Macro Views November 2012
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : น ักลงทุนจ ับตาดูผลกระทบของพายุเฮอริเคน
Global : ■ นักลงทุนยังคงจับตาดูผลกระทบของพายุเฮอริเคนแซนดีท้ จ่ี ะมีต่อเศรษฐกิจสหรัฐ โดยนักวิเคราะห์จาก IHS Global Insight คาดการณ์ ว่า พายุเฮอริเคนแซนดีจ้ ะสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ในสหรัฐเป็ นวงเงิน 2 หมืน่ ล้านดอลลาร์ และจะส่งผลให้อตั ราการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของสหรัฐลดลงเล็กน้อยในไตรมาส 4 ขณะทีน่ กั เศรษฐศาสตร์จากมูดสี ์ อะนาลิตกิ ส์ มองว่า ประชาชนจะมีงานทํามากขึน้ เมือ่ รัฐบาลเริม่ ประกาศมาตรการฟื้นฟูพน้ื เศรษฐกิจ และหากพายุแซนดีส้ ง่ ผลกระทบแค่ในระยะเวลาไม่กว่ี นั และไม่ได้สร้างความเสียหายต่อ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานมากนัก ก็จะไม่สง่ ผลกระทบรุนแรงในระดับประเทศ ■ รัฐบาลสเปนเผย ตัวเลขขาดดุลงบประมาณลดลงเหลือ 4.39% ของจีดพี ี ในช่วงเดือนม.ค.-ก.ย. ซึง่ ตํ่ากว่าช่วงเดือนม.ค.-ส.ค.อยูร่ าว 0.4% และระบุวา่ รัฐบาลก็จะไม่ผอ่ นคลายแรงกดดันด้านภาษีต่อประชาชน ซึง่ จะยังคงต้องจ่ายภาษีการขายทีร่ ะดับ 21% ทัง้ นี้ รายได้จาก การจัดเก็บภาษีการขายของสเปน เพิม่ ขึน้ 11.9% ในเดือนก.ย. ขณะทีข่ อ้ มูลซึง่ สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติสเปนเปิดเผยก่อนหน้านัน้ แสดงให้ เห็นว่า การขึน้ ภาษีการขายส่งผลกระทบอย่างหนักต่อร้านค้าขนาดใหญ่และขนาดเล็ก โดยปริมาณยอดขายในเดือนก.ย.ลดลง 12.6% เมือ่ เทียบกับปีก่อนหน้า ■ ยอดค้าปลีกของเยอรมนีปรับเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่องในเดือนก.ย. +1.5% m/m แต่รว่ งลง -3.1% y/y สะท้อนภาพรวมตลาดค้าปลีกและ เศรษฐกิจของประเทศทีย่ งั คงอ่อนแอ ท่ามกลางปญั หาในตลาดแรงงาน โดยจํานวนคนว่างงานของเยอรมนีในเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ 20,000 ราย จากเดือนก.ย. สูร่ ะดับ 2.94 ล้านรายในเดือนต.ค. ซึง่ สูงกว่าทีไ่ ด้มกี ารคาดการณ์ไว้ เนื่องจากวิกฤตหนี้ในภูมภิ าคส่งผลกระทบต่อการ ขยายตัวของเศรษฐกิจและการลงทุนของบริษทั เอกชน
Thailand updates : ■ รมว.พาณิชย์ เปิดเผยว่า ได้รบั รายงานจากอธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครนิวยอร์ก ว่าการขนส่งตลอดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากพายุเฮอริเคน และยังคงปิดให้บริการ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของ ไทยด้านโลจิสติกส์ เช่น ระยะเวลาการขนส่งสินค้าและพิธศี ุลกากรทีต่ อ้ งใช้เวลามากขึน้ ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการส่งมอบสินค้า อย่างไรก็ ตาม ภัยพิบตั ใิ นครัง้ นี้คาดว่าจะทําให้ความต้องการสินค้าจําเป็ นเพือ่ การยังชีพเพิม่ ขึน้ รวมถึงสินค้าวัสดุก่อสร้าง เพือ่ ซ่อมแซมอาคาร ทีอ่ ยู่ อาศัยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากพายุ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิดลบ (31 ต.ค.) การซือ้ ขายผันผวน เนื่องจากผลกระทบของพายุเฮอริเคนแซนดี้ ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลง 10.75 จุด หรือ 0.08% ปิดที่ 13,096.46 จุด S&P 500 ขยับขึน้ 0.22 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 1,412.16 จุด Nasdaq ลดลง 10.72 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 2,977.23 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิบวก 86.31 จุด หรือ 0.98% ปิ ดที่ 8,928.29 จุด จากการช้อนซือ้ หุน้ ทีร่ ว่ งลง ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 6.53 จุด หรือ 0.32% ปิดที่ 2,068.88 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งทะยาน 213.24 จุด แรงหนุ นจากหุน้ กลุม่ ธนาคาร หลังจากทีธ่ นาคารรายใหญ่ทส่ี ดุ ของจีน มีผลประกอบการไตรมาส 3 สูงเกินคาด ตลาดหุน้ ไทยปิดทีร่ ะดับ 1,298.87 จุด เพิม่ ขึน้ 4.44 จุด(+0.34%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
ื่ มน ้ กว่าทีค HighLight : ด ัชนีความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐปร ับต ัวขึน ่ าด
Global : ■ ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐเดือนต.ค.พุง่ ขึน้ แตะระดับสูงสุดในรอบกว่า 4 ปี โดยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ แตะ 72.2 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับแต่เดือนก.พ.2551 จากระดับ 68.4 ในเดือนก.ย.ซึง่ สอดคล้องกับการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ 158,000 ตําแหน่งใน เดือนต.ค. มากสุดในรอบ 8 เดือน ขณะทีจ่ าํ นวนผูข้ อรับสวัสดิการรอบสัปดาห์ลดลง 9,000 ราย มาอยูท่ ่ี 363,000 ราย สะท้อน ตลาดแรงงานสหรัฐเริม่ ปรับตัวดีขน้ึ อย่างมีเสถียรภาพ ในส่วนของภาคการผลิต ดัชนีภาคการผลิตปรับตัวดีขน้ึ กว่าทีค่ าดสูร่ ะดับ 51.7 ใน เดือนต.ค. จากระดับ 51.5 ในเดือนก.ย. แม้ดชั นียอดสังซื ่ อ้ ใหม่เพิม่ ขยายตัวชะลอลงอยูท่ ร่ี ะดับ 54.2 จาก 52.3 ในเดือนก.ย. กิจกรรมการผลิตในออสเตรเลียเดือนต.ค. ยังคงหดตัวอย่างต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 8 อันเป็ นผลมาจากสกุลเงินดอลลาร์ออสเตรเลียทีแ ่ ข็ง ค่า อุปสงค์ทอ่ี ่อนแรงในตลาดส่งออก และต้นทุนพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ผลสํารวจรายเดือนของ Ai Group ระบุวา่ ดัชนีประสิทธิภาพการผลิต ของออสเตรเลียเพิม่ ขึน้ 1.1 จุด สูร่ ะดับ 45.2 ในเดือนต.ค. แต่ยงั คงตํ่ากว่าระดับ 50 ทีถ่ อื ว่าภาคการผลิตยังคงหดตัว ■ เอชเอสบีซี โฮลดิงส์ เผย ดัชนี PMI ภาคการผลิตของจีนเพิม่ ขึน้ แตะ 49.5 ในเดือนต.ค. จาก 47.9 ในเดือนก.ย. ขณะทีด่ ชั นี PMI ของ ประเทศในกลุม่ อาเซียนอื่นๆ ได้แก่ อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ และไต้หวัน ล้วนปรับตัวขึน้ ส่งสัญญาณการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ■ นํ้ามันดิบปิดบวก (1 พ.ย.) ปจั จัยหนุนจากข้อมูลด้านแรงงานของสหรัฐ และรายงานสต็อกนํ้ามันดิบของสหรัฐทีร่ ว่ งลงอย่างเหนือความ คาดหมาย เวสต์เท็กซัส เพิม่ ขึน้ 85 เซนต์ ปิดที่ 87.09 ดอลลาร์/บาร์เรล เบรนท์ ร่วงลง 53 เซนต์ หรือ 0.5% ปิดที่ 108.17 ดอลลาร์ต่อ บาร์เรล
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์เผยอัตราเงินเฟ้อเดือนต.ค.ปรับลงเล็กน้อยทีร่ ะดับ 3.32% y/y อัตราเงินเฟ้อพืน้ ฐานอยูท่ ่ี 1.83% y/y โดยราคาอาหาร ปรับขึน้ 3.4% ขณะทีย่ งั ไม่มแี รงกดดันราคา เนื่องจากมาตรการตรึงราคาสินค้าของรัฐบาล และตรึงราคาดีเซล ทําให้แรงกดดันเฟ้อน้อยลง และคาดว่าในไตรมาสที่ 4 จะเฉลีย่ อยูร่ อ้ ยละ 3.20 -3.50 ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อเฉลีย่ ในระยะ 10 เดือนทีผ่ า่ นมาสูงขึน้ ร้อยละ 2.99 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึง่ ตํ่ากว่าการคาดการณ์เงินเฟ้อทัง้ ปีของกระทรวงพาณิชย์ทร่ี อ้ ยละ 3.00-3.40
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์คปิดปรับตัวขึน้ (1 พ.ย.) แรงหนุนจากตัวเลขภาคการผลิต และการจ้างงานของสหรัฐ ดัชนีดาวโจนส์บวก 1.04% ปิ ดที่ ระดับ 13,232.62 จุด S&P 500 บวก 1.09% ปิดทีร่ ะดับ 1,427.59 จุด Nasdaq บวก 1.44% ปิดทีร่ ะดับ 3,020.06 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว (1 พ.ย.) ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึน้ 18.58 จุด หรือ 0.21% แตะที่ 8,946.87 จุด ปจั จัยบวกจากการฟื้นตัวของดัชนีภาค การผลิตของจีน ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตพุง่ 35.55 จุด หรือ 1.72% ปิดที่ 2,104.43 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 180.05 จุด หรือ 0.83% ปิดที่ 21,821.87 จุด แรงหนุนจากตลาดหุน้ จีนทีป่ ิดพุง่ ขึน้ ตลาดหลักทรัพย์ปิดตลาดช่วงบ่ายวันนี้ทร่ี ะดับ 1,297.99 จุด ลดลง 0.88 จุด( 0.07%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ตัวเลขการจางงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐปรับขึ้นเกินคาด
Global : ■ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐเดือนต.ค. เพิ่มขึ้น 171,000 ตําแหน่ง สูงกว่าที่นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดว่าจะ เพิ่มขึ้น 125,000 ตําแหน่ง เป็นผลจากการจ้างงานด้านบริการที่ปรับเพิ่มขึ้น อัตราว่างงานปรับเพิ่มขึ้นสู่ระดับ 7.9% จาก 7.8% ในเดือนก.ย. ทั้งนี้การจ้างงานภาคเอกชนเพิ่มขึ้น 184,000 ตําแหน่ง จาก 128,000 ตําแหน่งในเดือนก.ย. ขณะที่ ภาครัฐลดการจ้างงาน 13,000 ตําแหน่ง ■ ดัชนี PMI ภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนต.ค.ลดลงสู่ระดับ 45.4 จาก 46.1 ในเดือนก.ย. เป็นการปรับตัวลงต่อเนื่อง ในช่วง 1 ปี โดยดัชนีที่ต่ํากว่า 50 แสดงให้เห็นว่าการผลิตของยูโรโซนยังหดตัวลงจากเดือนก่อนหน้า จากสถานการณ์ที่ย่ําแย่ใน ภาคการผลิตของประเทศขนาดเล็กได้ส่งผลกระทบไปยังประเทศขนาดใหญ่อย่างเยอรมันนี ■ HSBC เผย ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ภาคบริการของจีนในเดือนต.ค.ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 53.5 จากระดับ 54.3 ใน เดือนก.ย. โดยตัวเลขที่สูงกว่าระดับ 50 บ่งชี้ว่ากิจกรรมภาคบริการของจีนยังคงมีการขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า และเศรษฐกิจ จีนมีการฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป แม้กิจกรรมภาคบริการมีการขยายตัวช้าลง
Thailand updates : ■ ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเดือนต.ค. ปรับขึ้นเล็กน้อยอยู่ที่ระดับ 68.1 จากระดับ 67.5 ปัจจัยบวก ได้แก่ ความกังวล เกี่ยวกับน้ําท่วมที่ผ่อนคลาย ราคาน้ํามันขายปลีกในประเทศปรับตัวลดลง อย่างไรก็ตามผู้บริโภคยังมีความกังวลเกี่ยวกับการฟื้น ตัวของเศรษฐกิจโลก
US & Asian markets : ■ ตลาดหุ้นนิวยอร์กปิดร่วงลง (2 พ.ย.) จากแรงเทขายหุ้นกลุ่มผูผ้ ลิตวัตถุดิบและกลุม่ พลังงาน ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 1.05% ปิด ที่ 13,093.16 จุด S&P 500 ลดลง 0.94% ปิดที่ 1,414.20 จุด Nasdaq ลดลง 1.26% ปิดที่ 2,982.13 จุด ■ ตลาดหุ้นโตเกียวเปิดที่ 9,000.81 จุด ลดลง 50.41 (5 พ.ย.) จากการเทขายทํากําไร ตลาดหุ้นจีน ดัชนีเซี่ยงไฮ้คอมโพสิต บวก 12.62 จุด หรือ 0.6% ปิดที่ 2,117.05 จุด ตลาดหุ้นฮ่องกง ดัชนีฮั่งเส็งเพิ่ม 289.46 จุด หรือ 1.33% ปิดที่ 22,111.33 จุด จากเงินทุนที่ไหลเข้าตลาดจํานวนมาก
ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : BOI เผยมูลค่าการลงทุน 9 เดือนแรกพุง ่ เกินเป้าหมาย 8 แสนล้านบาท
