จากจีนเพิม่ ขึน้ 3) การนําเข้า ่ จากประเทศจีนและประเทศในกลุม่ เอเชียเพิม่ ขึน้ สินค้าอื่นๆ เช่น เสือ้ ผ้า สินค้าทัวไป นักวิเคราะห์มองว่าดุลการค้าจะกลับมาเกินดุลหรือไม่นนั ้ ต้องพิจารณาการนําเข้านํ้ามันเชือ้ เพลิงจะลดลงหรือไม่ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั แนวโน้ม ราคานํ้ามันดิบราคาก๊าซธรรมชาติ ประกอบกับหากญีป่ นุ่ เริม่ เดินเครือ่ งปฏิกรณ์นิวเคลียร์อกี ครัง้ ญีป่ นุ่ ก็จะต้องนําเข้าเครือ่ งจักรไฟฟ้าและ ผลิตภัณฑ์อ่นื ๆจากประเทศในกลุม่ เอเชียเพิม่ ขึน้
ภาวะเงิ นเยนอ่อนค่า อาจไม่เป็ นผลดีต่อการนําเข้าที่เพิ่ มขึน้ และกว่าจะเห็นผลการอ่อนค่าของเยนช่วยกระตุ้นการส่งออกก็ต้อง ใช้เวลา ดังนัน้ คงต้องจับตามองนโยบายเศรษฐกิ จของญี่ปนว่ ุ่ าจะทําอย่างไรให้เศรษฐกิ จหลุดพ้นจากภาวะเงิ นฝื ดได้ [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
external environment improved?, By: Masayuki Kichikaw , Japan Economic Weekly , March22, 2013 To what extent has
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
้ เกินคาด 28,000 ราย HighLight : สหร ัฐฯเผยจํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานพุง ่ ขึน
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 30 มี.ค.เพิม่ ขึน้ 28,000 ราย แตะ ระดับ 385,000 ราย ตรงข้ามกับทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะลดลงแตะระดับ 350,000 ราย ขณะทีจ่ าํ นวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานอย่างต่อเนื่อง โดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ เพิม่ ขึน้ 11,250 ราย แตะระดับ 354,250 ราย สะท้อนให้เห็นว่าตลาดแรงงานของสหรัฐยังคงซบเซา ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป มีมติตรึงอัตราดอกเบีย้ ไว้ทร่ี ะดับตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 0.75% ซึง่ เป็ นไปตามการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ : มาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของยูโรโซนในเดือนมี.ค.ลดลงที่ 46.4 จาก 47.9 ในเดือนก.พ. จากการทีภ่ าค บริการของประเทศสมาชิกรายใหญ่ๆต่างก็ปรับตัวยํ่าแย่ในเดือนก่อนหน้า ■ อังกฤษ : ธนาคารกลางอังกฤษ มีมติตรึงอัตราดอกเบีย้ ที่ 0.5% นอกจากนี้ยงั ได้ตดั สินใจทีจ่ ะไม่ขยายโครงการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) วงเงิน 3.75 แสนล้านปอนด์ ซึง่ การตัดสินใจดังกล่าวเป็ นไปตามทีต่ ลาดคาดการณ์ไว้ ■ สเปน : กระทรวงการคลัง เผยสเปนสามารถประมูลขายพันธบัตรได้ในวงเงินทัง้ สิน้ 4.31 พันล้านยูโร ในขณะทีอ่ ตั ราผลตอบแทนพันธบัตรอยูใ่ น ระดับทีค่ อ่ นข้างทรงตัว ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่านักลงทุนยังคงมีความเชื่อมันต่ ่ อแนวโน้มเศรษฐกิจสเปน และศูนย์วจิ ยั สังคมวิทยาของสเปน เผยดัชนี ความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนมี.ค.อยูท่ ่ี 52.1 จุด เพิม่ ขึน้ 1.4 จุดจากเดือนก.พ. จากผูบ้ ริโภคมีมมุ มองทีด่ ขี น้ึ ต่อสถานการณ์ในปจั จุบนั ■ อิ ตาลี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของอิตาลีในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 45.5 จาก 43.6 ในเดือนก.พ. แต่ดชั นียงั คงหด ตัวต่อเนื่องจากตัวเลขทีต่ ่าํ กว่าระดับ 50 ■ ไซปรัส : ไอเอ็มเอฟได้บรรลุขอ้ ตกลงระดับเจ้าหน้าทีก่ บั ทางการไซปรัสว่าด้วยแผนเศรษฐกิจทีจ่ ะได้รบั การสนับสนุ นจากไอเอ็มเอฟ ร่วมกับสหภาพยุโรปและธนาคารกลางยุโรป โดยมีแผนทีจ่ ะเสนอแผนการเงินกูร้ ะยะ 3 ปีวงเงินราว 1.34 พันล้านดอลลาร์ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่ง ของแผนการช่วยเหลือจากนานาประเทศครัง้ ล่าสุดสําหรับไซปรัส ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ มีมติผอ่ นคลายนโยบายการเงินต่อไป โดยจะยังคงเดินหน้าผ่อนคลายนโยบายการเงินแบบเชิงรุก จนกว่าจะบรรลุ เป้าหมายเงินเฟ้อทีร่ ะดับ 2% เพื่อจัดการกับปญั หาเงินฝืด ทัง้ นี้ คณะกรรมการบีโอเจได้ตดั สินใจใช้กรอบใหม่สาํ หรับการซือ้ พันธบัตรรัฐบาลเพิม่ เป็ น 2 เท่าจํานวน 7.7 ล้านล้านเยน/ปี โดยจะซือ้ พันธบัตรรัฐบาลทีม่ อี ายุการไถ่ถอนนานขึน้ และเพิม่ การซือ้ สินทรัพย์ทางการเงินทีม่ คี วามเสีย่ ง
Thailand updates : ■ ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภค เดือนมี.ค.ของไทยเพิม่ ขึน้ เป็ นเดือนที่ 6 ติดต่อกัน อยูท่ ่ี 84.8 จากเดือนก่อนที่ 84 เป็ นผลมาจากราคานํ้ามัน ในประเทศลดลง กฏหมายเงินกู้ 2.2 ลลบ.ผ่านรัฐสภา และตลาดหุน้ ไทยสูงขึน้ อีกทัง้ ค่าจ้างแรงงานขัน้ ตํ่า 300 บาท/วัน ช่วยเพิม่ รายได้ ■ เงินบาทปิดตลาด (4 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.35/36 บาท/ดอลลาร์ แต่แนวโน้มวันนี้เงินบาทอาจมีโอกาสแข็งค่าได้ จากต่างชาติเข้ามาขายดอลลาร์เมือ่ วานนี้
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 55.76 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 14,606.11 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.29 จุด หรือ 0.40% ปิด ที่ 1,559.98 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 6.38 จุด หรือ 0.20% ปิ ดที่ 3,224.98 จุด ได้แรงหนุนจากการทีธ่ นาคารกลางญีป่ นุ่ ประกาศเดินหน้า ใช้นโยบายผ่อนคลายการเงินเพื่อกระตุน้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 272.34 จุด หรือ 2.20% ปิดที่ 12,634.54 จุด จากนักลงทุนเห็นด้วยกับบีโอเจทีต่ ดั สินใจใช้นโยบายผ่อน คลายการเงินแบบเชิงรุก ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตปิดเนื่องจากวันเชงเม้ง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,528.46 จุด เพิม่ ขึน้ 7.94 จุด หรือ 0.52% นักลงทุนคลายความกังวลจากผลการประชุมของปปช.ต่อเงินกู้ 30 ลบ.ของนายกฯ มีมติรับทราบไม่มีพฤติกรรมแสดงบัญชีทรัพย์สนิ เป็ นเท็จ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน HighLight : สหร ัฐฯเผยความเชอ ่ ั ของธุรกิจขนาดเล็ กปร ับลดลงครงแรกในรอบ ั้ 4 เดือน
Global :
■ สหรัฐฯ : ความเชื่อมันของธุ ่ รกิจขนาดเล็กของสหรัฐปรับตัวลดลงเป็ นครัง้ แรกในรอบ 4 เดือน ดัชนีมมุ มองเชิงบวกของธุรกิจขนาดเล็ก ลดลง 1.3 จุด สูร่ ะดับ 89.5 ในเดือนมี.ค. โดยดัชนีปรับตัวผันผวนระหว่าง 86.5 - 94.5 นับตัง้ แต่ทภ่ี าวะเศรษฐกิจถดถอยสิน้ สุดลงในเดือน มิ.ย.2552 โดยเจ้าของธุรกิจทีว่ างแผนจะลดสต็อกสินค้าและลดการจ้างงานนัน้ มีจาํ นวนมากขึน้ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยสต็อกสินค้าภาคค้าส่งเดือนก.พ.ปรับตัวลดลง 0.3% จากเดือนม.ค.ทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.8% และสวนทางกับทีน่ กั เศรษฐศาสตร์คาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ อย่างไรก็ดยี อดค้าส่งปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าบริษทั ต่างๆประเมินอุปสงค์ของผูบ้ ริโภคตํ่าเกินไป : ธนาคารกลางสหรัฐ เผยภาคธนาคารของสหรัฐขยายตัวแข็งแกร่งขึน้ มากนับตัง้ แต่เกิดวิกฤตการเงิน เพราะได้แรงหนุ นจากเศรษฐกิจโดยรวมทีฟ่ ้ืนตัวขึน้ ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ 1% (mom) จากการเพิม่ ขึน้ ของการผลิตพลังงาน ท่ามกลางสภาพอากาศทีห่ นาวเย็นและการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทเ่ี พิม่ ขึน้ ส่วนการผลิตในภาคการผลิตปรับขึน้ 0.8% ในเดือนก.พ.(mom) ■ เยอรมนี : กระทรวงเศรษฐกิจเยอรมนี เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของเยอรมนีปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.5% ในเดือนก.พ.หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.6% ในเดือน ม.ค. ซึง่ นับเป็ นสัญญาณบ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจเยอรมนีซง่ึ มีขนาดทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในยุโรปได้กลับมาขยายตัวอีกครัง้ หลังจากทีห่ ดตัวลงในไตรมาสสุดท้ายปี 2555 : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเยอรมนี เผยการส่งออกของเยอรมนีในเดือนก.พ.ลดลง 1.5% (mom) และหดตัว 2.8% (yoy) ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ของจีนลดลง 1.9% ในเดือนมี.ค.(yoy) และดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ของจีน ลดลง 1.9% ในเดือนมี.ค.(yoy) ซึง่ เป็ นมาตรวัดเงินเฟ้อในระดับค้าส่ง ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยการกูย้ มื ภาคครัวเรือนเกาหลีใต้ลดลงติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 2 อยูท่ ่ี 654.4 ล้านล้านวอน ( 5.739 แสนล้าน ดอลลาร์) ณ สิน้ เดือนก.พ. ลดลง 1.8 ล้านล้านวอนจากเดือนก่อนหน้า จากตลาดอสังหาริมทรัพย์ทซ่ี บเซาได้ชะลอความต้องการเงินกูจ้ าํ นอง ■ ออสเตรเลีย: ภาวะทางธุรกิจในออสเตรเลียร่วงสูร่ ะดับตํ่าสุดในรอบ 4 ปี ในเดือนมี.ค.โดยดัชนีภาวะทางธุรกิจลดลง 4 จุด สูร่ ะดับ -7 ใน เดือนมี.ค. ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดในนับตัง้ แต่เดือนพ.ค. 2552 แต่ความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจทีป่ รับตัวดีขน้ึ เล็กน้อย 1 จุด สูร่ ะดับ +2 ในเดือนมี.ค.
