Macro Views Feb2013

Page 1

Macro Views February 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 1 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ เกินคาด 38,000 ราย HighLight : จํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานของสหร ัฐเพิม ่ ขึน

Global : ■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 26 ม.ค.เพิม่ ขึน้ 38,000 ราย สูร่ ะดับ 368,000 ราย มากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 350,000 ราย จากสัปดาห์ก่อนหน้าทีร่ ะดับ 330,000 ราย แต่ยงั คงอยูใ่ นระดับตํ่า กว่า 400,000 ราย บ่งชีต้ ลาดแรงงานของสหรัฐยังคงซบเซา : ต้นทุนการจ้างงานในไตรมาส 4/2555 ของสหรัฐ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.5% สอดคล้องกับคาดการณ์ไว้ สะท้อนอัตราเงินเฟ้อจากค่าแรงในสหรัฐ ยังคงอยูใ่ นระดับทีไ่ ม่สงู นัก อาจจะเปิดทางให้ธนาคารลางสหรัฐ (เฟด) เดินหน้าใช้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจต่อไป ■ เยอรมนี : สํานักงานแรงงานของรัฐบาลกลางเยอรมนี เผยจํานวนผูว้ า่ งงานในเดือนม.ค.ลดลง 16,000 คน สูร่ ะดับ 2.92 ล้านคน หลังจาก ลดลง 2,000 คนในเดือนธ.ค. 2555 และอัตราว่างงานในเดือนม.ค.ปรับลงอยูท่ ร่ี ะดับ 6.8% จาก 6.9% ในเดือนธ.ค. 2555 บ่งชีส้ ญ ั ญาณบวก สําหรับตลาดแรงงานและทิศทางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ สอดคล้องกับสถาบันวิจยั GfK เผยความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคเยอรมนีในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยแตะ 5.8 จาก 5.7 ในเดือนม.ค. แม้การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศยังคงอยูใ่ นภาวะซบเซา ■ สเปน : สมาคมธนาคารออมทรัพย์ของสเปนเผยยอดขาดดุลของภาครัฐบาล อยูท่ ่ี 7.3% ของจีดพี ี ในปี 2555 ซึง่ สูงกว่าระดับ 6.3% ทีส่ หภาพยุโรป (อีย)ู กําหนดไว้ ■ จีน : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน (CFLP) เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเดือนม.ค. ลดลงอยูท่ ร่ี ะดับ 50.4 จาก 50.6 ในเดือนธ.ค. 2555 โดยอยูส่ งู กว่าระดับ 50 ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 บ่งชีถ้ งึ การขยายตัวของกิจกรรมภาคการผลิต ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ อัตราว่างงานในเดือนธ.ค.2555 เพิม่ ขึน้ 0.1% สูร่ ะดับ 4.2% จากระดับ 4.1% ในดือนพ.ย. โดยข้อมูลสัดส่วนตําแหน่ง งานทีเ่ ปิ ดรับต่อจํานวนผูห้ างานทําเพิม่ ขึน้ เป็ น 0.82 ในเดือนธ.ค. จาก 0.80 ในเดือนพ.ย. บ่งชีว้ า่ มีตาํ แหน่งงาน 82 ตําแหน่งสําหรับผูห้ างาน ทุกๆ 100 คน โดยนับเป็ นการปรับตัวดีขน้ึ เป็ นครัง้ แรกในรอบ 5 เดือน : กระทรวงกิจการภายในและการสือ่ สารของญี่ปนุ่ เผยรายจ่ายภาคครัวเรือนรายเดือนของญีป่ นุ่ ปรับลดลง 0.7% ในเดือนธ.ค. 2555 สูร่ ะดับ 325,492 เยน บ่งชีร้ ะดับการบริโภคของภาคเอกชนชะลอตัวลง

Thailand updates :

■ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยคาดการณ์ปี 2556 ภาคอุตสาหกรรมจะขยายตัว 4.0% - 5.0% สําหรับปจั จัยเสีย่ งทีจ่ ะมีผล กระทบต่อภาคอุตสาหกรรม คือการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ จากวิกฤติเศรษฐกิจ การแข็งค่าของเงินบาท และค่าแรง 300 บาท โดย ผลจากค่าเงินบาทแข็งค่าขึน้ 1 บาท หรือแข็งค่าขึน้ 3.26% (จากต้นปี เทียบกับวันที่ 2 ม.ค. 2556) ส่งผลให้มลู ค่าการส่งออกสินค้า อุตสาหกรรมทัง้ ปี 2556 ลดลง 197,618 ล้านบาท ■ เงินบาทเปิด (1 ก.พ.) ทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวเล็กน้อยจากช่วงเย็นวานนี้ทร่ี ะดับ 29.81/83 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (31 ม.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 49.84 จุด หรือ 0.36% ปิ ดที่ 13,860.58 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 3.85 จุด หรือ 0.26% ปิดที่ 1,498.11 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 0.18 จุด หรือ 0.01% ปิดที่ 3,142.13 จุด จากนักลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับภาวะผันผวน ในตลาดแรงงานสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 24.71 จุด หรือ 0.22% ปิ ดที่ 11,138.66 จุด จากความคาดหวังทีว่ า่ เศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัว ดัชนีเซีย่ ง ไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 2.95 จุด หรือ 0.12% ปิดที่ 2,385.42 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 92.53 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 23,729.53 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,474.20 จุด ลดลง 16.62 จุด (1.11%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


ประจําว ันที่ 4 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Macroeconomic Policy Bureau

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ แตะ 51.3 และการจ้างงานนอกภาคเกษตรเพิม ้ 157,000 ตําแหน่ง HighLight : ด ัชนี PMI ภาคการผลิตสหร ัฐเพิม่ ขึน ่ ขึน

Global :

■ สหรัฐ : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของสหรัฐเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 51.3 ในเดือน ม.ค. จาก 50.2 ในเดือนธ.ค. 2555 จากแรงหนุ นจากคําสังซื ่ อ้ ใหม่ทเ่ี พิม่ ขึน้ : กระทรวงแรงงานสหรัฐเผยการจ้างงานนอกภาคการเกษตร เพิม่ ขึน้ 157,000 ตําแหน่งในเดือนม.ค. ตํ่ากว่าคาดที่ 160,000 ตําแหน่ง จากการฟื้นตัวอย่างเชื่องช้าของเศรษฐกิจ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 73.8 จากระดับ 71.3 และการคาดการณ์เงินเฟ้อ 1 ปี อ่อนตัวลงมาอยูท่ ่ี 3.3% จาก ระดับ 3.4% ในเดือนม.ค. บ่งชีค้ วามเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐเริม่ ดีขน้ึ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยค่าใช้จา่ ยภาคก่อสร้างเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 0.9% (m-o-m) สูร่ ะดับ 8.84 แสนล้านดอลลาร์ จากการฟื้นฟู พืน้ ทีค่ วามเสียหายจากพายุเฮอริเคนแซนดี้ ส่งผลให้การก่อสร้างในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 9.2% (y-o-y) ■ ยุโรป : มาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของยูโรโซนเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย อยูท่ ่ี 47.9 ในเดือนม.ค. จากระดับ 46.1 ใน เดือนธ.ค. 2555 ทัง้ นี้ดชั นีระดับตํ่ากว่า 50 สะท้อนภาวะการผลิตยังอยูใ่ นภาวะตกตํ่า : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยอัตราเงินเฟ้อ เดือนม.ค. ลดลงอยูท่ ่ี 2% จากระดับ 2.2% ในเดือนธ.ค. 2555 จากราคาพลังงานและบริการขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอตัวลง และอัตราว่างงาน ในยูโรโซนเดือนธ.ค. 2555 ทรงตัวอยูท่ ร่ี ะดับ 11.7% บ่งชีส้ ญ ั ญานบวกต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจของยูโรโซน ■ เยอรมนี :มาร์กติ เผย ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของเยอรมนีในเดือนม.ค.ปรับขึน้ สูร่ ะดับ 49.8 จาก 46.0 ในเดือนธ.ค. 2555 และยังคงตํ่ากว่า 50 บ่งชีภ้ าคการผลิตหดตัวลงจากเดือนก่อนหน้า ■ ญี่ปนุ่ : สมาคมผูค้ า้ ยานยนต์ญป่ี นุ่ เผยยอดขายรถยนต์ใหม่ของญีป่ นุ่ ในเดือนม.ค. ไม่รวมรถยนต์ขนาดเล็ก ปรับลดลง 12.9% (m-o-m) อยูท่ ่ี 229,333 คัน ลดลงติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 5 ■ จีน : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน (CFLP) เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) นอกภาคการผลิตเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 56.2 เพิม่ ขึน้ 0.1% (m-o-m) จากเทศกาลตรุษจีนทีก่ าํ ลังมาถึงทําให้ยอดค้าปลีกขยายตัวขึน้ และเป็ นการขยายตัวติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4

Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ แถลงดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทัวไป ่ (CPI) ในเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 104.44 เพิม่ ขึน้ 3.39% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 0.16% (m-o-m) สูงสุดในรอบ 10 เดือน ตัง้ แต่เดือน มี.ค.2555 แต่ยงั อยูใ่ นกรอบทีก่ ระทรวงพาณิชย์คาดไว้ท่ี 2.8-3.4% ผลมาจากดัชนีราคาสินค้าหมวด อาหารและเครือ่ งดื่มมีการปรับตัวขึน้ ได้แก่ ผัก ผลไม้ อาหารสําเร็จรูป สําหรับดัชนีราคาผูบ้ ริโภคพืน้ ฐาน (Core CPI) อยูท่ ่ี 102.79 เพิม่ ขึน้ 1.59% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 0.08% (m-o-m) ■ เงินบาทปิดตลาด (1 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.78/80 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวใน ทิศทางเดียวกับค่าเงินยูโรและแรงไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศ

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (1 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 149.21 จุด หรือ 1.08% ปิ ดที่ 14,009.07 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 15.06 จุด หรือ 1.01% ปิดที่ 1,513.17 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 36.97 จุด หรือ 1.18% ปิดที่ 3,179.10 จุด จากข้อมูลเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นบวกโดยทัวไป ่ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปิดในแดนบวก โดยดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 52.6 จุด หรือ 0.47% ปิดที่ 11,191.34 จุด สูงสุดในรอบ 33 เดือน แรงหนุนจากการอ่อนค่าของเงินเยน และจากการทีน่ กั ลงทุนคลายความวิตกกังวลเกีย่ วกับเศรษฐกิจโลก ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 33.60 จุด หรือ 1.41% ปิดที่ 2,419.02 จุด หลังจากทีม่ กี ารเปิ ดเผยข้อมูลการผลิตของจีนทีข่ ยายตัวขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 7.69 จุด หรือ 0.03% ปิดที่ 23,721.84 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,499.22 จุด เพิม่ ขึน้ 25.02 จุด (1.70%) ตามทิศทางตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 4 ประจําว ันที่ 4 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 2/2

มุมมองมหภาค

อังกฤษกับการตัดสินใจว่ าจะอยู่หรื อไปจากอียู.... กลายเป็ นหนึ่งในประเด็นร้อนแรงทีส่ ดุ ในการประชุมประจําปี ของ “เวิลด์ อีคอนอมิค ฟอรัม” ่ หรือสภาเศรษฐกิจโลก ทีเ่ มืองดาวอส ของสวิตเซอร์แลนด์ทนั ที เมือ่ นายกรัฐมนตรีเดวิด คาเมรอน ผูน้ ําอังกฤษ ประกาศยืนยันเจตนารมณ์ที่จะจัดให้มีการลงประชามติ เพื่อให้ ชาวอังกฤษตัดสิ นใจว่า ยังต้องการจะเป็ นสมาชิ กสหภาพยุโรป (อีย)ู ต่อหรือไม่ ภายใน ปี 2017 ซึง่ คาเมรอนยืนยันว่า การตัดสินใจครัง้ สําคัญนี้ ไม่ใช่เป็ นความต้องการที่ จะแตกแยกกับอียู แต่เป็ นการกระตุน้ และเปิดโอกาสด้านการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศในภูมภิ าค ใจความสําคัญคือนายกฯ คาเมรอนต้องการปรับความสัมพันธ์กบั อียใู หม่ ทางเลือกแรกคืออังกฤษเป็ นสมาชิ กอียตู ่อไปและเสนอวิ สยั ทัศน์ ใหม่สาํ หรับอียู ทางเลือกที่สองคือถ้าคืออังกฤษตกลงกับอียไู ม่ได้ อังกฤษจะถอนตัวออกจากการเป็ น สมาชิ กอียู ถ้าผลประชามติออกมาเช่นนัน้ โดยการลงมติจะยังไม่กระทําในเวลานี้ เนื่องจากยุโรปยังอยูใ่ นช่วงของการเปลีย่ นแปลง และมีสถานการณ์ความไม่แน่นอนหลายๆ อย่างเกิดขึน้ อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์มองว่าเหตุผลทีแ่ ท้จริงน่าจะเป็ นเรือ่ งทางการเมือง โดยการหวังคะแนนนิยมจากประชาชนก่อนทีจ่ ะมีการเลือกตัง้ ในปี 2015 ในกรณีเลือกการคงสภาพสมาชิ กสหภาพยุโรป คาเมรอนเสนอวิสยั ทัศน์ใหม่สาํ หรับการปรับเปลีย่ นอียหู ากเขาได้รบั การเลือกตัง้ อีก ครัง้ ในปี 2015 ได้แก่ 1) ส่งเสริมให้เกิดความสามารถทางการแข่งขันบนพืน้ ฐานของตลาดเดียว 2) อียคู วรมีความยืดหยุน่ มากกว่านี้เพือ่ รองรับ ความหลากหลายของประเทศสมาชิกและระดับเศรษฐกิจทีม่ คี วามแตกต่างกัน พร้อมทัง้ ควรเร่งให้มกี ระบวนการตัดสินใจทีร่ วดเร็ว 3) อํานาจในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ ควรเป็ นของประเทศสมาชิก 4) การเมืองควรมีบทบาทและความรับผิดชอบมากขึน้ และ5) ด้านความเป็ น ธรรม ทุกๆ ข้อตกลงใหม่ภายใต้ EMU จะต้องเป็ นประโยชน์ต่อประเทศสมาชิกและผูท้ ไ่ี ม่ได้เป็ นสมาชิก อย่างไรก็ตามคาเมรอนได้สง่ จดหมายเปิดผนึกถึงผูร้ ว่ มลงนามทัง้ 11 ประเทศเพือ่ นําเสนอโปรแกรมการปรับเปลีย่ นอียู ผลสํารวจความคิดเห็นชาวอังกฤษโดยหนังสือพิมพ์ แต่ยงั คงไม่มที า่ ทีตอบรับจากประเทศสมาชิก “เดอะ ไทม์ส” เผยแพร่เมือ่ วันที ่ 24 ม.ค. จากกลุ่ม ในกรณีเลือกออกจากสมาชิ กสหภาพยุโรป อาจเกิดผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจทัง้ อียแู ละอังกฤษ โดยในส่วนผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจอังกฤษอาจทําให้ สัดส่วนการค้าและบริการกับอียลู ดลง ซึง่ ในปจั จุบนั สินค้าและบริการกว่าร้อยละ 50 ส่งออกไปยังประเทศในกลุม่ อียู และในด้านสหภาพยุโรปเองก็ได้รบั ผลกระทบเช่นกัน เนื่องจากอังกฤษถือเป็ นประเทศทีใ่ ห้เงินสนับสนุนอียเู ป็ นลําดับทีส่ ามรองจากเยอรมนี และฝรังเศส ่ และการออกจากสมาชิกอียขู องอังกฤษจะทําบันทอนอํ ่ านาจการต่อรองในเวที การค้าโลก

ตัวอย่าง 2,000 คน ระบุวา่ ชาวอังกฤษกว่า 40% ต้องการ ออกจากการเป็ นสมาชิกอียู และอีก 37% ต้องการให้คง สถานภาพไว้ และ 23% ไม่มคี วามเห็นในเรืองนี ่ ้ แต่หาก ตัดจํานวนผูท้ ยี ่ งั ไม่ตดั สินใจออกไป และคํานวณสัดส่วน เฉพาะจากผูท้ ตี ่ อบใช่หรือไม่ ความต้องการให้ถอนตัว จากอียขู องชาวอังกฤษจะอยูท่ ี ่ 53-47%1