Global : ■ดัชนีภาคบริการ (ISM) ของสหรัฐลดลงสูร่ ะดับ 54.2 ในเดือนต.ค. จากระดับ 55.1 ในเดือนก.ย. เป็นผลจากยอดสังซื ่ อ้ ใหม่ทร่ี ว่ งลงแตะ 54.8 จาก 57.7 แม้ดชั นีการจ้างงานของ ISM จะพุง่ ขึน้ แตะ 54.9 จากระดับ 51.1 ในเดือนก.ย. ทัง้ นี้ ภาคบริการคิดเป็ นสัดส่วนถึงราว 90% ของระบบเศรษฐกิจสหรัฐ ซึง่ แม้วา่ ดัชนีปรับตัวลดลงเป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่เดือนมิ.ย. แต่ตวั เลขทีอ่ ยูเ่ หนือระดับ 50 บ่งชีว้ า่ ภาค บริการของสหรัฐยังคงมีการขยายตัว ■ จํานวนผูว้ า่ งงานในสเปนเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ 128,242 คน (2.7%) จากเดือนก.ย. ส่งผลให้ชาวสเปนทีว่ า่ งงานมีจาํ นวนทัง้ สิน้ 4.8 ล้าน คน ซึง่ ภาวะเศรษฐกิจและตลาดแรงงานทีย่ ่าํ แย่ของประเทศ สอดคล้องข้อมูลเศรษฐกิจทีร่ ะบุวา่ ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการ ผลิตของสเปนในเดือนต.ค.ลดลงแตะ 43.5 จาก 44.6 ในเดือนก.ย. โดยดัชนีทต่ี ่าํ กว่า 50 บ่งชีว้ า่ ภาคการผลิตหดตัวลงจากเดือนก่อนหน้า ■ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์สแตนดาร์ด ชาร์เตอร์ ระบุวา่ แนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศจีนมีทศิ ทางทีด่ ขี น้ึ ทีผ่ า่ นมาแม้จนี อาจมีอุปสรรค บ้าง แต่จนี มีรากฐานทีด่ ี และทางการจีนได้มกี ารวางนโยบายในระดับลึก เศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลงไปจนถึงสิน้ ปี น้ีจากการส่งออกทีซ่ บ เซา เนื่องจากสถานะการทีอ่ ่อนแอของประเทศอื่นๆ ซึง่ จะผลักดันให้ทางการจีนใช้นโยบายต่างๆเพือ่ กระตุน้ การขยายตัวของเศรษฐกิจ ■ จีดพี ไี ตรมาสที่ 3 ของอินโดนีเซียขยายตัว 6.2% y/y จากไตรมาสที่ 2 (6.4%) ซึง่ นักวิเคราะห์มองว่าเศรษฐกิจอินโดนีเซียยังคงมีการ ขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง โดยมีแรงหนุนจากการใช้จา่ ยและการลงทุนภาคเอกชน อันเนื่องจากเงือ่ นไขทางการเงินทีผ่ อ่ นคลายลง และอัตรา ดอกเบีย้ ทีอ่ ยูใ่ นระดับตํ่า ตลอดจนมาตรการแทรกแซงราคานํ้ามันของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม ต้องจับตาตัวเลขการส่งออกอย่างใกล้ชดิ โดย ในไตรมาสที่ 3 การส่งออกของอินโดนีเซียหดตัวลง 2.8% y/y หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.9% ในไตรมาสก่อนหน้า
Thailand updates : ■ BOI เผยมูลค่าการลงทุนใน 9 เดือนแรกปี 55 พุง่ เกินเป้าหมาย 8 แสนล้านบาท จากการลงทุนเพือ่ ฟื้นฟูหลังอุทกภัยในปี 54 และการ ลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ อันเนื่องจากมาตรการปรับโครงสร้างภาษีของรัฐบาลเพือ่ กระตุน้ การลงทุน สอดคล้องกับตัวเลขการลงทุนภาคเอกชน รายงานโดยธนาคารแห่งประเทศไทยทีข่ ยายตัวแข็งแกร่ง แม้จะมีความกังวลต่อการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจโลก
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (5 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ ปิดทีร่ ะดับ 13,112.44 จุด +19.28 จุด หรือ + 0.15% ดัชนีแนสแดค ปิดทีร่ ะดับ 2,999.66 จุด +17.53 จุด หรือ +0.59% ดัชนีเอสแอนด์พี ปิดทีร่ ะดับ 1,417.26 จุด +3.06 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวลง 43.78 จุด หรือ 0.48% ปิดที่ 9,007.44 จุด จากการเทขายทํากําไร ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตอ่อนตัว 3.02 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 2,114.03 จุด นักลงทุนหลีกเลีย่ งความเสีย่ งก่อนหน้าทีจ่ ะมีการเปลีย่ นแปลงตัวผูน้ ําจีน และ สหรัฐ ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 104.93 จุด หรือ 0.47% ปิดที่ 22,006.40 จุด ตลาดหุน้ ไทยปิ ดทีร่ ะดับ 1,306.70 จุด เพิม่ ขึน้ 0.10 จุด (+0.01%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
้ HighLight : การอ่อนค่าลงของเงินสกุลดอลลาร์หนุนนํา้ ม ันดิบทะยานขึน
Global : ■ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษในเดือนก.ย.ลดลง 1.7% m/m และร่วงลง 2.6% y/y เนื่องจากการผลิตในภาคธุรกิจก๊าซและนํ้ามัน ทีร่ ว่ งลง 20.9% ซึง่ เป็ นสถิตทิ ร่ี ว่ งหนักทีส่ ดุ นับแต่เริม่ เก็บข้อมูลในปี 2540 นักวิเคราะห์มองว่าตัวเลขเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอตอกยํา้ ถึงความ วิตกกังวลเกีย่ วกับการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และจะสร้างแรงกดดันต่อการตัดสินใจกําหนดนโยบายของธนาคารกลางอังกฤษ ■ คําสังซื ่ อ้ ภาคการผลิตของเยอรมนีเดือนก.ย.ร่วงลง 3.3% m/m หรือร่วงลง 4.7% y/y โดยคําสังซื ่ อ้ จากภายในภูมภิ าคยูโรโซนดิง่ ลง 9.6% ขณะทีค่ าํ สังซื ่ อ้ ในประเทศลดลง 1.8% และคําสังซื ่ อ้ จากต่างประเทศนอกกลุม่ ยูโรโซนปรับลง 4.5% เนื่องจากภาคการผลิตของ เยอรมนีได้รบั ผลกระทบจากอุปสงค์ทย่ี ่าํ แย่ทงั ้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ท่ามกลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจทัวโลกที ่ ซ่ บเซาลง ทัง้ นี้ ทางการเยอรมนีคาดว่า การผลิตในภาคอุตสาหกรรมของเยอรมนีอาจจะอ่อนแรงลงต่อไปอีกในช่วงหลายเดือนข้างหน้า ■ ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของยูโรโซนเดือนต.ค. ลดลงสูร่ ะดับ 45.7 จาก 46.1 ในเดือนก.ย. สอดคล้องกับดัชนี PMI ภาคการผลิตทีเ่ ปิดเผยก่อนหน้านี้ ขณะทีด่ ชั นีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการของเยอรมนีเดือนต.ค.ปรับตัวลงสูร่ ะดับ 47.7 จาก 49.2 ในเดือนก.ย. ซึง่ เป็ นไปในทิศทางเดียวกับ ดัชนี PMI ภาคการผลิตทีป่ รับตัวลง ตอกยํา้ ถึงภาวะเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอของภูมภิ าค ยูโรโซน หลังจากทีว่ กิ ฤตเศรษฐกิจของภูมภิ าคได้เริม่ ลุกลามจากประเทศขนาดเล็กไปยังกลุม่ ประเทศขนาดใหญ่ ■ การอ่อนค่าของสกุลเงินดอลลาร์หนุนนํ้ามันดิบทะยานขึน้ โดยดัชนีดอลลาร์ (dollar index) ซึง่ เป็นดัชนีวดั ความเคลื่อนไหวของสกุลเงิน ดอลลาร์สหรัฐเมือ่ เทียบกับ 6 สกุลเงินทีเ่ ป็ นคูค่ า้ หลักของสหรัฐ ร่วงลงแตะระดับ 80.581 จุดเมือ่ วานนี้ จากวันอังคารทีร่ ะดับ 80.749 จุด เวสต์เท็กซัส ทะยานขึน้ (6 พ.ย.) 3.06 ดอลลาร์ ปิดที่ 88.71 ดอลาร์/บาร์เรลเบรนท์ พุง่ ขึน้ 3.34 ดอลลาร์ ปิดที่ 111.07 ดอลลาร์/บาร์เรล
Thailand updates : ■ เงินบาทปรับตัวแข็งค่าขึน้ (6 พ.ย.) เนื่องจากนักลงทุน ผูน้ ําเข้าและผูส้ ง่ ออกลดความเสีย่ งของการลงทุนจากการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี สหรัฐฯ โดยเทขายดอลลาร์ ประกอบกับธนาคารกลางประเทศออสเตรเลียยังคงตรึงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ท่ี 3.25% นอกจากนี้นกั ลงทุน รอผลการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดยเงินบาทปิดตลาดเย็นวานอยูท่ ร่ี ะดับ 30.77/79 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ จากช่วงเช้าทีเ่ ปิด ตลาดทีร่ ะดับ 30.85 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิดพุง่ ขึน้ (6 พ.ย.) และนักลงทุนจับตาดูผลการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐ ดัชนีดาวโจนส์พงุ่ ขึน้ 133.24 จุด หรือ 1.02% ปิดที่ 13,245.68 จุด S&P 500 เพิม่ ขึน้ 11.13 จุด หรือ 0.79% ปิดที่ 1,428.39 จุด Nasdaq พุง่ ขึน้ 12.27 จุด หรือ 0.41% ปิดที่ 3,011.93 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวลง 32.29 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 8,975.15 จุด จากการเทขายทํากําไร ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตอ่อนตัว 8.03 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 2,106 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 61.97 จุด หรือ 0.28% ทีร่ ะดับ 21,944.43 จุด จากแรงเทขาย ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,300.84 จุด ลดลง 5.86 จุด( 0.45%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของเยอรมนีย ังหดต ัวต่อเนือ ่ ง
Global : ■ ตลาดหุน้ สหรัฐปิดร่วงลงเนื่องจากนักลงทุนมองว่า โอบามาอาจจะต้องต่อสูอ้ ย่างมากในสภาคองเกรสเพือ่ บรรลุขอ้ ตกลงในการหลีกเลีย่ ง ภาวะหน้าผาทางการคลัง หลังจากทีโ่ อบามาได้รบั ชัยชนะในการเลือกตัง้ เป็ นประธานาธิบดีของสหรัฐอีกสมัย ขณะทีฟ่ ิทช์ เรทติง้ ส์ เตือนว่า หากสหรัฐล้มเหลวในการหลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาทางการคลังและต้องมีการปรับเพิม่ เพดานหนี้ สหรัฐก็มแี นวโน้มจะถูกลดอันดับความ น่าเชื่อถือในปี หน้า ทัง้ นี้ ภาวะหน้าผาการคลังเกิดจากการใช้มาตรการขึน้ ภาษีมลู ค่า 6.07 แสนล้านดอลลาร์ ควบคูไ่ ปกับการลด งบประมาณรายได้ของสหรัฐ ซึง่ มาตรการดังกล่าวจะเริม่ มีผลบังคับใช้ทนั ทีในวันที่ 1 ม.ค. 2556 ■ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนก.ย. ของเยอรมนียงั คงหดตัวลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า 1.8% m/m และหดตัว 1.2% y/y เนื่องจาก คําสังซื ่ อ้ ทีซ่ บเซาลงทัง้ นี้ ภาคการผลิตของเยอรมนีได้รบั ผลกระทบจากอุปสงค์ทย่ี ่าํ แย่ทงั ้ ภายในและต่างประเทศ ท่ามกลางกิจกรรมทาง เศรษฐกิจทัวโลกที ่ ซ่ บเซา โดยทางการเยอรมนีคาดว่า การผลิตในภาคอุตสาหกรรมอาจจะอ่อนแรงลงต่อไปในช่วงหลายเดือนข้างหน้า ■ รัฐสภากรีซมีมติรบั รองมาตรการรัดเข็มขัดฉบับใหม่ มูลค่า 1.35 หมืน่ ล้านยูโร หรือ 1.73 หมืน่ ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะ เปิ ดทางให้กรีซมีคุณสมบัตไิ ด้รบั เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ อย่างไรก็ตามเมือ่ วันอังคารทีผ่ า่ นมา ชาวกรีซหลายพันคนได้ผละงานเพือ่ เดินขบวนประท้วงตามถนนหนทางในกรุงเอเธนส์และเมืองสําคัญๆทัวประเทศ ่ เพือ่ แสดงความไม่พอใจต่อมาตรการรัดเข็มขัดชุดใหม่ ซึง่ รวมถึงการลดค่าแรงและสวัสดิการรวม 1.35 หมืน่ ล้านยูโร รวมทัง้ การปรับขึน้ ภาษีไปจนถึงปี 2558 ■ นํ้ามันดิบปิดร่วงลงกว่า 4.8% (7 พ.ย.) เนื่องจากความวิตกกังวลเกีย่ วกับปญั หาหน้าผาการคลังของสหรัฐ เวสต์เท็กซัสส่งมอบเดือน ธ.ค.ร่วงลง 4.27 ดอลลาร์ หรือ 4.81% ปิดที่ 84.44 ดอลลาร์/บาร์เรล เบรนท์ ร่วงลง 4.15 ดอลลาร์ ปิ ดที่ 106.92 ดอลลาร์/บาร์เรล
Thailand updates : ■ ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทยรายงานว่า เงินบาทปิดตลาด (7 พ.ย.) ทีร่ ะดับ 30.75 ปรับแข็งค่าขึน้ สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในเอเชีย และเงิน ยูโร ท่ามกลางแรงกดดันต่อค่าเงินดอลลาร์ฯ หลังจากทีก่ ารกลับเข้ามาบริหารประเทศเป็ นสมัยที่ 2 ของนายโอบามา น่าจะส่งผลทําให้ ธนาคารกลางสหรัฐฯ สามารถดําเนินมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณได้อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายเดือนข้างหน้า นอกจากนี้ เงินบาทยัง ได้รบั ปจั จัยบวกจากการทะยานขึน้ ของราคาทองคําในตลาดโลกอีกด้วย
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิดร่วงลง (7 พ.ย.) เนื่องจากนักลงทุนวิตกกังวลว่าประธานาธิบดีสหรัฐ อาจจะเผชิญกับอุปสรรคในการแก้ไขปญั หา หน้าผาการคลัง และแรงกดดันหลังจากผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเยอรมนีทท่ี รุดตัวลงอย่างหนัก ดัชนีดาวโจนส์รว่ งลง 312.95 จุด หรือ 2.36% ปิดที่ 12,932.73 จุด ดัชนี S&P 500 ดิง่ ลง 33.86 จุด หรือ 2.37% ปิ ดที่ 1,394.53 จุด และดัชนี Nasdaq ร่วงลง 74.64 จุด หรือ 2.48% ปิดที่ 2,937.29 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียวปิ ดลดลง และการซือ้ ขายทีไ่ ร้ทศิ ทาง ดัชนีนิกเกอิปิดลบ 2.26 จุด หรือ 0.03% แตะที่ 8,972.89 จุด ตลาดหุน้ จีน ดัชนี เซีย่ งไฮ้คอมโพสิตอ่อนตัวลง 0.27 จุด หรือ 0.01% ปิดที่ 2,105.73 จุด จากความกังวลเกีย่ วกับเรือ่ งรายได้ทด่ี งึ หุน้ กลุม่ การเงินลง ตลาด หุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 155.42 จุด หรือ 0.71% ปิดที่ 22,099.85 จุด แรงหนุนจากหุน้ กลุม่ บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ตลาดหุน้ ไทย Set ปิดทีร่ ะดับ 1,299.74 จุด ลดลง 1.10 จุด( 0.08%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