Thailand updates :
■ ครม.มีมติเห็นชอบให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กูเ้ งินในประเทศ ภายในกรอบวงเงิน 5,640.44 ลบ. เพือ่ ใช้ในการ Refinance หนี้เงินกูส้ กุลเงินเยน จํานวน 4 สัญญา ตามแผนการปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศภายใต้แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจําปีงบประมาณ 2556 ตามทีก่ ระทรวงมหาดไทยเสนอ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 9 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.01/03 บาท แข็งค่าจากระดับ 29.14/16 บาท/ดอลลาร์ จากแรงไหลเข้ามาของเงินทุนต่างประเทศ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 59.98 จุด หรือ 0.41% แตะที่ 14,673.46 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 5.54 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 1,568.61 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 15.61 จุด หรือ 0.48% ปิดที่ 3,237.86 จุด ปรับตัวขึน้ ในกรอบทีจ่ าํ กัดจากนักลงทุนยังคงวิตกกังวลเกีย่ วกับ แนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐ หลังจากมีรายงานว่าสต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจและดัชนีความเชื่อมันในภาคธุ ่ รกิจขนาดเล็กปรับตัวลดลง ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 0.24 จุด ปิดที่ 13,192.35 จุด จากทีน่ กั ลงทุนมีทา่ ทีระมัดระวังการซือ้ ขาย ภายหลังจากดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว เมือ่ เร็วๆนี้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 2,225.77 จุด เพิม่ ขึน้ 14.18 จุด หรือ 0.64% ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 152.29 จุด หรือ 0.7% ปิดที่ 21,870.34 จุด ตลาด หุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,470.72 จุด ลดลง 18.81 จุด หรือ1.26% จากตลาดได้รบั แรงกดดันจากปจั จัยลบต่าง ๆ ในเชิงจิตวิทยาการลงทุน และยังขาด ปจั จัยบวกใหม่เข้ามาด้วย ทําให้เกิดแรงขายทํากําไรออกมาก่อนหยุดทําการในช่วงวันหยุดยาวในเทศกาลสงกรานต์ นักลงทุนต่างก็ชะลอลงทุนไปก่อนด้วย ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Research: ความร่ วมมืออย่ างใกล้ ชิดระหว่ างธนาคารกลางเกาหลีใต้ และรั ฐบาลฯเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ 2013
HighLight : ดุลงบประมาณสหรัฐฯลงลงสู่ 0.07 แสนล ้านดอลลาร์ และ BOKคงอัตราดอกเบีย ้ ที่ 2.75%
Global :
■ สหรัฐฯ : สํานักงานสารสนเทศด้านการพลังงาน เผยสต็อกนํ้ามันประจําสัปดาห์สน้ิ สุดวันที่ 6 เม.ย.เพิม่ ขึน้ 250,000 บาร์เรล น้อยกว่าที่ นักวิเคราะห์คาดว่าสต็อกนํ้ามันดิบจะพุง่ ขึน้ 1.5 ล้านบาร์เรล ซึง่ ไม่นบั รวมกับนํ้ามันในคลังยุทธภัณฑ์สาํ รองซึง่ ปจั จุบนั มีอยูป่ ริมาณ 697 ล้านบาร์เรล : กระทรวงการคลัง เผยยอดขาดดุลงบประมาณลดลงสู่ 0.07 แสนล้านดอลลาร์ในเดือนมีนาคม ซึง่ ลดลงจาก 1.98 แสนล้านดอลลาร์ (yoy) ซึง่ ตํ่ากว่าทีค่ าด 1.125 แสนล้านดอลลาร์ ■ ฝรังเศส ่ : ธนาคารกลางฝรังเศส ่ เผยเศรษฐกิจจะขยายตัวเล็กน้อยในไตรมาสแรกของปี 2556 โดยมีปจั จัยชีว้ ดั กิจกรรมทางเศรษฐกิจราย เดือนแสดงให้เห็นว่า จีดพี เี พิม่ ขึน้ 0.1% ในช่วง 3 เดือนแรกของปีน้ี อย่างไรก็ตามอัตราขยายตัวของเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจของฝรังเศสมี ่ แนวโน้วทีจ่ ะรอดพ้นจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย หลังจากเศรษฐกิจหดตัวในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีทผ่ี า่ นมา ■ จีน : สํานักงานศุลกากรจีน เผยการส่งออกของจีนในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 10% (yoy) และการนําเข้าเพิม่ ขึน้ 14.1% (yoy) : จีนได้สง่ ออกนํ้ามันดิบปริมาณ 640,000 ตันในไตรมาสแรกของปี 2556 ลดลง 31.9% (yoy) ขณะทีจ่ นี ส่งออกนํ้ามันดิบอยูท่ ่ี 270,000 ตัน ในเดือนมี.ค. ซึง่ สูงกว่าปริมาณนํ้ามันส่งออกในเดือนก.พ. อย่างมากที่ 90,000 ตัน : ธนาคารกลางจีน เผยยอดปล่อยกูค้ รัง้ ใหม่ของจีนในไตรมาส 1 ปี น้ี ขยายตัว 2.94 แสนล้านหยวนต่อปี แตะ 2.76 ล้านล้านหยวน หรือ 4.41 แสนล้านดอลลาร์ ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ประกาศคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับ 2.75% แม้เกาหลีใต้เผชิญแรงกดดันทางการเมือง รวมถึงผลกระทบ จากความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลี ทัง้ นี้นบั เป็ นเดือนที่ 6 ติดต่อกันทีธ่ นาคารกลางเกาหลีใต้ประกาศคงอัตราดอกเบีย้ ■ ออสเตรเลีย: ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคออสเตรเลียปรับตัวลดลง 5.1% ในเดือนเมษายน สูร่ ะดับ 104.9 จุด จาก 110.5 ในเดือนมีนาคม หลังปรับตัว ขึน้ อย่างแข็งแกร่งเมือ่ สองเดือนทีแ่ ล้ว อย่างไรก็ตามค่าดัชนีทม่ี ากกว่า 100 บ่งบอกว่าผูบ้ ริโภคทีม่ มี มุ มองเป็ นบวกมีมากกว่าผูท้ ม่ี มี มุ มองเป็ นลบ
Thailand updates : ■ ธปท.เผยได้ตดิ ตามความเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทอย่างใกล้ชดิ เมือ่ ปลายสัปดาห์ทผ่ี า่ นมาได้ทาํ หนังสือถึงธนาคารทีด่ แู ลหลักทรัพย์ เพือ่ นําข้อมูลมาใช้ในการติดตาม พร้อมระบุผทู้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบหลักคือผูส้ ง่ ออกทีใ่ ช้วตั ถุดบิ ในประเทศเป็ นหลัก โดยได้ขอความร่วมมือจาก ธนาคารพาณิชย์ในการอํานวยความสะดวกให้กบั ผูป้ ระกอบการ ทัง้ ในด้านการประกันความเสีย่ งและฝากรายได้ในรูปเงินตราต่างประเทศ เพือ่ ให้เกิดความคล่องตัวมากขึน้ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 10 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.01/03 ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 28.93/95 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 128.78 จุด หรือ 0.88% ปิดที่ 14,802.24 จุด ดัชนี S&P 500 ดีดขึน้ 19.12 จุด หรือ 1.22% ปิ ด ที่ 1,587.73 จุด และดัชนี Nasdaq พุง่ ขึน้ 59.40 จุด หรือ 1.83% ปิ ดที่ 3,297.25 จุด จากทีเ่ ห็นด้วยในการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ทีร่ ะบุวา่ คณะกรรมการเฟดมีความเห็นทีต่ รงกันในเรือ่ งประโยชน์ของการใช้มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ หรือ QE ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 95.78 จุด หรือ 0.73% แตะที่ 13,288.13 จุด จากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกทีส่ ดใสยังคงกระตุน้ ความ ต้องการสิน[พิ ทรัมพพ์ย์ขขอ้ องนั กลงทุน ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 164.22 จุด หรือ 0.75% ปิดที่ 22,034.56 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ หน้ ะดับา 1 1,490.25 ความ] จุด เพิม่ ขึน้ 19.53 จุด หรือ1.33% เนื่องจากนักลงทุนบางส่วนทยอยซือ้ เพือ่ เก็งกําไร ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 16 ประจําว ันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
ิ ระหว่างธนาคารกลางเกาหลีใต้และร ัฐบาลฯเพือ GLOBAL Research: ความร่วมมืออย่างใกล้ชด ่ กระตุน ้ เศรษฐกิจปี 2013
รัฐบาลเกาหลีใต้รายงานตัวเลขประมาณการณ์เศรษฐกิจในปี 2013 จะขยายตัว 2.3% (ไม่รวมมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ) ลดลงจากเดิมทีป่ ระมาณการณ์ไว้ในเดือน ธันวาคมว่าจะขยายตัว 3 % โดยตัวเลขดังกล่าวตํ่ากว่าทีธ่ นาคารแห่งชาติเกาหลีใต้ คาดการณ์ไว้ในเดือนมกราคมที่ 2.8% ซึง่ ปรับลดลงจากช่วงก่อนหน้าในเดือนตุลาคม ทีร่ ะดับ 3.2% ทัง้ นี้ตวั เลขประมาณการณ์ดขี น้ึ เล็กน้อยจากในปี 2012 ทีร่ ะดับ 2.0% จากการแถลงข่าวของกระทรวงยุทธศาสตร์และการคลัง (MOSF) มีการ ประกาศมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจระยะสัน้ ในการสนับสนุนการทํางานของชนชัน้ แรงงานและกระตุน้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จระยะสัน้ มีดงั นี้ 1.) การเพิม่ งบประมาณรายจ่ายกว่าร้อยละ 60 ของงบประมาณประจําปี ซึง่ มาตรการดังกล่าวเคยมีการนํามาใช้ในช่วงก่อนหน้านี้ โดยในครึง่ ปีแรกของปี 2013 รัฐบาลเผยตัวเลขงบประมาณรายจ่ายอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 72 2.) การจัดทํางบประมาณรายจ่ายเพิม่ เติม มูลค่ากว่า 12 ล้านล้านวอน ภายในเดือนเม.ย. โดยงบส่วนใหญ่จะพุง่ เป้าไปทีก่ ารจ้างงานและส่งเสริม การทํางานของชนชัน้ ล่าง ซึง่ นักวิเคราะห์คาดว่ามาตรการดังกล่าวอาจจะทําให้อตั ราการขยายตัวของจีดพี เี พิม่ ขึน้ ประมาณ 0.5% 3.) ธนาคารกลางเกาหลีใต้ประกาศขยายเพดานเงินกูด้ อกเบีย้ ตํ่าเพื่อสนับสนุ นธุรกิจขนาดเล็ก-กลาง (SMEs) และผูส้ ง่ ออกไว้ท่ี 9 ล้านล้านวอน แสดง ให้เห็นถึงความร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ ระหว่างรัฐบาลและธนาคารกลางเกาหลีใต้ เพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจ โดยธนาคารกลางเกาหลีใต้มแี นวโน้มจะลด อัตราดอกเบีย้ ลง 0.25% มาอยูท่ ่ี 2.5 %ในเดือนเมษายน 4.) มาตรการอื่น ๆ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจ SMEs เพือ่ การส่งออก และการจ้างงาน - การลงทุน กําลังจัดเตรียมรายละเอียดมาตรการคาดว่าจะแล้วเสร็จใน เดือนพฤษภาคม - อสังหาริมทรัพย์ มาตรการยกเว้นภาษีการซือ้ บ้านทีม่ มี ลู ค่าไม่เกิน 10 เท่าของรายได้ ให้กบั ผูซ้ อ้ื บ้านหลังแรกซึง่ มีรายได้ต่อปีต่าํ กว่า 60 ล้าน วอน (ประมาณ 53,900 ดอลลาร์ฯ) สําหรับผูซ้ อ้ื บ้านราคาไม่ถงึ 900 ล้านวอนในปีน้ี จะได้รบั การยกเว้นภาษีกาํ ไรจากอสังหาริมทรัพย์เป็ น เวลา 5 ปีนบั จากวันทีซ่ อ้ื บ้าน นอกจากนัน้ ยังลดดอกเบีย้ เงินกูซ้ อ้ื บ้านลง สูร่ ะดับร้อยละ 3.3-3.5 จากร้อยละ 3.8 - ธุรกิจ SMEs เพือ่ การส่งออก มาตรการนี้จะรวมถึงการขยายวงเงิน ให้กบั ธนาคารเพือ่ การนําเข้า-ส่งออกจาก70 ล้ านวอนในปี 2012 เพิม่ ขึน้ เป็ น 74 ล้านวอนในปี 2013 เพือ่ ช่วยเหลือผูส้ ง่ ออกและลดผลกระทบ จากอัตราแลกเปลีย่ น - การจ้างงาน เพิม่ การจ้างงาน 16,000 ตําแหน่งในองค์กรภาครัฐฯ และการจัดตัง้ เครือข่ายสารสนเทศทีค่ รอบคลุมการทํางาน ฯลฯ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จดังกล่าวพร้อมที่จะนํามาใช้ในอีกสองเดือนร่วมกับงบประมาณเพิ่ มเติ ม ซึ่งชี้ให้เห็นความมุ่งมันของ ่ รัฐบาลที่จะฟื้ นฟูเศรษฐกิ จและจากข้อมูลที่กล่าวมาในการปรับลดอัตราการเจริ ญเติ บโตในปี 2013 และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จซึ่ง ประกอบด้วยทิ ศทางของธนาคารแห่งชาติ เกาหลีใต้ในการปรับลดอัตราดอกเบีย้ 0.25% ในเดือนเมษายนนี้ ดังนัน้ คาดว่าธนาคาร แห่งชาติ เกาหลีใต้จะสามารถควบคุมให้อตั ราเงิ นเฟ้ อตํา่ กว่าที่คาดการณ์ไว้ และคาดว่าในปี 2013 เศรษฐกิ จเกาหลีใต้จะมีอตั ราการ ขยายตัวอยู่ที่ 2.6% [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 - Asia - Natixis , Mar 29 . 2013 Research Department
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน HighLight : ด ัชนีความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐฯเดือนมี.ค.อ่อนต ัวลงแตะ 72.3 ตํา ่ สุดในรอบ 9 เดือน
Global :