อย่างไรก็ตาม ความพยายามทีจ่ ะออกจากอียนู อกจากเหตุผลทางการเมืองแล้ว น่าจะมาจากความล่าช้าในกระบวนการตัดสินใจของอียู ซึง่ เกิดจากปญั หาทางด้านโครงสร้าง เรายังคงเชื่อว่าสหภาพยุโรปถือว่าเป็ นแหล่งสําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิ จของสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่ งด้านการค้า การออกจากสหภาพยุโรปจะเป็ นการจํากัดการเข้าถึงตลาดขนาดใหญ่ ซึ่งยังคงเป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับ การพัฒนาเศรษฐกิ จในสหราชอาณาจักร ท่ามกลางความเสีย่ งจากการตอบรับจากประเทศสมาชิก และแม้วา่ จะเหลือเวลาอีกเกือบ 5 ปี กว่า จะมีการลงประชามติ แต่เหตุการณ์หลายครัง้ ในอดีตแสดงให้เห็นแล้วว่าการเจรจาเพือ่ เปลีย่ นแปลงกฎทีก่ ระทบผูค้ นจํานวนมากมักเต็มไปด้วย อุปสรรคและดําเนินไปอย่างล่าช้า ถ้าภายในปี 2017 การเจรจาเพือ่ ปรับปรุงสนธิสญ ั ญายังไม่เสร็จสิน้ และคาเมรอนตัดสินใจเดินหน้าทํา ประชามติ คนอังกฤษอาจเลือกหันหลังให้อยี ซู ง่ึ จะสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจมหาศาล ซึง่ ยังคงเป็ นสถานการณ์เสีย่ งทีต่ อ้ งจับตาต่อไป... 1

หนังสือพิ มพ์เดลิ นิวส์ ฉบับวันศุกร์ที ่ 25 มกราคม 2556

Natisix \31 Jan 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 5 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ื ภาคโรงงานสหร ัฐเพิม ้ 1.8% น้อยเกินคาดในเดือนธ.ค. HighLight : ยอดสง่ ั ซอ ่ ขึน

Global : ■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดสังซื ่ อ้ ภาคโรงงานในเดือนธ.ค. เพิม่ ขึน้ 1.8% (m-o-m) ตํ่ากว่าทีค่ าดการณ์ไว้วา่ จะเพิม่ ขึน้ 2.2% (m-o-m) เป็ นผลมาจากยอดสังซื ่ อ้ สินค้าไม่คงทนทีล่ ดลง 0.3% (m-o-m) โดยเฉพาะปิโตรเลียมและยาสูบ ■ ยุโรป : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ของยูโรโซนในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 2.1% (y-o-y) และลดลง 0.2% (m-o-m) ในขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อผูบ้ ริโภครายปี ใน 17 ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงิยยูโรอยูท่ ่ี 2.0% ในเดือนม.ค. ซึง่ ใกล้เคียงกับเป้าหมายทีธ่ นาคาร กลางยุโรป (อีซบี )ี กําหนดไว้ทไ่ี ม่เกิน 2% ■ สเปน : กระทรวงแรงงานสเปน เผยจํานวนว่างงานเพิม่ ขึน้ 132,055 ราย อยูท่ ่ี 4.98 ล้านราย ในเดือนม.ค. 2556 และอัตราว่างงานอยูท่ ่ี 26% ในไตรมาส 4 ปี 2555 เพิม่ ขึน้ 1% (q-o-q) บ่งชีเ้ ศรษฐกิจของประเทศยังคงอยูใ่ นภาวะถดถอย โดยเฉพาะในภาคอสังหาริมทรัพย์ ■ จีน : คณะกรรมการปฏิรปู และพัฒนาแห่งชาติของจีน เผยจีนจะคลายความกดดันจากภาวะอุปทานนํ้ามันขาดแคลนในปี 2556 ด้วยการ ขยายและเพิม่ ประสิทธิภาพโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์น้ํามัน โดยการบริโภคผลิตภัณฑ์น้ํามันของจีนมีจาํ นวนทัง้ สิน้ 276.64 ล้านตันในปี 2555 เพิม่ ขึน้ 5.2% (y-o-y) ในขณะทีใ่ นช่วง 4 เดือนสุดท้ายของปี 2555 ปริมาณนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑ์น้ํามันของจีนมีอตั ราการขยายตัวเพียง 7-9% เมือ่ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติออสเตรเลีย (ABS) เผยตัวเลขการอนุญาตก่อสร้างบ้านในออสเตรเลียในเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 4.4% อยูท่ ่ี 12,767 หลัง หลังจากเพิม่ ขึน้ 3.4% ในเดือนพ.ย. สวนทางกับนักวิเคราะห์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 1% และคาดว่าอาจมีการปรับลด อัตราดอกเบีย้ ในอีก 2-3 เดือนข้างหน้า ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) เผยฐานเงิน (monetary base) หรือปริมาณธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ทห่ี มุนเวียนอยูใ่ นมือประชาชน และธนาคารพาณิชย์ รวมทัง้ เงินฝากทีส่ ถาบันการเงินสํารองไว้กบั ธนาคารกลางประจําเดือนม.ค. ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 10.9% (y-o-y) อยูท่ ร่ี ะดับ 131.920 ล้านล้านเยน ผจากการทีบ่ โี อเจผ่อนคลายนโยบายการเงิน

Thailand updates : ■ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประ เทศไทย (ส.อ.ท.) เผยหลังการประชุมคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ว่า ทีป่ ระชุมได้ หารือมาตรการบรรเทาผลกระทบจากการแข็งค่าของเงิน บาท ทัง้ 8 มาตรการ โดย 2 มาตรการสําคัญ คือ การดูแลค่าเงินบาทไม่ให้มคี วาม ผันผวนเร็วเกินไป และแข็งค่ากว่าประเทศคูแ่ ข่ง และพิจารณาแนวทางการป้องกันเงินทุนไหลเข้าทีเ่ หมาะสม โดยแยกบัญชีระหว่างเงินทุนที่ จะเข้ามาเก็งกําไรและการลงทุนทีม่ คี วามเหมาะสม รวมทัง้ ต้องการเห็นภาครัฐแนะนําผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี เรือ่ งการใช้เครือ่ งมือป้องกัน ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น ■ เงินบาทปิดตลาด (5 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.74/76 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวจากปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.75/77 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (4 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 129.71 จุด หรือ 0.93% ปิ ดที่ 13,880.08 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 17.46 จุด หรือ 1.15% ปิดที่ 1,495.71 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 47.93 จุด หรือ 1.51% ปิ ดที่ 3, 131.17 จุด จากนักลงทุนเข้าเทขายทํากําไร ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 69.01 จุด หรือ 0.62% ปิดที่ 11,260.35 จุด สูงสุดในรอบ 34 เดือน จากข้อมูลเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่ง ของสหรัฐ ทําให้นกั ลงทุนมีมมุมองทีเ่ ป็ นบวกเกีย่ วกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทัวโลก ่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 9.13 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 2,428.15 จุด หลังจากทีม่ กี ารเปิดเผยข้อมูลการผลิตของจีนทีข่ ยายตัวขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 36.83 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 23,685.01 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,506.37 จุด เพิม่ ขึน้ 7.15 จุด (0.48%) สูงสุดในรอบ 18 ปี จากปจั จัยหนุ นจากเงินทุนไหลเข้า ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 6 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ร ัฐบาลกลางสหร ัฐเตรียมกูย ้ ม ื 4.34 แสนล้านดอลล์ในครึง่ แรกปี 2556

Global : ■ สหรัฐ : กระทรวงการคลังสหรัฐ เผยรัฐบาลกลางจะกูย้ มื เงิน 4.34 แสนล้านดอลลาร์ในช่วงครึง่ แรกของปี น้ี จากยอดขาดดุลงบประมาณสูง กว่าระดับ 1.1 ล้านล้านดอลลาร์ในปีงบประมาณ 2555 ขาดดุลเกิน 1 ล้านล้านดอลลาร์ ติดต่อกันเป็ นปี ท่ี 4 และคาดว่ายอดขาดดุลจะเพิม่ ขึน้ ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2556 จากความเสีย่ งของภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าครัง้ ใหม่ในยุโรป และความไม่แน่นอนในสถานการณ์การคลังของสหรัฐ ■ ยุโรป : ผลสํารวจของมาร์กติ เผย ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของยูโรโซนในเดือนม.ค.ปรับขึน้ อยูท่ ่ี 48.6 จาก 47.2 ในเดือนธ.ค.2555 แม้ดชั นี PMI ภาคบริการของยูโรโซนขยับขึน้ แต่กย็ งั อยูใ่ นภาวะหดตัว ผลมาจากการทีป่ ระเทศรายใหญ่ๆ ในภูมภิ าค ยกเว้นเยอรมนี มีสถานการณ์ในภาคบริการเดือนม.ค.ยังไม่ดนี กั ■ เยอรมนี : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของเยอรมนีในเดือนม.ค.ปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับ 54.4 จาก 50.3 ในเดือนธ.ค.2555 หนุนโดยดัชนี PMI ภาคบริการเพิม่ ขึน้ สูงสุดนับตัง้ แต่กลางปี 2554 ■ ฝรังเศส ่ : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI ภาคบริการของฝรังเศสในเดื ่ อนม.ค. ลดลงสูร่ ะดับ 43.6 จาก 45.2 ในเดือนธ.ค. 2555 บ่งชี้ ว่าสถานการณ์ในภาคบริการปรับตัวยํ่าแย่ลง ■ อิ ตาลี : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI ภาคบริการของอิตาลีในเดือนม.ค.ลดลอยูท่ ่ี 43.9 จาก 45.6 ในเดือนธ.ค. 2555 โดยลดลง ติดต่อกันมาเกือบ 1 ปี บ่งชีว้ า่ สถานการณ์ภาคบริการอิตาลียงั คงยํ่าแย่ รวมทัง้ สถานการณ์ทางการเมืองทีไ่ ม่แน่นอน ■ สเปน : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI ภาคบริการของสเปนในเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 47.0 จาก 44.3 ในเดือนธ.ค. 2555 แต่ดชั นี ยังคงปรับตัวลงตํ่ากว่าระดับ 50 ต่อเนื่องในช่วงกว่า 1 ปีครึง่ ทีผ่ า่ นมา บ่งชีว้ า่ กิจกรรมภาคบริการของสเปนยังอยูใ่ นภาวะหดตัว ■ จีน : เอชเอสบีซี โฮลดิง้ เผยดัชนี PMI ภาคบริการของจีนในเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 54.0 เมือ่ เทียบกับเดือนธ.ค. 2555 ทีร่ ะดับ 51.7 บ่งชี้ ว่าภาคบริการของจีนเริม่ มีการขยายตัว สะท้อนให้เห็นถึงสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีน

Thailand updates : ■ สํานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า เผยรายงานดัชนีคาดการณ์ภาวะธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2556 จากการสอบถามนักธุรกิจใน 76 จังหวัด จํานวน 1,770 ราย คาดว่าดีขน้ึ ร้อยละ 42.9 ไม่เปลีย่ นแปลงร้อยละ 41.9 และไม่ดี ร้อยละ 15.2 คิดเป็ นค่าดัชนีเท่ากับ 63.9 ซึง่ มีคา่ สูงกว่าเส้น 50 แสดงให้เห็นถึง การคาดการณ์ของผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าเศรษฐกิจไตรมาสหน้า ยังมีทศิ ทางบวก แต่มคี วามกังวลต่อต้นทุนการผลิตที่ สูงขึน้ โดยเฉพาะผลกระทบจากการปรับขึน้ ค่าแรงขัน้ ตํ่า เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2556 และภาวะเศรษฐกิจโลกทีย่ งั เปราะบาง ■ เงินบาทปิดตลาด (5 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.72/74 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวในระดับทีแ่ ข็งค่าจากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.74/76 บาท/ดอลลาร์ ผล จากยูโรโซนประกาศดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการในเดือนม.ค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (5 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 99.22 จุด หรือ 0.71% ปิดที่ 13,979.30 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 15.58 จุด หรือ 1.04% ปิดที่ 1,511.29 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 40.41 จุด หรือ 1.29% ปิดที่ 3,171.58 จุด จากดัชนี PMI ภาคบริการและภาคการ ผลิตในยูโรโซนทีเ่ ริม่ ส่งสัญญาณการฟื้นตัว ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ลดลง 213.43 จุด หรือ 1.90% ปิ ดที่ 11,046.92 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 4.98 จุด หรือ 0.21% ปิดที่ 2,433.13 จุด จากหุน้ กลุม่ อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรมเพิม่ สูงขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 536.48 จุด หรือ 2.27% ปิดที่ 23,148.53 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,505.72 จุด ลดลง 0.65 จุด (0.04%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 7 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : คาดการณ์ยอดขาดดุลงบประมาณของสหร ัฐในปี งบประมาณ 2556 ลดลงอยูท ่ ี่ 5.3%

Global : ■ สหรัฐ : สํานักงบประมาณของสภาคองเกรส (CBO) คาดยอดขาดดุลงบประมาณของสหรัฐในปี งบประมาณ 2556 ซึง่ สิน้ สุดในเดือนก.ย. ลดลงอยูท่ ่ี 5.3% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดพี )ี หรือ 8.45 แสนล้านดอลลาร์ จากระดับ 7% ในปี งบประมาณ 2555 เป็ นการลดลง ตํ่ากว่า 1 ล้านล้านดอลลาร์เป็ นครัง้ แรกในรอบ 5 ปี โดยคาดเศรษฐกิจสหรัฐจะขยายตัว 1.4% ในปีงบประมาณ 2556 และ3.4% ใน ปีงบประมาณ 2557 ■ ยุโรป : เยอรมนีปฏิเสธข้อเรียกร้องของฝรังเศส ่ ทีต่ อ้ งการให้ยโู รโซนกําหนดนโยบายอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ พร้อมกับระบุ ว่าตลาดควรเป็ นผูก้ าํ หนดอัตราแลกเปลีย่ น และการทีย่ โู รแข็งค่าในระยะหลังเป็ นสัญญาณบ่งชีว้ า่ นักลงทุนเริม่ เชื่อมันในเงิ ่ นยูโรอีกครัง้ หลังจากทีเ่ งินยูโรอ่อนตัวลงเพราะวิกฤตหนี้ ■ กรีซ : สถาบันวิจยั เศรษฐกิจของออสเตรีย (WIFO) คาดผลผลิตทางเศรษฐกิจของกรีซในปี 2556 จะลดลง 23% จากระดับสูงทีท่ าํ ไว้เมือ่ ปี 2551 และอัตราว่างงานในกรีซได้เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 19.7% และคาดเพิม่ ขึน้ ตลอดปี 2556 โดยชีว้ า่ กรีซอาจไม่สามารถแก้ไขปญั หาได้ หาก ปราศจากการปรับเปลีย่ นเชิงกลยุทธ์และความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆ ในยุโรป ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิตอิ อสเตรเลีย (ABS) เผยยอดค้าปลีกออสเตรเลียลดลง 0.2% ในเดือนธ.ค. 2555 อยูท่ ่ี 2.142 หมืน่ ล้าน ดอลลาร์ออสเตรเลีย สวนทางกับคาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ 0.3% บ่งชีว้ า่ ผูบ้ ริโภคใช้จา่ ยอย่างระมัดระวังในช่วงปลายปี 2555 ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป ่ นุ่ เผย คําสังซื ่ อ้ เครือ่ งจักรพืน้ ฐานของภาคเอกชนญีป่ นุ่ ในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 2.8% (m-o-m) สูร่ ะดับ 7.529 แสนล้าน เยน เพิม่ ขึน้ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 3 บ่งชีก้ ารใช้จา่ ยด้านทุนในอนาคตของบริษทั ต่างๆ ปรับตัวดีขน้ึ ■ อิ นโดนี เซีย : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติอนิ โดนีเซียเผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ในปี 2555 ขยายตัว 6.23% จากการ ส่งออกลดลง 6.61% เนื่องจากเศรษฐกิจโลกซบเซา และคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจในปี 2556 จะขยายตัว 6.8%