้ ทีร่ ะด ับ 0.75% HighLight : ECB ประกาศคงอ ัตราดอกเบีย
Global : ■ จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานรอบสัปดาห์ของสหรัฐลดลง 8,000 ราย มาอยูท่ ่ี 355,000 ราย โดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ เพิม่ ขึน้ 3,2500 ราย สูร่ ะดับ 370,500 ราย อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์มองว่าตัวเลขดังกล่าวจะดีดตัวสูงขึน้ ในสัปดาห์ต่อจากนี้ เนื่องจากผลกระทบของ พายุเฮอร์รเิ คนแซนดีเ้ ริม่ ปรากฏให้เห็น ขณะทีย่ อดขาดดุลการค้าและบริการของสหรัฐในเดือนก.ย. หดตัวลง 5.1% m/m อยูท่ ่ี 4.155 หมืน่ ล้านดอลลาร์ ตํ่าสุดในรอบ 21 เดือน จากตัวเลขส่งออกเดือนก.ย. ทีข่ ยายตัว 3.1% ขณะทีย่ อดนําเข้าเพิม่ ขึน้ 1.5% m/m ■ ยอดส่งออกของเยอรมนีเดือนก.ย.ร่วงลง 2.5% m/m และดิง่ ลง 3.4% y/y เนื่องจากคําสังซื ่ อ้ ทีอ่ ่อนแรงจากยูโรโซน ซึง่ ร่วงลง 9.1% y/y ซึง่ นับเป็ นสัญญาณล่าสุดทีบ่ ่งชีว้ า่ วิกฤตหนี้ในภูมภิ าคได้สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจเยอรมนีแล้ว ส่วนการนําเข้าลดลง 1.6% m/m และร่วง ลง 3.6% y/y ส่งผลดุลการค้าของเยอรมนีเกินดุลอยูท่ ่ี 1.7 หมืน่ ล้านยูโรในเดือนก.ย. ขณะทีต่ วั เลขเกินดุลบัญชีเดินสะพัดอยูท่ ร่ี ะดับ 1.63 หมืน่ ล้านยูโร ■ สกุลเงินยูโรร่วงลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 2 เดือนเมือ่ เทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (8 พ.ย.) หลังจากธนาคารกลางยุโรปประกาศตรึงอัตรา ดอกเบีย้ ทีร่ ะดับตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 0.75% ค่าเงินยูโรร่วงลง 0.20% แตะที่ 1.2744 ดอลลาร์สหรัฐ นํ้ามันดิบ ปิดบวกเล็กน้อยจาก การช้อนซือ้ เก็งกําไรหลังจากทีร่ ว่ งลงอย่างหนักเมือ่ วานนี้ เวสต์เท็กซัส +65 เซนต์ ปิ ดที่ 85.09 ดอลลาร์/บาร์เรล เบรนท์ +43 เซนต์ ปิดที่ 107.25 ดอลลาร์/บาร์เรล ขณะทีท่ องคําปิดพุง่ ขึน้ 12 ดอลลาร์ ปิ ดที่ 1,726 ดอลลาร์/ออนซ์
Thailand updates : ■ HSBC คาดภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 56 จะขยายตัว 4.5% จากผลของนโยบายการเพิม่ ค่าจ้างขัน้ ตํ่าและนโยบายรับจํานําข้าวของ รัฐบาลทีจ่ ะช่วยกระตุน้ การบริโภคภายในประเทศ ส่วนการส่งออกของไทยในปีหน้าจะเริม่ กลับมาฟื้นตัวได้ และจะมีอตั ราการเติบโตที่ 8% โดยคูค่ า้ สําคัญของไทยคือ จีน ญีป่ นุ่ และสหรัฐ และคาดว่าภายใน 14 ปีขา้ งหน้า ปริมาณการค้าไทยขยายตัว 160% รับยุคทองเอเชีย
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กยังคงปิดร่วงลงต่อเนื่อง (8 พ.ย.) จากความวิตกกังวลว่าสหรัฐจะไม่สามารถหลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคลัง (fiscal cliff) ได้ ดัชนีดาวโจนส์รว่ งลง 121.41 จุด หรือ 0.94% ปิดที่ 12,811.32 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 17.02 จุด หรือ 1.22% ปิ ดที่ 1,377.51 จุด และดัชนี Nasdaq ร่วงลง 41.70 จุด หรือ 1.42% ปิดที่ 2,895.58 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิรว่ งลง 135.74 จุด หรือ 1.51% ปิดที่ 8,837.15 จุด โดยราคาหุน้ ดิง่ ลงเกือบทัง้ กระดาน จากการแข็งค่า ของเงินเยนเมือ่ เทียบกับสกุลเงินหลักๆ และจากการร่วงลงของตลาดหุน้ ทัวโลก ่ ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตร่วง 34.22 จุด หรือ 1.63% ปิดที่ 2,071.51 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งดิง่ ลง 532.94 จุด หรือ 2.41% ปิดที่ 21,566.91 จุด ตลาดหุน้ ไทย Set ปิดทีร่ ะดับ 1,293.70 จุด ลดลง 6.04 จุด (0.46%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคสหรัฐพุงแตะระดับสูงสุดในรอบ 5 ป
Global : ■ ดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคสหรัฐเดือนพ.ย.เพิ่มขึ้นตอเนือ่ งอยูที่ระดับ 84.9 จากระดับ 82.6 ในเดือนต.ค. สูงสุดตั้งแตเดือนก.ค.2550 โดยสวนดัชนี คาดการณความเชื่อมั่นผูบริโภคชวง 6 เดือนลวงหนาเพิ่มขึ้น 80.8 ในเดือนพ.ย. ดัชนีภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน เพิ่มขึ้น 91.3 เดือนพ.ย.จาก 88.1 ใน เดือนต.ค.เปนระดับสูงสุดนับแตเดือนม.ค.2551 ทั้งนี้ ความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นจะกระตุน การใชจายของผูบริโภค โดยการฟนตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐ ขึ้นอยูกับการปรับตัวขึ้นของการใชจายของผูบริโภค คิดเปนสัดสวน 70% ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวม ■ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอิตาลีในเดือนก.ย.รวงลง 1.5% จากเดือนส.ค.ที่ปรับตัวขึ้น 1.7% และดิ่งลง 4.8% เมื่อเทียบกับชวงเดือนก.ย.ปที่แลว สะทอนทิศทางเศรษฐกิจทีย่ ่ําแยลงของอิตาลี ซึ่งตัวเลขดังกลาวสอดคลองกับดัชนีผูจัดการฝายจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของอิตาลีในเดือน ต.ค.ที่ เปดเผยกอนหนานี้ขยับลงสูระดับ 45.5 จาก 45.7 ในเดือนก.ย. โดยตัวเลขที่ต่ํากวา 50 แสดงใหเห็นวาภาคการผลิตอยูใ นภาวะหดตัว ทัง้ นี้ดัชนี PMI ภาคการผลิตของอิตาลีไดปรับตัวลงตอเนื่องในชวงกวา 1 ปที่ผานมา ทามกลางสภาพเศรษฐกิจที่ย่ําแยจากภาวะถดถอย ■ การสงออกเดือนต.ค.ของจีนขยายตัว 11.6% y/y โดยการนําเขาเพิ่มขึ้น 2.4% m/m สงผลใหยอดการคาเกินดุลเพิ่มขึ้นเปน 3.199 หมื่นลาน ดอลลารในเดือนต.ค. จาก 2.767 หมื่นลานดอลลารในเดือนก.ย. ทั้งนี้ปริมาณการคาของจีนกับสหภาพยุโรปลดลง 3% เปน 4.5283 แสนลานดอลลาร ในชวง 10 เดือนแรก ขณะที่การคากับสหรัฐเพิ่มขึ้น 9.1% เปน 3.9609 แสนลานดอลลาร นอกจากนีต้ ลาดไดแรงหนุนหลังรัฐบาลจีนรายงานวา ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของจีนเดือน ต.ค. ขยายตัว 9.6 % y/y หลังจากที่เพิ่มขึ้น 9.2% ในเดือนก.ย. ขณะทีย่ อดคาปลีกปรับตัวเพิ่มขึ้น 14.5% จาก 14.2% ในเดือนกอนหนา ■ น้ํามันดิบทะยานขึ้น(9 พ.ย.) หลังจากดัชนีความเชื่อมัน่ ผูบริโภคสหรัฐเดือนพ.ย. พุง แตะระดับสูงสุดในรอบ 5 ป เวสตเท็กซัสสงมอบเดือนธ.ค. ปด ดีดตัวขึ้น 98 เซนต หรือ 1.15% แตะที่ 86.07 ดอลลาร/บารเรล เบรน ปดพุงขึ้น 2.15 ดอลลาร หรือ 2% ที่ 109.40 ดอลลาร/บารเรล และในสัปดาหนี้ ไดทะยานขึ้น 3.72 ดอลลาร หรือ 3.52 %
Thailand updates : ■ เงินบาทเปดตลาดเชานี้ที่ระดับ 30.60-65 บาท/ดอลลารสหรัฐ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก (9 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนสบวก 4.07 จุด หรือ 0.03% ปดที่ 12,815.39 จุด ดัชนี S&P 500 ขยับขึ้น 2.34 จุด หรือ 0.17% ปดที่ 1,379.85 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับขึ้น 9.29 จุด หรือ 0.32% ปดที่ 2,904.87 จุด จากแถลงการณของบารัค โอบามาชวย คลายความวิตกเกี่ยวกับ fiscal cliff ■ ตลาดหุนโตเกียว ดัชนีนิกเกอิรวงลง 79.55 จุด หรือ 0.90% ปดที่ 8,757.60 จุด จากความวิตกังวลเกี่ยวกับ fiscal cliff ของสหรัฐและ เศรษฐกิจยูโรโซนที่ซบเซาสงผลใหสกุลเงินเยนแข็งคาขึ้น ตลาดหุนจีน ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตออนตัว 2.44 จุด หรือ 0.12% ปดที่ 2,069.07 จุด ตลาดหุนฮองกง ดัชนีฮั่งเส็งรวงลง 182.53 จุด หรือ 0.85% ปดที่ 21,384.38 จุด จากการเทขายของนักลงทุน ตลาดหุนไทย Set ปดที่ระดับ 1,290.83 จุด ลดลง 2.87 จุด( 0.22%)
ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยไตรมาสที่ 3/55 ติดลบรอยละ 10.2
Global : ■ นักลงทุนจับตาดูการประชุมรัฐมนตรีคลังจากประเทศที่ใชสกุลเงินยูโร 17 ประเทศที่กรุงบรัสเซลส โดยคาดวาที่ประชุมจะหารือเกี่ยวกับ การปฏิรูปเศรษฐกิจของกรีซ ซึ่งหวังวาจะไดรับอนุมัติเงินกูงวดใหมวงเงิน 3.15 หมื่นลานยูโร เพื่อนําไปชําระคืนพันธบัตรซึ่งครบกําหนด ในวันศุกรนี้ ■ ตลาดไดรับแรงกดดันมากขึ้นหลังจากมีรายงานวา เศรษฐกิจญี่ปุนหดตัวลง 3.5% ตอปในชวงเดือนก.ค.-ก.ย. โดยเปนการชะลอตัวลง ครั้งแรกในรอบ 3 ไตรมาส เมื่อเทียบกับการคาดการณของนักเศรษฐศาสตรภาคเอกชนที่คาดวาเศรษฐกิจจะหดตัว 4.1% โดย รัฐมนตรี กระทรวงนโยบายเศรษฐกิจและการคลังของญี่ปุน ยอมรับถึงความเปนไปไดที่เศรษฐกิจญี่ปุนอาจจะเขาสูภาวะหดตัวแลวเนื่องจากดัชนี พองเศรษฐกิจในเดือนก.ย. เชน การผลิต ยอดคาปลีก และอัตราการเสนอตําแหนงงานที่ถดถอยลงติดตอกัน 6 เดือน ขณะที่ผูวาธนาคาร กลางญี่ปุน เปดเผยวา ธนาคารกลางจะดําเนินนโยบายผอนคลายการเงินอยางจริงจัง จนกวาดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) ปรับตัวสูงขึ้น 1% ■ ผลผลิตอุตสาหกรรมของอินเดียรวงลงสวนทางคาดการณในเดือนก.ย. โดยทางการอินเดียเปดเผยวา ผลผลิตอุตสาหกรรม ซึ่ง ครอบคลุมถึงโรงงาน สาธารณูปโภค และเหมือง ปรับตัวลดลง 0.4% จากปที่แลว หลังจากที่เพิ่มขึ้น 2.3% ในเดือนส.ค. ทั้งนี้ ภาคการผลิต ของอินเดียหดตัวลงเกือบตลอดปนี้ เนื่องจากความตองการที่ออนแอของผูบริโภค รวมทั้งการสงออกที่รวงลง ขณะที่การฟนตัวของ เศรษฐกิจทั่วโลกซบเซา โดยธนาคารกลางอินเดียไดสงสัญญาณวา อาจจะปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงในไตรมาสแรกของปหนา เพื่อสนับสนุน การขยายตัวหลังจากที่เงินเฟอชะลอตัว ภายหลังจากที่กระทรวงการคลังไดเรียกรองใหมีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อกระตุนการ ขยายตัวของเศรษฐกิจ
Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม รายงานผลผลิตอุตสาหกรรมไตรมาส 3/55 ติดลบ รอยละ 10.2 และอัตราการใชกําลังการผลิตอยู ที่ รอยละ 65.5 เนื่องจากกลุมอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อสงออก ไดรับผลกระทบจากปญหาเศรษฐกิจของตลาดคูคาไทยที่ชะลอตัว สวนการ ผลิตที่ยังคงมีระดับเพิ่มสูงขึ้นเปนกลุมอุตสาหกรรมที่เนนตอบสนองความตองการในประเทศ เชนรถยนต วัสดุกอสราง เปนตน ทั้งนี้ได คาดการณ GDP ภาคอุตสาหกรรม ป 56 ขยายตัวรอยละ 4.0-5.0 และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวรอยละ 3.5 — 4.5
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรกปดขยับลง (12 พ.ย.) และการซื้อขายเบาบาง ดัชนีดาวโจนสปดลบ 0.31 จุด แตะที่ 12,815.08 จุด ดัชนี S&P 500 ปดบวก 0.18 จุด หรือ 0.01% แตะที่ 1,380.03 จุด และดัชนี Nasdaq ปดลบ 0.62 จุด หรือ 0.02% แตะที่ 2,904.26 จุด ■ ตลาดหุนโตเกียวปดลบตอเนื่องเปนวันที่ 6 การแข็งคาของเงินเยนและปญหาการคลังของสหรัฐ ทําใหนักลงทุนมีมุมมองเชิงลบ ดัชนีนิก เกอิรวงลง 81.16 จุด หรือ 0.93% ปดที่ 8,676.44 จุด ตลาดหุนจีน ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตบวก 10.21 จุด หรือ 0.49% ปดที่ 2,079.27 จุด ขานรับตัวเลขการสงออก ตลาดหุนฮองกง ดัชนีฮั่งเส็งเพิ่มขึ้น 45.92 จุด หรือ 0.21% ปดที่ 21,430.30 จุด ตลาดหุนไทย Set ปดที่ ระดับ 1,294.50 จุด เพิ่มขึ้น 3.67 จุด(+0.28%)
ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : เลื่อนพิจารณาเงินชวยเหลือกรีซ3.15 หมื่นลานยูโร เปนวันที่ 20 พ.ย.