■ สหรัฐฯ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐช่วงต้นเดือนเม.ย.จากรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กนอ่อนตัวลงแตะ 72.3 ซึง่ เป็ นระดับทีต่ ่าํ สุดในรอบ 9 เดือน จากระดับเดือนมี.ค.ที่ 78.บ่งชีถ้ งึ การใช้จา่ ยทีช่ ะลอตัวลงในอนาคตของผูบ้ ริโภคสหรัฐและชาวอเมริกนั อาจจะรูส้ กึ ถึงผลกระทบจากภาษีทส่ี งู ขึน้ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยสต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจเดือนก.พ.ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.1% แตะ 1.642 ล้านล้านดอลลาร์ เป็ นสัญญาณบ่งชี้ ว่า บริษทั ต่างๆพยายามทีจ่ ะจัดคลังสินค้าคงคลังให้อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการทีไ่ ม่แน่นอนได้ ส่วนยอดขายเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ 1.2% แตะ 1.287 ล้านล้านดอลลาร์ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 6 เม.ย. ปรับตัวลดลง 42,000 ราย สู่ ระดับ 346,000 ราย ลดลงมากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 365,000 ราย ซึง่ ถือเป็ นการลดลงครัง้ แรกในรอบ 4 สัปดาห์ และ ลดลงมากทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนพ.ย.ปีทแ่ี ล้ว ■ ยุโรป : ยูโรสแตท เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนในเดือนก.พ.ขยายตัวขึน้ 0.4% จากเดือนม.ค.ทีร่ ว่ งลง 0.6% เพิม่ ขึน้ สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์ ได้คาดการณ์ไว้วา่ จะขยับขึน้ เพียง 0.1-0.2% ซึง่ อาจเป็ นอีกสัญญาณหนึ่งทีแ่ สดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจยูโรโซนเริม่ ทีจ่ ะหลุดพ้นจากภาวะถดถอยแล้ว ■ เยอรมนี : ดัชนีความเชื่อมันนั ่ กลงทุนของเยอรมนีในเดือนเม.ย.ลดลงมาอยูท่ ่ี 36.3 จากระดับสูงเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 48.5 ในเดือนมี.ค. ตํ่ากว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดการณ์วา่ ดัชนีจะอ่อนตัวลงมาอยูท่ ่ี 41 บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจของเยอรมนีอาจจะฟื้นตัวลําบาก : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเยอรมนี เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) หรืออัตราเงินเฟ้อของเยอรมนีลดลงแตะ 1.4% ในเดือนมี.ค. (yoy) และดัชนี CPI ปรับขึน้ 0.5% (mom) ■ กรีซ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติกรีซ เผยอัตราว่างงานในประเทศทําสถิตสิ งู เป็ นประวัตกิ ารณ์อกี ครัง้ ที่ 27.2% ในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ อย่าง ต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ 25.7% ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยยอดขายปลีกยานยนต์ของจีนในไตรมาสที่ 1 ปี 2556 เพิม่ ขึน้ 6.4% (yoy) แตะ 6.23 แสนล้านหยวน : ผลผลิตมูลค่าเพิม่ ภาคอุตสาหกรรมของจีน ปรับตัวขึน้ 9.5% (yoy) ในไตรมาสแรกปีน้ี ซึง่ ลดลง 2.1% จากช่วงเดียวกันของปี ทแ่ี ล้ว : จีดพี ชี ะลอลง 0.2% จาก 7.9% ในช่วงไตรมาส 4 ปี 2555 แตะ 7.7% ในช่วงไตรมาสแรกปี น้ี แต่ยงั คงสูงกว่าเป้าตลอดปีท่ี 7.5%
Thailand updates : ■ ธนาคารโลกปรับเพิม่ แนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยสูร่ ะดับ 5.3% ในปีน้ี และ 5% ในปีหน้า จากเดิมทีค่ าดไว้ท่ี 5% และ 4.5% ตามลําดับ โดยระบุถงึ การปรับตัวทางเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งเกินคาดในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีก่อน ■ เงินบาทปิดตลาด ( 12 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.04/06 บาท/ดอลลาร์ ลดลงจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.06/08 บาท/ดอลลาร์ ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดของวัน
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 157.58 จุด หรือ 1.08% ปิดที่ 14,756.78 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 22.21 จุด หรือ 1.43% ปิดที่ 1,574.57 จุด ดัชนี Nasdaqเพิม่ ขึน้ 48.14จุดหรือ1.50%ปิดที3่ ,264.63จุดแรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจและผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งของบริษทั เอกชนในสหรัฐฯ ■ ดัชนีนิกเกอิลดลง 54.22 จุด หรือ 0.41% ปิดที่ 13,221.44 จุด จากบรรยากาศการซือ้ ขายได้รบั ผลกระทบภายหลังจากทีเ่ กิดเหตุก่อการร้ายทีเ่ มืองบอสตัน สหรัฐ และความกังวลของนักลงทุนทีม่ ตี ่อแนวโน้มของเศรษฐกิจโลก ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 13.98 จุด หรือ 0.64% ปิ ดที่ 2,195.92 จุด ดัชนีฮงเส็ ั่ ง ลดลง 100.64 จุด หรือ 0.46% ปิดที่ 21,672.03 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดวันที1่ 2 เม.ย. ทีร่ ะดับ 1,527.32 จุด เพิม่ ขึน้ 10.51 จุด หรือ 0.69% จากปจั จัย ตัวเลขผูเ้ ข้ารับสวัสดิการว่างงานในสหรัฐฯออกมาดี แต่ระหว่างวันมีจงั หวะการแกว่งผันผวนก่อนเข้าสูช่ ว่ งวันหยุดยาวทําให้มแี รงขายทํากําไรออกมา ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
่ื มน HighLight : ต ัวเลขการเริม ่ สร้างบ้านสหร ัฐฯ ทําสถิตส ิ ง ู สุดในรอบเกือบ 5 ปี และด ัชนีความเชอ ่ั ผูบ ้ ริโภคญีป ่ ่ นเพิ ุ ม ่ สูงสุดในรอบเกือบ 6 ปี
Global :
■ สหรัฐฯ : สํานักงานสารสนเทศด้านการพลังงาน(EIA) เผยสต็อกนํ้ามันดิบสหรัฐปรับตัวลดลง1.23 ล้านบาร์เรล สวนทางกับทีน่ กั วิเคราะห์ ส่วนหนึ่งคาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ 1.2 ล้านบาร์เรลในรอบสัปดาห์สน้ิ สุดวันที่ 12 เม.ย. : กระทรวงแรงงาน เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ปรับตัวลง 0.2% ในเดือนมี.ค. จากราคานํ้ามันทีล่ ดลง สําหรับอัตราเงินเฟ้อพืน้ ฐาน ซึง่ ไม่ รวมราคาอาหารและพลังงานทีม่ คี วามผันผวนนัน้ เพิม่ ขึน้ 0.1% ในเดือนมี.ค. : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมซึง่ เป็ นเครือ่ งชีว้ ดั การผลิตของภาคเหมืองแร่ โรงงานและสาธารณูปโภค ปรับตัว เพิม่ ขึน้ 0.4% ในเดือนมี.ค. โดยได้รบั แรงหนุนจากภาคสาธารณูปโภค : กระทรวงพาณิชย์ เผยการก่อสร้างบ้านในสหรัฐเพิม่ ขึน้ 7% สูร่ ะดับ 1.04 ล้านยูนิตในเดือนมี.ค. นับเป็ นระดับสูงสุดตัง้ แต่เดือนมิ.ย. 2551 และเพิม่ ขึน้ 46.7% (yoy) โดยได้รบั แรงหนุนจากการก่อสร้างอพาร์ทเมนต์ ซึง่ สะท้อนการฟื้นตัวของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยจํานวนผูท้ ไ่ี ม่มงี านทําเพิม่ ขึน้ 70,000 ราย แตะ 2.56 ล้านรายในช่วง 3 เดือนจนถึงเดือนก.พ. ส่วน อัตราว่างงานเพิม่ ขึน้ แตะ 7.9% จากไตรมาสก่อนทีร่ ะดับ 7.8% เป็ นจํานวนทีม่ ากทีส่ ดุ ในรอบกว่า 1 ปี ขณะทีอ่ ตั ราการขยายตัวของค่าจ้าง ชะลอตัวลง ชีใ้ ห้เห็นว่าตลาดแรงงานของอังกฤษกําลังยํ่าแย่อนั เนื่องมาจากเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอ ■ สเปน : ไอเอ็มเอฟ คาดเศรษฐกิจสเปนจะหดตัวลง 1.6% ในปี 2556 และอัตราว่างงานของประเทศจะแตะระดับสูงที่ 27% ในปีน้ี ก่อนที่ จะขยับลงมาอยูท่ ่ี 26.5% ในปี 2557 ซึง่ คาดว่าเศรษฐกิจจะเติบโต 0.7% การคาดการณ์ครัง้ ใหม่มมี มุ มองลบมากขึน้ สําหรับเศรษฐกิจสเปน ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรม ประเมินว่าการระงับการดําเนินงานโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หลังเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สนึ ามิอาจ ส่งผลให้ตน้ ทุนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าทีโ่ รงไฟฟ้า 9 แห่งในปีงบประมาณ 2556 เพิม่ สูงขึน้ 3.8 ล้านล้านเยน มีแนวโน้มปรับราคาค่าไฟฟ้าให้สงู ขึน้ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของญีป่ นุ่ ในเดือนมี.ค. ปรับตัวขึน้ 0.6% (mom) แตะที่ 44.8 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนพ.ค. 2550 หลังจากนโยบายเศรษฐกิจ ของนายกรัฐมนตรีชนิ โสะ อาเบะ ช่วยฉุดเงินเยนให้อ่อนค่าลงและหนุนตลาดหุน้ ให้แข็งแกร่งขึน้ ซึง่ ทําให้ผบู้ ริโภคมีความหวังมากขึน้ ว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัว ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารแห่งประเทศเกาหลี เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ซึง่ เป็ นมาตรวัดเงินเฟ้อราคาผูบ้ ริโภคในอนาคต ลดลง 0.4% ในเดือน มี.ค. (mom) หลังจากเพิม่ ขึน้ 0.7% ในเดือนกุมภาพันธ์และ 0.2% ในเดือนมกราคม ตามลําดับ จากราคานํ้ามันดิบทีป่ รับตัวลง
Thailand updates : ■ ธปท. ปรับประมาณการณ์การส่งออกปี 56 จาก 9.0% เป็ น 7.2% แสดงว่า ธปท.เห็นสัญญาการส่งออกทีช่ ะลอตัวลง โดยให้ความเห็นว่า สาเหตุหลักมาจากเศรษฐกิจคูค่ า้ ชะลอตัวลง แต่ผสู้ ง่ ออกเห็นว่ามาจาก 3 ปจั จัย คือ เศรษฐกิจคูค่ า้ ชะลอ การขึน้ ค่าแรงและเงินบาทแข็งค่า ■ เงินบาทปิดตลาด ( 17 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 28.80/82 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 28.93/96 บาท/ดอลลาร์ จากต่างชาติขายดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 138.19 จุด หรือ 0.94% ปิดที่ 14,618.59 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 22.56 จุด หรือ 1.43% ปิดที่ 1,552.01 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 59.96 จุด หรือ 1.84% ปิดที่ 3,204.67 จุด จากการลดลงของราคาสินค้าโภคภัณฑ์สง่ ผลให้การซือ้ ขายในตลาดซบเซา ■ ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 161.45 จุด หรือ 1.22% ปิดที่ 13,382.89 จุด จากการอ่อนค่าของสกุลเงินเยนเมือ่ เทียบกับสกุลเงินหลักๆ ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตลดลง 1.05 จุด หรือ 0.05% ปิดที2่ ,193.80 ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 102.36 จุด หรือ 0.47% ปิดที่ 21,569.67 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาด ทีร่ ะดับ 1,521.53 จุด ลดลง 5.79 จุด หรือ 0.38%จากการปรับพอร์ตการลงทุนหลังจากหยุดยาวในเทศกาลสงกรานต์ทาํ ให้แรงขายหุน้ ของนักลงทุน ทีต่ อ้ งการนําเงินไปชดเชยการขาดทุนจาก Gold Futures ทีล่ ดลงอย่างหนักหรืออาจนําเงินไปวางหลักประกันเพิม่ ในพอร์ต Gold Futures ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ี้ ําศก.สหร ัฐฯเดือนมี.ค.ลดลงครงแรกในรอบ HighLight : ด ัชนีชน ั้ 7 เดือน
Global :