Thailand updates : ■ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงการคลัง เผยผลการหารือกับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (เอสเอ็มอี แบงก์) มีขอ้ สรุปยืนยันไม่ควบรวมกับธนาคารออมสิน โดยมีการเร่งสรุปแผนฟื้นฟูธนาคารระยะเวลา 3 ปี ซึง่ เบือ้ งต้นจะขอให้ภาครัฐเพิม่ ทุน 3,000-6,000 ล้านบาท เพื่อลดหนี้เสียจาก 39,000 ล้านบาท หรือคิดเป็ น 40% ของสินเชื่อรวม 1 แสนล้านบาท ให้เหลือ 28,000 ล้านบาท ใน ปี 2556 หรือคิดเป็ น 30% และลดเหลือ 23,000 ล้านบาท ในปี 2557 และเหลือ 17,000 ล้านบาท ในปี 2558 พร้อมทัง้ จะเร่งขยายสินเชื่อของ ธนาคารให้เพิม่ ขึน้ 5 % จากในขณะนี้อยูใ่ นระดับที่ 9 หมืน่ ล้านบาท ■ เงินบาทปิดตลาด (6 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.77/79 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.75/77 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (6 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 7.22 จุด หรือ 0.05% ปิ ดที่ 13,986.52 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.83 จุด หรือ 0.05% ปิดที่ 1,512.12 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 3.10 จุด หรือ 0.10% ปิดที่ 3,168.48 จุด จากผลประกอบการภาคเอกชนดีขน้ึ แต่ยงั มี ความกังวลเกีย่ วกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในยุโรป ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 416.83 จุด หรือ 3.77% ปิ ดที่ 11,463.75 จุด แตะระดับสูงสุดนับแต่เดือนก.ย. 2551 จากค่าเงินเยน อ่อนลงมากเมือ่ เทียบดอลลาร์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 1.35 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 2,434.48 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 108.40 จุด หรือ 0.47% ปิดที่ 23,256.93 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,500.35 จุด ลดลง 5.37จุด (-0.36%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 8 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ิ ธิภาพการผลิตนอกภาคเกษตรของสหร ัฐลดลง 2% ในไตรมาส 4/2555 และผู ้ HighLight : ประสท ขอร ับสว ัสดิการการว่างงานลดลง

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยประสิทธิภาพการผลิตนอกภาคเกษตรของสหรัฐในช่วงไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 2.0% มากกว่าคาดที่ จะลดลง 1.6% เมือ่ เทียบรายปี ขณะทีส่ ว่ นต้นทุนแรงงานต่อหน่วย เพิม่ ขึน้ 4.5% มากกว่าคาดที่ 3.2% ในช่วงเดือนต.ค.-ธ.ค. สะท้อนสัดส่วน ของค่าตอบแทนรายชัวโมงต่ ่ อประสิทธิภาพการผลิตของแรงงงานลดลง อาจนําไปสูก่ ารเพิม่ ขึน้ ของการจ้างงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐ : รายงานผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ลดลง 5,000 ราย เหลือ 366,000 ราย แม้ใกล้จุดตํ่าสุดในรอบ 5 ปี แต่ยงั สูงวกว่าคาดทีจ่ ะลดลง อยูท่ ่ี 360,000 ราย ■ ยุโรป: ธนาคารกลางของยุโรป (ECB) ประกาศคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายทีร่ อ้ ยละ 0.75% ต่อปี อยูใ่ นระดับตํ่าเป็ นประวัตกิ ารณ์ต่อเนื่อง ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 7 ทัง้ นี้ ECB ยังไม่มปี ระกาศใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินเพิม่ เติมแต่อย่างใด ■ เยอรมนี : กระทรวงเศรษฐกิจเยอรมนี เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 0.3% (m-o-m) หลังจากลดลง 0.2% ใน เดือนพ.ย. ส่งสัญญาณกิจกรรมการผลิตในภาคอุตสาหกรรมจะมีแนวโน้มฟื้นตัวในช่วงหลายเดือนข้างหน้า ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานศุลกากรฝรังเศส ่ เผยยอดขาดดุลการค้าเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 5.3 พันล้านยูโรในเดือนธ.ค. 2555 จาก 4.3 พันล้านยูโรในเดือน พ.ย. จากการนําเข้าปรับตัวขึน้ อยูท่ ่ี 4.31 หมืน่ ล้านยูโร ในขณะทีก่ ารส่งออกปรับขึน้ เพียง 3.77 หมืน่ ล้านยูโร รวมทัง้ ปี 2555 ขาดดุลการค้า ลดลงอยูท่ ่ี 6.7 หมืน่ ล้านยูโร จาก 7.4 หมืน่ ล้านยูโรในปี 2554 ผลมาจากการส่งออกทีเ่ พิม่ ขึน้ 3.2% ขณะทีก่ ารนําเข้าขยับขึน้ เพียง 1.3% ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังญีป ่ นุ่ เผยทุนสํารองเงินตราต่างประเทศของญีป่ นุ่ ณ สิน้ เดือนม.ค. ลดลง 826 ล้านดอลลาร์จากเดือนธ.ค. 2555 สู่ ระดับ 1.2673 ล้านล้านดอลลาร์ โดยลดลงติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 จากการซือ้ ตราสารหนี้ในวงเงิน 400 ล้านยูโรทีอ่ อกโดยกองทุนกลไกรักษา เสถียรภาพยุโรป (ESM) เพือ่ จัดสรรเงินให้แก่รฐั บาลประเทศสมาชิกทีก่ าํ ลังประสบปญั หาทางการเงิน

Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เผยผลการดําเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ในปี 2555 มีเสถียรภาพ สินเชื่อขยายตัวได้ดที ่ี 13.7% จากการทีเ่ ศรษฐกิจไทยฟื้นตัวตามแรงส่งจากอุปสงค์ภายในประเทศหลังภาวะนํ้าท่วม และมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐ ทําให้สภาพ คล่องตึงตัวขึน้ ตามการขยายตัวของสินเชื่อ โดยสินเชื่อธุรกิจ (สัดส่วนร้อยละ 69.8 ของสินเชื่อรวม) ขยายตัวชะลอลง อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 10.6 ยกเว้น ภาคธุรกิจการเงินและธุรกิจก่อสร้างทีย่ งั ขยายตัวได้เพิม่ ขึน้ จากการให้สนิ เชื่อแก่ธุรกิจเพือ่ การลงทุน เพือ่ ใช้ขยายธุรกิจในต่างประเทศ ธุรกิจเช่า ซือ้ รถยนต์ การซ่อมสร้างหลังอุทกภัยและโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ของรัฐ ■ เงินบาทเปิดตลาด (8 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.80/82 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.76/78 บาท/ดอลลาร์ หลังทีป่ ระชุมธนาคาร กลางยุโรป (ECB) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ที่ 0.75% ต่อปี

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (6 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 42.47 จุด หรือ 0.30% ปิ ดที่ 13,944.05 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 2.73 จุด หรือ 0.18% ปิดที่ 1,509.39 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 3.35 จุด หรือ 0.11% ปิดที่ 3,165.13 จุด จากผลประกอบการภาคเอกชนแย่ลง และแนวโน้ม วิกฤตเศรษฐกิจในยูโรโซนอาจจะเกิดขึน้ อีกครัง้ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ลดลง 106.68 จุด หรือ 0.93% ปิดที่ 11,357.07 จุด จากแรงเทขายทํากําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 15.95 จุด หรือ 0.66% ปิ ดที่ 2,418.53 จุด จากความกังวลเกีย่ วกับการควบคุมภาคอสังหาริมทรัพย์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 79.93 จุด หรือ 0.34% ปิดที่ 23,177.00 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,499.81 จุด ลดลง 0.54 จุด (-0.04%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


ประจําว ันที่ 11 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Macroeconomic Policy Bureau

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ิ ค้าลดลง 0.1% HighLight : ยอดขาดดุลการค้าสหร ัฐเดือนธ.ค. ลดเกินคาด 20.7% และสต็อกสน

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดขาดดุลการค้าเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 20.7% อยูท่ ่ี 3.85 หมืน่ ล้านดอลลาร์ เกินคาดทีร่ ะดับ 4.55 หมืน่ ล้านดอลลาร์ จากยอดนําเข้าปิโตรเลียมลดลงตํ่าสุดในรอบกว่า 10 ปี และยอดขาดดุลการค้าตลอดทัง้ ปี 2555 ลดลง 3.5% มาอยูท่ ร่ี ะดับ 5.40 แสนล้านดอลลาร์ จากระดับ 5.59 แสนล้านดอลลาร์ในปี 2554 : สต็อกสินค้าของกลุม่ ผูค้ า้ ส่งในเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 0.1%(m-o-m) อยู่ ที่ 4.97 แสนล้านดอลลาร์ สวนทางกับคาดว่าจะเพิม่ 0.5% ■ ยุโรป : ประธานสภายุโรป บรรลุขอ้ ตกลงร่างงบประมาณปี 2557-2563 กําหนดให้มกี ารจํากัดรายจ่ายที่ 9.59 แสนล้านยูโร (1.3 ล้านล้าน ดอลลาร์) ลดลงจากข้อเสนอเดิมที่ 1.04 ล้านล้านยูโร และน้อยกว่าวงเงิน 9.94 แสนล้านยูโรในงบประมาณฉบับปจั จุบนั อยู่ 3% ซึง่ หากร่าง งบประมาณนี้ได้รบั อนุมตั จิ ากรัฐสภายุโรป จะถือเป็ นการลดรายจ่ายลงเป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่เริม่ มีการจัดตัง้ กลุม่ อีย ู ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี เผยการส่งออกในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 0.3% (m-o-m) และลดลง 6.9% (y-o-y) ขณะที่ การนําเข้าในเดือนธ.ค.ลดลง 1.3% (m-o-m) และลดลง 7.3% (y-o-y) ส่งผลให้ปี 2555 มูลค่าการส่งออกขยายตัว 3.4% อยูท่ ่ี 1.097 ล้านล้าน ยูโร ขณะทีก่ ารนําเข้าเพิม่ ขึน้ 0.7% สูร่ ะดับ 9.092 แสนล้านยูโร สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี (NBS) เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนม.ค.ลดลง 1.6% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 0.2% (m-o-m) ขณะทีด่ ชั นี ราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนม.ค.ขยายตัว 2.0% (y-o-y) และปรับขึน้ 1.0% (m-o-m) ชะลอลงหลังจากขยายตัว 2.5% ในเดือนธ.ค. บ่งชีก้ าร เศรษฐกิจจีนเริม่ ขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพ : ธนาคารกลางจีน เผยยอดปล่อยกูส้ กุลเงินหยวนในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 1.07 ล้านล้านหยวน และยอดเงินกูใ้ หม่สกุลเงินต่างประเทศของ จีน อยูท่ ร่ี ะดับ 1.793 แสนล้านหยวน ซึง่ เพิม่ ขึน้ 1.941 แสนล้านหยวนต่อปี บ่งชีร้ ะดับเงินทุนหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพทีอ่ ่อนไหวต่อภาวะเศรษฐกิจญีป่ นุ่ ปรับตัวดีขน้ึ ในเดือนม.ค. สู่ ระดับ 49.5 จากระดับ 45.8 ในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ ติดกันเป็ นเดือนที่ 3 บ่งชีม้ มุ มองเชิงบวกต่อแนวโน้มเศรษฐกิจ

Thailand updates : ■ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) มีมติให้ตรึงราคาก๊าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) สําหรับภาคครัวเรือนในระดับ 18.13 บาท/กก. ต่อ สิน้ สุดเดือน มี.ค. 2556 จากเดิมทีค่ รบกําหนดสิน้ เดือน ธ.ค.55 ปจั จุบนั ไทยแยกราคา LPG เป็ น 3 ตลาด โดยมีราคา LPG ภาค ครัวเรือน และภาคขนส่ง อยูท่ ่ี 21.38 บาท/กก. ปจั จุบนั ทัง้ สองกลุม่ ยังตรึงราคาอยู่ ขณะที่ LPG ภาคอุตสาหกรรม อยูท่ ่ี 30.13 บาท/กก. ■ เงินบาทปิดตลาด (8 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.78/80 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าจากเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.80/82 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (8 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 48.92 จุด หรือ 0.35% ปิ ดที่ 13,992.97 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 8.54 จุด หรือ 0.57% ปิดที่ 1,517.93 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 28.74 จุด หรือ 0.91% ปิดที่ 3,193.87 จุด เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 12 ปี จากข้อมูล การค้าทีเ่ ป็ นบวกจากบรรดาประเทศเศรษฐกิจชัน้ นําของโลก ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ลดลง 203.91 จุด หรือ 0.57% ปิดที่ 2,432.40 จุด จากการแข็งค่าของเงินเยนเมือ่ เทียบกับสกุลเงินหลักๆ ขณะทีน่ กั ลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจยูโรโซน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 13.87 จุด หรือ 0.57% ปิดที่ 2,432.40 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 38.16 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 23,215.16 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,497.30 จุด ลดลง 2.51 จุด (-0.17%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 5 ประจําว ันที่ 11 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 2/2

มุมมองมหภาค

ไขกุญแจสู่ความท้ าทายสําคัญ...สําหรั บรั ฐบาลใหม่ อติ าลี การเลือกตัง้ ของอิตาลีทจ่ี ะมาถึงในช่วงวันที่ 24-25 กุมภาพันธ์น้ี กลายเป็ นครัง้ ทีส่ าํ คัญ ทีส่ ดุ หลังการเข้ามาบริหารประเทศอย่างฉุกเฉินของกลุม่ นักวิชาการ นําโดยนายมาริโอ มอนติ ความหวาดวิตกเกีย่ วกับการคลีค่ ลายสถานการณ์ทางเศรษฐกิจได้ลดลง แต่ทว่า เศรษฐกิจก็ยงั คงตกตํ่าอยู่ และท่ามกลางปญั หาต่างๆ มากมาย แต่ความท้าท้ายที่สาํ คัญ ที่สดุ สําหรับรัฐบาลใหม่อิตาลี ได้แก่ การฟื้ นฟูความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพการผลิ ตให้กลับมาอยู่ในระดับสูงอีกครัง้ และ ความพยายามในการลด ต้นทุนทางการเงิ นเพื่อฟื้ นฟูเศรษฐกิ จ ในบรรดาประเทศยูโรโซน อิตาลีประสบปญั หาต่างๆ มากมาย ทัง้ ประสิทธิภาพของภาครัฐทีต่ กตํ่า นําไปสูค่ วามถดถอยทางเศรษฐกิจ ชัดเจน การขาดดุลงบประมาณในระดับสูง ปญั หาการว่างงาน การขาดแคลนทรัพยากรพลังงานในประเทศ โครงสร้างทางด้านภาษี และระดับ การพัฒนาทีแ่ ตกต่างกันอย่างมากระหว่างอิตาลีตอนเหนือ กับอิตาลีตอนกลางและตอนล่าง แต่ประเด็นปญั หาสําคัญทีอ่ ติ าลีกาํ ลังเผชิญอยูใ่ น ขณะนี้และเป็ นความท้าทายสําคัญสําหรับรัฐบาลใหม่อติ าลีในการเลือกตัง้ วันที่ 24-25 กุมภาพันธ์ นี้ มี 3 ประเด็น ได้แก่ (1) ความสามารถในการแข่งขันของอิ ตาลีตกตํา่ ลง สะท้อนจากต้นทุนค่าแรงต่อหน่วย ของอิตาลีเพิม่ ขึน้ ราวร้อยละ 40 เมือ่ เทียบกับต้นทุนค่าแรงต่อหน่วยของเยอรมนี นับตัง้ แต่อติ าลี เข้าร่วมเป็ นสมาชิกยูโรโซน (2) ประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต (Total Factor Productivity) ของอิ ตาลีลดลง อย่างเห็นได้ชดั โดยเฉพาะประสิทธิภาพการผลิตของแรงงาน (Labor Productivity) ซึง่ มีแนวโน้ม ลดลงมาโดยตลอด ตัง้ แต่ปี 2007 ซึง่ เป็ นปีแรกในการก้าวสูภ่ าวะวิกฤติยโู ร นอกจากนี้ประสิทธิภาพ การผลิตรวม (ประสิทธิภาพการผลิตของทุนและแรงงาน) ลดลงอย่างรวดเร็ว แม้วา่ จะมีการลด ค่าจ้างทีแ่ ท้จริงตัง้ แต่ปี 2010 แต่คา่ จ้างต่อหน่วยยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วส่งผลให้ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศลดลง (3) ต้นทุนทางการเงิ นที่สงู มาก เนื่องจากรัฐบาล ธนาคาร และผูก้ ภู้ าคเอกชนต้องจ่าย ค่าชดเชยความเสีย่ งทีส่ งู รวมถึงเผชิญกับอัตราดอกเบีย้ อยูใ่ นระดับสูง ส่งผลให้การลงทุนของ ภาคเอกชนลดลง รวมถึงภาคการผลิตทีล่ ดลงนําไปสูก่ ารลดลงในกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ และ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามปญั หาดังกล่าวข้าวต้นกําลังทําลายหนึ่งในจุดแข็งของเศรษฐกิจอิตาลี นันคื ่ อความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรม SMEs ของอิตาลีตอนเหนือ โดยอิตาลี ได้พยายามทีจ่ ะรักษาอุตสาหกรรมการส่งออก (17% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ก่อนทีจ่ ะวิกฤต) การสร้างการเกินดุลการค้าในอุตสาหกรรม แต่สถานการณ์ทเ่ี ผชิญอยูใ่ นขณะนี้ กลับทําให้ความสามารถในการแข่งขันลดลง และไม่สามารถกูย้ มื เงินภายใต้เงือ่ นไขปกติได้ รวมถึง ปญั หาการว่างงาน และการสูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาด สะท้อนความท้าทายที่สาํ คัญ สําหรับรัฐบาลใหม่อิตาลีในอนาคต ที่จาํ เป็ นต้องเร่งเพิ่ มนวัตกรรมและขับเคลื่อน ภาคการศึกษา การเพิ่ มผลผลิ ต และลดค่าจ้างต่อหน่ วย รวมถึงความพยายามที่จะ ลดความเสี่ยงภาคการธนาคาร (การเพิ่ มทุนของธนาคาร และการลดพอร์ตการลงทุน พันธบัตรรัฐบาลของธนาคารของในประเทศ) เพื่อลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนทางเศรษฐกิ จ และเป็ นการลดความเสี่ยงที่จะนําพา ประเทศในกลุ่มยูโรโซนกลับสู่ภาวะวิ กฤติ อีกครัง้ Natisix \31 Jan 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 12 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ี ลาดทีอ ั ้ นต ัว ้ ในเกือบทุกเมืองใหญ่ บ่งชต HighLight : ราคาบ้านเดีย ่ วสหร ัฐปร ับเพิม ่ ขึน ่ ยูอ ่ าศยฟื