Global : ■ สหรัฐ: ยอดขาดดุลงบประมาณของสหรัฐฯ ในเดือนต.ค.อยูที่ระดับ 1.20 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งถือเปนเดือนแรกของ ปงบประมาณ 2556 โดยในเดือนตุลาคม (ปงบประมาณ 2555) สหรัฐฯ มียอดขาดดุลงบประมาณอยูที่ระดับ 9.8 หมื่นลานดอลลาร สหรัฐฯ ■ อังกฤษ: สถาบันผูสํารวจที่ไดรับอนุญาตของอังกฤษ (RICS) เผยราคาบานในอังกฤษมีเสถียรภาพในเดือนต.ค. โดยดัชนีการประเมิน ราคาบานรายเดือนในเดือนต.ค.เพิ่มขึ้นที่ระดับ -7 จากระดับ -14 ในเดือนก.ย. ซึ่งเปนการติดลบนอยที่สุดนับแตกลางป 2553 จาก กิจกรรมการซื้อขายและราคาที่มีการปรับตัวในชวงขาขึ้นอยางชาๆ ■ กรีซ : ประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิกกลุมยูโรโซน มีมติเลื่อนการพิจารณาออกเงินชวยเหลืองวดใหม จํานวน 3.15 หมื่นลานยูโร เปนวันที่ 20 พ.ย. จากการขยายกรอบเวลาสําหรับลดการขาดดุลงบประมาณของกรีซ จากป 2014 เปนป 2016 ซึ่งจะนําไปสูการออกมาตรการรัดเข็มขัดที่เขมงวดยิ่งขึ้น รวมถึงตัดงบประมาณใหมากขึ้นจากปจจุบันซึ่งมีความเสี่ยงสูงมาก ทั้งเรื่อง ผูสนับสนุนแผนหนี้ในกรีซ ผลกระทบดานลบที่อาจเกิดขึ้นกับงบการเงินรวม รวมถึงอาจมีการฟองรองเกิดขึ้นดวย ■ ออสเตรเลีย : ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจของออสเตรเลียเดือนต.ค.ลดลง โดยมีสัญญาณชะลอการใชจายเพื่อการลงทุน เนื่องจาก เศรษฐกิจโลกที่เติบโตลดลง National Australia Bank เผยวาดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจออสเตรเลียเดือนต.ค.ลดลงมาอยูที่ -1 จาก 0 ใน เดือนก.ย.ขณะที่ดัชนีภาวะการจางงาน ยอดขาย และกําไรลดลงมาอยูที่ -5 จากระดับ -3 ในเดือนก.ย.
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชยเผยอัตราเงินเฟอทั่วไปในเดือนต.ค.2555 ชะลอลงที่ระดับ 3.32% y/y ต่ํากวาตัวเลขคาดการณที่ระดับ 3.41% ขณะที่ เงินเฟอพื้นฐานอยูที่ระดับ 1.83% y/y ตามราคาสินคาในหมวดอาหารสดที่ปรับสูงขึ้น 0.51% m/m และทิศทางราคาน้ํามันในตลาดโลก ยังคงอยูในชวงที่ไมเพิ่มแรงกดดันมากตอทิศทางราคาพลังงานในประเทศ ■ เงินบาทเปดอยูที่ระดับ 30.68/70 บาท/ดอลลาร ปดตลาด 30.68/70 เนื่องจากยังไมมีปจจัยใหมเขามาสงผลกระทบ สําหรับปจจัยที่ตอง ติดตามคือการเจรจาเรื่องการใหความชวยเหลือทางการเงินแกประเทศกรีซ หลังจากที่การประชุมกลุมยูโรไมสามารถหาขอสรุปในการให ความชวยเหลือแกกรีซได
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรกปดลบ(13 พ.ย.) เนื่องจากวิกฤตหนี้สาธารณะของกรีซอาจจะทวีความรุนแรง และแรงกดดันจากความกังวล fiscal cliff ดัชนีดาวโจนสปรับตัวลง 58.90 จุด หรือ 0.46% ปดที่ 12,756.18 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 5.50 จุด หรือ 0.40% ปดที่ 1,374.53 จุด และ ดัชนี Nasdaq ลดลง 20.37 จุด หรือ 0.70% ปดที่ 2,883.89 จุด ■ ตลาดหุนโตเกียว ดัชนีนิกเกอิปดภาคเชาเพิ่มขึ้น 9.62 จุด หรือ 0.11% แตะที่ 8,670.67 จุด ตลาดหุนจีน ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตรวง 31.38 จุด หรือ 1.51% ปดที่ 2,047.89 จุด จากการคุมเขมเรื่องการซื้อบานของรัฐบาลจีน ตลาดหุนฮองกง ดัชนีฮั่งเส็งรวงลง 241.65 จุด หรือ 1.13% ปดที่ 21,188.65 จุด ตลาดหุนไทย Set ปดที่ระดับ 1,289.07 จุด ลดลง 5.43 จุด ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ด ัชนีราคาผูผ ้ ลิต (PPI) ของสหร ัฐลดลง 0.2 % m/m
Global : ■ สหรัฐ: กระทรวงแรงงานสหรัฐเผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานโดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ เพิม่ ขึน้ 32,500 ราย สูร่ ะดับ 370,500 ราย จากผลกระทบของพายุเฮอร์รเิ คนแซนดี้ ■ : ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI)ของสหรัฐเดือนต.ค.ปรับลดลง 0.2% m/m จากราคารถยนต์และราคาพลังงานทีอ่ ่อนแรงลง ดัชนี PPI ทัวไปใน ่ เดือนต.ค.ดีดตัวขึน้ 2.3% y/y ซึง่ สูงสุดนับแต่เดือนมี.ค. ขณะทีด่ ชั นี PPI พืน้ ฐาน ปรับขึน้ 2.1% y/y ■ สเปน : ธนาคารกลางเผยหนี้สนิ ของธนาคารในสเปนทีม่ อี ยูก่ บั ธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี ลดลง 9.6% ในเดือนต.ค. สูร่ ะดับ 3.416 แสนล้านยูโร ปรับลดลงเป็ นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยหนี้ของธนาคารสเปนทีม่ กี บั อีซบี คี ดิ เป็ นสัดส่วน 38.6% ของหนี้สนิ ของยูโรโซน ทัง้ หมด 8.855 แสนล้านยูโร ซึง่ ตํ่ากว่า 50% เป็ นครัง้ ที่ 3 หลังจากเพิม่ ขึน้ ถึงระดับ 80% ก่อนสเปนร้องขอความช่วยเหลือทางการเงินจาก สหภาพยุโรป ■กรีซ : การประท้วงครัง้ ใหญ่เกิดขึน้ เป็ นครัง้ ที่ 3 ในรอบ 2 เดือน ขณะทีร่ ฐั บาลพยายามลดงบประมาณขาดดุลด้วยการตัดเงินเดือนและ สวัสดิการ รวมถึงปฏิรปู ตลาดแรงงานเพือ่ ขอรับเงินช่วยเหลือก้อนใหม่จากทรอยกา เป็ นจํานวน 31,500 ล้านยูโร หรือราว 1.22 ล้านบาท ■ จีน : wall street journal รายงานในช่วง 5 ปีทผ่ี า่ นมา อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนลดลงถึงครึง่ หนึ่งจากระดับสูงสุดกว่า 14% เมือ่ ปี 2550 เหลือเพียง 7.4% ในไตรมาส 3 ของปี 2555
Thailand updates : ■ ค่าเงินบาทเปิ ดตลาดอยูท่ ร่ี ะดับ 30.69/71 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวจากปิดตลาด (14 พ.ย.) ทีร่ ะดับ 30.68/70 บาท/ดอลลาร์ เนื่องจากยัง ไม่มปี จั จัยใหม่ทเ่ี ข้ามากระตุน้ ตลาด
US & Asian markets :
■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิ ดร่วงลง (14 พ.ย.) จากนักลงทุนยังคงกังวล Fiscal Cliff และตลาดได้รบั แรงกดดันจากรายงานยอดค้าปลีกทีห่ ดตัว ลงของสหรัฐ ดัชนีดาวโจนส์รว่ งลง 185.23 จุด หรือ 1.45% ปิดที่ 12,570.95 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 19.04 จุด หรือ 1.39% ปิดที่ 1,355.49 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 37.08 จุด หรือ 1.29% ปิ ดที่ 2,846.81 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปิดภาคเช้าเพิม่ ขึน้ 83.56 จุด หรือ 0.96% แตะที่ 8,748.29 จุด ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเปิ ดที่ 2,045.46 จุด ลดลง 9.96 จุด หรือ 0.48% ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเปิ ดร่วงลง 253.05 จุด หรือ 1.18% แตะที่ 21,188.94 จุด ได้รบั แรงกดดันจากตลาดหุน้ นิวยอร์ก ตลาดหุน้ ไทย Set ปิดทีร่ ะดับ 1,279.29 จุด ลดลง 9.78 จุด ( -0.76%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : เฟดเผยดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวมเดือนพ.ย.ปรับตัวขึน ้ แตะ -5.22 จาก -6.16 ในเดือนต.ค.