■ สหรัฐฯ : คอนเฟอเรนซ์ บอร์ด องค์กรวิจยั เอกชนระดับโลก เผยดัชนีชน้ี ําเศรษฐกิจเดือนมี.ค.ของสหรัฐปรับลดลง 0.1% แตะระดับ 94.7 จากความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐอ่อนแอลง รวมทัง้ การชะลอตัวลงของยอดสังซื ่ อ้ ในภาคโรงงานและตัวเลขการอนุญาตสร้างบ้าน ซึง่ ลดลง เป็ นครัง้ แรกในรอบ 7 เดือน และตรงข้ามกับทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 0.1% สะท้อนให้เห็นว่าเศรษฐกิจสหรัฐยังคงอยูใ่ นภาวะซบเซา : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 13 เม.ย. เพิม่ ขึน้ 4,000 ราย แตะระดับ 352,000 ราย ในขณะทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้วา่ ตัวเลขดังกล่าวจะอยูท่ ร่ี ะดับ 350,000 ราย จากสัปดาก์ก่อนหน้าที่ 346,000 ราย : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจ (Beige Book) ว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวมของสหรัฐขยายตัวใน “อัตราปาน กลาง" ตัง้ แต่ชว่ งปลายเดือนก.พ.ถึงต้นเดือนเม.ย. การประเมินดังกล่าวมีมมุ มองบวกมากขึน้ เล็กน้อยเมือ่ เทียบกับรายงานเมือ่ ต้นเดือนมี.ค. ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยยอดค้าปลีกในอังกฤษลดลง 0.7% ในเดือนมี.ค. จากผลกระทบของสภาพอากาศทีห่ นาวเย็น อย่างไรก็ตาม ยอดขายเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย 0.4% ในช่วงไตรมาสแรก เมือ่ เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยราคาบ้านใหม่ปรับตัวขึน้ ในเกือบทุกเมืองของจีนในเดือนมี.ค. ขณะทีก่ ารทําธุรกรรมเพิม่ ขึน้ ก่อนจะมี มาตรการควบคุมจากรัฐบาลชุดใหม่ : กระทรวงพาณิชย์จนี เผยการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ทีห่ ลังไหลเข้ ่ าสูจ่ นี ในเดือนมี.ค. เพิม่ ขึน้ 5.65% (yoy) สูร่ ะดับ 1.24 หมืน่ ล้านดอลลาร์ และการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของจีนในช่วงไตรมาสแรกเพิม่ ขึน้ 44% (yoy) ซึง่ เป็ นอัตราขยายตัวทีช่ า้ ลงอย่างมาก เมือ่ เทียบกับระดับ 94.5% ในไตรมาสแรกของปีทแ่ี ล้ว ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังญี่ปนุ่ เผยยอดขาดดุลการค้า 8.17 ล้านล้านเยนในปี งบประมาณ 2555 ซึง่ สิน้ สุดในเดือนมี.ค. ซึง่ เป็ นการขาด ดุลการค้าทีม่ ากทีส่ ดุ เป็ นประวัตกิ ารณ์ ขณะทีใ่ นเดือนมี.ค.ญีป่ ุ่นขาดดุลการค้า 3.6242 แสนล้านเยน ซึง่ ขาดดุลการค้าติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 9
Thailand updates : ■ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เผยการส่งออกรถยนต์ในเดือนมีนาคม 2556 มียอดส่งออก 102,742 คัน ทําลายสถิตสิ งู สุดเกินกว่า 1 แสนคัน นับตัง้ แต่มกี ารส่งออกเมือ่ ปี 2531 เพิม่ ขึน้ 14.39 % (yoy) และเพิม่ ขึน้ 8.69 % (yoy) มูลค่าการส่งออก 44,548.28 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 5.63 % (yoy) ■ เงินบาทปิดตลาด ( 18 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 28.72/74 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าสุดในรอบ 16 ปี จากเงินทุนต่างประเทศไหลเข้า ต่างชาติขาย ดอลลาร์ นักลงทุนรอดูผลการประชุม G20 ช่วงปลายสัปดาห์น้ี และการปรับลดอัตราดอกเบีย้ ของธนาคารกลางเยอรมัน
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 81.45 จุด หรือ 0.56% ปิดที่ 14,537.14 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 10.40 จุด หรือ 0.67% ปิดที่ 1,541.61 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 38.31 จุด หรือ 1.20% ปิดที่ 3,166.36 จุด จากสหรัฐเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอ รวมถึงจํานวนคนว่างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ใน สัปดาห์ทแ่ี ล้วและดัชนีชน้ี ําเศรษฐกิจทีห่ ดตัวลงเป็ นครัง้ แรกในรอบ7เดือน ■ ดัชนีนิกเกอิลดลง 162.82 จุด หรือ 1.22% ปิดที่ 13,220.07 จุด จากความอ่อนแอของเศรษฐกิจยุโรปและผลประกอบการบริษทั เอกชน สหรัฐ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 3.80 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 2,197.60 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 57.15 จุด หรือ 0.26% ปิดที่ 21,512.52 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,529.76 จุด เพิม่ ขึน้ 8.23 จุด หรือ 0.54% จากผลประกอบการของธนาคารทหารไทย(TMB)ทีอ่ อกมา ค่อนข้างดีมาก ทําให้นกั ลงทุนคาดหวังว่าธนาคารอื่นทีเ่ ตรียมประกาศผลประกอบการน่าจะออกมาดีเช่นกัน ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : ทีป ่ ระชุม G20 ไม่ขวางนโยบายผ่อนคลายการเงินญีป ่ ่น ุ ชเี้ ข้าใจเหตุผล
Global :
■ สหรัฐฯ : กําไรไตรมาส 3 ของบริษทั ไมโครซอฟท์ สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์ได้ประเมินไว้ เนื่องจากได้รบั ปจั จัยหนุนจากการควบคุมค่าใช้จา่ ย ตลอดจนการขายธุรกิจ และซอฟท์แวร์เซิรฟ์ เวอร์ ท่ามกลางดีมานด์พซี ที ใ่ี ช้ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดว์ส 8 ทีอ่ ่อนตัวลง รายได้สทุ ธิในไตรมาสที่ สิน้ สุด ณ เดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 19% แตะ 6.06 พันล้านดอลลาร์ หรือ 72 เซนต์ต่อหุน้ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเยอรมนี (Destatis) เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนมี.ค.ลดลง 0.2% (mom) ซึง่ แสดงให้เห็นว่าแรง กดดันด้านราคาในระดับโรงงานผูผ้ ลิตของเยอรมนีชะลอตัวลง โดยส่วนใหญ่เป็ นผลมาจากราคาพลังงานทีป่ รับลดลง อย่างไรก็ตาม ดัชนี PPI เดือนมี.ค.ขยับขึน้ 0.4% (yoy) ■ จีน : ธนาคารกลางจีน เผยเศรษฐกิจของจีนมีความมันคงนั ่ บตัง้ แต่เริม่ ต้นไตรมาสแรก และอัตราขยายตัวที่ 7.7% (yoy) นับว่าเป็ นระดับที่ สมเหตุสมผลและจะยังคงใช้นโยบายการคลังเชิงรุกและนโยบาบการเงินแบบระมัดระวังต่อไปเพือ่ ส่งเสริมการขยายตัวของเศรษฐกิจและรักษา เสถียรภาพของราคา ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) จะดําเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเงินต่อไปจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายเงินเฟ้อที่ 2% ในระยะเวลา ประมาณ 2 ปี โดยในการประชุม G20 บรรดารมว.คลังของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจชัน้ นํา 20 ประเทศ ไม่ขดั ขวางนโยบายแสดงความเข้าใจ กรณีทญ ่ี ป่ี นุ่ ดําเนินนโยบายผ่อนคลายการเงินในเชิงรุก ■ เกาหลีใต้ : ยอดหนี้สนิ รวมของบริษทั รัฐวิสาหกิจเกาหลีใต้ แตะที่ 392.96 ล้านล้านวอน (3.51 แสนล้านดอลลาร์) ณ สิน้ ปี 2556 เพิม่ ขึน้ 8.7% หรือ 31.54 ล้านล้านวอนจาก 361.42 ล้านล้านวอนในปี ก่อน สูร่ ะดับใกล้เคียงกับหนี้สนิ ของประเทศในปี ทผ่ี า่ นมา ซึง่ สร้างความวิตก กังวลว่า การเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วของหนี้สนิ ดังกล่าวสินอาจจะเป็ นปญั หาต่อความแข็งแกร่งในเรือ่ งงบประมาณโดยรวมของประเทศ
Thailand updates : ■ ดัชนีความเชื่อมันของผู ่ ป้ ระกอบการธุรกิจพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัย ประจําไตรมาส 1/56 มีคา่ เท่ากับ 57.8 ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากไตรมาสก่อนหน้า (4/55) ซึง่ มีคา่ ดัชนี 56.8 สําหรับผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Listed) มีคา่ ดัชนีความเชื่อมันในภาวะป ่ จั จุบนั เท่ากับ 62.2 ปรับลดลงจากไตรมาสทีแ่ ล้ว ซึง่ มีคา่ ดัชนี 64.3 ■ เงินบาทปิดตลาด ( 19 เม.ย.) ทีร่ ะดับ ทีร่ ะดับ 28.60/62 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 28.71.73 บาท/ดอลลาร์ ตามแรงหนุน จากเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 10.37 จุด หรือ 0.07% ปิ ดที่ 14,547.51 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 13.64 จุด หรือ 0.88% ปิด ที่ 1,555.25 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 39.69 จุด หรือ 1.25% ปิ ดที่ 3,206.06 จุด จากการเผยผลประกอบการทีส่ ดใสของกูเกิลและ ไมโครซอฟท์ซง่ึ ช่วยชดเชยผลกําไรทีน่ ่าผิดหวังของไอบีเอ็ม ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 96.41 จุด หรือ 0.73% แตะที่ 13,316.48 จุด จากการอ่อนค่าของเงินเยน รวมทัง้ หวังว่าญีป่ นุ่ จะ สามารถหลีกเลีย่ งการถูกวิพากษ์วจิ ารณ์ในทีป่ ระชุมกลุม่ G20 หลังจากญีป่ นุ่ ประกาศใช้มาตรการผ่อนคลายการเงินเชิกรุก ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอม โพสิตเพิม่ ขึน้ 47.04 จุด หรือ 2.14% ปิดที่ 2,244.64 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 501.05 จุด หรือ 2.33% ปิดที่ 22,013.57 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,545.46 จุด เพิม่ ขึน้ 15.70 จุด หรือ1.03% แรงหนุนจาก sentiment เชิงบวกจากภายนอก และปจั จัยบวกจากผล ประกอบการไตรมาส 1/56 ของกลุม่ ธนาคารพาณิชย์ออกมาดี ทําให้ดชั นีปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Research: เร่ งสํารวจขัว้ โลกใต้
หวั่นนํา้ แข็งละลาย จากปั ญหาภาวะโลกร้ อน
่ ดนลบ HighLight : สหรัฐฯเผยดัชนีกจิ กรรมการผลิตทั่วประเทศเดือนมี.ค.ปรับตัวลงสูแ
Global :
■ สหรัฐฯ : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขาชิคาโก้ เผยดัชนีกจิ กรรมการผลิตทัวประเทศเดื ่ อนมี.ค. ซึง่ เป็ นดัชนีเศรษฐกิจถูกจับตาอย่างใกล้ชดิ ได้ปรับตัวลงมาอยูใ่ นแดนลบ ลดลงสูร่ ะดับ -0.23 ในเดือนมี.ค. จากระดับ 0.76 ในเดือนก.พ. ในขณะทีค่ า่ ดัชนีเฉลีย่ ในรอบ 3 เดือนลดลงแตะ -0.01 จาก 0.12 ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนธ.ค.ปีทผ่ี า่ น บ่งชีว้ า่ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ลดลงสูร่ ะดับตํ่ากว่าแนวโน้ม : สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติ รายงานยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐในเดือนมี.ค.ลดลง 0.6% สูร่ ะดับ 4.92 ล้านยูนิต ซึงสวน ทางกับคาดการณ์ของนักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ทว่ี า่ ยอดขายจะเพิม่ สูงขึน้ แสดงให้เห็นว่าตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยของสหรัฐยังไม่มกี ารฟื้นตัวอย่างยังยื ่ น ขณะทีน่ กั เศรษฐศาสตร์เชื่อกันว่าภาคทีอ่ ยูอ่ าศัยจะเป็ นหนึ่งในปจั จัยหลักทีผ่ ลักดันเศรษฐกิจของสหรัฐในปีน้ี ■ เยอรมนี : ธนาคารกลางเยอรมนี หรือบุนเดสแบงก์ คาดการณ์เศรษฐกิจของเยอรมนีอาจจะมีการขยายตัวในช่วงไตรมาสแรกของปีน้ี และ มีแนวโน้มจะกระเตือ้ งขึน้ ในช่วงไตรมาส 2 จากตลาดแรงงานทีป่ รับตัวดีขน้ึ และความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ สําหร้บสินค้าประเภททุน ขณะที่ ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคยังคงทรงตัวในระดับทีค่ อ่ นข้างสูง และภาคบริการน่าจะมีแนวโน้มขยายต้ว ■ จีน : เอชเอสบีซี โฮลดิงส์ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของจีน ลดลงแตะ 50.5 ในเดือนเม.ย. จาก 51.6 ใน เดือนมี.ค. บ่งชีว้ า่ ความต้องการจากต่างประเทศยังคงอ่อนแรง ข้อมูลดังกล่าวส่งผลให้มคี วามวิตกกังวลมากขึน้ เกีย่ วกับเศรษฐกิจจีน ■ อิ นโดนี เซีย : BKPM เผยมูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ของอินโดนีเซียระหว่างเดือนม.ค.-มี.ค.ปรับตัวสูงขึน้ 27.7% (yoy) สูร่ ะดับ 65.5 ล้านล้านรูเปียห์ (ราว 6.744 พันล้านดอลลาร์) ขณะทีเ่ ม็ดเงินลงทุนจากในและต่างประเทศในช่วง 3 เดือนแรกของปี เพิม่ ขึน้ 30.6% สูร่ ะดับ 93 ล้านล้านรูเปียห์ ได้รบั แรงหนุนจากการปรับเพิม่ อันดับเครดิตจากมูดสี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ และฟิทช์ เรทติง้ ส์ สู่ ระดับน่าลงทุนในช่วงทีผ่ า่ นมา ซึง่ ช่วยดึงดูดกลุ่มผูจ้ ดั การกองทุนให้นําเม็ดเงินเข้ามาลงทุนในอินโดนีเซีย ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการคลังเกาหลีใต้ ออกมาปฏิเสธรายงานของสือ่ ทีร่ ะบุวา่ กลุม่ ประเทศ G20 ได้ให้การสนับสนุนอย่างเต็มทีส่ าํ หรับ เงินเยนทีอ่ ่อนค่า และนโยบาย "อาเบะโนมิกส์" โดยกระทรวงระบุวา่ ทีป่ ระชุมได้แสดงความวิตกกังวลเกีย่ วกับ ผลกระทบด้านลบทีไ่ ม่ได้ตงั ้ ใจ อันเกิดขึน้ จากการผ่อนคลายนโยบายการเงินของญีป่ นุ่