Global :

■ สหรัฐ : สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติของสหรัฐ (NAR) เผยราคาบ้านเดีย่ วใน 133 เมืองจาก 152 เมือง ในไตรมาส 4 ปี 2555 เพิม่ ขึน้ 88% เทียบกับไตรมาส 3 ทีร่ าคาบ้านเพิม่ ขึน้ ใน 120 เมือง โดยมีบา้ นมือสองสําหรับขายจํานวน 1.82 ล้านหลัง เป็ นการ เพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ตัง้ แต่ปี 2548 บ่งชีต้ ลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยเริม่ ส่งสัญญาณฟื้นตัว ■ ยุโรป: การประชุมของกลุม่ รัฐมนตรีคลังยูโรโซนมีขน้ึ ในวันนี้โดยมีหวั ข้อการประชุมหลัก ได้แก่ การให้ความช่วยเหลือกรีซและไซปรัส และการแข็งค่าของสกุลเงินยูโร ซึง่ อาจกระทบความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิก ท่ามกลางสถานการณ์การเมืองในยุโรปทีอ่ าจ นําไปสูภ่ าวะวิกฤตหนี้ในภูมภิ าคอีกครัง้ เนื่องจากตลาดกังวลการผลการเลือกตัง้ ทัวไปของอิ ่ ตาลีอาจส่งผลให้การเดินหน้าปฏิรปู เศรษฐกิจ และการคลังทีร่ ฐั บาลชุดปจั จุบนั เริม่ ต้นไว้ ต้องประสบภาวะชะงักงัน ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (INSEE) เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 0.1% (m-o-m) ส่งผลให้ ไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 1.8% (q-o-q) และลดลง 3.1% (y-o-y) บ่งชีภ้ าคการผลิตฝรังเศสยั ่ งคงไม่ฟ้ืนตัว ■ จีน : ทางการจีน เผยตัวเลขนําเข้าส่งออกของปี 2555 โดยมูลค่าการส่งออกรวมอยูท่ ่ี 2.05 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และมูลค่าการนําเข้า รวม 1.82 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้จนี ได้กลายมาเป็ นประเทศทีม่ ี trade volume (มูลค่าการส่งออกรวมกับมูลค่าการนําเข้า) สูงทีส่ ดุ ในโลกที่ 3.87 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีมลู ค่าสูงกว่าสหรัฐฯ ที่ 3.82 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปีเดียวกัน : กระทรวงการคลังจีน เผยรัฐบาลวางแผนจัดสรรเงิน 1.2 แสนล้านหยวน (1.911 หมืน่ ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อเป็ นเงินทุนในการก่อสร้าง โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการขนส่งในปี 2556 และพัฒนาเครือข่ายทางหลวงสําหรับระบบการขนส่งสายหลักและถนนในชนบท ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงเศรษฐกิจความรูข้ องเกาหลีใต้ เผยยอดส่งออกรถยนต์เดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 17.1% (y-o-y) อยูท่ ่ี 288,344 คัน มูลค่า 4.27 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็ นการเพิม่ ครัง้ แรกในรอบ 8 เดือน สาเหตุจากเดือนม.ค.ปีน้ีไม่ตรงกับเทศกาลตรุษจีน ทําให้มวี นั ทํางาน มากกว่าปี 2555

Thailand updates : ■ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เผยทีป่ ระชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเห็นชอบโครงการอัดฉีดเงินทุน หมุนเวียนสําหรับผูป้ ระกอบการ SMEs ตามทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ โดยจะนําเงินงบประมาณจากกองทุนสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จํานวน 200 ล้านบาท ชดเชยอัตราดอกเบีย้ ให้กบั สถาบันการเงินร้อยละ 3 ในปี แรก เพือ่ ให้สถาบันการเงิน ปล่อยสินเชื่อดอกเบีย้ ตํ่าวงเงินไม่เกิน 1 ล้านบาท/รายให้กบั SMEs ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการปรับขึน้ ค่าจ้างแรงงานวันละ 300 บาท/วัน และเห็นชอบจัดสรรเงินกองทุน สสว.ปี 56 เพิม่ อีก 110 ล้านบาท เพือ่ ใช้ในโครงการช่วยเหลือ SMEs ต่อไป ■ เงินบาทเปิดตลาด (11 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.82/84 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าจากเปิ ดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.78/80 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (12 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 21.73 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 13,971.24 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 0.92 จุด หรือ 0.06% % ปิ ดที่ 1,517.01 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 1.87 จุด หรือ 0.06% ปิดที่ 3,192.00 จุด จากนักลงทุนเริม่ กลับมาวิตกกังวลว่า สหรัฐอาจจะเผชิญภาวะหน้าผาการคลัง เมือ่ มาตรการลดการใช้จา่ ยโดยอัตโนมัตจิ ะมีผลบังคับใช้ในเดือนหน้านี้ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,489.11 จุด ลดลง 8.19 จุด (-0.55%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 13 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ประธานาธิบดีสหร ัฐเรียกร้องให้ร ัฐสภาสร้างสมดุลการคล ัง

Global :

■ สหรัฐ : ประธานาธิบดีสหรัฐเรียกร้องให้รฐั สภาสร้างสมดุลในการปรับลดงบประมาณค่าใช้จา่ ยและการปฏิรปู ภาษี เพือ่ การเปลีย่ นแปลง อย่างมีเหตุผลในการดําเนินโครงการต่างๆ และการปฏิรปู ภาษี ทัง้ นี้หากสหรัฐไม่สามารถแก้ปญั หาความยุง่ ยากในการเจรจาเรือ่ งงบประมาณ ได้ภายในวันที่ 1 มีนาคม จะเกิดการตัดงบประมาณค่าใช้จา่ ยด้านการลงทุนและการป้องกันประเทศลงหลายครัง้ กระทบอย่างมากต่อ เศรษฐกิจสหรัฐทัง้ ระบบ โดยนักวิเคราะห์คาดว่า อาจทําให้การขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐลดลง 0.6% จากการคาดการณ์ท่ี 2% ในปี น้ี ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภคเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 2.7% (m-o-m) โดยคาดเงินเฟ้อจะอยูเ่ หนือระดับเป้าหมาย ในช่วง 2 ปีขา้ งหน้า สะท้อนจากค่าใช้จา่ ยด้านไฟฟ้าและเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ และเงินปอนด์อ่อนค่าลงเพิม่ แรงกดดันต้นทุนการนําเข้าสูงขึน้ ■ กรีซ : สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะของกรีซ (PDMA) ระดมทุนได้ 1.3 พันล้านยูโร ในการประมูลตั ๋วเงินคลังทีอ่ ตั ราผลตอบแทน 4.05% ซึง่ ตํ่ากว่าเดือนม.ค.ที่ 4.07% ตามเงือ่ นไขด้านการเงิน ควบคูไ่ ปกับการรับเงินช่วยเหลือจากสหภาพยุโรปและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ■ อิ นเดีย : สํานักงานสถิตอิ นิ เดียเผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนธ.ค. 2555 ลดลง 0.6% (y‐o‐y) และลดลง 0.8% (m‐o‐m) จากความ ต้องการทีล่ ดลงหลังจากทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศขยายตัวในระดับทีต่ ่าํ ทีส่ ดุ ในรอบ 10 ปี ■ ออสเตรเลีย : ผลสํารวจโดยเนชันแนล ออสเตรเลีย แบงก์ (NAB) เผยความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 1 จุด อยูท่ ร่ี ะดับ +3 ปจั จัยหลักจากการฟื้นตัวของตลาดทุนโลก กิจกรรมทัวไปของจี ่ นปรับตัวดีขน้ึ และการปรับลดอัตราดอกเบีย้ จากธนาคารกลางออสเตรเลีย ■ ญี่ปนุ่ : สํานักคณะรัฐมนตรีญป่ี นุ่ เผยความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 4.1 จุด สูร่ ะดับ 43.3 จากระดับ 39.2 ในเดือนธ.ค. 2555 และเป็ นการปรับตัวสูงขึน้ ครัง้ แรกในรอบ 5 เดือน จากนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล : สํานักงานคณะรัฐมนตรีญป่ี นุ่ เผยยอดสังซื ่ อ้ เครือ่ งจักรพืน้ ฐานในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 2.8% เป็ นเดือนที่ 3 จากการอ่อนค่าของเยน ผลของมาตรการผ่อนคลายทางการเงินแบบเชิงรุกของญีป่ นุ่ บ่งชีก้ ารใช้จา่ ยด้านทุนในช่วง 6-9 เดือนข้างหน้ามีแนวโน้มขยายตัว ■ อิ นโดนี เซีย : ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบีย้ ที่ 5.75% เนื่องจากค่าเงินรูเปี ยอินโดนีเซียอ่อนตัวลง ส่งผลให้ตน้ ทุนของ สินค้านําเข้าสูงขึน้ ขณะเดียวกันเศรษฐกิจก็ขยายตัวในอัตราทีช่ ะลอตัวมากทีส่ ดุ ในรอบกว่า 2 ปี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2556 และแรงกดดันด้าน เงินเฟ้อ ทําให้โอกาสทีจ่ ะใช้มาตรการกระต้นทางการเงินเพิม่ ลดน้อยลง

Thailand updates : ■ ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 12 ก.พ. 2556 มีมติเห็นชอบกรอบงบประมาณรายจ่ายประจําปี พ.ศ. 2557 ที่ 2.525 ล้านล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากงบประมาณรายจ่ายประจําปี พ.ศ. 2556 ประมาณ 1 แสนล้านบาท หรือ 5.3% โดยจะจัดทําเป็ นงบประมาณขาดดุล 2.5 แสนล้าน บาท ลดลงจากปี ก่อนหน้าทีจ่ ดั ทํางบประมาณขาดดุล 3 แสนล้านบาท ขณะทีป่ ระมาณการรายได้อยูท่ ่ี 2.27 ล้านล้านบาท ■ เงินบาทปิ ดตลาด (12 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.88/90 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวเท่ากับเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.88/90 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (13 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 47.46 จุด หรือ 0.34% ปิดที่ 14,018.70 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 2.42 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 1,519.43 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 5.51 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 3,186.49 จุด จากนักลงทุนมีมมุ มองทีเ่ ป็ นบวกต่อ ทิศทางเศรษฐกิจสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิเพิม่ ขึน้ 215.96 จุด หรือ 1.94% ปิดที่ 11,369.12 หลังเงินเยนอ่อนค่า ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,488.95 จุด ลดลง 0.16 จุด (-0.01%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 14 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ประธานาธิบดีสหร ัฐแถลงนโยบายประจําปี วาระการทํางานในสม ัยที่ 2

Global :

■ สหรัฐ : ประธานาธิบดีสหรัฐแถลงนโยบายประจําปีดว้ ยการให้ความสําคัญกับการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและการจ้างงาน โดยจะให้การ สนับสนุนชนชัน้ กลางและภาคสาธารณะ และประกาศจัดตัง้ ศูนย์กลางการผลิต 3 แห่ง พร้อมกับเรียกร้องให้สภาคองเกรสจัดตัง้ ศูนย์กลางการ ผลิตอีก 15 แห่งด้วยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน เพือ่ สร้างตําแหน่งงานด้านเทคโนโลยีขนั ้ สูง ซึง่ จะช่วยกระตุน้ ภาคการผลิต : กระทรวงการคลังสหรัฐ เผยยอดเกินดุลงบประมาณในเดือนม.ค.ประมาณ 2.9 พันล้านดอลลาร์ หลังขาดดุล 1.2 พันล้านดอลลาร์ในเดือน ธ.ค.ซึง่ เป็ นการเกินดุลครัง้ แรกนับตัง้ แต่เดือนก.ย. 2555 : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดค้าปลีกในเดือนม.ค. ขยายตัว 0.1% อยูท่ ร่ี ะดับ 4.166 แสนล้านดอลลาร์ ชะลอลงจากขยายตัว 0.5% ใน เดือนธ.ค. เนื่องจากมาตรการขึน้ ภาษีและราคานํ้ามันทีส่ งู ขึน้ บ่งชีผ้ บู้ ริโภคใช้จา่ ยอย่างระมัดระวังมากขึน้ ■ ยุโรป: สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมในยูโรโซนในเดือนธ.ค.2555 ขยายตัว 0.7% (m-o-m) เพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกนับตัง้ แต่เดือนส.ค. และลดลง 2.4% (y-o-y) ในส่วนของทัง้ อียู การผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนธ.ค.เพิม่ ขึน้ 0.5% (m-o-m) และลดลง 2.3% (y-o-y) รวมทัง้ ปี 2555 ดัชนีการผลิตเฉลีย่ ลดลง 2.4% (y-o-y) ในยูโรโซน และลดลง 2.1% ในอียู (y-o-y) ■ อิ นเดีย : อินเดียเผยยอดขาดดุลการค้าเดือนม.ค.2556 เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 2 หมืน่ ล้านดอลลาร์ จากระดับ 1.77 หมืน่ ล้านดอลลาร์ในเดือนธ.ค. 2555 จากการนําเข้าทีส่ งู ขึน้ ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ไตรมาส 4/2555 ลดลง 0.4% สวนทางกับคาดว่าจะขยายตัว 0.6% ซึง่ เป็ นการหดตัวติดต่อกัน 3 ไตรมาส จากยอดส่งออกและการลงทุนภาคธุรกิจชะลอตัวลง ผลกระทบจากเศรษฐกิจทัวโลกที ่ ช่ ะลอตัวลง และจีดี พีปี 2555 ขยายตัว 1.9% (y-o-y) เป็ นการขยายตัวครัง้ แรกในรอบ 2 ปี : สมาคมผูน้ ําเข้ารถยนต์แห่งญี่ปนุ่ (JAIA) คาดยอดขายรถยนต์แบรนด์ต่างประเทศในปี 2556 จะขยายตัว 3.5% อยูท่ ่ี 250,000 คัน ชะลอลง จากปี 2555 ผลจากการสิน้ สุดโครงการอุดหนุนของรัฐบาลเพือ่ สนับสนุนการซือ้ รถยนต์ทเ่ี ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้เผยยอดปล่อยกูภ้ าคครัวเรือนเดือนม.ค. ลดลง 3.5 ล้านล้านวอน จากเดือน ธ.ค. 2555 เนื่องจากโครง การให้สทิ ธิพเิ ศษทางด้านภาษีสาํ หรับการทําธุรกรรมเกีย่ วกับทีอ่ ยูอ่ าศัยสิน้ สุดลง

Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รายงานแนวโน้มธุรกิจในไตรมาสแรกของปี 56 ภาคธุรกิจมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องจากอุปสงค์ภายใน ประเทศและการส่งออกทีค่ าดว่าจะปรับตัวดีขน้ึ สําหรับผูป้ ระกอบการประเมินว่าการใช้จา่ ยในประเทศจะเติบโตได้ดี ทําให้ประชาชนมีกาํ ลัง ซือ้ เพิม่ ขึน้ ทัง้ ผลทางตรงและทางอ้อมจากมาตรการขึน้ ค่าจ้างขัน้ ตํ่าเป็ น 300 บาทต่อวัน ทีป่ ระกาศใช้ทวประเทศในเดื ั่ อน ม.ค.56 ขณะทีภ่ าค ธุรกิจลงทุนขยายกําลังการผลิตและเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตต่อเนื่อง ■ เงินบาทปิดตลาด (13 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.80/82 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.79/81 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (13 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 35.79 จุด หรือ 0.26% อยูท่ ่ี 13,982.91 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.9 จุด หรือ 0.06% อยูท่ ่ี 1,520.33 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 10.38 จุด หรือ 0.33% ปิดที่ 3,196.88 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 117.71 จุด หรือ 1.04% ปิดที่ 11,251.41 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไรหลังเงินเยนแข็งค่าขึน้ ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 11,514.11 จุด เพิม่ ขึน้ 25.16 จุด (1.69%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 15 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ั HighLight : สหร ัฐเผยยอดผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานสปดาห์ ทผ ี่ า ่ นมาลดลงเกินคาด อยูท ่ ี่ 27,000 ราย