Global : ■ สหรัฐ: ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เผยดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวมเดือนพ.ย.ปรับตัวขึน้ แตะ -5.22 จาก -6.16 ในเดือนต.ค.โดยเป็ นการ ปรับตัวขึน้ เป็ นเดือนที่ 4 ติดต่อกันแม้วา่ ตัวเลขจะยังคงติดลบ ซึง่ บ่งชีถ้ งึ ภาวะหดดตัวของภาคการผลิต ส่วนดัชนีการจ้างงานในเดือนพ.ย. ยํ่าแย่ลงสูร่ ะดับ -14.6 ซึง่ ตํ่าสุดนับแต่ปี 2552 ยอดการจ้างงานนอกภาคเกษตรในเดือน ต.ค.เพิม่ ขึน้ 171,000 ตําแหน่ง หลังจากเพิม่ ขึน้ 148,000 ตําแหน่งในเดือนก.ย.อัตราว่างงานเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 7.9% จากระดับ 7.8% ในเดือนกันยายน ■ : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการทีจ่ ดั ทําโดยสถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) ในเดือนตุลาคมอยูท่ ร่ี ะดับ 54.2 จากระดับ 55.1 ในเดือนกันยายน น้อยกว่าทีน่ กั เศรษฐศาตร์สว่ นใหญ่คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 54.5 ซึง่ บ่งชีว้ า่ ภาคบริการของสหรัฐชะลอตัวลง เล็กน้อยในเดือนตุลาคม ■เยอรมนี : GDP ไตรมาส 3 ของเยอรมนี ขยายตัวเพียง 0.2% เมือ่ เทียบเป็ นรายไตรมาส สะท้อนให้เห็นว่าเศรษฐกิจเยอรมนีซง่ึ ใหญ่ เป็ นอันดับหนึ่งของยุโรป ขยายตัวช้าลงเมือ่ เทียบกับไตรมาส 2 ทีข่ ยายตัว 0.3% และไตรมาสแรกทีข่ ยายตัว 0.5% อันเนื่องมาจาก ผลกระทบของวิกฤตหนี้ยโู รโซน ■ ออสเตรเลีย : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของออสเตรเลียเดือนพฤศจิกายนเพิม่ ขึน้ 5.2% แตะทีร่ ะดับ 104.3 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุด นับตัง้ แต่ปี 2554 จากระดับ 99.2 ของเดือนตุลาคม ทัง้ นี้ ดัชนีทเ่ี คลื่อนไหวสูงกว่าระดับ 100 จุดแสดงให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคทีม่ มี มุ มองในด้าน บวกต่อเศรษฐกิจมีมากกว่าผูท้ ม่ี มี มุ มองในด้านลบ ■ สัญญาทองคําตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนธ.ค.ร่วงลง 16.30 ดอลลาร์ หรือ 0.94% ปิดที่ 1,713.80 ดอลลาร์/ ออนซ์ อุปสงค์ทองคําทัวโลกปรั ่ บตัวลดลงในไตรมาส 3 ของปีน้ี อันเนื่องมาจากเศรษฐกิจจีนทีช่ ะลอตัวลง และการลงทุนในผลิตภัณฑ์ ทองคําทีล่ ดลง
Thailand updates :
■ ธนาคารโลกประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจประจําปี2555 อยูท่ ่ี 4.7% เพิม่ ขึน้ จากประมาณการณ์ครัง้ ก่อนอยูท่ ่ี 4.5% เนื่องจากการอุปโภคบริโภคในประเทศฟื้นตัวเต็มทีใ่ นไตรมาส 3 ปี 2555 หลังเหตุการณ์น้ําท่วมเมือ่ ปลายปี 2554 โดยเฉพาะไตรมาส 4 ปี 2555 ทีค่ าดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวได้ 4.3% เทียบกับปีก่อนฐานตํ่า และขยายตัวต่อเนื่องในปี 2556 ทีค่ าดว่าเศรษฐกิจไทยจะโตได้ ประมาณ 5% ■ ค่าเงินบาทอยูท่ ร่ี ะดับ 30.73/75 บาท/ดอลลาร์ จาก(15 พ.ย.) 30.70/72 บาท/ดอลลาร์ (15พ.ย.) อ่อนค่าเล็กน้อยตามค่าเงินเยน
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (15 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลง 28.57 จุด หรือ 0.23% ปิดที่ 12,542.38 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.16 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 1,353.33 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 9.87 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 2,836.94 จุด จากข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอของสหรัฐ และ จํานวนคนว่างงานรายสัปดาห์ทพ่ี งุ่ ขึน้ เกินคาด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ 164.99 จุด หรือ 1.90% ปิ ดที่ 8,829.72 จุด ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตร่วง 25.13 จุด หรือ 1.22% ปิดที่ 2,030.29 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งพุง่ ขึน้ 94.89 จุด หรือ 0.45% แตะที่ 21,203.82 แรงหนุ นจากการทีน่ กั ลงทุน เข้าซือ้ หุน้ เบล อินเตอร์เนชันแนล ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,274.02 จุด ลดลง 5.27 จุด( 0.41%)
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
่ ออกของจีนในเดือนตุลาคมเพิม ้ 11.6% HighLight : การสง ่ ขึน
Global : ■ สหรัฐ: ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนต.ค.ปรับลดลง 0.2% m/m จากราคาพลังงานปรับตัวลง 0.5% ขณะทีร่ าคารถยนต์โดยสารร่วงลง อย่างหนัก 1.6% แต่ราคาอาหารยังปรับตัวขึน้ ต่อเนื่อง 0.4% ส่วนดัชนี PPI พืน้ ฐาน ซึง่ ไม่รวมราคาอาหารและพลังงานทีม่ คี วามผันผวน ปรับลดลง 0.2% ซึง่ นับเป็ นการลดลงครัง้ แรกตัง้ แต่เดือนพ.ย. 2553 ทัง้ นี้ หากเทียบรายปี ดัชนี PPI ทัวไปปรั ่ บตัวขึน้ 2.3% ขณะที่ ดัชนี PPI พืน้ ฐานปรับขึน้ 2.1% ■ : ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ในเดือนต.ค.ปรับตัวขึน้ 0.1% m/m หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.6% ในเดือนก.ย. ขณะทีด่ ชั นี CPI พืน้ ฐาน ซึง่ ไม่ รวมราคาอาหารและพลังงานทีม่ คี วามผันผวน ปรับตัวขึน้ 0.2% หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.1% ในเดือนกันยายน y/y ดัชนี CPI เพิม่ ขึน้ 2.2% y/y และดัชนี CPI พืน้ ฐานปรับตัวขึน้ 2.0% ■ จีน : สํานักงานศุลกากรของจีนเผยการส่งออกของจีนในเดือน ต.ค. เพิม่ ขึน้ 11.6% y/y และสูงกว่าเดือนก.ย.ทีข่ ยายตัว 9.9% แสดงให้ เห็นว่าเศรษฐกิจจีนกําลังฟื้นตัว สําหรับการนําเข้าในเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ 2.4% y/y ส่งผลให้ดุลการค้าเดือนต.ค.เกินดุลเพิม่ ขึน้ มาอยู่ ที่ 32 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึง่ เป็ นการเกินดุลการค้าสูงสุดในรอบ 4 ปี ■ : สํานักงานสถิตขิ องจีนเผยอัตราเงินเฟ้อของจีนเดือนต.ค.ลดลงมาอยูใ่ นระดับตํ่าสุดในรอบ 33 เดือน จากการทีร่ าคาอาหารเพิม่ ขึน้ ใน อัตราทีช่ ะลอลง ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคจีนในเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ 1.7% y/y ขณะทีด่ ชั นีราคาผูผ้ ลิต ลดลง 2.8% y/y ■ ญี่ปนุ่ : เศรษฐกิจญีป่ นุ่ ไตรมาสที่ 3 หดตัว 3.5% เป็ นการหดตัวลงมากทีส่ ดุ นับจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและ Sunami เมือ่ ต้นปีทแ่ี ล้ว ทัง้ นี้การหดตัวลงดังกล่าวเป็ นผลจากการทีก่ ารส่งออกและการอุปโภคบริโภคในประเทศหดตัวลง ■ : ผลสํารวจของรอยเตอร์เผยความเชื่อมันของกลุ ่ ม่ ผูผ้ ลิตญี่ปนุ่ ลดลงเป็ นเดือนที่ 4 ติดต่อกัน สะท้อนถึงเศรษฐกิจญีป่ นุ่ กําลังจะเข้าสู่ ภาวะถดถอย ดัชนีความเชื่อมันของกลุ ่ ม่ ผูผ้ ลิตลดลง 2 จุด สูร่ ะดับ -19 ในเดือน พ.ย. ส่วนดัชนีความเชื่อมันของกลุ ่ ม่ ทีไ่ ม่ใช่ผผู้ ลิต ลดลง 6 จุด สูร่ ะดับ +1
Thailand updates :
■ สภาพัฒน์ คาดการณ์เศรษฐกิจปี 55 เติบโต 5.5% จากผลกระทบปญั หาเศรษฐกิจโลก ส่วนในปี 56 คาดว่าจะขยายตัว 4.5-5.5% โดย ประเมินว่าเศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวขึน้ จากทีห่ ดตัวในปีน้ี และราคาพืชผลเกษตรจะปรับตัวสูงขึน้ ซึง่ จะส่งผลดีต่อมูลค่าการส่งออก ขณะที่ การบริโภคในประเทศและการลงทุนภาคเอกชนยังอยูใ่ นเกณฑ์ดี ทัง้ นี้ภาครัฐจะมีการลงทุนโครงการจัดการระบบนํ้า และโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านการขนส่งทีใ่ ช้งบประมาณ 2 ล้านล้านบาท ■ ค่าเงินบาทเปิด(19 พ.ย.) ทีร่ ะดับ 30.71/75 บาท/ดอลลาร์ จาก 30.75/77 บาท/ดอลลาร์ (16 พ.ย.)
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (16 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 45.93 จุด หรือ 0.37% ปิ ดที่ 12,588.31 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.55 จุด หรือ 0.48% ปิดที่ 1,359.88 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 16.19 จุด หรือ 0.57% ปิดที่ 2,853.13 จุด แรงหนุ นจากการเจรจาแก้ไข ปญั หา Fiscal Cliff ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ 194.44 จุด หรือ 2.20% ปิ ดที่ 9,024.16 จุด จากแรงซือ้ ของนักลงทุน ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตร่วง 15.57 จุด หรือ 0.77% ปิดที่ 2,014.73 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย 50.08 จุด หรือ 0.24% ปิดที่ 21,159.01 จากความไม่แน่นอนนโยบายของผูน้ ําจีนคนใหม่ ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,280.13 จุด เพิม่ ขึน้ 6.11 จุด( 0.48%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ยอดขายบ ้านมือสองของสหรัฐเดือนต.ค. เพิม ่ ขึน ้ 2.1% สูร่ ะดับ 4.79 ล ้านยูนต ิ ต่อปี
Global : ■ สหรัฐ : ยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐในเดือน ต.ค. ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 2.1% สูร่ ะดับ 4.79 ล้านยูนิตต่อปี จากสัญญาณการฟื้นตัวของ ตลาดแรงงาน : สมาคมผูส้ ร้างบ้านแห่งชาติ (NAHB) ของสหรัฐเผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ ส้ ร้างบ้านสหรัฐเพิม่ ขึน้ 5 จุด แตะระดับ 46 ในเดือน พ.ย. จากระดับ 41 ในเดือนต.ค. ดัชนียงั คงตํ่ากว่าระดับ 50 ซึง่ บ่งชีว้ า่ กลุม่ ผูส้ ร้างบ้านมีมมุ มองต่อตลาดในเชิงลบมากกว่าในเชิงบวก และ ดัชนียงั ไม่เคยปรับตัวเหนือระดับ 50 มานับตัง้ แต่เดือนเม.ย.2549 ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปนรายงานว่า สินเชื่อทีไ่ ม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ของภาคธนาคารสเปนอยูท่ ร่ี ะดับ 1.82 แสนล้านยูโร หรือ 10.7% ของสินทรัพย์ทงั ้ หมดในเดือนก.ย.โดยสัดส่วนหนี้เสียของภาคธนาคารคิดเป็ น 17.4% ของผลผลิตทางเศรษฐกิจของสเปน หนี้เสีย ส่วนใหญ่เป็ นสินเชื่อทีธ่ นาคารปล่อยให้กบั ผูซ้ อ้ื บ้านและนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ■ จีน : ภาวะเศรษฐกิจของจีน ในไตรมาส 3 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 7.4 ลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมาส 3 ปี 2554 ทีข่ ยายตัวร้อยละ 9.1 มูลค่าการค้าปลีกในไตรมาส 3 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ13.5 ลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมาส 3 ปี 2554 ซึง่ ขยายตัวร้อยละ 17.3 ดัชนีความ เชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในไตรมาส 3 ปี 2555 อยูท่ ร่ี ะดับ 99.5 ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาส 3 ปี 2554 ซึง่ อยูท่ ร่ี ะดับ 104.7ขณะทีก่ ารลงทุนใน สินทรัพย์ถาวรในไตรมาส 3 ปี 2555 ขยายตัวร้อยละ 20.4 ลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมาส 3 ปี 2554 ทีข่ ยายตัวร้อยละ 25.1 ■ : ราคานํ้ามันดิบทีต่ ลาดล่วงหน้านิวยอร์ก(NYMEX)ปรับเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 90 เหรียญ/บาร์เรล ได้รบั แรงหนุนจากการคาดการณ์วา่ สหรัฐจะ สามารถหลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคลังได้ ■ : ราคาทองคําทีต่ ลาดนิวยอร์ก(NYMEX)ส่งมอบเดือนธ.ค. ปรับเพิม่ ขึน้ 19.70 ดอลลาร์ หรือ 1.15% ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,734.40 ดอลลาร์/ออนซ์ ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 1 เดือน
Thailand updates :
■ BOI เผยช่วง 10 เดือน (ม.ค.-ต.ค. 2555) มีนกั ลงทุนไทยและต่างประเทศยืน่ ขอรับการส่งเสริมการลงทุนในไทยมูลค่า 8.62 แสนล้าน บาท จํานวน 1,757 โครงการ มูลค่าเพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันปี ก่อนอยูท่ ่ี 444,000 ล้านบาท จากเศรษฐกิจในประเทศทีข่ ยายตัว และกําลัง จะเป็ นศูนย์กลางทางการค้าการลงทุนของภูมภิ าค AEC ปี 2558 ■ ค่าเงินบาทเปิด(20 พ.ย.) 30.67/69 จากวันที่ 19 พ.ย.อยูท่ ร่ี ะดับ 30.72/74 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าตามภูมภิ าค รอความชัดเจนการให้ เงินช่วยเหลือกรีซ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิดบวก (19 พ.ย.) จากนักลงทุนคาดว่าสหรัฐจะสามารถหลีกเลีย่ งภาวะหน้าผาการคลังได้ ดัชนีดาวโจนส์พงุ่ ขึน้ 207.65 จุด หรือ 1.65% ปิดที่ 12,795.96 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 27.01 จุด หรือ 1.99% ปิ ดที่ 1,386.89 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับตัวขึน้ 62.94 จุด หรือ 2.21% ปิดที่ 2,916.07 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ 129.04 จุด หรือ 1.43% ปิ ดที่ 9,153.20 จุด จากสถานการณ์ทางการเมืองทีอ่ าจจะผลักดันให้ ธนาคารกลางญี่ปนุ่ (บีโอเจ) ผ่อนคลายนโยบายการเงิน ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตบวก 2.26 จุด หรือ 0.11% ปิ ดที่ 2,016.98 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 103.05 จุด หรือ 0.49% ปิดที่ 21,262.06 จุด แรงหนุ นจากหุน้ กลุม่ พลังงาน ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,283.65 จุด เพิม่ ขึน้ 3.52 จุด(+0.27%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
์ ร ับลดเครดิตฝรง่ ั เศสจากระด ับสูงสุดที่ "AAA" มาอยูท HighLight : มูดส ี ป ่ ี่ "AA1"