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ปลืม้ ไตรมาสแรกบริษทั เกิดใหม่ 19,673 ราย สูงสุดในรอบ 111 ปี แต่มสี ญ ั ญาณอันตรายเดือนมีนาคมยอดปิดตัวกลับพุง่ จาก เดือนก่อน 25% ยอมรับธุรกิจมีปจั จัยเสีย่ งจากค่าเงินบาทแข็ง และเศรษฐกิจคูค่ า้ ทีย่ งั ไม่ฟ้ืนตัว ต้องเร่งรวบรวมข้อมูลบริษทั ทีเ่ ดือดร้อนจากบาท ค่าเงินแข็งส่งต่อผูเ้ กีย่ วข้องเพือ่ หาทางช่วยเหลือ ด้านนักเศรษฐศาสตร์คาด 3-6 เดือนข้างหน้าเศรษฐกิจยังสดใสแต่สง่ ออกแย่ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 22 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 28.70/72 บาท/ดอลลาร์ จากแบงค์ชาติเข้ามา interveen นักลงทุนยังคงติดตามเรือ่ งของ In Flow
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 19.66 จุด หรือ 0.14% แตะที่ 14,567.17 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 7.25 จุด หรือ 0.47% แตะที่ 1,562.50 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 27.50 จุด หรือ 0.86% แตะที่ 3,233.55 จุด แรงหนุนจากการทีน่ กั ลงทุนเข้ามาช้อนซือ้ หุน้ ทีล่ ดลง ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 251.89 จุด หรือ 1.89% ปิดที่ 13,568.37 จุด จากนักลงทุนตอบรับทีญ ่ ป่ี นุ่ พ้นจากข้อวิพากวิจารณ์ ในทีป่ ระชุมกลุม่ G20 ในเรือ่ งการใช้นโยบายผ่อนคลายการเงินเชิงรุก ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 2.47 จุด หรือ 0.11% ปิดที่ 2,242.17 จุด ดัชนีฮ[พิ งเส็ ั ่ มงพ์เพิขมอ่้ ความ] ขึน้ 30.80 จุด หรือ 0.14% ปิดวันนี้ท่ี 22,044.37 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,559.10 จุดหน้ เพิาม่ 1 ขึน้ 13.64 จุดหรือ 0.88% จากแรงซือ้ ของนักลงทุนทีก่ ลับเข้ามาซือ้ หุน้ ทีเ่ ติบโตจากเศรษฐกิจภายในประเทศ และหุน้ defensive ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 17 ประจําว ันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
ํ รวจขวโลกใต้ GLOBAL Research: เร่งสา ั้ หวน ่ ั นํา้ แข็งละลาย จากปัญหาภาวะโลกร้อน
Nancy Bertler และทีมงานสํารวจได้เข้าไปสํารวจยังพืน้ ทีท่ ห่ี นาวเย็นทีส่ ดุ ในโลก เพือ่ เก็บ ข้อมูลจากก้อนนํ้าแข็งทีจ่ ะสามารถใช้คาดการณ์การเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศในอนาคต โดย การขุดเจาะเอาแกนนํ้าแข็งกว่าร้อยก้อน ทีม่ ขี นาดประมาณไม้เบสบอลทีป่ กคลุมเกาะแอนตาร์ กติกากว่า 150,000 ปี ซึง่ ในการสํารวจครัง้ นี้คาดหวังว่าชิน้ ส่วนของแกนนํ้าแข็งทีข่ ดุ มาจะช่วย ให้สามารถประมาณระยะเวลาของก้อนนํ้าแข็งทีอ่ าจมีอตั ราการละลายเพิม่ มากขึน้ ในอนาคต เป็ นผลจากการเปลีย่ นแปลงสภาพอากาศในปจั จุบนั ทีม่ อี ุณภูมสิ งู ขึน้ เรือ่ ยๆ ซึง่ ก้อนนํ้าแข็งที่ นํามาศึกษานัน้ พบว่าเกิดจากการตกตะกอนในทะเลทีม่ กี ารทับถ่มกันมากว่า 1000 ปี โดยการศึกษาในครัง้ นี้จะเป็ นการช่วยให้นกั วิทยาศาสตร์สามารถวิเคราะห์รอ่ งรอยของชัน้ นํ้าแข็งว่าอาจเกิดการพังทลายได้อกี ถ้าอุณภูมโิ ลกยังคง สูงขึน้ เรือ่ ยๆ จะทําให้ระดับของนํ้าทะเลมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ทัวโลก ่ ซึง่ การถล่มของนํ้าแข็งจะต้องมีขนาด 2 เมตร(6.5ฟุต) ถึง6 เมตร (20ฟุต) ขึน้ ไปถึงจะ ทําให้ระดับของนํ้าทะเลเพิม่ ขึน้ ได้ Ted Scambos หัวหน้านักวิทยาศาสตร์ศนู ย์การศึกษาก้อนนํ้าแข็งธรรมชาติ กล่าวว่า ในกรณีทเ่ี กิดสถานการณ์ทเ่ี ลวร้ายจริงๆมันจะต้องใช้เวลาถึง 500ปีกว่าทีน่ ้ําแข็งในแอนตาร์กติกาจะละลาย อย่างไรก็ตามการค้นพบการก่อตัวของตะกอนจะแสดงให้เห็นถึงความสําคัญบางส่วนจากชัน้ นํ้าแข็งทีส่ ามารถ ป้องกันไม่ให้น้ําแข็งถล่มลงได้ ซึง่ ทีมงานสํารวจหวังว่าผลสํารวจในครัง้ นี้จะช่วยในการประมาณการในอีก 50 หรือ 500 ปีขา้ งหน้าว่าจะต้องมีการสร้าง กําแพงนํ้าแข็งหรือจะอพยพคนไปอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ส่ี งู ถ้าหากกําแพงนํ้าแข็งเกิดการยุบตัว ซึง่ การเข้าไปสํารวจในพืน้ ทีแ่ อนตาร์กติกามีอุปสรรคหลายด้าน เช่น ต้องใช้เวลานังเครื ่ อ่ งบินกว่า 3 ชัวโมงเพื ่ อ่ เข้าใกล้ฐานทีต่ งั ้ ในแอนตาร์ กติก ซึง่ พืน้ ทีท่ งั ้ หมดถูกปกคลุมไปด้วยก้อนนํ้าแข็ง ในระหว่างการทํางานของทีมสํารวจต้องเผชิญปญั หากับสภาพอากาศในช่วงฤดูใบไม้ผลิ และฤดูรอ้ น ทีม่ อี ุณหภูมติ ดิ ลบกว่า 25 องศา และในฤดูหนาวติดลบถึง 60 องศา ทําให้การทํางานเป็ นไปด้วยความยากลําบาก และการสือ่ สาร ระหว่างกันนัน้ ใช้ได้เพียงโทรศัพท์ดาวเทียมและ GPS เท่านัน้ ในกรณีทม่ี กี ารพัดหลงหรือถูกพายุพดั ไปทิศทางอื่น ซึง่ ทีมงานคิดเพียงว่าจะอยู่ รอดอย่างไรให้ปลอดภัยและสามารถทํางานต่อได้ จากการสํารวจทีมงานจะต้องทําการแช่แข็งก้อนนํ้าแข็งให้มคี วามเย็นพอตลอดการ เดินทางกลับประเทศนิวซีแลนด์ แต่กไ็ ม่ใช่เรือ่ งทีง่ า่ ยเลยเพราะมีอุปสรรค์มากมาย จาก คลื่นยักษ์พดั ถล่มหรือเครือ่ งสํารองไฟไม่ทาํ งาน โดยการแก้ไขจะต้องใช้เวลากว่า 36 ชัวโมงถึ ่ งจะแก้ไขให้เป็ นปกติได้ ซึง่ ทําให้น้ําแข็งละลายก่อนถึงนิวซีแลนด์ การทํางานของทีมสํารวจต้องใช้เวลาสํารวจกว่า 7ปีและมีการใช้ทุนในการสํารวจ ประมาณ11ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ (9.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึง่ ได้รบั การสนับสนุน จากภาครัฐ หากค้นพบการตกตะกอนในทะเลเร็วขึน้ จะส่งผลทําให้หาข้อเท็จจริงได้วา่ อะไรเป็ นสาเหตุให้เกิดสภาวะโลกร้อนในปจั จุบนั ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมาจากการสํารวจแกนนํ้าแข็งเพื่อนําตัวอย่างมาใช้ในการคาดการณ์การแนวโน้มอัตราการละลายของนํ้าแข็งในอนาคต พบว่า ในปจั จุบนั สภาวะโลกร้อนเป็ นปจั จัยทีท่ าํ ให้น้ําแข็งขัวโลกละลายและมี ่ แนวโน้มว่าในอนาคตจะมีอตั ราสูงขึน้ ส่งผลกระทบต่อประเทศทัว่ โลก เช่น นํ้าท่วมอย่างรวดเร็ว สภาพอากาศแปรปรวน และระบบนิเวศ อย่างไรก็ตาม การสํารวจครัง้ นี้ พบว่าขัว้ โลกเหนื อยังต้องเผชิ ญกับปัญหาการพังทลายของนํ้าแข็งอย่างรุนแรง อันเนื่ องมาจาก สภาวะโลกร้อน ในขณะที่การเปลี่ยนแปลงการพังทลายของนํ้าแข็งในขัว้ โลกใต้ยงั อยู่ในอัตราคงที่ [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
AntarcticClimateChangeResearchTeamDigsDeepToPredictFuture , By NICK PERRYand ROD McGUIRK ,Apr 6 ,2013
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ั ี้ ลาดอสงหาฯฟื ้ นต ัวต่อเนือ ้ 1.5% ในเดือนมี.ค. บ่งชต HighLight : ยอดขายบ้านใหม่ของสหร ัฐฯปร ับต ัวสูงขึน ่ ง
Global : ■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดขายบ้านใหม่ในประเทศเพิม่ ขึน้ 1.5% สูร่ ะดับ 417,000 ยูนิตในเดือนมี.ค. หลังจากทีล่ ดลงแตะ 411,000 ยูนิตในเดือนก.พ. และยอดขายบ้านใหม่เพิม่ ขึน้ 18.5% (yoy) แสดงให้เห็นว่า ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยของสหรัฐยังคงฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ■ ยุโรป : มาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของยูโรโซนในเดือนเม.ย.อยูท่ ่ี 46.5 จาก 46.8 ในเดือนก่อนหน้า โดยมีปจั จัยถ่วงจากความกังวลเกีย่ วกับเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกรายใหญ่อย่างเยอรมนี ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยยอดขาดดุลงบประมาณ อยูท่ ่ี 1.51 หมืน่ ล้านปอนด์ (ประมาณ 2.31 หมืน่ ล้านดอลลาร์) ใน เดือนมี.ค. 2556 ซึง่ ลดลง 1.6 พันล้านปอนด์จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจทีซ่ บเซา ขณะทีม่ ดู สี แ์ ละฟิทช์ ได้ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือทีร่ ะดับ AAA ของอังกฤษลง 1 ขัน้ ในเดือนก.พ.และเม.ยตามลําดับ ■ เยอรมนี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของเยอรมนีในเดือนเม.ย.ลดลงสูร่ ะดับ 48.8 จาก 50.6 ในเดือนมี.ค. ตรงข้ามกับทีค่ าดการณ์วา่ มีแนวโน้มจะกระเตือ้ งขึน้ ในช่วงไตรมาส 2 จากตลาดแรงงานทีป่ รับตัวดีขน้ึ ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติอติ าลี เผยความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคอิตาลีในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ แตะ 86.3 สูงสุดนับตัง้ แต่เดือนก.ค.55 จาก มุมมองในเชิงบวกต่อแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ แม้วา่ ยังมีปญั หาทางการเมือง ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปน เผยเศรษฐกิจของประเทศหดตัว 0.5% ในช่วง 3 เดือนแรกของปี 2556 ซึง่ เป็ นการหดตัวไตรมาสที่ 7 ติดต่อกัน แต่ชะลอลงเมือ่ เทียบกับทีห่ ดตัว 0.8% ในไตรมาส 4 ปี 2555 จากการใช้จา่ ยผูบ้ ริโภคทีล่ ดลง 0.8% ท่ามกลางอัตราว่างงานทีอ่ ยูใ่ น ระดับสูงถึง 26% และคาดว่าเศรษฐกิจของประเทศจะหดตัว 1.5% ในปี น้ี และจะยังไม่กลับมาขยายตัวได้จนกว่าจะถึงช่วงปลายปี 2557 ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยภาวะการค้าของเกาหลีใต้ปรับตัวดีขน้ึ 2.3% ในเดือนมี.ค.(yoy) จากต้นทุนการนําเข้าลดลงใน อัตราทีส่ งู กว่าราคาสินค้าส่งออกและปริมาณการส่งออกทีเ่ พิม่ ขึน้ จากอุปสงค์ทเ่ี พิม่ ขึน้ ของสินค้าไอทีและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ เผยถึงภาวะการค้าระหว่างประเทศของไทยในช่วงเดือนมี.ค. 2556 ทีผ่ า่ นมาการส่งออกเพิม่ ขึน้ 4.55% (yoy) คิดเป็ น มูลค่า 20,769.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะทีก่ ารนําเข้าลดลงอยูท่ ่ี 11.52% คิดเป็ นมูลค่า 21,636.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ จากภาวะการค้า ระหว่างประเทศของไทยทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลให้ขาดดุลการค้าประมาณ 867.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 23 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 28.81/83 บาท/ดอลลาร์ ในช่วงนี้ไม่มขี า่ วทีส่ ง่ ผลต่อค่าเงินบาท เงินบาทเคลื่อนไหวตามดีมานด์ซพั พลาย
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 152.29 จุด หรือ 1.05% แตะที่ 14,719.46 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 16.28 จุด หรือ 1.04% แตะที่ 1,578.78 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 35.78 จุด หรือ 1.11% แตะที่ 3,269.33 จุด ตอบรับผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งของ บริษทั เอกชนและยอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐปรับตัวสูงขึน้ ในเดือนมี.ค. ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 38.72 จุด หรือ 0.29% แตะที่ 13,529.65 จุด จากการแข็งค่าของเงินเยน และการผลิตของจีนชะลอตัว ลง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 57.63 จุด หรือ 2.57% ปิดที่ 2,184.54 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 237.76 จุด หรือ 1.08% ปิดที่ 21,806.61 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,549.35 จุด ลดลง 9.75 จุด หรือ 0.63% จากตัวเลขเศรษฐกิจภาคการผลิตของจีนขยายตัวช้าลง ทํา ให้เกิดการชะลอตัว จึงทําให้มแี รงขายทํากําไรออกมา ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review: ภาวะความตึงเครี ยดในคาบสมุทรเกาหลีอาจยืดเยือ้ ไปถึง เดือน ก.ค. 56