Global :

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐเผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานทีส่ น้ิ สุดวันที่ 9 ก.พ. ลดลง 27,000 ราย อยูท่ ่ี 341,000 ราย ลดลง มากกว่าคาดที่ 360,000 ราย บ่งชีต้ ลาดแรงงานของสหรัฐมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง ■ ยุโรป: สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ของกลุม่ ประเทศยูโร ไตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.6% (q-o-q) และ 0.9% (y-o-y) สาเหตุจากภาวะหดตัวในประเทศเศรษฐกิจใหญ่สดุ ของภูมภิ าค ได้แก่ เยอรมนี ฝรังเศส ่ และอิตาลี ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี (Destatis) เผยจีดพี ไี ตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.6% (q-o-q) ลดลงมากกว่าคาดทีร่ ะดับ 0.5% จากการส่งออกทีล่ ดลง และเพิม่ ขึน้ 0.1% (y-o-y) บ่งชีเ้ ศรษฐกิจจะไม่เผชิญภาวะถดถอย เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้สง่ สัญญาณของการฟื้นตัว โดยปี 2555 เศรษฐกิจเยอรมนีขยายตัว 0.7% ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยจีดพี ไี ตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.3% และลดลง 0.3% (y-o-y) จากการลงทุน ลดลง 1% (q-o-q) และการส่งออกลดลง 0.6% (q-o-q) โดยรวมปี 2555 เศรษฐกิจฝรังเศสอยู ่ ใ่ นภาวะชะงักงัน ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลี (Istat) เผยจีดพี ไี ตรมาส 4 ปี 2555 ลดลง 0.9% (q-o-q) และลดลง 2.7% (y-o-y) จากกิจกรรมที่ ซบเซาลงทัง้ ในภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคการเกษตร ■ อิ นเดีย : กระทรวงพาณิชย์อนิ เดีย เผยดัชนีราคาค้าส่งเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 6.62% (y-o-y) และเพิม่ 7.18% (m-o-m) ตํ่ากว่าคาดว่าจะ เพิม่ ขึน้ 6.98% (y-o-y) ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อในเดือนม.ค. ลดลงสูร่ ะดับตํ่าสุดในรอบกว่า 3 ปี ■ ญี่ปนุ่ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายทีร่ ะดับ 0-0.1% และยังไม่ประกาศผ่อนคลายการเงินเพิม่ เติม เนื่องจาก ต้องการประเมินผลของการกําหนดเป้าหมายเงินเฟ้อ 2% : สภาผูแ้ ทนราษฎรญีป่ นุ่ ผ่านร่างงบประมาณพิเศษสําหรับปีงบประมาณ 2555 มูลค่า 13.1 ล้านล้านเยน (1.40 แสนล้านดอลลาร์) เพือ่ ใช้ในการกระตุน้ เศรษฐกิจ ■ เกาหลีใต้ : สํานักงานศุลกากรของเกาหลีใต้ เผยยอดเกินดุลการค้าในเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 476 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลฯ เป็ นเดือนที่ 12 ติดต่อกัน จากการส่งออกขยายตัวเร็วกว่าการนําเข้า

Thailand updates : ■ ผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เผยงบดุลของ ธปท.ขาดดุลสะสม 530,000 ล้านบาท จากการแทรกแซงการแข็งค่าของเงินบาท และปี 2555 ขาดทุนจากส่วนต่างดอกเบีย้ จ่ายทีส่ งู กว่าดอกเบีย้ รับอยู่ 2% มูลค่า 100,000 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ธปท.ชีแ้ จงว่ายังอยูใ่ น ระดับทีส่ ามารถบริหารจัดการได้ จึงไม่มคี วามจําเป็ นต้องให้รฐั บาลตัง้ งบประมาณมาใช้หนี้ หรือใช้เงินภาษีของประชาชน ■ เงินบาทปิดตลาด (14 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.82/84 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.78/80 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (14 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 9.52 จุด หรือ 0.07% ปิดที่ 13,973.39 จุด จากความวิตกกังวลต่อรายงานจีดพี ี ของยูโรโซนและญีป่ นุ่ ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 1.05 จุด หรือ 0.07% ปิดที่ 1,521.38 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 1.78 จุด หรือ 0.06% ปิดที่ 3,198.66 จุด จากแรงหนุนจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ของสหรัฐทีล่ ดลงเกินคาด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปรับตัวสูงขึน้ โดยดัชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 55.87 จุด หรือ 0.50% ปิดที่ 11,307.28 จุด แรงหนุนจากการอ่อนค่าของ สกุลเงินเยน ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 198.09 จุด หรือ 0.85% ปิดที่ 23,413.25 จุด จากนักลงทุนเข้าซือ้ หุน้ กลุม่ การเงินและอสังหาริมทรัพย์ของ จีน ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,526.74 จุด 12.63 จุด(+0.83%) ปจั จัยหนุนจากเงินทุนไหลเข้า ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


ประจําว ันที่ 18 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Macroeconomic Policy Bureau

Page 1/2

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ื่ มน ้ ,การผลิตภาคอุตสาหกรรมสหร ัฐลดลง 0.1% ใน HighLight : ความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐ ปร ับเพิม ่ ขึน ้ เกินคาด เดือนม.ค. และด ัชนีภาวะธุรกิจเดือนก.พ.เพิม ่ ขึน

Global : ■ สหรัฐ : รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กนเผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคช่วงต้นเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 76.3 จาก 73.8 ในเดือนม.ค. แม้วา่ ต้องเผชิญกับการจัดเก็บภาษีทส่ี งู ขึน้ และราคาเชือ้ เพลิงทีเ่ พิม่ ขึน้ สะท้อนเศรษฐกิจสหรัฐมีแนวโน้มฟื้นตัวจากปจั จัยภายใน : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนม.ค.ลดลง 0.1% (m-o-m) สวนทางกับทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ 0.2%(m-o-m) และ อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตลดลงอยูท่ ่ี 79.1% ในเดือนม.ค. จาก 79.3% ในเดือนธ.ค.2555 จากการผลิตอุตสาหกรรมรถยนต์ทล่ี ดลง : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขานิวยอร์ค เผยดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวมเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 10.04 จากระดับ -7.78 ในเดือนม.ค. และ เป็ นการเพิม่ ขึน้ สูแ่ ดนบวกเป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่เดือนก.ค. 2555 แรงหนุนจากยอดสังซื ่ อ้ ใหม่ทเ่ี พิม่ ขึน้ ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี เผยคาดการณ์เศรษฐกิจยูโรโซนในปี 2556 จะติดลบ 0.2-0.3% จากความแตกต่างทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศในยุโรปใต้กบั ประเทศอื่นๆ และคาดเศรษฐกิจยูโรโซนในเดือน ธ.ค. 2555 จะหดตัว 0.9% จากเศรษฐกิจเยอรมนีและฝรังเศส ่ หดตัวลงช่วงปลายปี 2555 ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษ (ONS) เผยยอดค้าปลีกในเดือนม.ค.ลดลง 0.6% (m-o-m) และ (y-o-y) สวนทางคาดการณ์ เนื่องจากสภาพอากาศทีเ่ ลวร้าย ทําให้เกิดความกังวลว่าเศรษฐกิจของอังกฤษอาจเผชิญภาวะถดถอยอีกครัง้ ■ จีน : กระทรวงพาณิชย์จนี เผยยอดค้าปลีกขยายตัว 14.7% (y-o-y) ในช่วงเทศกาลตรุษจีน อยูท่ ่ี 5.39 แสนล้านหยวน (8.6 หมืน่ ล้าน ดอลลาร์) ลดลงจากการขยายตัวในช่วงเทศกาลปี 2555 16.2% (y-o-y) จากการทีน่ ายสี จิน้ ผิง ผูน้ ําคนใหม่ของพรรคคอมมิวนิสต์จนี ใช้ มาตรการปราบปรามการทุจริตคอร์รปั ชันและการใช้ ่ จา่ ยอย่างฟุม่ เฟือย ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมญีป่ นุ่ เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนธ.ค. 2555 เพิม่ ขึน้ 2.4% (m-o-m) ปรับ ลดลงจากตัวเลขเบือ้ งต้นที่ 2.5% จากภาคการขนส่ง การผลิตเครือ่ งจักรและเคมีเพิม่ ขึน้

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง(สศค.) เผยรายได้รฐั บาลสุทธิเดือน ม.ค. 2556 จัดเก็บได้ 161,697 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ 17,739 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.3 และเพิม่ ขึน้ 20.1% (y-o-y) สะท้อนภาวะเศรษฐกิจมีการขยายอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอุปสงค์ภายในประเทศ โดยภาษีทจ่ี ดั เก็บได้สงู กว่าเป้าหมายทีส่ าํ คัญ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 4,399 ล้านบาท, ภาษีสรรพสามิตรถยนต์ 3,560 ล้านบาท, ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 2,976 ล้านบาท และภาษีมลู ค่าเพิม่ 2,965 ล้านบาท ส่งผลให้ 4 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2556 จัดเก็บรายได้สทุ ธิ 648,698 ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย 67,069 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.5 โดยการจัดเก็บภาษีของ 3 กรมภาษีสงั กัดกระทรวงการคลังสูงกว่า เป้าหมาย 61,267 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.1 ■ เงินบาทปิดตลาด (15 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.84/86 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงเล็กน้อยจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.82/84 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (15 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 8.37 จุด หรือ 0.1% ปิดที่ 13981.76 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 1.59 จุด หรือ 0.1% ปิดที่ 1519.79 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 6.63 จุด หรือ 0.2% ปิดที่ 3192.03 จุด จากกิจกรรมการผลิตในเขตนิวยอร์กปรับสูงเกินคาด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 133.45 จุด หรือ 1.18% ปิดที่ 11,173.83 จุด จากความกังวลแนวโน้มเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 31.31 จุด หรือ 0.13% ปิดที่ 23,444.56 จุด หุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 11,521.52 จุด ลดลง 5.22 จุด(-0.34%)

ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com

Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับที่ 6 ประจําว ันที่ 18 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 2/2

มุมมองมหภาค

นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิ จด้านอุปสงค์...ทางออกหรืออันตราย ในสภาวะทีป่ ระเทศเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจถดถอย รัฐบาลมีแนวโน้มทีจ่ ะดําเนินนโยบาย เพือ่ กระตุน้ การใช้จา่ ยด้านอุปสงค์ เช่น การลงทุนในการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน เพือ่ เพิม่ ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบและนโยบายด้านอัตราแลกเปลีย่ นต่างๆ อย่างไรก็ตามหาก ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจของประเทศนัน้ ๆ มีสาเหตุมาจากปญั หาเชิงโครงสร้าง การใช้ นโยบายกระตุน้ ด้านอุปสงค์ดงั กล่าว อาจนําไปสูผ่ ลลัพธ์ในทิศทางตรงกันข้าม กรณี ดังกล่าวเห็นได้ชดั จากการใช้นโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจในประเทศจีนและญีป่ นุ่ กรณีประเทศจีน จากบทเรียนในอดีตเมื่อครัง้ จีนประสบภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปี 2012 ได้มกี ารประกาศใช้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ เน้นทีก่ ารกระตุน้ ด้านอุปสงค์ โดยเพิม่ การใช้จา่ ยของภาครัฐไปกับการลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน ทัง้ ภาคการขนส่ง และพลังงาน เป็ นต้น ผลของมาตรการ ทําให้การผลิตอุตสาหกรรมเหล็ก และซีเมนต์ เริม่ ฟื้นตัวขึน้ แต่ขณะเดียวกันปญั หาต่างๆ ได้เริม่ ก่อตัวขึน้ เนื่องจาก - มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จดังกล่าวไม่ได้เป็ นการแก้ปัญหาเชิ งโครงสร้างของจีน เช่น ปัญหาความสามารถในการแข่งขันของ อุตสาหกรรมลดลง ในขณะทีค่ า่ จ้างเพิม่ สูงขึน้ อย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการลดการลงทุนของภาคอุตสาหกรรม - เป็ นการเพิ่ มความเสี่ยงด้านหนี้ สินสําหรับหน่วยงานระดับท้องถิน่ และภาระทางการเงินของภาครัฐเนื่องจากการลงทุนก่อสร้าง โครงสร้างพืน้ ฐานต้องใช้เงินจํานวนมาก - ผลจากการเพิ่ มขึน้ ของค่าจ้าง นําไปสู่ต้นทุนการผลิ ตที่สงู ขึน้ ส่งผลให้ราคาสิ นค้าเพิ่ มสูงขึน้ รวมทัง้ สินค้าจําเป็ นซํ้าเติมปญั หาขีด ความสามารถในการแข่งขันให้ตกตํ่าลงไปอีก จะเห็นได้วา่ การทีจ่ นี ประสบปญั หาขีดความสามารถทางการแข่งขันในอุตสาหกรรมลดลง การใช้นโยบายเพือ่ กระตุน้ ทางด้านอุปสงค์ดงั กล่าว นอกจากจะไม่ชว่ ยให้เศรษฐกิจฟื้นตัวแล้ว ยังเป็ นการเพิม่ ภาระหนี้สาธารณะ รวมถึงภาระหนี้สนิ ของภาคเอกชนให้สงู ขึน้ อีกด้วย นําไปสู่ การปรับขึน้ ของค่าจ้างและราคาสินค้า ยิง่ ซํ้าเติมให้ความสามารถในการแข่งขันลดลง กรณีประเทศญีป่ นุ่ รัฐบาลปจั จุบนั มีเป้าหมายนโยบายทีจ่ ะกระตุน้ เศรษฐกิจผ่านการใช้จา่ ยในการสร้าง โครงสร้างพืน้ ฐานเช่นเดียวกับกรณีประเทศจีน ในทางตรงกันข้ามอาจซํ้าเติมภาคการเงินของ รัฐบาล โดยเป็ นการเพิม่ การขาดดุลทางการคลังให้สงู ขึน้ โดยญีป่ นุ่ ประสบปญั หาเชิงโครงสร้าง 3 ประการ ได้แก่ - การออมภาคธุรกิ จสูงเกิ นไป เกิดจากค่าจ้างทีแ่ ท้จริงลดลง ส่งผลให้ผลกําไรเพิม่ ขึน้ แต่ผลกําไรทีเ่ พิม่ ขึน้ นี้เกินกว่าความต้องการกูย้ มื เงิน เพือ่ การลงทุน ส่งผลให้ self-financing rate เพิม่ สูงขึน้ นําไปสูค่ วามต้องการภาคครัวเรือนทีล่ ดลง และไม่ทาํ ให้เกิดการเพิม่ ขึน้ ของ อุปสงค์ในภาคธุรกิจแต่อย่างใด - เกิ ดภาวะความเสี่ยงจะเกิ ดวิ กฤต จากต้นทุนหนี้ สาธารณะ และวิ กฤตการณ์ ของภาคธนาคาร เนื่องจากพอร์ทการลงทุนในพันธบัตร รัฐบาลทีถ่ อื โดยธนาคารญีป่ นุ่ มีขนาดใหญ่มาก การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดเพิม่ มากขึน้ การลดลงของสัดส่วนการออมเนื่องจากประชากรสูงอายุ เพิม่ ขึน้ เป็ นต้น - การขาดแคลนอุปทานในภาคอุตสาหกรรม จากการลดลงของอัตรากําลังการผลิตของอุตสาหกรรมในระหว่างช่วงเกิดวิกฤตในปี 2009 ตามมาด้วยการเกิดภัยพิบตั คิ ลื่นยักษ์สนิ ามิ และการแข็งค่าของเงินเยน กล่าวโดยสรุปเมือ่ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่านําไปสูท่ างเลือกให้รฐั บาลดําเนินการใช้มาตรการต่างๆ ได้แก่ การดําเนินนโยบายการเงิน แบบขยายตัว การก่อสงครามค่าเงิน หรือการใช้นโยบายด้านอุปสงค์ เช่นการลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ดังทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการดําเนินนโยบายของประเทศจีน และญีป่ นุ่ รวมถึงชีใ้ ห้เห็นถึงผลของการดําเนินนโยบายผิดพลาด อาทิ การลดขีด ความสามารถในการแข่งขัน ปญั หาหนี้สาธารณะทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เป็ นต้น ซึง่ ผลของมาตรการดังกล่าวอาจไม่ใช่ทางออกสําหรับปญั หาทีเ่ ผชิญอยู.่ .. Natisix 6 Feb 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 19 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ี ันด ับความน่าเชอ ์ อ ื่ ถือของร ัฐต่างๆ ในสหร ัฐมีคา HighLight : มูดส ี้ ช ่ กลางอยูท ่ ี่ Aa1 และมีแนวโน้มเชงิ ลบ