Global : ■ สหรัฐ: กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยตัวเลขการเริม่ สร้างบ้านในเดือนต.ค.พุง่ ขึน้ 3.6% แตะ 894,000 ยูนิต ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับแต่ เดือนก.ค.2551 หรือสูงสุดในรอบกว่า 4 ปี เทียบกับระดับ 863,000 ยูนิตในเดือนก.ย. ซึง่ มีการปรับลงจากเดิมที่ 872,000 ยูนิต สะท้อน ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยของสหรัฐทีเ่ คยประสบปญั หากําลังปรับตัวดีขน้ึ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี รายงานดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ในเดือนต.ค.ทรงตัวจากเดือนก่อนหน้า แต่หากเทียบ รายปี ดัชนี PPI เพิม่ ขึน้ 1.5% หลังจากทีป่ รับตัวขึน้ 1.7% ในเดือนก.ย. ■ ฝรังเศส ่ : มูดสี ์ ปรับลดระดับความน่าเชื่อถือทางเศรษฐกิจของฝรังเศส ่ จากระดับสูงสุดที่ "AAA" มาอยูท่ ่ี "AA1" ผลกระทบจากวิกฤต หนี้สาธารณะของกลุม่ ยูโรโซน ทัง้ นี้ แสตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ ได้มกี ารปรับลดระดับความน่าเชื่อถือทางเศรษฐกิจของฝรังเศสลงแล้ ่ วเมือ่ เดือนมกราคมทีผ่ า่ นมา ขณะที่ ฟิทช์ ยังคงสถานภาพความน่าเชื่อถือทางเศรษฐกิจของฝรังเศสไว้ ่ ทร่ี ะดับเดิม ■ จีน : กระทรวงพาณิชย์จนี เผยยอดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในเดือนต.ค.ของจีน ปรับตัวลง 0.24% y/y มาอยูท่ ร่ี ะดับ 8.31 พันล้านดอลลาร์ ส่งผลให้ยอดรวมของ FDI ในช่วง 10 เดือนแรกของปี น้ีอยูท่ ร่ี ะดับ 9.174 หมืน่ ล้านดอลลาร์ ลดลง 3.45% y/y ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับ 0-0.10% พร้อมกับคงขนาดโครงการซือ้ สินทรัพย์ไว้ทร่ี ะดับ 91 ล้าน ล้านเยน โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะประเมินผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการประกาศใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินติดต่อกันในช่วง 2 เดือนก่อน หน้านี้ ท่ามกลางการชะลอตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ
Thailand updates :
■ ทีป่ ระชุมครม.อนุมตั ใิ ห้ขยายเวลาลดภาษีสรรพสามิตนํ้ามันดีเซลไปจนถึงสิน้ เดือน ธ.ค. 2555 โดยสรรพสามิตนํ้ามันดีเซลเหลือ 0.005 บาท/ลิตร จากเดิมที่ 5.31 บาท/ลิตร เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กบั ประชาชน เนื่องจากราคานํ้ามันตลาดโลกมีราคาสูง หากเก็บ ภาษีเพิม่ ขึน้ จะทําให้ประชาชนมีคา่ ใช้จา่ ยสูงขึน้ ซึง่ การลดภาษีดงั กล่าว มีผลทําให้อตั ราภาษีอ่นื ลดลงไปด้วย ■ เงินบาทเปิดตลาด(21 พ.ย.)ทีร่ ะดับ 30.68/70 บาท/ดอลลาร์ จากเย็นวานนี้ทร่ี ะดับ 30.70 บาท/ดอลลาร์ แนวโน้มปรับตัวแข็งค่าตาม ภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (20 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 7.45 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 12,788.51 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.92 จุด หรือ 0.07% ปิดที่ 1,387.81 จุด และดัชนี Nasdaq ขยับขึน้ 0.61 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 2,916.68 จุด จากความไม่แน่นอนในการแก้ไขปญั หา Fiscal Cliff ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวลง 10.56 จุด หรือ 0.12% ปิดที่ 9,142.64 จุด นักลงทุนเทขายทํากําไรหลังจากธนาคารกลางญีป่ นุ่ คงนโยบายการเงิน ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตอ่อนตัว 7.71 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 2,009.27 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั่ ง ลดลง 33.78 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 21,228.28 จุด จากยอดการลงทุนต่างประเทศทีล่ ดลง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,276.41 จุด ลดลง 7.24 จุด(-0.56%) จากข่าว ส.ว.เตรียมการส่งศาลรัฐธรรมนูญตีความ 3G
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
่ ยเหลือกรีซ HighLight : รมว.คล ังยูโรโซนไม่มข ี อ ้ สรุปเรือ ่ งข้อตกลงการให้ความชว
Global :
■ สหรัฐ: จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกยังอยูเ่ หนือระดับ 400,000 ราย ติดต่อกัน 2 สัปดาห์เป็ นครัง้ แรกในรอบกว่า 1 ปี ั ่ นออกของสหรัฐได้สง่ ผลต่อหน้าทีก่ ารงานของผูค้ นจํานวนมาก โดยตัวเลขจ้างงานนอกภาค เนื่องจากพายุแซนดีท้ พ่ี ดั ถล่มชายฝงตะวั การเกษตรปรับตัวเพิม่ ขึน้ 171,000 ตําแหน่งในเดือนต.ค. ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานอยูต่ ่าํ กว่า 8% สองเดือนติดต่อกัน ■ยูโรโซน : รมว.คลังยูโรโซนไม่สามารถตกลงกันได้เรือ่ งข้อตกลงในการให้ความช่วยเหลือกรีซเพิม่ เติม ส่งผลให้สถานการณ์กลุม่ ประเทศ ทีใ่ ช้สกุลเงินยูโรทัง้ 17 ประเทศนัน้ ตกอยูใ่ นความไม่แน่นอนมากขึน้ ทัง้ นี้กลุม่ เจ้าหนี้ซง่ึ นําโดยเยอรมนีนนั ้ ปฏิเสธทีจ่ ะอัดฉีดเงินเพิม่ เติม หรือข้อเสนอเพื่อบรรเทาหนี้ของกรีซ ส่งผลให้รมว.คลังไม่สามารถรวบรวมเงินจากแหล่งเงินอื่นๆได้เพียงพอทีจ่ ะบรรเทาภาระหนี้สนิ ของ กรีซ ซึง่ คาดว่าจะอยูท่ ่ี 190% ของGDP ในปี 2557 ■ อังกฤษ: สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษรายงานว่า รัฐบาลอังกฤษกูย้ มื เงินสุทธิ 8.6 พันล้านปอนด์ (1.37 หมืน่ ล้านดอลลาร์) ใน เดือนต.ค. รัฐบาลอังกฤษตัง้ เป้าว่าจะกูย้ มื เงินไม่เกิน 1.20 แสนล้านปอนด์ในปีงบประมาณ 2555-2556 หรือลดลง 1.2% จากระดับ 1.214 แสนล้านปอนด์ทร่ี ฐั บาลกูย้ มื ในปีงบประมาณก่อนหน้า ■ อิ สราเอล : อิสราเอลกับฮามาสบรรลุขอ้ ตกลงหยุดยิงกันแล้ว หลังจากอียปิ ต์ยน่ื มือเข้าไกล่เกลีย่ โดยฮามาสรับว่าจะหยุดโจมตีดว้ ย จรวด ส่วนอิสราเอลจะผ่อนปรนการปิดล้อมฉนวนกาซา ทัง้ นี้โอบามา ได้สนับสนุ นเพือ่ เปิดโอกาสทีจ่ ะทําให้สถานการณ์ในภูมภิ าค ตะวันออกกลางมีเสถียรภาพมากขึน้ ■ จีน : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของจีนในเดือนพ.ย. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 50.4 จากระดับ 49.5 ในเดือนต.ค. โดยตัวเลขทีส่ งู กว่า 50 สะท้อนถึงการขยายตัว ซึง่ มีแนวโน้มจะช่วยคลายวิตกเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวของจีน
Thailand updates : ■ ธปท.ผ่านร่าง พ.ร.บ.ธุรกิจสถาบันการเงินให้สนิ เชื่อผูบ้ ริหาร และผูเ้ กีย่ วข้องได้ โดยตามร่างแก้ไข พ.ร.บ. ได้แก้ไขให้สถาบันการเงิน สามารถให้สนิ เชื่อในรูปของบัตรเครดิตตามอัตราขัน้ สูงที่ ธปท. กําหนด ■ เงินบาทเปิดตลาด(22 พ.ย.) อยูท่ ร่ี ะดับ 30.69/71 บาท/ดอลลาร์ จากค่าเงินบาทปิด (21 พ.ย.)อยูท่ ร่ี ะดับ 30.70 บาท/ดอลลาร์ ยังไม่ม ี ปจั จัยใหม่ทส่ี ง่ ผลต่อค่าเงินบาท
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิดบวก (21 พ.ย.) จากอิสราเอลได้บรรลุขอ้ ตกลงหยุดยิงกับกลุม่ ฮามาส ดัชนีดาวโจนส์ดดี ตัวขึน้ 48.38 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 12,836.89 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 3.22 จุด หรือ 0.23% ปิ ดที่ 1,391.03 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 9.87 จุด หรือ 0.34% ปิดที่ 2,926.55 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึน้ 79.88 จุด หรือ 0.87% ปิ ดที่ 9,222.52 จุด ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตพุง่ 21.4 จุด หรือ 1.7% ปิดที่ 2,030.32 จุด แรงหนุนจากหุน้ กลุม่ หลักทรัพย์ ถ่านหิน และอสังหาริมทรัพย์ ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 296.08 จุด หรือ 1.39% ปิดที่ 21,524.36 จุด แรงหนุนจากการพุง่ ขึน้ ของตลาดหุน้ จีน ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,276.39 จุด ลดลง 0.02 จุด(-0.00%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : ยอด GDP ในไตรมาส 3 ของประเทศกลุม ่ OECD ขยายต ัว 0.2%
Global :
■ยุโรป : องค์การความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) เผยยอด GDP ในไตรมาส 3 ของประเทศสมาชิกขยายตัว 0.2% ไม่ เปลีย่ นแปลงจากไตรมาส 2 สะท้อนรูปแบบการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศกลุม่ OECD ยังคงมีความแตกต่างกันมาก ทัง้ นี้ประเทศ ในสหภาพยุโรปขยายตัว 0.1% ในไตรมาสที่ 3 ได้รบั แรงหนุนจาก GDP ของฝรังเศสที ่ ข่ ยายตัว 0.2% : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ของกลุม่ ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร ซึง่ รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการ ขยับขึน้ อยูใ่ นระดับ 45.8 ในเดือนพ.ย. จากระดับ 45.7 ในเดือนต.ค.สะท้อนภาคการผลิตและการบริการของยูโรโซนยังอยูใ่ นภาวะหดตัว ทัง้ นี้ GDP ของ ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร 17 ประเทศ ปรับตัวลง 0.1% ในไตรมาส 3 หลังจากทีป่ รับตัวลง 0.2% ในไตรมาสก่อนหน้า เห็นได้วา่ เศรษฐกิจ ได้เข้าสูภ่ าวะถดถอยอย่างต่อเนื่อง ■ สเปน : ยอดขาดดุลของรัฐบาลกลางสเปนในเดือนต.ค.อยูท่ ร่ี ะดับ 3.92% ของGDP สเปนมีแนวโน้มบรรลุเป้าหมายยอดขาดดุลปี 2555 อยูท่ ร่ี ะดับ 6.3% จากนโยบายการเก็บภาษีสง่ ผลให้ยอดขาดดุลการคลังลดลง ■อิ นโดนิ เซีย: ในไตรมาสที่ 3 ของปีน้ี มูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในอินโดนีเซียเพิม่ สูงสุด โดยยอดตัวเลขพุง่ ทะยาน ถึง 56.6 ล้านล้านรูเปียห์ ( 587.41 ล้านเหรียญสหรัฐ) เพิม่ ขึน้ 22% จากปีทแ่ี ล้ว คณะกรรมการประสานงานการลงทุน (BKPM) เผยว่า ตัวเลข FDI ในช่วง 9 เดือนแรกของปี น้ีมจี าํ นวนถึง 164.2 ล้านล้านรูเปียห์ และอินโดนีเซียคาดการณ์ตวั เลข FDI ในปี 2555 อยูท่ ร่ี ะดับ 206.8 ล้านล้านรูเปียห์ โดยต่างชาติ 5 อันดับแรกทีม่ าลงทุนมากทีส่ ดุ ได้แก่ ญี่ปนุ่ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา
Thailand updates : ■ สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผยสิน้ ปีงบประมาณ 56 ระดับหนี้สาธารณะจะปรับขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 46-47% จากการกูเ้ งินตาม แผนบริหารจัดการนํ้า 3.5 แสนล้านบาท ขณะทีแ่ ผนบริหารจัดการหนี้ภาครัฐในปีน้ีอยูท่ ่ี 1 ล้านล้านบาท ทัง้ นี้ระดับหนี้สาธารณะจะอยู่ ระดับสูงสุดในปีงบประมาณ 59 ทีร่ ะดับ 49% ไม่เกินระดับ 50% โดยหนี้สาธารณะทีป่ รับสูงขึน้ มาจากการกูเ้ งินตามแผนบริหารจัดการนํ้า การลงทุน ตาม พ.ร.บ.โครงสร้างพืน้ ฐาน วงเงิน 2 ล้านล้านบาท ในระยะ 7 ปีขา้ งหน้า และตัง้ แต่ปีงบประมาณ 60 ระดับหนี้สาธารณะจะ ปรับลงเล็กน้อย และทยอยปรับลดลงต่อเนื่อง ปจั จุบนั หนี้สาธารณะ ณ เดือนก.ย. 2555 อยูท่ ่ี 43.91% ต่อGDP ■ เงินบาทเปิดตลาดเช้านี้(23 พ.ย.)ทีร่ ะดับ 30.70/72 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวจากเงินบาทปิดตลาด(22 พ.ย.)อยูท่ ร่ี ะดับ 30.70/72 บาท/ ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ โตเกียว(22 พ.ย.) ดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ 144.28 จุด หรือ 1.56% ปิ ดที่ 9,366.80 จุด แรงหนุนจากสกุลเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลงอย่าง ต่อเนื่อง ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตปรับตัวลง 0.72% หรือ 14.71 จุด ปิดที่ 2,015.61 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 218.84 จุด หรือ 1.02% ปิดที่ 21,743.20 จุด แรงหนุนจากหุน้ กลุม่ อสังหาริมทรัพย์จนี ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,279.51 จุด เพิม่ ขึน้ 3.12 จุด(+0.24%) จากนักลงทุนชะลอการลงทุนเพื่อรอดูเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ประจําว ันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
มุมมองมหภาค
HighLight : S&P ลดอ ันด ับเครดิต 3 ธนาคารของสเปน
Global :
■ เยอรมนี : สถาบัน Ifo (สถาบันวิจยั เศรษฐกิจของเยอรมนี) เผยความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจเยอรมนีเดือนพ.ย.ดีดตัวขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 101.4 จากระดับ 100 ในเดือนต.ค. ซึง่ ถือเป็ นการปรับตัวขึน้ เป็ นครัง้ แรกในรอบ 8 เดือน ■ สเปน : สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ (เอสแอนด์พ)ี ประกาศปรับลดอันดับเครดิตของสถาบันการเงิน 3 แห่งของสเปน โดย Ibercaja Banco และ CECA ลง 1 ขัน้ สูร่ ะดับ BB+ จาก BBB- และลดเครดิตของ Bankinter ลงสู่ BB จากระดับ BB+ จากผลกระทบของสภาพเศรษฐกิจที่ อ่อนแอลง เพราะการปรับลดรายจ่ายภาครัฐและอัตราว่างงานของสเปนทีส่ งู อยูใ่ นระดับ 25% ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของฝรังเศสในเดื ่ อนพ.ย.ปรับตัวขึน้ มาอยูท่ ร่ี ะดับ 88 จากระดับ 85 ในเดือนต.ค. สะท้อนสถานการณ์เศรษฐกิจของฝรังเศสจะยั ่ งคงอ่อนแอ ส่วนดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ของฝรังเศส ่ ซึง่ รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการ เพิม่ ขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 44.6 ในเดือนพ.ย. จากระดับ 43.5 ในเดือนก.ย. แต่กจิ กรรมภาคธุรกิจยังคงอยู่ ในภาวะหดตัวเนื่องจากดัชนียงั อยูต่ ่าํ กว่าระดับ 50 ■ สิ งคโปร์ : ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ของสิงคโปร์ในเดือนต.ค.ปรับขึน้ 4.0% เทียบรายปี ซึง่ ชะลอลงจากการเพิม่ ขึน้ 4.7% ในเดือน ก.ย. ส่วนเงินเฟ้อพืน้ ฐาน ซึง่ ไม่รวมราคาด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยและการคมนาคมขนส่งของภาคเอกชน ลดลงสูร่ ะดับ 2.2% ในเดือนต.ค. จาก 2.4% ในเดือนก.ย.
Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รายงานตัวเลขหนี้ทไ่ี ม่ก่อให้เกิดรายได้ (LPL) ของระบบธนาคารพาณิชย์ ไตรมาส 3 ปี 55 พบว่า สิน้ เดือน ก.ย. 55 มีหนี้ LPL 267,909 ล้านบาท คิดเป็ น 2.47% ของสินเชื่อรวม ลดลงจาก 2.55% ทัง้ นี้ สิน้ ไตรมาส 3 ปี 55 หนี้ LPLของ ธุรกิจภาคการอุตสาหกรรมมีทงั ้ สิน้ 91,523 ล้านบาท หรือ 34.59% สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 56,527 ล้านบาท หรือ 21.37% สินเชื่อเพือ่ การพาณิชย์ 36,227 ล้านบาท หรือ 3.69% สินเชื่อในภาคธุรกิจบริหาร 30,709 ล้านบาทหรือ 11.61% ภาคธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ 27,747 ล้านบาท หรือ 10.49% สินเชื่อเพือ่ การก่อสร้าง 9,747 ล้านบาท หรือ 3.69% สินเชื่อเพือ่ การสาธารณูปโภค 6,809 ล้านบาท หรือ 2.57% สินเชื่อทีใ่ ห้กบั ภาคการเงินและการธนาคาร 814 ล้านบาท หรือ 0.31 % และสินเชื่อของภาคเหมืองแร่และ หิน 612 ล้านบาท หรือ 0.23% ■ เงินบาทเปิดตลาดเช้า(26 พ.ย.)อยูท่ ร่ี ะดับ 30.65/67 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากค่าเงินบาทปิด(23พ.ย.)ทีร่ ะดับ 30.69 บาท/ ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (23 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์พงุ่ ขึน้ 172.79 จุด หรือ 1.35% ปิดที่ 13,009.68 จุด ดัชนี S&P 500 พุง่ ขึน้ 18.12 จุด หรือ 1.30% ปิดที่ 1,409.15 จุด และดัชนี Nasdaq พุง่ ขึน้ 40.30 จุด หรือ 1.38% ปิดที่ 2,966.85 จุด ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิตเปิด(26 พ.ย.)ที่ 9,466.06 จุด เพิม่ ขึน้ 99.26 จุด หรือ 1.06% แรงหนุนจากการอ่อนค่าของสกุลเงินเยน และการดีดตัวขึน้ ของตลาดหุน้ นิวยอร์ก ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเปิดที่ 2,023.34 จุด ลดลง 4.04 จุด หรือ 0.20 จากนักลงทุน ยังคงวิตกกังวลเกีย่ วกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเปิดบวก 72.38 จุด หรือ 0.33% แตะที่ 21,986.36 แรง หนุนจากหุน้ กลุม่ อสังหาริมทรัพย์จนี ตลาดหุน้ ไทย SET ปิด(23 พ.ย.)ทีร่ ะดับ 1,281.70 จุด เพิม่ ขึน้ 2.19 จุด(+0.17%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
่ ยเหลือกรีซลดหนี้ 124% ของ GDP HighLight :ร ัฐมนตรีคล ังยูโรโซนและIMF บรรลุขอ ้ ตกลงชว
Global :
■ สหรัฐ : ธนาคารกลางสหรัฐเผยดัชนีกจิ กรรมภาคการผลิตทัวประเทศโดยเฉลี ่ ย่ ในช่วง 3 เดือน ลดลงอยูท่ ร่ี ะดับ -0.56 ในเดือนต.ค. จากระดับ -0.36 ในเดือนก.ย. จากพายุเฮอริเคนแซนดี้ โดยส่งผลให้ดชั นีชว้ี ดั เศรษฐกิจของประเทศร่วงลงแตะระดับตํ่าสุดนับแต่ปี 2552 ส่วนดัชนีกจิ กรรมภาคการผลิตทัวประเทศในรอบ ่ 1 เดือน ปรับตัวลงทีร่ ะดับ -0.56 ในเดือนต.ค. จากระดับ 0 ในเดือนก.ย. ■ ยุโรป : รัฐมนตรีคลังประเทศยูโรโซนและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้บรรลุขอ้ ตกลงในการลดหนี้สนิ ของกรีซลงสูร่ ะดับตํ่า กว่า 124% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ภายในปี 2563 ผ่านทางมาตรการต่างๆ รวมถึงการปรับลดดอกเบีย้ และการ ขยายกําหนดชําระเงินกูแ้ ก่กรีซ อย่างไรก็ดยี งั คงต้องหารือการแก้ไขปญั หาต่อไป ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลีรายงาน ความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนพ.ย.อยูท่ ร่ี ะดับ 84.8 จากระดับ 86.2 ในเดือนต.ค. สะท้อนให้เห็นว่า ประชาชนชาวอิตาลีมคี วามเชื่อมันต่ ่ อแนวโน้มเศรษฐกิจและการเงินส่วนบุคคลลดลง ทัง้ นี้ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ (GDP) ของอิตาลี หดตัวลง 0.2% ในไตรมาส 3 ปีน้ี ซึง่ เป็ นการหดตัวลง 5 ไตรมาสติดต่อกัน ■ เกาหลีใต้ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเกาหลีใต้เดือนพ.ย.ดีดตัวขึน้ จากระดับตํ่าสุดในรอบ 9 เดือน อยูท่ ร่ี ะดับ 99 ในเดือนพ.ย. ขยับ ขึน้ 1 จุดจากระดับ 98 ในเดือนต.ค. แต่ยงั อยูต่ ่าํ กว่าระดับมาตรฐานที่ 100 สะท้อนว่าผูม้ มี มุ มองลบยังมากกว่าผูม้ มี มุ มองบวก จากความ วิตกกังวลเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว ■ สิ งคโปร์ : คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ (EDB) เผยการผลิตอุตสาหกรรมของสิงคโปร์ในเดือนต.ค. ลดลง 2.1% y/y จาก อุตสาหกรรมชีวการแพทย์ทห่ี ดตัวลง 11.7% ทัง้ นี้ภาคการผลิตขยายตัว 3.3% ในเดือน ต.ค. m/m จากภาคอุตสาหกรรมเคมีขยายตัว 13.7% ในเดือนต.ค. บวกกับภาคปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเติบโต 18.7% และ 15.7% ตามลําดับ
Thailand updates : ■ สภาพัฒน์เผยอัตราการว่างงานในไตรมาส 3/55 เฉลีย่ อยูท่ ่ี 0.58% คิดเป็ นจํานวนผูว้ า่ งงาน 232,400 คน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี ก่อน ขณะทีก่ ารจ้างงานโดยรวมเพิม่ ขึน้ 0.6% โดยภาคเกษตรมีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ 3.6% จากการขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าว ส่วนการจ้าง งานนอกภาคเกษตรลดลลง 1.4% โดยสาขาทีจ่ า้ งงานลดลงมาก ได้แก่ การค้าส่งค้าปลีก โรงแรม และภัตตาคาร ขณะทีส่ าขาการผลิตและ การก่อสร้างมีการจ้างงานเพิม่ ขึน้ หลังจากอุตสาหกรรมการผลิตขนาดใหญ่กลับมาจ้างงานได้เต็มที่ ■ เงินบาทเปิดตลาด(27 พ.ย.)อยูท่ ร่ี ะดับ 30.68/69 บาท/ดอลลาร์ ใกล้เคียงกับช่วงเย็น(26 พ.ย.)ปิดตลาดทีร่ ะดับ 30.69 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (26 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลง 42.31 จุด หรือ 0.33% ปิ ดที่ 12,967.37 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.86 จุด หรือ 0.20% ปิดที่ 1,406.29 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 9.93 จุด หรือ 0.33% ปิ ดที่ 2,976.78 จุด จากการอภิปรายของสภาคองเกรส เรือ่ ง Fiscal Cliff และความไม่แน่นอนการให้ความช่วยเหลือกรีซ ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึน้ 22.14 จุด หรือ 0.24% ปิดที่ 9,388.94 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร ตลาดหุน้ จีน ดัชนี เซีย่ งไฮ้คอมโพสิตอ่อนตัว 9.92 จุด หรือ 0.49% ปิดที่ 2,017.46 จุด จากหุน้ กลุม่ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอลทีล่ ดลง ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั่ ง ลดลง 52.17 จุด หรือ 0.24% ปิดที่ 21,861.81 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,290.85 จุด เพิม่ ขึน้ 9.15 จุด(+0.71%) จาก สถานการณ์การเมืองทีค่ ลีค่ ลายและตัวเลขส่งออกเดือน ต.ค. ขยายตัว 15.57% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน ้ 73.7 HighLight : ด ัชนีความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคของสหร ัฐเดือนพ.ย.พุง ่ ขึน
Global :
■ สหรัฐ : Conference Board เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนพ.ย.พุง่ ขึน้ แตะระดับ 73.7 จากระดับ 73.1 ในเดือนต.ค.ซึง่ เป็ นระดับ สูงสุดในรอบ 4 ปี : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนไม่เปลีย่ นแปลงในเดือนต.ค.ทีร่ ะดับ 2.1695 แสนล้านดอลลาร์ หลังจาก เพิม่ ขึน้ 9.2% ในเดือนก.ย. ซึง่ ดีกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์วา่ จะลดลงทีร่ ะดับ 0.6% ในเดือนต.ค หากไม่รวมยอดสังซื ่ อ้ สินค้าภาคการ ขนส่งทีม่ คี วามผันผวนหนุนให้เศรษฐกิจและการจ้างงานฟื้นตัว ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษ (ONS) เผย GDP ไตรมาส 3 ขยายตัว 1 % Q/Q และ 0.1% y/y จากการใช้จา่ ยของ ผูบ้ ริโภคทีข่ ยายตัวแข็งแกร่งสุดในรอบ 2 ปี โดยขยายตัวทีร่ ะดับ 0.6% จากระดับ 0.2% Q/Q ทัง้ นี้ได้รบั แรงหนุ นจากการทีก่ รุงลอนดอน เป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกและพาราลิมปิ ก ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (INSEE) เผยความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคอยูท่ ร่ี ะดับ 84 ในเดือนพ.ย. ไม่เปลีย่ นแปลงจาก เดือนต.ค. สะท้อนสถานการณ์เศรษฐกิจของฝรังเศสยั ่ งคงอ่อนแอ ขณะทีด่ ชั นีฐานะการเงินส่วนบุคคลในอนาคตขยับขึน้ มาอยูท่ ร่ี ะดับ -24 ในเดือนพ.ย. จากระดับ -25 ในเดือนต.ค.ดัชนีแนวโน้มการใช้จา่ ยในเดือนพ.ย.ปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับ -28 จากระดับ -29 ในเดือนต.ค. ดัชนี แนวโน้มการจ้างงานในอนาคตลดลงจากระดับ 71 ในเดือนต.ค.มาอยูท่ ร่ี ะดับ 65 ในเดือนพ.ย. ■ จีน : คณะกรรมการกํากับดูแลด้านการธนาคารของจีน (CBRC) เผยมูลค่าสินทรัพย์รวมของสถาบันธนาคารของจีนอยูท่ ร่ี ะดับ 125.8 ล้านล้านหยวน ณ สิน้ เดือนต.ค. โดยเพิม่ ขึน้ 18.4% y/y แต่ลดลง 0.5% m/m ส่วนหนี้สนิ โดยรวมของธนาคารในประเทศคิดเป็ นมูลค่ารวม 117.3 ล้านล้านหยวน เพิม่ ขึน้ 18.2% y/y แต่ปรับตัวลง 0.7% m/m ■ เกาหลีใต้ : อัตราการปล่อยเงินกูข้ องธนาคารพาณิชย์ลดลงอยูท่ ร่ี ะดับตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์จากอัตราดอกเบีย้ ในตลาดทีล่ ดลง หลัง ธนาคารปรับลดอัตราดอกเบีย้ ลง 0.25% ในเดือนก.ค.และ 2.75% ในเดือนต.ค.ตามมาตรการผ่อนคลายทางเงินของธนาคารกลาง ทัง้ นี้ อัตราการขอกูใ้ หม่ของภาคครัวเรือนลดลง 0.22% อยูท่ ร่ี ะดับ 5.08% ในเดือนต.ค. ขณะทีอ่ ตั ราขอกูข้ องบริษทั ลดลง 0.02% อยูท่ ร่ี ะดับ 4.84%
Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม(MPI) ในเดือนต.ค.55 อยูท่ ร่ี ะดับ 173.88 ขยายตัวเพิม่ ขึน้ 36.12% y/y และขยายตัวเพิม่ ขึน้ 0.28% m/m จากฐานทีต่ ่าํ ในช่วงเดียวกันของปี ก่อน ทัง้ นี้ สศอ.ประมาณการณ์ภาพรวมดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมปี 2555 ขยายตัวอยูใ่ นระดับ 5.0-6.0% และ ปี 2556 ขยายตัวอยูใ่ นระดับ 3.5-4.5% ■ เงินบาทเปิด(28 พ.ย.) อยูท่ ่ี 30.70 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าขึน้ เล็กน้อย(27 พ.ย.) 30.68 บาท/ดอลลาร์ จากความกังวลปญั หาหนี้กรีซ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (27 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 89.24 จุด หรือ 0.69% ปิดที่ 12,878.13 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 7.35 จุด หรือ 0.52% ปิดที่ 1,398.94 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับตัวลง 8.99 จุด หรือ 0.30% ปิดที่ 2,967.79 จุด จากปญั หา fiscal cliff ไม่มคี วาม คืบหน้า ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึน้ 34.36 จุด หรือ 0.37% ปิดที่ 9,423.30 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร ตลาดหุน้ จีน ดัชนี เซีย่ งไฮ้คอมโพสิตร่วง 1.3% ปิดที่ 1,991.17 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 17.78 จุด หรือ 0.08% ปิ ดที่ 21,844.03 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,297.03 จุด เพิม่ ขึน้ 6.18 จุด(+0.48%) ปรับเป็ นทิศทางเดียวกับภูมภิ าคหลังปญั หาหนี้กรีซสามารถตกลงกันได้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : ยอดขายบ้านใหม่ของสหร ัฐในเดือนต.ค.ลดลง 0.3% m/m
Global :
■ สหรัฐ: กระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐเผยยอดขายบ้านใหม่เพิม่ ขึน้ กว่า 17% y/y แต่ในเดือนต.ค.ลดลง 0.3% m/m สูร่ ะดับ 368,000 ยูนิต จากระดับ 369,000 ยูนิต ในเดือนก.ย.สะท้อนการฟื้นตัวของตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยในสหรัฐยังไม่มนคง ั ่ ทัง้ นี้ Standard and Poor's รายงาน ดัชนีราคาบ้าน 20 เมืองใหญ่ในเดือนก.ย.ปรับเพิม่ ขึน้ 0.4% m/m และ 3% y/y สําหรับช่วงไตรมาส 3 ราคาบ้านยังคงส่งสัญญาณในช่วงขา ขึน้ โดยพุง่ ขึน้ 3.6% y/y และดีดตัวขึน้ 2.2% Q/Q ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนีเผยอัตราเงินเฟ้ออยูท่ ่ี 1.9% ในเดือนพ.ย. ชะลอตัวลงจาก 2.0% ในเดือนต.ค. จากราคา พลังงานลดลงเมือ่ เทียบเดือนก.ย. บ่งชีว้ า่ ECB อาจปรับลดดอกเบีย้ ลงได้แม้ปจั จุบนั ดอกเบีย้ จะอยูใ่ นระดับตํ่าสุดที่ 0.75% ■ ฝรังเศส: ่ กระทรวงแรงงานฝรังเศสรายงานจํ ่ านวนผูว้ า่ งงานในเดือนต.ค.เพิม่ ขึน้ 1.5% จากเดือนก.ย. แตะระดับ 3.103 ล้านคน โดย เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 18 ติดต่อกัน ■ สเปน: สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติรายงานยอดค้าปลีกในเดือนต.ค.ปรับตัวลงต่อเนื่อง 9.7% y/y หลังจากร่วงลง 11% ในเดือนก.ย. ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (BOJ) เผยสินทรัพย์ทงั ้ หมดของธนาคารกลางในเดือนก.ย. อยูท่ ร่ี ะดับ 149.92 ล้านล้านเยน เพิม่ ขึน้ 8.9% y/y ทําสถิตสิ งู สุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ ในช่วงเดือนเม.ย-เดือนก.ย. ธนาคารมียอดขาดทุนสุทธิ 2.3294 แสนล้านเยน จากการขาดทุนจาก อัตราแลกเปลีย่ นด้วยเงินเยนทีแ่ ข็งค่า และมูลค่าสินทรัพย์ลดลง ทัง้ นี้หนี้สนิ ทัง้ หมด และสินทรัพย์สทุ ธิของธนาคารในช่วงระยะเวลา 6 เดือน เพิม่ ขึน้ เป็ นปีท่ี 5 ติดต่อกัน เนื่องจากธนาคารได้ซอ้ื พันธบัตรรัฐบาล และสินทรัพย์ทม่ี คี วามเสีย่ งมากขึน้ ■ เกาหลีใต้ : สหพันธ์อุตสาหกรรมเกาหลีใต้ (FKI) เปิดเผยดัชนีความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจ (BSI) เดือนธ.ค. อยูท่ ร่ี ะดับ 82 เป็ นระดับตํ่าสุด ในรอบ 45 เดือน และยังได้ปรับตัวลดลงจากเดือนพ.ย.ทีร่ ะดับ 92.5 จากความวิตกกังวล fiscal cliff วิกฤตการคลังยูโรโซน และปญั หา หนี้สนิ ภาคครัวเรือนภายในประเทศ
Thailand updates :
■ คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ท่ี 2.75% จากปจั จัยอุปสงค์ในประเทศยังเติบโตดี เศรษฐกิจ ดีกว่าทีค่ าด การลงทุนขยายตัวสูง ความเสีย่ งทางเศรษฐกิจลดลง และอัตราเงินเฟ้อตํ่า ■ เงินบาทเปิดตลาดเช้านี้อยูท่ ร่ี ะดับ 30.72/74 บาท/ดอลลาร์ จาก(28 พ.ย.)ทีร่ ะดับ 30.70 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าเล็กน้อยไป ทิศทางเดียวกับค่าเงินในภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์พงุ่ ขึน้ 106.98 จุด หรือ 0.83% ปิดที่ 12,985.11 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 10.99 จุด หรือ 0.79% ปิดที่ 1,409.93 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 23.99 จุด หรือ 0.81% ปิ ดที่ 2,991.78 จุด จากนักลงทุนคลายความวิตกกังวล ปญั หาหน้าผาการคลังของสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิรว่ งลง 114.95 จุด หรือ 1.22% ปิดที่ 9,308.35 จุดได้ แรงกดดันจากสกุลเงินเยนทีแ่ ข็งค่าขึน้ ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตปรับลง 17.64 จุด หรือ 0.89% ปิดที่ 1,973.52 จุด จากหุน้ กลุม่ วัสดุและบริษทั อุตสาหกรรมร่วงลง ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 135.05 จุด หรือ 0.62% ปิดที่ 21,708.98 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,299.94 จุด เพิม่ ขึน้ 2.91 จุด(+0.22%) จากทางกรีซได้รบั เงินช่วยเหลือและกนง.ประกาศคงอัตราดอกเบีย้ ไว้ตามคาดช่วยหนุนให้ Flow ยังอยูใ่ นตลาดฯ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : สหร ัฐเผย GDPไตรมาส 3 ขยายต ัว 2.7 % จากการปร ับเพิม่ สต๊อกสนิ ค้าคงคล ังและการสง่ ออก
Global :
■ สหรัฐ: สหรัฐเผยยอด GDPไตรมาส 3 ขยายตัว 2.7 % เพิม่ ขึน้ จาก 2 % เป็ นการขยายตัวในอัตราทีร่ วดเร็วทีส่ ดุ ในรอบเกือบ 3 ปี จาก การปรับเพิม่ สต๊อกสินค้าคงคลังและการส่งออกทีแ่ ข็งแกร่งขึน้ ได้ชว่ ยชดเชยการใช้จา่ ยผูบ้ ริโภคและการลงทุนทางธุรกิจทีอ่ ่อนแอลง ขณะที่ นักวิเคราะห์คาดการณ์วา่ ไม่น่าจะเป็ นปจั จัยหลักหนุนเศรษฐกิจในระยะต่อไป เนื่องจากตัวเลข GDP ไตรมาส 3/2555 การบริโภค ส่วนบุคคลซึง่ คิดเป็ นสัดส่วน 2 ใน 3 ของเศรษบกิจสหรัฐเพิม่ ขึน้ 1.4% น้อยกว่าประมาณการณ์ท่ี 2 % และน้อยกว่าทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.5 % ใน ไตรมาสก่อน ประกอบกับการลงทุนภาคเอกชนทีไ่ ม่ใช่ทอ่ี ยูอ่ าศัย เช่นโรงงานอุปกรณ์และซอฟแวร์รว่ งลง 2.2% เป็ นการปรับตัวลงมาก ทีส่ ดุ นับแต่ไตรมาสที่ 4/2552 โดยแย่กว่าการขยายตัว 3.6%ในไตรมาสทีแ่ ล้ว ■ เยอรมนี : จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในเยอรมนีเพิม่ ขึน้ 5,000 คนในเดือนพ.ย. จากเดือนต.ค. อยูท่ ร่ี ะดับ 2.94 ล้านคน น้อยกว่า การคาดการณ์ของนักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ท่ี 15,000 คน ส่วนอัตราว่างงานในเดือนพ.ย.ยังทรงที่ 6.9% m/m ■ ญี่ปนุ่ : คณะรัฐมนตรีญป่ี นุ่ ภายใต้การนําของนายกรัฐมนตรีโนดะ ได้อนุมตั มิ าตรการกระตุน้ เศรษฐกิจรอบที่ 2 วงเงิน 8.803 แสนล้าน เยน (1.07 หมืน่ ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ก่อนทีญ ่ ป่ี นุ่ จะจัดการเลือกตัง้ ทัวไปในวั ่ นที่ 16 ธ.ค.นี้ ซึง่ มีการคาดการณ์วา่ พรรคของนายโนดะ จะ พ่ายแพ้การเลือกตัง้ ในครัง้ นี้ : กระทรวงสือ่ สารและกิจการเผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) พืน้ ฐานเดือนต.ค.ยังคงทรงตัวเมือ่ เทียบเป็ นรายปี อยูท่ ่ี 99.8 เมือ่ เทียบกับฐาน 100 ในปี 2543 ■ ออสเตรเลีย : สมาคมอุตสาหกรรมทีอ่ ยูอ่ าศัย (HIA) เผยยอดขายบ้านใหม่ในออสเตรเลีย ขยับขึน้ เล็กน้อย 3.4% ในเดือน ต.ค. หลังจากลดลง 3.7% ในเดือน ก.ย. ทัง้ นี้ ยอดขายอาคารในเดือน ต.ค. สูงขึน้ 31.4% ขณะทีย่ อดขายบ้านเดีย่ วตกลง 2% ในเดือนเดียวกัน ซึง่ เป็ นครัง้ ที่ 5 ทีย่ อดขายลดลงในช่วงเวลา 6 เดือน
Thailand updates : ■ รมช. พาณิชย์ เผยยอดผูป้ ระกอบธุรกิจมายืน่ ขอจดทะเบียนห้างหุน้ ส่วน บริษทั ใหม่รวม 6,114 ราย มีมลู ค่าทุนจดทะเบียนจัดตัง้ ใหม่ 37,917 ล้านบาท จํานวนผูป้ ระกอบการเพิม่ ขึน้ 642 ราย หรือ 11% m/m ขณะทีม่ ลู ค่าทุนจดทะเบียน เพิม่ ขึน้ ถึง 123% m/m แสดงให้ เห็นว่าเศรษฐกิจฟื้นตัวต่อเนื่อง โดยคาดว่าจะส่งผลให้ทงั ้ ปีมยี อดจัดตัง้ รวมสูงกว่า 60,000 ราย สูงสุดในรอบ 111 ปี ตัง้ แต่จดั ตัง้ หอจด ทะเบียน ■ เงินบาทปิดตลาด( 29 พ.ย.) 30.73 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ จากปิดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 30.72/74 บาท/ดอลลาร์ จากแรงเทขายของผู้ ส่งออก
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (29 พ.ย.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 36.71 จุดหรือ 0.28% ปิดที่ 13,021.82 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.02 จุด หรือ 0.43% ปิดที่ 1,415.95 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับตัวขึน้ 20.25 จุด หรือ 0.68% ปิดที่ 3,012.03 จุด จากจํานวนคนว่างงานรายสัปดาห์ท่ี ลดลง และGDP ทีย่ งั คงขยายตัวได้ดใี นไตรมาส 3 ■ ตลาดหุน้ โตเกียว ดัชนีนิกเกอิปรับตัวขึน้ 92.53 จุด หรือ 0.99% ปิดที่ 9,400.88 จุด แรงหนุนจากการอ่อนค่าของสกุลเงินเยน ตลาดหุน้ จีน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตร่วงลง 10.04 จุด หรือ 0.51% ปิ ดที่ 1,963.49 จุด ตลาดหุน้ ฮ่องกง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งทะยาน 213.91 จุด หรือ 0.99% ปิดที่ 21,922.89 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,309.57 จุด เพิม่ ขึน้ 9.63 จุด(+0.74%)จากนักลงทุนคลายกังวลปญั หา Fiscal cliff ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com