ื้ สน ิ ค ้าคงทนเดือนมี.ค.ลดลง 5.7% มากสุดในรอบ 7 เดือน HighLight : สหรัฐฯเผยยอดสงั่ ซอ
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนเดือนมี.ค.ลดลง 5.7% (mom ) ปรับลดลงมากทีส่ ดุ ในรอบ 7 เดือนและ มากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้วา่ จะปรับตัวลดลง 3% เนื่องจากอุปสงค์เครือ่ งบินเชิงพาณิชย์และการลงทุนภาคธุรกิจชะลอตัว ซึง่ บ่งชีว้ า่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจชะลอลงตัง้ แต่ตน้ ปี : สต็อกนํ้ามันดิบรายสัปดาห์ของสหรัฐขยายตัวสูงขึน้ ตํ่ากว่าทีไ่ ด้มกี ารคาดการณ์ไว้ ณ สัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดในวันที่ 19 เม.ย. โดยสต็อกนํ้ามันดิบ เพิม่ ขึน้ 947,000 บาร์เรล มาอยูท่ ่ี 217.8 ล้านบาร์เรล ซึง่ ถือเป็ นสถิตทิ ล่ี ดลงอย่างมากเมือ่ เทียบกับการประเมินของนักวิเคราะห์ ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้มปรับลดอัตราดอกเบีย้ ลงสูร่ ะดับตํ่าเป็ นประวัตกิ ารณ์ในการประชุมทีจ่ ะจัดขึน้ ในสัปดาห์หน้า เนื่องจากเศรษฐกิจของยุโรปทีซ่ บเซา ภาคการผลิตและบริการในเดือนเม.ย.นัน้ ตอกยํา้ ให้เห็นถึงความอ่อนตัวของผลผลิต ขณะทีด่ ชั นีความ เชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีกร็ ว่ งลงมากกว่าทีไ่ ด้มกี ารคาดการณ์ไว้ ■ เยอรมนี : สถาบันวิจยั เศรษฐกิจของเยอรมนี เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีปรับตัวลงแตะ 104.4 ในเดือนเม.ย. จาก 106.7 ในเดือนมี.ค. ซึง่ ส่งสัญญาณว่าการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเยอรมนีนนั ้ ยังไม่ยงยื ั ่ น หลังจากทีอ่ ยูใ่ นภาวะขยายตัวในเดือนก่อนหน้า ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังญี่ปนุ่ ปรับเพิม่ การประเมินเศรษฐกิจโดยรวมในช่วง 3 เดือนแรกของปีน้ี ซึง่ เป็ นการปรับเพิม่ ครัง้ แรกในรอบ 3 ไตรมาส พร้อมระบุวา่ เศรษฐกิจในเขตต่างๆของญีป่ นุ่ "กระเตือ้ งขึน้ อย่างค่อยเป็ นค่อยไป" สําหรับในอนาคตคาดว่าเศรษฐกิจในเขตต่างๆจะ ขยายตัว โดยได้รบั แรงหนุนจากนโยบายทางเศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรีชนิ โสะ อาเบะ ซึง่ มีเป้าหมายยุตภิ าวะเงินฝืดทีเ่ รือ้ รัง ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยจีดพี ขี องเกาหลีใต้มอี ตั ราการขยายตัวทีร่ วดเร็วขึน้ แตะ 0.9% ในไตรมาสแรก เมือ่ เทียบกับในช่วง 3 เดือนก่อนหน้านัน้ เนื่องจากการส่งออกทีค่ กึ คักช่วยชดเชยการปรับตัวลงของค่าใช้จา่ ยในภาคเอกชน ■ ออสเตรเลีย: สํานักงานสถิตอิ อสเตรเลีย เผยดัชนี CPI พืน้ ฐานของออสเตรเลียขยายตัว 0.3% เทียบกับไตรมาสก่อนหน้านี้ ซึง่ ตํ่ากว่าที่ คาดการณ์ไว้ ส่งผลให้มกี ารคาดการณ์วา่ ธนาคารกลางออสเตรเลียจะกลับมาลดอัตราดอกเบีย้ ลง 3% ในการประชุมครัง้ ต่อไป
Thailand updates :
■ ธปท. กล่าวยอมรับค่าเงินบาทไทยตัง้ แต่ตน้ ปีจนถึงปจั จุบนั แข็งค่าสูงสุดในภูมภิ าค โดยแข็งค่าขึน้ กว่าร้อยละ 6.28 จากระดับ 30.55 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ มาอยูท่ ่ี 28.82 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยมีสาเหตุหลักมาจากปจั จัยพืน้ ฐานเศรษฐกิจทีด่ ที าํ ให้นกั ลงทุนต่างประเทศมี ความเชื่อมันต่ ่ อเศรษฐกิจไทย หากเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ทีม่ ปี จั จัยลบในแต่ละประเทศทําให้คา่ เงินของเพือ่ นบ้านอ่อนค่าลง ■ เงินบาทปิดตลาด ( 24 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 28.89/99 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวอยูใ่ นระดับทีท่ รงตัว
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 43.16 จุด หรือ 0.29% แตะที่ 14,676.30 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.01 จุด หรือ 0.01% แตะ ที่ 1,578.79 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 0.32 จุด หรือ 0.01% แตะที่ 3,269.65 จุด จากสหรัฐเผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนลดลงเกินคาดในเดือนมี.ค. ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 313.81 จุด หรือ 2.32% ปิดที่ 13,843.46 จุด จากเงินเยนอ่อนค่าลง ทําให้นกั ลงทุนคาดหวังว่าจะ ช่วยหนุ นผลประกอบการของบริษทั ส่งออกให้แข็งแกร่งขึน้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 33.78 จุด หรือ 1.55% ปิดที่ 2,218.32 จุด ดัชนี ฮังเส็ ่ งเพิม่ ขึน้ 376.44 จุด หรือ 1.73% ปิดที่ 22,183.05 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,553.85 จุด เพิม่ ขึน้ 4.50 จุด หรือ อ้ ความ] หน้จาารณา 1 0.29% เพิม่[พิขึนม้ พ์น้อขยกว่ าเพื่อนบ้าน จากนักลงทุนรอความชัดเจนการใช้มาตรการแก้ไขปญั หาบาทแข็งทีร่ ฐั บาลอยูร่ ะหว่างการพิ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 6 ประจําว ันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
้ ไปถึง เดือน ก.ค. 56 GLOBAL Review: ภาวะความตึงเครียดในคาบสมุทรเกาหลีอาจยืดเยือ
สถานการณ์ภาวะตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลียงั เป็ นทีน่ ่ากังวล หลังจากการ เปิดตัวขีปนาวุธของเกาหลีเหนือในเดือนธันวาคม 2012 และการทดสอบนิวเคลียร์ครัง้ ที่ 3 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2013 ทําให้สหประชาชาติตอบโต้ดว้ ยการเพิม่ มาตรการควํ่าบาตร ่ ออกจากนิคม เกาหลีเหนือ ส่งผลให้คนงานชาวเกาหลีใต้ถกู เกาหลีเหนือสังให้ อุตสาหกรรมแคซองภายในวันที่ 10 เมษายนและล่าสุดวันที่ 23 เมษายน เกาหลีเหนือ ประกาศให้ประชาคมโลกยอมรับการเป็ นรัฐฯทีม่ อี าวุธนิวเคลียร์ในครอบครอง (Nuclear Weapons State)
จากทีผ่ า่ นมาแสดงให้เห็นว่าการปลุกปั่ นของเกาหลีเหนือจะอยูใ่ นช่วงทีใ่ กล้เคียงกับวันหยุดราชการทีส่ าํ คัญของเกาหลีเหนือ ซึง่ ก่อนหน้านี้ คาดว่าเกาหลีเหนือจะทดสอบขีปนาวุธในวันที่ 15 เมษายน ซึง่ เป็ นวันเกิดของ Kim Il-sung ผูน้ ําผูก้ ่อตัง้ ประเทศ ส่งผลให้เกาหลีใต้ตอ้ งเพิม่ ความระมัดระวังเสถียรภาพและระบบเศรษฐกิจภายในประเทศในช่วงเวลาดังกล่าว ขณะทีส่ ถานการณ์ปจั จุบนั ยังไม่มกี ารทดลองยิงขีปนาวุธ ของเกาหลีเหนือตามทีค่ าดการณ์กนั ไว้ ซึง่ ทําให้ทงั ้ สหรัฐฯและเกาหลีใต้อาจต้องเตรียมพร้อมรับมือในระดับสูงยืดเยือ้ ไปจนถึงเดือนกรกฎาคม เกาหลีใต้คาดการณ์ถงึ ความเป็ นไปได้ทเ่ี กาหลีเหนืออาจจะทดสอบขีปนาวุธ มีแนวโน้มทีเ่ กาหลีเหนืออาจทําการทดสอบขีปนาวุธใน 3 วัน สําคัญ คือวันที่ 25 เมษายน ซึง่ เป็ นวันกองทัพเกาหลีเหนือ วันที่ 30 เมษายน ซึง่ เป็ นวันสุดท้ายของการซ้อมรบร่วมของกองทัพเกาหลีใต้และ สหรัฐ และวันที่ 27 กรกฎาคม ครบรอบวันสงบศึก ยุตสิ งครามเกาหลีในช่วงปี 2493-2496 อย่างไรก็ตามชีใ้ ห้เห็นว่าการกระทําทีผ่ า่ นมาของเกาหลีเหนือมุง่ เน้นให้เกิดผลกระทบต่อเสถียรภาพและระบบเศรษฐกิจภายในประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีเหนือภายใต้การปกครองของ Kim Jong-un จนถึงขณะนี้ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปกครองจากรุน่ ก่อน โดยให้ความสําคัญ กับนโยบาย " Military First " นโยบายทีน่ ําไปสูก่ ารจัดสรรทรัพยากรทางการทหารทีม่ ากขึน้ ขณะทีก่ ารปลดอาวุธนิวเคลียร์อย่างสันติของ เกาหลีเหนือขึน้ อยูก่ บั นโยบายที่ Kim Jong-un กําหนดในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมา แม้วา่ จะ แสดงให้เห็นถึงการเปิ ดกว้างมากขึน้ ในการร่วมมือระหว่างประเทศ เช่น การเริม่ เจรจา ทัง้ หกฝา่ ยอีกครัง้ แต่ยงั ไม่เป็ นทีไ่ ว้วางใจเนื่องจากในปี 2005 ผูน้ ําเกาหลีเหนือใน ขณะนัน้ ได้ลงนามในข้อตกลงยินยอมปลดอาวุธนิวเคลียร์เพือ่ แลกกับความช่วยเหลือทาง เศรษฐกิจและมนุ ษยธรรม แต่ต่อมาก็ฉีกข้อตกลงดังกล่าวและยืนยันต่อมาว่าอาวุธ นิวเคลียร์คอื อาวุธทีท่ รงคุณค่าของเกาหลีเหนือจะไม่มกี ารยกเลิกเป็ นอันขาด ในปจั จุบนั เกาหลีเหนือได้เคลื่อนย้ายเครือ่ งยิงจรวดขีปนาวุธพิสยั กลาง 2 เครือ่ งไปยังชายฝั่ งด้านตะวันออกของประเทศ เพื่อเป็ นการเตรียม ความพร้อมในการทดลองยิงขีปนาวุธซึง่ สามารถยิงได้ไกลถึงเกาะกวมของสหรัฐฯ ประเทศจีนซึง่ ถือเป็ นประเทศพันธมิตรทางการเมืองและ เศรษฐกิจของเกาหลีเหนือทีส่ าํ คัญเชื่อว่าเกาหลีเหนืออาจกําลังเตรียมทดลองอาวุธนิวเคลียร์ ครัง้ ที่ 4 โดยจีนได้เรียกร้องให้เกาหลีเหนือระงับการ ดําเนินการดังกล่าว เสนอให้มกี ารเจรจาเพือ่ ยุตกิ ารทดสอบนิวเคลียร์และยุตกิ ารผลิตอาวุธนิวเคลียร์ ซึง่ ล่าสุดเกาหลีเหนือยํา้ ว่าจะไม่ยกเลิก ้่ โครงการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ พร้อมปฏิเสธเงือนไขต่ างๆ ของสหรัฐ แต่ขณะเดียวกันก็ระบุวา่ พร้อมจะหารือเรือ่ งการปลดอาวุธ จากการคาดการณ์ความเสี่ยงจากภาวะความตึงเครียดบนคาบสมุทรเกาหลีมีความเป็ นไปได้ที่เกาหลีเหนื ออาจจะทบสอบ ขีปนาวุธในช่วงวันกองทัพเกาหลีเหนื อ วันสุดท้ายของการซ้อมรบร่วมของกองทัพเกาหลีใต้และสหรัฐ วันครบรอบวันสงบศึก ส่งผลให้ การเตรียมพร้อมรับมือของเกาหลีใต้และสหรัฐฯอาจยืดเยือ้ ไปจนถึงกลางปี 2556 หรือในเดือนกรกฎาคมนี้ [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
MacroKoreaEconomics Apr8,2013// DailynewsApr22,2013//INNApr23,2013
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : จีดพ ี อ ี ังกฤษโต 0.3% ใน Q1/56 บ่งชเี้ ศรษฐกิจรอดพ้นจากภาวะถดถอย
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 20 เม.ย.ลดลง 16,000 ราย มาอยูท่ ่ี ระดับ 339,000 ราย ซึง่ ลดลงมากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่าจะขยับลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 351,000 ราย จากสัปดาห์ก่อนหน้าทีร่ ะดับ 352,000 ราย สะท้อนให้เห็นว่า ตลาดแรงงานของสหรัฐยังคงอยูใ่ นระยะฟื้นตัว ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยจีดพี ขี องอังกฤษในช่วงไตรมาสแรกปีน้ี ขยายตัว 0.3% เทียบกับช่วงไตรมาส 4 ปีทแ่ี ล้ว และปรับตัวขึน้ 0.6% จากช่วงเดียวกันของปี 2555 แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจของอังกฤษสามารถรอดพ้นจากภาวะถดถอยได้ในช่วง 3 เดือน แรกของปีน้ี ขณะทีร่ ฐั บาลจะยังคงเดินหน้าแผนรัดเข็มขัดต่อไป ■ เยอรมนี : รัฐบาลเยอรมนีปรับเพิม่ คาดการณ์การขยายตัวของจีดพี ี ปี 2556 โดยคาดว่าจีดพี จี ะขยายตัว 0.5% มากกว่าทีป่ ระมาณการไว้ ก่อนหน้านี้วา่ จะขยายตัวเพียง 0.4% และยังคงคาดการณ์การขยายตัวของจีดพี ปี ี 2557 ไว้ท่ี 1.6% อย่างไรก็ตาม ตัวเลขคาดการณ์ของ รัฐบาลเยอรมนียงั น้อยกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดการณ์ไว้วา่ จีดพี ปี ีน้ีจะยายตัว 0.8% และขยายตัว 1.9% ในปี หน้า ■ สเปน: สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติสเปน เผยอัตราว่างงานของสเปนในไตรมาสแรกของปีน้ีดดี ตัวขึน้ สูงกว่า 27% จากเศรษฐกิจถดถอยที่ ยืดเยือ้ ของประเทศ ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการสือ่ สารและกิจการภายในประเทศของญีป่ นุ่ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนมี.ค.ของญีป่ นุ่ ปรับตัวลดลง 0.5% (yoy) ส่วนดัชนี CPI พืน้ ฐานซึง่ ไม่นบั รวมราคาอาหารสด อยูท่ ร่ี ะดับ 99.5 เทียบกับฐาน 100 ซึง่ ทําไว้ในปี 2553 ■ เกาหลีใต้ : สํานักงานศุลกากรเกาหลีใต้ เผยปริมาณการนําเข้าพลังงานของเกาหลีใต้ได้ปรับตัวลดลง1.7% (yoy) ในไตรมาสแรกปีน้ี เนื่องจากอุปสงค์ดา้ นพลังงานทีอ่ ่อนแอท่ามกลางแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจทีซ่ บเซา