Global :

■ สหรัฐ : มูดส้ี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือระหว่างประเทศ ระบุอนั ดับความน่าเชื่อถือของรัฐต่างๆ ในสหรัฐ มีคา่ กลางอยูท่ ่ี Aa1 และมีแนวโน้มในเชิงลบเป็ นปีท่ี 6 ติดต่อกัน ถึงแม้มสี ญ ั ญาณบ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจจะกลับเข้าสูเ่ สถียรภาพก็ตาม แต่ยงั คงมีปจั จัย เสีย่ งอยู่ รวมถึงคาดการณ์เศรษฐกิจสหรัฐในปี 2013 ขยายตัว 2.1 % และ 2.5 % ในปี 2014 ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี เผยยูโรโซนมียอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัดจากการปรับตามฤดูกาลอยูท่ ่ี 1.39 หมืน่ ล้านยูโรในเดือนธ.ค. 2555 ลดลงจากยอดเกินดุล 1.59 หมืน่ ล้านยูโรในเดือนพ.ย. ซึง่ เป็ นตัวเลขทีถ่ กู ปรับทบทวนขึน้ จากยอดเกินดุล 1.48 หมืน่ ล้านยูโร ■ ฝรังเศส ่ : หนังสือพิมพ์แฟร์แฟกซ์ของเยอรมนี เผยผลสํารวจคะแนนเสียงก่อนการเลือกตัง้ ทัวไปของเยอรมนี ่ พบประชาชนส่วนใหญ่ม ี แนวโน้มลงคะแนนเสียงให้ตวั แทนจากพรรคฝา่ ยค้านมากกว่าพรรครัฐบาล บ่งชีว้ า่ รัฐบาลอาจแพ้เลือกตัง้ ครัง้ นี้ หากยังไม่มนี โยบายใหม่ๆ ที่ น่าสนใจเข้ามาช่วยโน้มน้าวใจของประชาชน และต่อสูก้ บั พรรคฝา่ ยค้านได้ ■ ฝรังเศส ่ : รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังฝรังเศส ่ เผยการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2555 ขยายตัว 0% (y-o-y) ตํ่ากว่าทีค่ าดการณ์จะ ขยายตัว 0.3% (y-o-y) จากการบริโภคภาคครัวเรือนลดลง อาจนําไปสูก่ ารประกาศปรับลดคาดการณ์อตั ราขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2556 ■ จีน : ธนาคารกลางจีนเผยยอดปล่อยกูใ้ หม่สกุลเงินหยวนเพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับ 1.07 ล้านล้านหยวน (1.704 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในเดือน ม.ค. เพิม่ ขึน้ จากปี 2555 ทีร่ ะดับ 3.34 แสนล้านหยวน : กระทรวงการคลังจีน เผยรัฐบาลวางแผนจัดสรรเงิน 1.2 แสนล้านหยวน (1.911 หมืน่ ล้านดอลลาร์สหรัฐ) เพื่อเป็ นเงินทุนในการก่อสร้าง สาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐานด้านการคมนาคมในปี 2556 โดยคาดว่าการใช้นโยบายดังกล่าวจะหนุนเศรษฐกิจทีก่ าํ ลังชะลอตัว ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติออสเตรเลีย เผยยอดขายรถยนต์ใหม่ของออสเตรเลียในเดือน ม.ค. ลดลง 2.4% (m-o-m) อยูท่ ่ี 95,694 คัน ลดลงจาก 98,097 คันในเดือนธ.ค. 2555 และเพิม่ ขึน้ 10.8% (y-o-y) ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 0.2% หลังลดลง 0.3% ในเดือนธ.ค. 2555 เนื่องจาก การปรับขึน้ ค่านํ้า ค่าไฟ และราคานํ้ามัน รวมถึงราคาสินค้าเกษตร ปศุสตั ว์ และประมงในเดือนม.ค. ■ สิ งคโปร์ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติสงิ คโปร์ เผยการส่งออกสินค้าทีผ่ ลิตในประเทศยกเว้นนํ้ามัน (NODX) ในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 0.5% (y-o-y) จากส่งออกสินค้าทีไ่ ม่ใช่อเิ ล็กทรอนิกส์เพิม่ ขึน้ ชีว้ ดั กิจกรรมการส่งออกทีส่ าํ คัญของสิงคโปร์ขยายตัว

Thailand updates : ■ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เผยอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย (GDP) ไตรมาส 4/55 ขยายตัวทีร่ ะดับ 18.9% สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์นบั ตัง้ แต่ปี 2536 จากฐานเปรียบเทียบตํ่าเนื่องจากประสบกับวิกฤติอุทกภัยในไตรมาส 4/54 และปจั จัยสนับสนุ นสําคัญจากการขยายตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม โรงแรมและภัตตาคาร และการก่อสร้าง ขณะทีท่ งั ้ ปี 2555 เศรษฐกิจ ไทยขยายตัว 6.4% อัตราเงินเฟ้ออยูท่ ่ี 3.0% และคาดการณ์เศรษฐกิจในปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 4.5 - 5.5 ■ เงินบาทปิดตลาด (18 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.88/90 บาท/ดอลลาร์ คงทีจ่ ากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.89/91 บาท/ดอลลาร์

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 234.04 จุด หรือ 2.09% ปิ ดที่ 11,407.87 จุด จากการอ่อนค่าของเงินเยน หลังจากรมว.คลังกลุม่ จี20 ไม่ได้วจิ ารณ์นโยบายเศรษฐกิจและการเงินของญีป่ นุ่ โดยตรง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 10.84 จุด หรือ 0.45% ปิดที่ 2,421.56 จุด จาก ยอดค้าปลีกจีนปรับตัวลงมากทีส่ ดุ ในรอบ 2 สัปดาห์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 62.62 จุด หรือ 0.27% ปิดวันนี้ท่ี 23,381.94 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,523.29 จุด เพิม่ ขึน้ 1.77 จุด (0.12%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 20 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ั ี เี ตือนตรึงดอกเบีย ี่ ง สง ่ สญญาณไม่ ้ ตํา่ นานเกินไปมีความเสย ้ อีก HighLight : ประธานอีซบ ลดดอกเบีย

Global :

■ ยุโรป : ประธานธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี ระบุวา่ การตรึงอัตราดอกเบีย้ ในระดับตํ่าเป็ นเวลานาน อาจกระทบต่อผลตอบแทนทีผ่ อู้ อมเงิน และนักลงทุนจะได้รบั ทําให้เกิดภาวะฟองสบูใ่ นตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย และอาจทําให้ธนาคารขาดความระวังจนปล่อยสินเชื่อให้กบั ธุรกิจทีไ่ ม่มกี าํ ไร มากเกินไป เป็ นการส่งสัญญาณว่าอีซบี ไี ม่น่าจะลดดอกเบีย้ ลงอีก ■ เยอรมนี : ศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจยุโรป (ZEW) เผยดัชนีความเชื่อมันของนั ่ กลงทุนและนักวิเคราะห์ในเยอรมนีทม่ี ตี ่อเศรษฐกิจในอีก 6 เดือน ข้างหน้า ในเดือนก.พ. ปรับตัวสูงขึน้ อยูท่ ่ี 48.2 จาก 31.5 ในเดือน ม.ค. สูงกว่าคาดทีร่ ะดับ 35 จากการเชื่อมันการฟื ่ ้ นตัวของเศรษฐกิจโลก ■ ฝรังเศส ่ : ประธานาธิบดีฝรังเศส ่ เผยฝรังเศสพร้ ่ อมทีจ่ ะกลับไปลงทุนในกรีซอีกครัง้ จากความเชื่อมันว่ ่ าภาวะเศรษฐกิจของกรีซได้รบั การ ฟื้นฟูแล้ว โดยบริษทั ฝรังเศสจะมี ่ สว่ นในโครงการแปรรูปของกรีซ พร้อมกับมองหาโอกาสลงทุนเพิม่ ในประเทศ ทัง้ นี้นกั วิเคราะห์ระบุวา่ การ เดินทางไปเยือนกรีซเป็ นการส่งสัญญาณถึงนักลงทุนว่า กรีซกําลังเดินถูกทางในเรือ่ งการรวมงบประมาณและการกลับมาขยายตัว ■ จีน : ธนาคารเอชเอสบีซี (HSBC) ระบุเศรษฐกิจจีนยังคงขยายตัวอย่างแข็งแกร่งในปี 2556 และมีบทบาทสําคัญต่อการเปลีย่ นรูปแบบใหม่ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโลก ช่วยขจัดความวิตกกังวลทีว่ า่ เศรษฐกิจทีใ่ หญ่เป็ นอันดับ 2 ของโลกนี้มแี นวโน้มชะลอตัว : นักวิเคราะห์คาดการณ์ดชั นีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) จีนในเดือนก.พ. มีแนวโน้มขยายตัวราว 3% (y-o-y) ซึง่ เป็ นมาตรวัดอัตราเงินเฟ้อทีส่ าํ คัญ เมือ่ เทียบกับการขยายตัว 2% ในเดือนม.ค. ผลจากวันหยุดในเทศกาลตรุษจีน ■ ออสเตรเลีย : ธนาคารกลางออสเตรเลียเผย การประกาศคงอัตราดอกเบีย้ เมือ่ ต้นเดือนก.พ. ทีร่ ะดับ 3% ตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ ได้เริม่ กระตุน้ ภาคส่วนทีซ่ บเซาในระบบเศรษฐกิจของประเทศแล้ว ■ ญี่ปนุ่ : สมาคมห้างสรรพสินค้าญีป่ ุน่ เผยยอดขายในเดือน ม.ค. มีมลู ค่ารวม 5.472 แสนล้านเยน จากร้านค้า 249 แห่ง เพิม่ ขึน้ 0.2% (y-o-y) นับเป็ นครัง้ แรกในรอบ 2 เดือน จากการส่งเสริมการขายในช่วงปีใหม่ และการลดราคาในฤดูหนาว รวมทัง้ ค่าเงินเยนทีล่ ดลงและราคา หุน้ ทีร่ ะดับสูงตัง้ แต่ปลายปี 2555 ได้ชว่ ยหนุนความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภค

Thailand updates : ■ มติคณะรัฐมนตรีวนั ที่ 19 ก.พ. 56 ให้ขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตนํ้ามันดีเซลเหลือ 0.005 บาท/ลิตร ออกไปอีก 1 เดือน ตัง้ แต่วนั ที่ 1-31 มี.ค.56 จากปจั จุบนั ทีจ่ ะสิน้ สุดในวันที่ 28 ก.พ.56 ทัง้ นี้ เพือ่ ช่วยบรรเทาภาระค่าครองชีพให้แก่ประชาชน ■ เงินบาทปิดตลาด (19 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.88/90 บาท/ดอลลาร์ คงทีจ่ ากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับเดียวกัน คาดตลาดรอผลการประชุม คณะกรรมการนโยบายการเงินในวันนี้

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (19 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 53.91 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 14,035.67 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 11.15 จุด หรือ 0.73% ปิดที่ 1,530.94 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 21.56 จุด หรือ 0.68% ปิ ดที่ 3,213.59 จุด แรงหนุ นจากข่าวควบรวมกิจการ ระหว่างบริษทั ออฟฟิ ศ ดีโป และบริษทั ออฟฟิศแม็กซ์ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 35.53 จุด หรือ 0.31% ปิดที่ 11,372.34 จุด จากตลาดขาดปจั จัยใหม่หลังเพิม่ ขึน้ วานนี้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 38.64 จุด หรือ 1.60% ปิดที่ 2,382.91 จุด เนื่องจากความกังวลทีว่ า่ รัฐบาลอาจจะใช้มาตรการเพือ่ ควบคุมราคา อสังหาริมทรัพย์ในเดือนหน้า ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 238.03 จุด หรือ 1.02% ปิ ดที่ 23,143.91 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดทีร่ ะดับ 1,532.07 จุด เพิม่ ขึน้ 8.78 จุด (0.58%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 21 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ื่ มน ้ 0.2% หล ังราคาอาหารเพิม HighLight : ด ัชนี PPI สหร ัฐเดือนม.ค.เพิม ่ ขึน ่ และด ัชนีความเชอ ่ ั ผูส ้ ร้าง บ้านสหร ัฐ ลดลง 1 จุด

Global :

■ อเมริ กา : กระทรวงแรงงานสหรัฐเผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ในเดือนม.ค. ขยายตัว 0.2% (m-o-m) จากราคาอาหารเพิม่ ขึน้ 0.7% เนื่องจาก สภาพอากาศทีห่ นาวเย็นในหลายรัฐเป็ นอุปสรรคต่อการเพาะปลูก ทําให้พชื ผักหลายชนิดมีราคาสูงขึน้ : สมาคมผูส้ ร้างบ้านแห่งชาติของสหรัฐ (NAHB) เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ ส้ ร้างบ้านสหรัฐในเดือนก.พ. อยูท่ ่ี 46 ลดลงจากระดับ 47 ในเดือนม.ค. สวนทางกับทีน่ กั เศรษฐศาสตร์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับ 48 จากต้นทุนวัสดุก่อสร้างทีป่ รับตัวสูงขึน้ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตขิ องเยอรมนี (Destatis) เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 0.8% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 1.7% (y-o-y) จากต้นทุนค่าไฟฟ้าทีส่ งู ขึน้ อาจส่งผลกระทบต่อราคาผูบ้ ริโภคในช่วงหลายเดือนข้างหน้า ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนม.ค. ลดลง 0.5% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 1.2% (yo-y) จากยอดขายทีต่ กตํ่า ส่งผลให้ราคาสินค้าภาคการผลิต และดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในภาคการผลิตของฝรังเศส ่ เพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับ 90 ใน เดือนก.พ. จาก 87 ในเดือนม.ค. โดยมีปจั จัยบวกจากคําสังซื ่ อ้ จากต่างประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยจํานวนผูไ้ ม่มงี านทําระหว่างเดือนต.ค.-ธ.ค. 2555 ลดลง 14,000 คน อยูท่ ่ี 2.5 ล้านคน และจํานวนผูม้ งี านทําในช่วงเดียวกัน เพิม่ ขึน้ 154,000 คน สูร่ ะดับ 29.73 ล้านคน เป็ นจํานวนมากสุดตัง้ แต่ปี 2514 ■ กรีซ : สหภาพแรงงานหลายแห่งในประเทศกรีซนัดหยุดงานและชุมนุมใหญ่ หลังจากรัฐบาลใช้มาตรการรัดเข็มขัดรอบใหม่ ได้แก่ การลดเงิน บํานาญ การลดเงินเดือน และการขึน้ ภาษี ส่งผลให้เศรษฐกิจกรีซถดถอยเป็ นปี ท่ี 6 และอัตราว่างงานก็สงู เป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 27% ■ จีน : กระทรวงพาณิชย์จนี (MOC) เผยการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในเดือนม.ค. ลดลง 7.3% (y-o-y) อยูท่ ่ี 9.27 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐในเดือน จากเศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง ขณะทีต่ น้ ทุนแรงงานของจีนเพิม่ สูงขึน้ ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยยอดขาดดุลการค้าในเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 1.6294 ล้านล้านเยน สูงเป็ นประวัตกิ ารณ์ และขาดดุลต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 7 ติดต่อกัน จากการนําเข้าทีเ่ พิม่ สูงขึน้ : ธนาคารกลางญีป่ นุ่ (บีโอเจ) เผยในปี 2556 ญีป่ นุ่ จะดําเนินมาตรการผ่อนคลายทางการเงินเชิงรุกผ่านทางมาตรการต่างๆ เช่น นโยบายอัตรา ดอกเบีย้ 0% และการซือ้ สินทรัพย์ทางการเงิน เพือ่ บรรลุเป้าหมายเงินเฟ้อที่ 2% เป็ นการดําเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเงินครัง้ ใหญ่ทส่ี ดุ

Thailand updates : ■ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเมือ่ วันที่ 20 ก.พ. คงอัตราดอกเบีย้ นโยบายที่ 2.75% เนื่องจากเห็นว่าอัตราดอกเบีย้ ปจั จุบนั อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมและสามารถรองรับปจั จัยเสีย่ งต่างๆ ได้ และยังมีความกังวลเรือ่ งเสถียรภาพทางการเงิน หลังจากสัญญาณการ ขยายตัวของสินเชื่อบางประเภทและหนี้ครัวเรือนยังสูงขึน้ ต่อเนื่อง เป็ นปจั จัยเสีย่ งทีย่ งั ต้องติดตามเพือ่ ไม่ให้เกิดปญั หาฟองสบูใ่ นอนาคต ■ เงินบาทปิดตลาด (20 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.81/83 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากระดับ 29.84/86 บาท/ดอลลาร์ จาก กนง.มีมติคงอัตรา ดอกเบีย้ นโยบายไว้ในระดับเดิมที่ 2.75%

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (20 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 108.13 จุด หรือ 0.77% ปิ ดที่ 13,927.54 จุด ดัชนี S&P 500 ปรับตัวลง 18.99 จุด หรือ 1.24% ปิดที่ 1,511.95 จุด และดัชนี Nasdaq ร่วงลง 49.19 จุด หรือ 1.53% ปิดที่ 3,164.41 จุด การ เฟดส่งสัญญาณชะลอการซือ้ พันธบัตร ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 95.94 จุด หรือ 0.84% ปิ ดที่ 11,468.28 จุด แรงหนุนจากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกฟื้นตัว ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 14.26 จุด หรือ 0.60% ปิดที่ 2,397.18 จุด แรงหนุนจากหุน้ บริษทั ยาจากรัฐบาลจีนวางแผนทีจ่ ะลดจํานวนผูค้ า้ ส่งยาลง ดัชนี ฮังเส็ ่ ง เพิม่ ขึน้ 163.50 จุด หรือ 0.71% ปิดที่ 23,307.41 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,546.64 จุด เพิม่ ขึน้ 14.57 จุด(0.95%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 22 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : เจ้าหน้าทีร่ ายหลายของเฟดก ังวลเกีย ่ วก ับการดําเนินนโยบายผ่อนคลายมากเป็นพิเศษ อาจ กระทบเงินเฟ้อ

Global : ■ อเมริ กา : รายงานการประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ระบุเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงหลายรายกังวลว่าการดําเนินนโยบาย ผ่อนคลายมากเป็ นพิเศษอาจทําให้เงินเฟ้อสูงขึน้ และกระทบต่อเสถียรภาพการเงินในอนาคต โดยทีผ่ า่ นมาเฟดดําเนินนโยบายผ่อนคลายเชิง ปริมาณ 3 รอบ รวมถึงการซือ้ สินทรัพย์ขนานใหญ่ 2 รอบ ส่งผลต่อความวิตกกังวลของนักลงทุนทัวโลก ่ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ทรงตัวในเดือนม.ค. ตรงข้ามกับทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ อาจส่งผลให้ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ใช้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจต่อไป ขณะที่ CPI พืน้ ฐานในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 0.3% มากกว่าคาดว่าที่ 0.2% จากต้นทุนค่าบริการเดินทาง ทางอากาศ และต้นทุนด้านอื่นๆ ปรับตัวสูงขึน้ ■ ยุโรป : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของยูโรโซนในเดือนก.พ. ลดลงสูร่ ะดับ 47.8 จาก 47.9 ในเดือนม.ค. และดัชนี PMI เบือ้ งต้นภาคบริการ ลดลง อยูท่ ร่ี ะดับ 47.3 จาก 48.6 ในเดือนม.ค. บ่งชีภ้ าวะหดตัวของกิจกรรมทางธุรกิจ ■ เยอรมนี : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดีชนี PMI เบือ้ งต้นภาคการผลิตของเยอรมนีในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 50.1 จาก 49.8 ในเดือนม.ค. บ่งชีภ้ าค การผลิตของเยอรมนีมกี ารขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า ในขณะทีด่ ชั นี PMI เบือ้ งต้นภาคบริการ ลดลง สูร่ ะดับ 54.1 จาก 55.7 ในเดือนม.ค. ■ สเปน : นายกรัฐมนตรีสเปนเผยยอดขาดดุลของสเปน ณ สิน้ ปี 2555 อยูต่ ่าํ กว่า 7% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ จากสหภาพ ยุโรป (อีย)ู กําหนดให้ยอดขาดดุลอยูใ่ นระดับ 6.3% ทัง้ นี้รฐั บาลสเปนยืนยันได้เดินหน้าปฏิรปู การคลังอย่างทีไ่ ม่เคยปรากฎมาก่อน ■ ฝรังเศส ่ : ผลสํารวจแสดงให้เห็นว่าดัชนี PMI เบือ้ งต้นภาคการผลิตของฝรังเศสในเดื ่ อนก.พ.เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 43.6 จาก 42.9 ในเดือนม.ค. ขณะทีด่ ชั นี PMI ภาคบริการเบือ้ งต้นลดลง อยูท่ ่ี 42.7 จาก 43.6 ในเดือนม.ค. บ่งชีก้ จิ กรรมในภาคธุรกิจของฝรังเศสยั ่ งคงอยูใ่ นภาวะหดตัว ■ จีน : 21st Century Business Herald เผยยอดปล่อยเงินกูข้ องจีนในเดือนก.พ.ยังอยูท่ ร่ี ะดับสูง โดยธนาคารชัน้ นํา 4 แห่งของประเทศปล่อย เงินกูค้ รัง้ ใหม่วงเงิน 2.50 แสนล้านหยวนในช่วง 17 วันแรกของเดือน ก.พ. บ่งชีค้ วามต้องการสินเชื่อในปี 2556 อยูใ่ นเกณฑ์ดี ■ ญี่ปนุ่ : สมาคมผูป้ ระกอบการร้านค้าญีป่ นุ่ เผยยอดขายของซูเปอร์มาร์เก็ตในเดือนม.ค. ลดลง 4.7% (m-o-m) ลดลงเป็ นเดือนที่ 11 ติดต่อกัน จากความต้องการผลิตภัณฑ์ประเภทอาหารทีล่ ดลง

Thailand updates : ■ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) เผยผลการสํารวจความเชื่อมันของภาคอุ ่ ตสาหกรรมไทยในเดือน ม.ค. อยูท่ ร่ี ะดับ 97.3 ลดลง จากระดับ 98.8 ในเดือน ธ.ค.55 โดยปจั จัยสําคัญ ได้แก่ ต้นทุนการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการปรับขึน้ ค่าจ้างขัน้ ตํ่า 300 บาท/ต่อวัน ราคาพลังงานก็ มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึน้ และความกังวลต่อการแข็งค่าของเงินบาทและภาวะเศรษฐกิจการเงินโลก ■ เงินบาทปิดตลาด (21 ก.พ.) ทีร่ ะดับ 29.86/88 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวเท่ากันกับเปิดตลาด

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (21 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 46.92 จุด หรือ 0.3% ปิ ดที่ 13880.62 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 9.53 จุด หรือ 0.6% ปิดที่ 1502.42 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 32.92 จุด หรือ 1% ปิดที่ 3131.49 จุด จากความกังวลเกีย่ วกับข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอของสหรัฐ และยูโรโซน และแรงกดดันจากความกังวลทีว่ า่ เฟดอาจจะยุตโิ ครงการซือ้ พันธบัตร ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 159.15 จุด หรือ 1.39% ปิดที่ 11,309.13 จุด จากนักลงทุนเทขายหุน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในช่วงก่อนหน้า ดัชนีเซีย่ ง ไฮ้คอมโพสิต ลดลง 71.23 จุด หรือ 2.97% ปิ ดที่ 2,325.95 จากความกังวลเกีย่ วกับการควบคุมตลาดอสังหาริมทรัพย์ของจีน ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 409.78 จุด หรือ 1.76% ปิดที่ 22,897.63 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,528.74 จุด ลดลง 17.90 จุด( 1.16%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

MACRO VIEWS

ฉบ ับประจําว ันที่ 26 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1/2

มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : “สงครามค่าเงิน” ป่วนโลก..ใครแพ้ใครชนะ ?

HighLight : API เผยอุปสงค์ปิโตรเลียมในสหรัฐฯ ลดลงตํา่ สุดในรอบ 18 ปี

Global :

■ สหรัฐ : การปิ โตรเลียมสหรัฐ (API) เผยอุปสงค์ปิโตรเลียมในสหรัฐอเมริกาในเดือนม.ค. ลดลง 1.7% (y-o-y) สูร่ ะดับตํ่าสุดในรอบ 18 ปี อยูท่ ร่ี ะดับ 17.96 ล้านบาร์เรลต่อวัน ผลจากความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจสหรัฐ และเศรษฐกิจโลก ■ ยุโรป : คณะกรรมาธิการยุโรปคาดผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของยูโรโซนในปี 2556 ลดลง 0.3% เทียบกับคาดการณ์เมือ่ เดือนพ.ย. ลดลง 0.1% ส่วนอัตราว่างงานคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 12.2% จากการประเมินก่อนหน้านี้ท่ี 11.8% และเสนอแนะให้มกี ารปฏิรปู ในด้านต่างๆ โดยเร็วเพือ่ ยุตวิ กิ ฤตหนี้ในภูมภิ าค และส่งเสริมการฟื้นตัว ■ อังกฤษ : มูดสี ์ อินเวสเตอร์ส เซอร์วสิ ลดอันดับความน่าเชื่อถือของอังกฤษลง 1 ขัน้ จาก AAA สูร่ ะดับ Aa1 จากการคาดการณ์แนวโน้มการ ขยายตัวในระยะกลางของเศรษฐกิจอังกฤษลดลง และผลกระทบของภาระหนี้สนิ ทีร่ ะดับสูงและยังไม่มแี นวโน้มทีจ่ ะปรับตัวดีขน้ึ ■ เยอรมนี : สถาบันวิจยั เศรษฐกิจของเยอรมนี เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 107.4 จาก 104.3 ใน เดือนม.ค. ซึง่ ส่งสัญญาณบวกเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ่ ให้คาํ มันว่ ่ าจะทําให้ยอดขาดดุลของประเทศอยูท่ ร่ี ะดับศูนย์ภายในปี 2560 ด้วยการลดยอดการใช้จา่ ยภาค ■ ฝรังเศส ่ : ประธานาธิบดีฝรังเศส สาธารณะ โดยการคุมการใช้จา่ ยงบประมาณของประเทศ ท้องถิน่ และงบประมาณด้านความมันคงในสั ่ งคม เพือ่ ดําเนินการให้ได้ตามขีดจํากัด ของยอดขาดดุลโดยสหภาพยุโรปที่ 3% และกระตุน้ การเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยจะไม่เพิม่ มาตรการรัดเข็มขัดในปีน้ี ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลี เผยความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 86.0 จาก 84.7 ในเดือนม.ค. สูงสุดในรอบ 4 เดือน โดยเป็ นการปรับขึน้ ในทุกส่วน ทัง้ ในเรือ่ งภาวะในปจั จุบนั และอนาคต และการจ้างงาน และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการเงินส่วนบุคคล ■ จีน : เอชเอสบีซี เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของจีนในเดือนก.พ. ลดลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 4 เดือนทีร่ ะดับ 50.4 จาก 52.3 ในเดือนม.ค. นักวิเคราะห์มองว่าเศรษฐกิจของจีนยังคงฟื้นตัวขึน้ ทีละน้อย แม้ PMI เบือ้ งต้นเดือนก.พ.จะชะลอลงก็ตาม : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี (NBS) เผยราคาบ้านในเมืองใหญ่ของจีนในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 2.2% (m-o-m) จากเดือนธ.ค. ที่ 1.2% (m-o-m) โดยเป็ นการเพิม่ ในอัตราทีเ่ ร็วขึน้ บ่งชีร้ ฐั บาลจะยังคงดําเนินมาตรการชะลอความร้อนแรงในตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เผยฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 4 เดือนแรก ของปี งบประมาณ 2556 (ต.ค. 55 - ม.ค.56) รัฐบาลมีรายได้นําส่งคลังทัง้ สิน้ 674,528 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีก่อน 131,975 ล้านบาท หรือ 24.3% โดยมีปจั จัยเสริม มาจากการจัดเก็บภาษีมลู ค่าเพิม่ และภาษีสรรพสามิตรถยนต์ สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน และผลจากโครงการรถยนต์คนั แรกด้วย ซึง่ สะท้อน ถึงเศรษฐกิจภายในประเทศทีย่ งั คงเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ขณะทีก่ ารเบิกจ่ายเงินงบประมาณมีทงั ้ สิน้ 994,027 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปี ก่อน 353,749 ล้านบาท หรือ 55.2% จากการทีพ่ .ร.บ.งบประมาณรายจ่ายของปีงบประมาณ 2555 ทีม่ ผี ลบังคับใช้ลา่ ช้า ■ เงินบาทปิดตลาด (22 ก.พ.) อยูท่ ร่ี ะดับ 29.85/87 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์ ตามสกุลเงินภูมภิ าค ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (22 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 119.95 จุด หรือ 0.86% ปิดที่ 14,000.57 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 13.18 จุด หรือ 0.88% ปิดที่ 1,515.60 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 30.33 จุด หรือ 0.97% ปิดที่ 3,161.82 จุด แรงหนุนจากผลประกอบการของบริษทั ชัน้ นํา สหรัฐ และความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในเยอรมนีเพิม่ ขึน้ ■ ตลาดหุน้ [พิ เอเชี ชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 76.81 จุด หรือ 0.68% ปิดที่ 11,385.94 จากเงินเยนอ่อนค่า ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตหน้ ลดลง มพ์ยขดัอ้ ความ] า 1 11.79 จุด หรือ 0.51% ปิดที่ 2,314.16 จุด จากราคาบ้านในประเทศปรับตัวขึน้ รัฐบาลจะใช้มาตรการควบคุมทีเ่ ข้มงวดขึน้ เพือ่ ป้องกันภาวะฟองสบู่ใน สินทรัพย์ ดั ชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 124.23 จุด หรือ 0.54% ปิ ดที่ 22,782.44 จุด หุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,540.13 จุด เพิม่ ขึน้ 11.39 จุด (0.74%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL RESEARCH :

ฉบ ับที่ 7 ประจําว ันที่ 26 ธ ันวาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

“สงครามค่าเงิน” ป่วนโลก..ใครแพ้ใครชนะ ?

สัญญาณแรกของความกังวลใน “สงครามค่าเงิน” เกิดขึน้ ระหว่างสหรัฐอเมริกา สหราช ld อาณาจักร ญีป่ นุ่ จีน และกลุม่ ประเทศเกิดใหม่อ่นื ๆ ในขณะทีก่ ลุม่ ประเทศยูโรโซนยังคง จับตามองอยู่ ใครจะเป็ นผูช้ นะในสงครามค่าเงินในครัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั การตัดสินใจดําเนิน d นโยบายการเงินเป็ นสําคัญ ทัง้ การใช้นโยบายการขยายปริมาณเงิน การลดอัตราดอกเบีย้ และการแทรกแซงอัตราแลกเปลีย่ น เพือ่ หวังผลต่อการอ่อนค่าของสกุลเงินในประเทศตน อย่างไรก็ตามนักวิเคราะห์มองว่ายังมีความเกีย่ วข้องในการดําเนินนโยบายการคลังภายใต้ สถานการณ์ต่างๆ และท้ายที่สดุ การก่อสงครามค่าเงิ นอาจนําไปสู่สงครามทาง เศรษฐกิ จซึ่งแน่ นอนว่าไม่มีประเทศใดจะได้รบั ประโยชน์ อย่างแท้จริ ง

การทําให้คา่ เงินของประเทศอ่อนลง จะส่งผลดีกบั การค้าต่างประเทศ เช่น ราคาสินค้าส่งออกจะมีราคาถูกกว่าสินค้าของประเทศคูแ่ ข่ง ใน ขณะเดียวกันเมื่อสินค้านําเข้ามีราคาสูง จะเป็ นผลดีต่อเกษตรกรและผูผ้ ลิตสินค้าในประเทศนัน้ ๆ เพราะสินค้นค้าผลิตในประเทศมีราคาถูกกว่า ซึง่ สัญญาณแรกของการเกิด “สงครามค่าเงิน” ในปจั จุบนั มีจุดเริม่ ต้นจาก - การขยายตัวทางการเงินอย่างรวดเร็วของสหรัฐฯ สหราชอาณาจักร จากการทุม่ ค่าใช้จา่ ยจํานวนมากในการซือ้ พันธบัตรรัฐบาลเพื่อลด อัตราดอกเบีย้ ในระยะยาว - การประกาศนโยบายทางการเงินทีค่ ล้ายกันของประเทศต่างๆ และความตัง้ ใจในการจะลดการอ่อนค่าของเงินเยน ซึง่ มีความเป็ นไปได้วา่ จะมีการแทรกแซงนโยบายอัตราแลกเปลีย่ นระหว่างประเทศในอนาคต - การปรับการสะสมเงินสํารองระหว่างประเทศใหม่ของจีนและกลุม่ ประเทศเกิดใหม่ ในขณะทีป่ ระเทศในกลุม่ ยูโรโซนเป็ นกลุม่ ประเทศทีม่ ผี จู้ บั ตามมองจํานวนมากในสงครามค่าเงินครัง้ นี้ โดยธนาคารกลางยุโรป หรืออีซบี ี มี แนวโน้มทีจ่ ะเริม่ ลดสภาพคล่อง และการซือ้ คืนหลักทรัพย์อายุ 3 ปี นับตัง้ แต่ฤดูรอ้ นปี 2012 ได้เกิดการลดค่าเงินดอลลาร์สหรัฐเมือ่ เทียบกับค่าเงินยูโร และค่าเงินหยวนของจีน รวมทัง้ เงินสกุลอื่นๆ ของกลุม่ ประเทศเกิดใหม่ ความผันผวนของค่าเงินปอนด์ และการลดค่าเงินเยนเมือ่ เทียบกับค่าเงินสกุล ล่าสุดทีป่ ระชุมรัฐมนตรีคลังและผูว้ า่ การธนาคาร ดอลลาร์สหรัฐ ซึง่ นักวิเคราะห์เชื่อว่าสาเหตุทจ่ี ะทําให้ประเทศใดประเทศหนึ่งเป็ นผูช้ นะ กลาง 20 ประเทศเศรษฐกิจชีน้ ําและเศรษฐกิจเกิด ในสงครามค่าเงินดังกล่าวข้างต้น ควรจะอยูบ่ นพืน้ ฐานของทฤษฎี โดยได้ชใ้ี ห้เห็นถึง ใหม่หรือกลุม่ จี 20 เมือ่ วันที ่ 15-16 กุมภาพันธ์ ที ่ ความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีนโยบายการเงิน ทฤษฎีนโยบายการคลังรวมถึงทฤษฎี ผ่านมา1 โดยทีป่ ระชุมมีมติยุตคิ วามกังวลว่าจะเกิด อัตราแลกเปลีย่ น ดังนี้ “สงครามค่าเงิน” และให้คาํ มันว่ ่ าจะไม่แตะต้องอัตรา 1) ประเทศทีด่ าํ เนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวมากทีส่ ดุ (ซึง่ รวมถึงการแทรกแซง แลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ หรือการลดค่าเงิน เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการแข่งขันให้กบั ตนเอง และ อัตราแลกเปลีย่ น) เพือ่ ทําให้คา่ เงินของประเทศตนเองอ่อนค่าลง โดยการเข้าแทรกแซงโดย ของประเทศใดประเทศหนึง่ เป็ นพิเศษ ธนาคารกลางของประเทศนัน้ ๆ ดังเช่นในกรณีของหลายประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และจีน ในขณะทีใ่ นบางประเทศ เช่น เกาหลีใต้ และบราซิล ใช้วธิ ปี ระกาศลดอัตราดอกเบีย้ นโยบาย เพือ่ หวังผลสะท้อนให้คา่ เงิน ของประเทศลดลง โดยการไหลออกของเงินทุนต่างประเทศ แต่กลับไม่ได้ผลเนื่องจากอัตราดอกเบีย้ ดังกล่าวยังคงอยูใ่ นระดับสูงเมือ่ เปรียบเทียบกับ ประเทศสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามเหตุผลดังกล่าวนําไปสูก่ ารลดค่าเงินของประเทศต่างๆเมือ่ เปรียบเทียบกับค่าเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐหลังจากปี 2012 เป็ นต้นมา 2) นักวิเคราะห์ได้พจิ ารณาความเกีย่ วข้องของนโยบายการคลังเพิม่ เติม โดยในทางทฤษฎีการใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัวจะนําไปสู่ การแข็งค่าของอัตราแลกเปลีย่ นได้ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั สถานการณ์ ดังนี้ - ภายใต้สถานการณ์ “การจ้างงานไม่เต็มที่” การใช้นโยบายการคลังแบบขยายต้ว หรือการขาดดุลงบประมาณส่งผลให้อตั ราดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ ดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ และส่งผลให้คา่ เงินแข็งค่าขึน้ ในทีส่ ดุ - ภายใต้สถานการณ์ “การจ้างงานเต็มที่” การเพิม่ ขึน้ ของอุปสงค์ภายในประเทศจะส่งผลให้อตั ราแลกเปลีย่ นแข็งค่าขึน้ และเป็ นเหตุให้ เกิดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ดังนัน้ จึงจําเป็ นต้องมีอุปทานในสินค้าให้เพียงพอต่ออุปสงค์ภายในประเทศ และแม้หลายประเทศจะได้ประโยชน์ทางการค้าจากการลดค่าเงินตามทีก่ ล่าวมาแล้ว แต่ในทางปฏิบตั คิ า่ เงินทุกประเทศไม่สามารถลด [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 ค่าเงินตัวเองลงได้พร้อมๆ กัน และหากปล่อยให้คา่ เงินอ่อนตัวนานเกินไป อาจทําให้สถานการณ์พลิกไปในทางทีเ่ ลวร้ายลงได้ ___________________________________________________________________________________________________________ 1

หนังสือพิ มพ์เดลิ นิวส์ ฉบับวันจันทร์ที ่ 18 ก.พ. 2556 Natisix \15 Feb 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 27 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : สหร ัฐเผยยอดขายบ้านใหม่เดือนม.ค.พุง ่ 15.6% แตะระด ับสูงสุดในรอบ 4 ปี ครึง่ และราคา บ้านเพิม ่ ต่อเนือ ่ ง

■ อเมริ กา : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดขายบ้านใหม่เดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 15.6% (y-o-y) อยูท่ ่ี 437,000 ยูนิตสูงสุดนับแต่เดือนก.ค. 2551 ขณะทีร่ าคากลางของบ้านใหม่ในเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 2.1% (y-o-y) สูร่ ะดับ 226,400 ดอลลาร์ สอดคล้องกับสแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์/ เคส ชิลเลอร์เผยราคาบ้านในสหรัฐปรับตัวขึน้ ต่อเนื่องในเดือนธ.ค. เพิม่ ขึน้ 0.9% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 6.8% (y-o-y) ส่งสัญญาณว่าการฟื้น ตัวของตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยสหรัฐทีค่ วามแข็งแกร่ง : Conference Board เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 69.6 สูงสุดนับแต่เดือนพ.ย. 2555 จากระดับ 58.4 ใน เดือนม.ค. สะท้อนให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคเริม่ ปรับตัวรับผลกระทบของความไม่แน่นอนทางการคลังของประเทศและการปรับขึน้ ภาษีในเดือนม.ค. ■ อิ ตาลี : ราคาพันธบัตรรัฐบาลอิตาลีลดลง จากสถานการณ์ทางการเมืองทีข่ าดเสถียรภาพ หลังการเลือกตัง้ ทีผ่ า่ นมายังไม่สามารถจัดตัง้ รัฐบาลชุดใหม่ ทําให้เกิดความกังวลว่า วิกฤตหนี้ยโุ รปจะทวีความรุนแรงขึน้ ■ จีน : กระทรวงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศจีน (MIIT) เผยรายได้จากธุรกิจหลักของภาคโทรคมนาคมในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 6.8% (y-o-y) อยูท่ ่ี 8.72 หมืน่ ล้านหยวน และรายได้จากธุรกิจโดยรวมเพิม่ ขึน้ 9.1% อยูท่ ่ี 1.11 แสนล้านหยวน ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงยุทธศาสตร์และการคลังเกาหลีใต้ เผยการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศในปี 2555 ลดลง 14.3% (y-o-y) อยูท่ ่ี 3.90 หมืน่ ล้านดอลลาร์ เป็ นการปรับตัวลงครัง้ แรกในรอบ 3 ปี ผลจากบริษทั เอกชนหลีกเลีย่ งการลงทุนในโครงการเหมืองแร่ในต่างประเทศ จาก ความไม่แน่นอนในภาวะเศรษฐกิจโลก ■ สิ งคโปร์ : คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ (EDB) ของสิงคโปร์ เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของสิงคโปร์ในเดือนม.ค. 2556 ลดลง 0.4% (y-o-y) และลดลง 9.2% (m-o-m SA) มากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดเนื่องจากการลดลงอย่างมากของการผลิตในภาคชีวการแพทย์

Thailand updates : ■ นายกรัฐมนตรี นําทีมเศรษฐกิจร่วมหารือกับนักลงทุนฮ่องกง ระหว่างวันที่ 26 - 27 ก.พ. เพือ่ ส่งเสริมโอกาสการลงทุนในไทยภายใต้แผน ยุทธศาสตร์ และดึงดูดนักลงทุนชัน้ นําและนักการเงินต่างชาติจากฮ่องกง ซึง่ ถือเป็ นตลาดการเงินทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในเอเชีย และความพร้อมของ ไทยทีจ่ ะเป็ นจุดเชื่อมในภูมภิ าค(Connectivity Hub) ตามแผนพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และเชื่อมต่อกับฮ่องกง เนื่องจากฮ่องกงมีทา่ อากาศ ยานและท่าเรือนํ้าลึกขนาดใหญ่ และเป็ นจุดขนส่งสินค้าทีส่ าํ คัญทีม่ ปี ริมาณการขนส่งสินค้าเป็ นอันดับต้นของโลก ■ เงินบาทปิ ดตลาด (26 ก.พ.) ทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.84/86 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวตาม ภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (26 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 115.96 จุด หรือ 0.8% ปิดที่ 13900.13 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 9.09 จุด หรือ 0.6% ปิดที่ 1496.94 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 13.40 จุด หรือ 0.4% ปิดที่ 3129.65 จุด ตลาดได้แรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจที่ แข็งแกร่งของสหรัฐ รวมถึงดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคและยอดขายบ้านใหม่ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ส่วนใหญ่ปรับลดลงจากความกังวลเกีย่ วกับความไม่แน่นอนในผลการเลือกตัง้ ของอิตาลี ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 263.71 จุด หรือ 2.26% ปิ ดที่ 11,398.81 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 32.48 จุด หรือ 1.40% ปิ ดที่ 2,293.34 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 300.39 จุด หรือ 1.32% ปิดที่ 22,519.69 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,530.32 จุด ลดลง 9.81 จุด (- 0.64%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 28 กุมภาพ ันธ์ พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : : ผลประกอบการแบงก์พาณิชย์สหร ัฐใน Q4/55 เพิม่ 36.9% ื่ ถือของอิตาลี : มูดสี เ์ ผยผลการเลือกตงที ั้ ย ่ ังไม่มข ี อ ้ สรุปเป็นปัจจ ัยลบต่อความน่าเชอ

■ อเมริ กา : บรรษัทประกันเงินฝากของรัฐบาลกลางสหรัฐ (FDIC) เผยธนาคารพาณิชย์และธนาคารออมทรัพย์ของสหรัฐทีร่ บั ประกันเงิน ฝากโดย FDIC มีผลประกอบการในไตรมาส 4/2555 เพิม่ ขึน้ 36.9% (q-o-q) สูร่ ะดับ 3.47 หมืน่ ล้านดอลลาร์ เพิม่ ขึน้ ติดต่อกัน 14 ไตรมาส : เจพี มอร์แกน เชส แอนด์ โค ธนาคารรายใหญ่ทส่ี ดุ ของสหรัฐในแง่สนิ ทรัพย์ ประกาศลดจํานวนพนักงานลง จํานวน 4,000 คนในปี 2556 และจํานวน 19,000 คนในธุรกิจสินเชื่อจํานองและธุรกิจธนาคารชุมชนภายในสิน้ ปี 2557 เนื่องจากธนาคารตัง้ เป้าลดรายจ่ายลง ■ ยุโรป : คณะกรรมาธิการยุโรป เผยความเชื่อมันของธุ ่ รกิจและผูบ้ ริโภคทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจในเดือนก.พ.ของ 17 ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร ปรับตัวขึน้ อยูท่ ่ี 91.1 จาก 89.5 ในเดือนม.ค. สูงกว่าคาดการณ์ 90.0 ส่งสัญญาณเศรษฐกิจยูโรโซนกําลังฟื้นตัวจากภาวะถดถอย ■ เยอรมนี : ผลการสํารวจโดยสถาบันวิจยั GfK เผยความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคเยอรมนีในเดือนมี.ค. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 5.9 จาก 5.8 ในเดือน ก.พ. ต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 2 แสดงให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคมีมมุ มองบวกมากขึน้ แม้วา่ ยังมีความระมัดระวังเกีย่ วกับเศรษฐกิจ ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนก.พ.ทรงตัวที่ 86 ซึง่ เป็ นระดับเดียวกับ เดือนม.ค. บ่งชีผ้ บู้ ริโภคยังไม่มมี มุ มองเชิงลบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจฝรังเศส ่ : กระทรวงแรงงานฝรังเศส ่ เผยอัตราว่างงานของฝรังเศสในเดื ่ อนม.ค.เพิม่ ขึน้ 1.4% (m-o-m) และเพิม่ ขึน้ 10.7% (y-o-y) โดยมีผวู้ า่ งงาน 43,900 คน ส่งผลให้ฝรังเศสมี ่ จาํ นวนผูว้ า่ งงานทัง้ สิน้ กว่า 3.169 ล้านคน ซึง่ นับเป็ นระดับสูงสุดนับแต่ปี 2540 ■ อิ ตาลี : มูดสี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ เผยผลการเลือกตัง้ ทีย่ งั ไม่มขี อ้ สรุปเป็ นปจั จัยลบต่ออันดับความน่าเชื่อถือของอิตาลี จากการปฏิรปู เชิง โครงสร้างอาจประสบกับภาวะชะงักงัน รวมถึงประเทศอื่นๆ ในยูโรโซนทีเ่ ศรษฐกิจอยูใ่ นภาวะอ่อนแอ และยังเสีย่ งเกิดวิกฤตหนี้ภมู ภิ าคระลอกใหม่ ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ละสํามะโนประชากรฮ่องกง เผยเศรษฐกิจฮ่องกงในไตรมาส 4/2555 ขยายตัว 2.5% (y-o-y) เพิม่ ขึน้ จาก 1.4% ใน ไตรมาส 3/2555 สะท้อนให้เห็นถึงการขยายตัวในจีนและไต้หวัน ในขณะทีเ่ อเชียเป็ นภูมภิ าคทีช่ ว่ ยหนุ นการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทัวโลก ่ ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยสถาบันทางการเงินของเกาหลีใต้เข้าซือ้ หลักทรัพย์ในตลาดต่างประเทศ ณ สิน้ ปี 2555 เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 6.52 หมืน่ ล้านดอลลาร์ เป็ นครัง้ แรกในรอบ 3 ปี จากบริษทั ประกันและบริษทั จัดการสินทรัพย์ตอ้ งการพันธบัตรสกุลเงินต่างประเทศ

Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง เผยประมาณการเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2556 จะสามารถขยายตัวได้ดตี ่อเนื่อง โดยภาวะเศรษฐกิจ ไทยในเดือนมกราคม 2556 บ่งชีก้ ารขยายตัวได้อย่างสมดุลจากฐานทีต่ ่าํ ปีก่อน โดยแรงส่งหลักจากการใช้จา่ ยภายในประเทศทีเ่ ติบโตอย่าง แข็งแกร่งทัง้ จากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน และการใช้จา่ ยของรัฐบาลทีข่ ยายตัวในระดับสูง ขณะทีก่ ารส่งออกขยายตัวได้ดอี ย่าง ต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 5 นอกจากนี้ การผลิตมีสญ ั ญาณการขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องเช่นกันทัง้ ภาคอุตสาหกรรม และการท่องเทีย่ ว สําหรับใน ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยูใ่ นเกณฑ์ทม่ี นคง ั ่ โดยอัตราการว่างงานทีอ่ ยูใ่ นระดับตํ่าและทุนสํารองระหว่างประเทศทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง ■ เงินบาทปิ ดตลาด (27 ก.พ.) ทีร่ ะดับ 29.82/84 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวเท่ากันกับเปิดตลาดช่วงเช้า

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (27 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ 115.96 จุด หรือ 0.8% ปิดที่ 13900.13 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ 9.09 จุด หรือ 0.6% ปิ ด ที่ 1496.94 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ 13.40 จุด หรือ 0.4% ปิดที่ 3129.65 จุด จากประธานเฟดแถลงปกป้องมาตรการ QE ต่อสภาคองเกรสสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง144.84 จุด หรือ 1.27% ปิดที่ 11,253.97 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 19.88 จุด หรือ 0.87% ปิ ดที่ 2,313.22 จุด แรงหนุนจากหุน้ กลุม่ การเงินและบริษทั สินค้าโภคภัณฑ์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 57.32 จุด หรือ 0.25% ปิดที่ 22,577.01 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,518.05 จุด ลดลง 12.27 จุด ( 0.80%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.