Thailand updates : ■ ธนาคารโลก เผยผลประเมินบรรษัทภิบาลตลาดทุนไทยปี 2555 ในรายงานเรือ่ งการประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากลด้านบรรษัทภิ บาล หรือ CG-ROSC ซึง่ ปรากฏว่าตลาดทุนไทยมีพฒ ั นาการทีด่ ใี นการยกระดับบรรษัทภิบาลและเป็ นผูน้ ําในภูมภิ าคโดยได้คะแนนสูงในทุก เรือ่ งทีส่ าํ คัญซึง่ พัฒนาการนี้ได้สร้างความเชื่อมันให้ ่ แก่ผลู้ งทุนอีกทัง้ ยังเป็ นการรักษาสิทธิของผูถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อย เพิม่ ความเป็ นมืออาชีพให้กบั คณะกรรมการบริษทั และยกระดับความโปร่งใสของกิจการ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 25 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.10/12 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากตลาดอาจจะกังวลว่าทางการจะมีมาตรการอะไรออกมา ควบคุมเรือ่ งเงินทุนไหลเข้า
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 24.50 จุด หรือ 0.17% แตะที่ 14,700.80 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.37 จุด หรือ 0.40% แตะที่ 1,585.16 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 20.34 จุด หรือ 0.62% แตะที่ 3,289.99 จุด จากผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานของสหรัฐลดลง และ ผลประกอบการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของบริษทั เอ็กซอน โมบิล ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 82.62 จุด หรือ 0.60% ปิดที่ 13,926.08 จุด จากการหวังถึงผลประกอบการของบริษทั เอกชนจะ แข็งแกร่งเพราะแรงหนุ นจากการอ่อนค่าของเงินเยน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 19.01 จุด หรือ 0.86% ปิ ดที่ 2,199.31 จุด ดัชนีฮงเส็ ั่ ง เพิม่ ขึน้ 218.19 จุด หรือ 0.98% ปิดที่ 22,401.24 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,574.25 จุด เพิม่ ขึน้ 20.40 จุด หรือ 1.31% จากแรงขายทํากําไรระหว่างทาง โดยนักลงทุนหันมาเก็งกําไรเป็ นรายตัว ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review: ยุคเฟื่ องฟูของอุตสาหกรรมรถยนต์ ไทย ดีทรอยต์ แห่ งตะวันออก
HighLight : จีดพ ี ส ี หรัฐฯขยายตัว 2.5% ในไตรมาสแรก แต่ยังตํา่ กว่าคาดการณ์
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยจีดพี ปี ระจําไตรมาส 1/2556 ขยายตัว 2.5% ซึง่ ตํ่ากว่าทีน่ กั เศรษฐศาสตร์สว่ นใหญ่คาดการณ์ แต่ยงั ดีกว่าไตรมาส 4/2555 ทีข่ ยายตัวเพียง 0.4% ซึง่ เป็ นการขยายตัวในไตรมาสที่ 15 ติดต่อกันแล้ว แต่อตั ราการขยายตัวโดยเฉลีย่ อยูแ่ ค่ 2%/ปี ซึง่ ถือว่าตํ่าเมือ่ เทียบกับมาตรฐานในอดีต : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคช่วงปลายเดือนเม.ย.จากรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กน ลดลงสูร่ ะดับ 76.4 จากระดับ 78.6 ในเดือนมี.ค.อย่างไร ก็ตาม ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดการณ์ และดีกว่าตัวเลขเมือ่ ช่วงต้นเดือนเม.ย. ซึง่ อยูท่ ร่ี ะดับ 72.3 ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติฝรังเศส ่ เผยความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคฝรังเศสเกี ่ ย่ วกับสถานการณ์ทางการเงินและเศรษฐกิจโดยทัวไปยั ่ งคงไม่ เปลีย่ นแปลง ในเดือนเม.ย.เมือ่ เทียบกับช่วงเดือนมี.ค. แต่ดชั นีความเชื่อมันยั ่ งคงตํ่ากว่าค่าเฉลีย่ ในระยะยาว โดยดัชนีความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคทรงตัวทีร่ ะดับ 84 ■ สเปน : รัฐบาลสเปน ประกาศมาตรการปฏิรปู เศรษฐกิจรอบใหม่ ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ในการกระตุน้ กระขยายตัวทางเศรษฐกิจ หลังจากช่วง หลายปีในการใช้นโยบายรัดเข็มขัด ทีส่ ง่ ผลให้อตั ราว่างงานพุง่ สูงขึน้ นอกจากนี้ยงั ได้ปรับลดการประเมินเศรษฐกิจสําหรับปี 2556 โดย รัฐบาลคาดว่าเศรษฐกิจของสเปนจะหดตัว 1.3% ในปีน้ี และมียอดขาดดุลที่ 6.3% ส่วนในปี 2557 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว 0.5% ■ จีน: สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยบริษทั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของจีนมีผลกําไรรวมในไตรมาสแรกปี 2556 เพิม่ ขึน้ 12.1% (yoy) ซึง่ ชะลอลงจากอัตรา 17.2% ในช่วงเดือนม.ค.-ก.พ. ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะแตะ 1.9% ในปีงบประมาณ 2558 ซึง่ ใกล้บรรลุเป้าเงินเฟ้อที่ 2% ในราว 2 ปี โดยมี แรงหนุ นจากนโยบายผ่อนคลายทางการเงินในเชิงรุกเพื่อจัดการภาวะเงินฝืด : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ มีมติให้คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายทีร่ ะดับ 0-0.1% ซึง่ เป็ นไปตามการคาดการณ์ของตลาด พร้อมกับยืนยันว่าจะเดินหน้า โครงการเพิม่ ฐานเงินทีอ่ ตั รา 60-70 ล้านล้านเยนต่อปี เพือ่ เพิม่ ปริมาณเงินทีบ่ โี อเจจะอัดฉีดเข้าสูร่ ะบบเศรษฐกิจในระยะเวลา 2 ปี ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยยอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดเดือนมี.ค.อยูท่ ่ี 4.98 พันล้านดอลลาร์ ซึง่ เพิม่ ขึน้ เกือบ 2 เท่าเมือ่ เทียบกับ เดือนก.พ.ทีร่ ะดับ 2.71 พันล้านดอลลาร์ เนื่องจากยอดส่งออกสินค้าไอทีของเกาหลีใต้ เช่นสมาร์ทโฟน และเซมิคอนดัคเตอร์ ปรับตัวสูงขึน้
Thailand updates : ■ มูดสี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ คงอันดับความน่าเชื่อถือของไทยที่ Baa1 แนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือมีเสถียรภาพ โดยระบุวา่ ความแข็งแกร่งทาง การเงินของรัฐบาลอยูใ่ นระดับสูง ความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจและสถาบันอยูใ่ นระดับปานกลาง และความอ่อนไหวต่อความเสีย่ งจากเหตุการณ์ไม่คาดคิด อยูใ่ นระดับตํ่าถึงปานกลาง จากการทีร่ ฐั บาลไทยมีภาระหนี้สนิ อยูใ่ นระดับทีค่ อ่ นข้างตํ่า เนื่องจากสามารถระดมทุนได้มากพอจากตลาดทุนภายในประเทศ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 26 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.36/38 บาท/ดอลลาร์ ขณะทีท่ ศิ ทางเงินบาทในสัปดาห์น้ีตอ้ งรอดูความชัดเจนจากผลการ ประชุมเรือ่ งสถานการณ์คา่ เงินบาท ระหว่างนายกฯ กับกระทรวงการคลัง และแบงก์ชาติ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 11.75 จุด หรือ 0.08% ปิ ดที่ 14,712.55 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.92 จุด หรือ 0.18% ปิดที่ 1,582.24 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 10.73 จุด หรือ 0.33% ปิดที่ 3,279.26 จุด โดยมีแรงถ่วงจากข้อมูลจีดพี ขี องสหรัฐทีต่ ่าํ กว่าคาดในไตรมาสแรก ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 41.95 จุด หรือ 0.30% ปิดที่ 13,884.13 จุด ได้รบั แรงกดดันจากเงินเยนทีแ่ ข็งค่าขึน้ เมือ่ เทียบกับ ดอลลาร์ หลังจากธนาคารกลางญีป่ นุ่ มีมติคงนโยบายการเงิน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 0.97% หรือ 21.40 จุด ปิดที่ 2,177.91 จุด ดัชนี พ์ขอ้ ความ] ฮังเส็ ่ งเพิม่ ขึ[พิน้ ม146.47 จุด หรือ 0.65% ปิดที่ 22,547.71 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,582.93 จุด เพิม่ ขึน้ 8.68หน้จุาด1 หรือ 0.55% จากมาตรการแก้ บาทแข็งเน้นตลาดพันธบัตรไม่กระทบตลาดหุน้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 7 ประจําว ันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Review: ยุคเฟื่ องฟูของอุตสาหกรรมรถยนต์ไทย ดีทรอยต์แห่งตะว ันออก
จากรูปภาพดังกล่าวถือเป็ นภาพทีน่ ่าสนใจ แต่สาํ หรับผูผ้ ลิตรถยนต์ของญี่ปนุ่ ถือเป็ นความหายนะ ภาพจากเหตุการณ์น้ําท่วมช่วงปลายปี 2011 ในพืน้ ที่ กรุงเทพฯและพืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรมหลักของไทย ส่งผลให้บริษทั และโรงงานผลิต รถยนต์เป็ นหนึ่งในกลุม่ ผูท้ ไ่ี ด้รบั ความเดือดร้อนมากทีส่ ดุ ซึง่ พืน้ ทีบ่ างส่วนมีน้ํา เหตุการณ์น้ําท่วมดังกล่าวสะท้อนให้เห็นมุมมองทีเ่ ด่นชัดมากขึน้ ด้าน อุตสาหกรรมรถยนต์ คือ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางการส่งออกรถยนต์ทส่ี าํ คัญ ของภูมภิ าคตะวันออก (ดีทรอยต์แห่งตะวันออก) และเป็ นฐานการผลิตของผูผ้ ลิต รถยนต์ของญีป่ ุ่น ซึง่ ในปี 2012 มีตวั เลขการผลิตรถยนต์ถงึ 2.45 ล้านคัน ขณะที่ รถยนต์ทผ่ี ลิตในประเทศถูกส่งออกไปกว่า 1 ล้านคัน ประเทศไทยจึงกลายเป็ นประเทศทีส่ ง่ ออกรถยนต์มากเป็ นอันดับ 7 ของโลก การเพิม่ ขึน้ ของอุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยไม่ถอื เป็ นเรือ่ งผิดปกติ เนื่องจากหลังวิกฤตการณ์ทางการเงินของเอเชียในปี 1997 ประเทศ ไทยออกกฎระเบียบครอบคลุมกิจการต่างๆในประเทศมากขึน้ ซึง่ แตกต่างจากในประเทศอินเดียหรือมาเลเซียทีบ่ ริษทั ต่างชาติไม่จาํ เป็ นต้องเข้า ร่วมทุนกับคูค่ า้ ในประเทศ ขณะทีค่ ณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งประเทศไทยสร้างแรงจูงใจในการผลิตรถยนต์ทเ่ี ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยการลดอัตราภาษีนิตบิ ุคคลจาก 30% เป็ น 20% ซึง่ ตํ่ากว่าอัตราภาษีของอินโดนีเซีย มาเลเซียและเวียดนาม การจัดการเหตุการณ์น้ําท่วมทีผ่ า่ นมาโดยการให้สทิ ธิประโยชน์ในการลงทุนและนโยบายรถคันแรก ส่งผลดีต่ออุปสงค์ภายในประเทศ ในปี 2012 ประเทศไทยกลายเป็ นตลาดรถยนต์ทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อกี ครัง้ ซึง่ ในปีก่อนหน้านี้เสียตําแหน่งให้กบั ประเทศ อินโดนีเซีย โดยมีตวั เลขรถยนต์ใหม่ภายในประเทศไทยจํานวน 1.44 ล้านคัน ในประเทศไทยมีผผู้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ 3 ราย ได้แก่ Toyota Isuzu Honda ซึง่ ส่วนใหญ่จะผลิตรถกระบะและรถยนต์นงขนาดเล็ ั่ ก ขณะทีผ่ ผู้ ลิตรถยนต์อ่นื ๆ ได้มกี ารย้ายฐานการผลิตเพื่อลดต้นทุนในการผลิตเข้ามาในไทยเช่นเดียวกับประเทศญี่ปนุ่ เช่น ย้ายฐานการผลิตจากประเทศทีม่ ตี น้ ทุนสูงอย่างออสเตรเลียมา ทีป่ ระเทศไทย และในปี 2012 Ford เข้ามาจัดตัง้ โรงงานผลิตรถยนต์ในประเทศไทยโดยมีจุดมุง่ หมายทีจ่ ะเพิม่ กําลังการผลิตเป็ น 445,000 หน่วย/ปี การผลิตรถยนต์ในประเทศไทยไม่ได้ใช้ชน้ิ ส่วนในการประกอบรถยนต์ทต่ี อ้ งนําเข้า จากต่างประเทศ ชิน้ ส่วนในการประกอบรถยนต์สว่ นใหญ่มาจากบริษทั ในประเทศ โดย IHS บริษทั วิจยั ตลาดกล่าวว่าตัวเลขการผลิตรถยนต์ภายในประเทศไทยอยูใ่ นระดับทีส่ งู มาก โดยมีสดั ส่วนกว่า 80 % ของตลาดในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศ ไทยยังส่งออกชิน้ ส่วนอะไหล่รถยนต์มลู ค่า 5 พันล้านดอลลาร์ ซึง่ มีมลู ค่ามากกว่ามูลค่า ส่งออกชิน้ ส่วนอะไหล่รถยนต์ของประเทศสมาชิกอาเซียนรวมกัน ประเด็นสําคัญคืออุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยจะยังคงสามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและมีโอกาสทีจ่ ะเสียฐานการผลิตรถยนต์ทใ่ี หญ่ ทีส่ ดุ ของอาเซียนให้กบั อินโดนีเซียอีกครัง้ หรือไม่ จากการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ของอินโดนีเซียถือเป็ นความ เสีย่ งทีผ่ ผู้ ลิตรถยนต์จากต่างประเทศอาจจะย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปอินโดนีเซียได้ ขณะที่ Boston Consulting Group มี การศึกษาตัวชีว้ ดั ทีส่ าํ คัญทัง้ หมด พบว่าจากตัวชีว้ ดั ต่างๆไทยมีความสามารถด้านอุตสาหกรรมรถยนต์สงู กว่าอินโดนีเซียในเกือบทุกด้าน เช่น การแข่งขันในตลาด โครงสร้างพืน้ ฐาน สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ แรงจูงใจด้านภาษี ค่าแรงงานและด้านอื่น ๆ อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยไม่สามารถเติบโตได้ได้อย่างต่อเนื่อง จากขาดแคลนแรงงานในประเทศส่งผลให้การเติบโตของอุตสาหกรรม รถยนต์อยูใ่ นภาวะเจริญเติบโตแบบชะลอตัว ขณะทีก่ ารเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมรถยนต์ก่อให้เกิดปญั หาการจราจรติดขัดในกรุงเทพฯ อย่างหนัก ก่อนทีจ่ ะมีการเปิดใช้ทางด่วนยกระดับระบบขนส่งมวลชนทีจ่ ะเริม่ ขึน้ ในปี 1999 ในปัจจุบนั อุตสาหกรรมรถยนต์ของไทยถือเป็ นศูนย์กลางการส่งออกที่สาํ คัญของภูมิภาคตะวันออกและเป็ นฐานการผลิ ตของ ผูผ้ ลิ ตรถยนต์ โดยมูลค่าการส่งออกมีสดั ส่วนกว่า 80 % ของตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และเป็ นหน้ประเทศที [พิทมี่สพ์าํ ขคัอ้ ญความ] า 2 ่ ส่งออกรถยนต์มากเป็ นอันดับ 7 ของโลก โดยมีค่แู ข่งที่น่าจับตามองคืออิ นโดนี เซีย
Thailand'sboomingcarindustryDetroitofthe East , by T.F.J. | BANGKOK , Apr 4:2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review: บราซิลขาดแคลนไฟฟ้า หลังวิกฤตภัยแล้ ง
HighLight : ในเดือนมี.ค. ทัง้ การใชจ่้ ายและรายได ้สว่ นบุคคลสหรัฐฯเพิม ่ ขึน ้ 0.2% และรัฐบาล ใหม่อต ิ าลีได ้การรับรองจากสภาฯแล ้ว
Global : ■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยการใช้จา่ ยส่วนบุคคลในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 0.2% หลังจากทีป่ รับขึน้ 0.7% ในเดือนก.พ. บ่งชีว้ า่ ชาว อเมริกนั ยังคงมีกาํ ลังจับจ่าย เนื่องจากภาวะเงินเฟ้อไม่ได้รนุ แรงนัก ขณะทีร่ ายได้เพิม่ ขึน้ เพียง 0.2% ในเดือนมี.ค. ซึง่ อาจจะสะท้อนถึงการ ขยายตัวด้านการจ้างงานทีอ่ ่อนแอลง เทียบกับรายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ 1.1% ในเดือนก่อนหน้า : ดัชนีการทําสัญญาขายบ้านทีร่ อปิดการขาย ในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 1.5% (mom) สูร่ ะดับ 105.7 ซึง่ เป็ นสัญญาณบวกต่อตลาดอสังหาฯ ■ ยูโรโซน : คณะกรรมาธิการยุโรป เผยผลสํารวจความเชื่อมันทางเศรษฐกิ ่ จของยูโรโซนในเดือนเม.ย. ลดลงอย่างต่อเนื่อง แตะระดับ 88.6 จาก 90.1 ใน เดือนมี.ค. ซึง่ แสดงให้เห็นว่าเศรษฐกิจภูมภิ าคยังคงเผชิญกับสถานการณ์ทย่ี ากลําบากในการฟื้นตัวจากภาวะถดถอย ขณะทีต่ วั เลขทีล่ ดลงดังกล่าวได้ ช่วยหนุ นการคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ทว่ี า่ ธนาคารกลางยุโรปจะปรับลดอัตราดอกเบีย้ ลงในการประชุมวันที่ 2 พ.ค.นี้ เพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจ ■ อิ ตาลี : รัฐบาลใหม่ของอิตาลีได้รบั การลงมติไว้วางใจจากสภาผูแ้ ทนราษฎรแล้ว หลังจากนายกรัฐมนตรีเอ็นริโก เลตตา ให้คาํ มันที ่ จ่ ะผ่อนคลาย มาตรการรัดเข็มขัดบางส่วน ซึง่ ได้ถ่วงการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และเน้นยํา้ ความสําคัญในการเพิม่ การลงทุน การสร้างงาน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติอติ าลี เผยดัชนีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจในเดือนเม.ย.ลดลงแตะ 87.6 ตํ่าทีส่ ดุ นับแต่กลางปี 2555 จาก 88.6 ในเดือนมี.ค ■ เยอรมนี : อัตราว่างงานรายปีของเยอรมนีลดลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 2 ปีครึง่ ที่ 1.2% ในเดือนเม.ย. และดัชนีราคาผูบ้ ริโภคในเดือน เม.ย.เพิม่ ขึน้ 1.2% จากช่วงเดียวกันของปี 2555 ขณะทีร่ าคาผูบ้ ริโภคของเยอรมนีในเดือนเม.ย.ลดลง 0.5% (mom) ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยยอดการใช้จา่ ยโดยเฉลีย่ ของภาคครัวเรือนของญี่ปนุ่ เพิม่ ขึน้ 5.2% ในเดือนมี.ค. (yoy) สูร่ ะดับ 316,166 เยน : กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมญีป่ ุ่น เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของญีป่ นุ่ เพิม่ ขึน้ 0.2% ในเดือนมี.ค.(mom) ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 : อัตราว่างงานของญีป่ นุ่ ปรับตัวลงเป็ นครัง้ แรกในรอบ 2 เดือนมาอยูท่ ่ี 4.1% ในเดือนมี.ค. จาก 4.3% ในเดือนก.พ. บ่งชีถ้ งึ การจ้างงาน เพิม่ ขึน้ ในขณะทีม่ คี วามคาดหวังว่าการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจะช่วยเพิม่ ความเชื่อมันให้ ่ กบั ภาคธุรกิจ
Thailand updates : ■ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เผยการจัดงานแสดงสินค้าอาหาร 2556 หรือ THAIFEX - World of food ASIA 2013 ภายใต้ แนวคิด "Savor the Best in Asia 2013" คาดว่าจะมีเงินสะพัดภายในงานและต่อเนื่องตลอดทัง้ ปี ไม่ต่าํ กว่า 7 หมืน่ ล้านบาท ทําให้ภาพรวม การส่งออกสินค้าอาหารของไทยปีน้ีจะเป็ นไปตามเป้าหมายขยายตัว 10% จากปีก่อนทีส่ ง่ ออกขยายตัว 8.1% มูลค่า 1.84 หมืน่ ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ โดยการส่งออกช่วงไตรมาส 1 กลุม่ อาหารมีมลู ค่า 4,408 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัว 7.7% ■ เงินบาทปิดตลาด ( 29 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.30/32 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าตามแรงขาย จากรอผลการหารือของ กนง.
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 106.20 จุด หรือ 0.72% ปิดที่ 14,818.75 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 11.37 จุด หรือ 0.72% ปิดที่ 1,593.61 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 27.76 จุด หรือ 0.85% ปิดที่ 3,307.02 จุด จากการเพิม่ ขึน้ ของหุน้ กลุม่ เทคโนโลยี และข้อมูล เศรษฐกิจทีส่ ดใสของสหรัฐ รวมถึงยอดขายสัญญาขายบ้านทีเ่ พิม่ ขึน้ เกินคาด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิตลาดปิดทําการเนื่องจากเป็ นวัน showa ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 3.86 จุด ปิดที่ 1,940.70 จุด ดัชนีฮงั ่ มพ์ขอ้ จุความ] า 1 เส็งเพิม่ ขึน้ [พิ33.06 ด หรือ 0.15% ปิดที่ 22,580.77 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,584.93 จุด เพิม่ ขึน้ 2.00 จุหน้ ด หรื อ 0.13% ผันผวนระหว่างวันจากนักลงทุนบางกลุม่ กังวลมาตรการของทางการทีจ่ ะออกมาจัดการปญั หาเงินบาทแข็งค่า
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 8 ประจําว ันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Review: บราซิลขาดแคลนไฟฟ้า หล ังวิกฤตภ ัยแล้ง
ในปี 2001 ประชาชนประเทศบราซิลต้องเผชิญกับการลดใช้พลังงานหรือไม่ม ี พลังงานใช้ จากการประสบปญั หาภัยแล้งอย่างรุนแรงทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่อการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานนํ้าทีเ่ ป็ นแหล่งพลังงานหลักทีส่ าํ คัญของประเทศ ซึง่ ในปจั จุบนั ประเทศ บราซิลก็ตอ้ งเผชิญกับปญั หานี้อกี ครัง้ เนื่องจากพลังงานนํ้าเป็ นแหล่งผลิตพลังงาน ไฟฟ้าโดยรวมทีม่ สี ดั ส่วน 2ใน3ของประเทศ แต่จากปญั หาสภาพอากาศที่ เปลีย่ นแปลงไปในแต่ละปี ทําให้พลังงานนํ้าไม่สามารถผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชนได้ จึงเป็ นความเสีย่ งต่อแผนการบริหารจัดการของภาครัฐ เพราะความมันคงและราคาพลั ่ งงานเป็ นปญั หาทีส่ าํ คัญมากทีส่ ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อ ประเทศบราซิล ซึง่ ถ้าหากยังใช้น้ําในการผลิตพลังงานไฟฟ้าต่อไป ประเทศจะต้องประสบกับปญั หาการขาดแคลนพลังงานอย่างรุนแรง ส่งผลให้ ราคาพลังงานสูงขึน้ เป็ นอุปสรรค์ต่อความก้าวหน้าของประเทศในอนาคต จึงได้มกี ารดําเนินการหาพลังงานทดแทน เพือ่ เป็ นการช่วยลดต้นทุน ในการผลิตไฟฟ้า โดยการนําเอาก๊าซธรรมชาติและโรงไฟฟ้าถ่านหินมาผลิตพลังงานไฟฟ้าแทนตลอดทัง้ ปี อย่างไรก็ตามราคาของพลังงานที่ ผลิตจากฟอสซิลจะมีราคาสูงกว่าราคาของพลังงานนํ้าถึง 5 เท่า โดยในเดือนตุลาคมปี 2012 เริม่ มีการนําเอาก๊าซธรรมชาติมาผลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนํ้า แต่ ดเป็ น16 เซน เมือ่ ต้นทุนก็ยงั คงสูงทําให้ราคาไฟฟ้าสูงมากขึน้ และส่งผลให้ภาวะเงินเฟ้อสูงขึน้ ตาม ซึง่ ราคาค่าไฟฟ้าต่อกิโลวัตต์ต่อชัวโมงคิ ่ เทียบกับสหรัฐ 6 เซน และประเทศจีน 7 เซน โดยในเดือนมกราคมปี 2013 รัฐบาลได้มกี ารปรับลดอัตราค่าไฟฟ้าลง เพือ่ บรรเทาความกดดัน ในภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน ราคาพลังงานเป็ นเรือ่ งสําคัญมากของประเทศบราซิล เพราะประเทศบราซิลเป็ นประเทศทีม่ อี ุตสาหกรรมทีใ่ ช้พลังงานมาก เช่น การ ทําเมืองแร่โลหะ เหล็ก ผลิตปิโตเคมี และผลิตอลูมเิ นียม อย่างไรก็ตามไม่เพียงแต่ ด้านอุตสาหกรรมเท่านัน้ ทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ ด้านครัวเรือนก็ได้รบั ผลกระทบเช่นเดียวกัน จากรายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ ในครอบครัวทําให้มกี ารใช้จา่ ยในการซือ้ สิง่ ของอํานวยความสะดวก เพิม่ ขึน้ เช่น ตูเ้ ย็น โทรทัศน์ เครือ่ งทํานํ้าอุ่น และเครือ่ งซักผ้า ล้วนเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งใช้ไฟฟ้า ทัง้ สิน้ จึงทําให้มคี วามต้องการในการใช้พลังงานสูง ทําให้ภาครัฐจะต้องตระหนักหา พลังงานทีร่ าคาตํ่า เพือ่ จะแก้ไขปญั หาด้านราคาพลังงานทีส่ งู ขึน้ ในช่วงหน้าแล้ง
ในปจั จุบนั ประเทศบราซิลได้รบั การสนับสนุนให้นําเอาพลังงานลมมาใช้ทดแทนพลังงานนํ้าในช่วงฤดูแล้ง ซึง่ เป็ นทางเลือกใหม่ทไ่ี ด้รบั การยอมรับทีด่ ี โดยการติดตัง้ ไฟฟ้าจากพลังงานลมใน 2 ปีทผ่ี า่ นมาสามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ1,800 เมกะวัตต์ ซึง่ เป็ นประมาณ 1.5% ของกําลังการผลิตโดยรวม ในขณะทีพ่ ลังงานทางเลือกอื่นๆ ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ สําหรับพลังงานจากก๊าซธรรมชาติประเทศบราซิลยังอยูใ่ นขัน้ เริม่ สํารวจ ซึง่ คาดว่าแหล่งก๊าซธรรมชาติอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ห่ี า่ งไกลมาก โดย จะต้องมีการวางท่อในใต้ดนิ เพื่อนําก๊าซมาใช้ในการแก้ปญั หา ซึง่ ในปจั จุบนั ยังไม่มกี ารเริม่ ดําเนินการพัฒนาใดๆเลย ดังนัน้ การใช้ก๊าซ ธรรมชาติจงึ เป็ นนโยบายในการแก้ปญั หาในระยะยาว อย่างไรก็ตามประเทศบราซิ ลไม่เพียงแค่เร่งพัฒนาการผลิ ตไฟฟ้ าให้เพียงพอต่อความต้องการเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีการพัฒนา พลังงานทดแทนด้วย โดยมีการเพิ่ มการแข่งขันในภาคพลังงานและส่งเสริ มการพัฒนาก๊าซธรรมชาติ พลังงานลมและพลังงานจาก แสงอาทิ ตย์ ซึ่งประเทศบราซิ ลจําเป็ นต้องมีมาตราการป้ องกันการใช้พลังงานในระยะยาว เพื่อไม่ให้กระทบต่อการเจริ ญเติ บโตทาง เศรษฐกิ จของประเทศในอนาคต [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
Deepwater:Brazil'spowerstruggle, Apr,9 2013
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล