Macro Morning Focus June2013

Page 1

June 2013

Macro Morning Focus


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ธปท. เล็งปรับประมาณการ GDP ปี 56 ในเดือน ก.ค. 56 2. พาณิช ย์จ่อประกาศราคาแนะนา แก้ ไข่ แพง 3. ดัช นีผ้ จู ดั การแผนกจัดซือ้ ภาคอุตสาหกรรมจีนเดือน พ.ค.ส่ งสัญญาณฟื ้ นตัว

Fiscal Policy Office 3 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012

Highlight

1. ธปท. เล็งปรับประมาณการ GDP ปี 56 ในเดือน ก.ค. 56 

นางสาววิบูลย์ลักษณ์ ร่วมรักษ์ อธิบดีกรมการค้ าภายใน กล่าวว่าภายในสัปดาห์นหี ้ ากสถานการณ์ราคา ไข่ไก่ยังไม่กลับเจ้าสู่ภาวะปกติ หรือ มีการขายเกินราคาต้ นทุนที่เหมาะสม กรมฯ จะออกประกาศราคา แนะนาไข่ไก่ขนมาทั ึ ้ ง้ ระบบตัง้ แต่ขายส่งจนถึงขายปลีก เพื่อ ให้ ผ้ ปู ระกอบการไข่ไ ก่ จ าหน่ า ยตามราคา แนะนาที่ประกาศไว้

สศค. วิเคราะห์ว่า แม้ ว่าผลกระทบของการปรับเพิ่มขึน้ เฉพาะราคาไข่ ไก่ ต่ออัตราเงินเฟ้ อจะ ไม่ มากนัก โดยหากพิจารณาจากสัดส่ วนของราคาไข่ และผลิ ต ภัณ ฑ์ นมในตระกร้ าการ คานวณดัช นีราคาผู้บริโภคที่อยู่ในระดับต่าเพียงร้ อยละ 1.77 อย่ า งไรก็ ต าม การปรั บ ตั ว เพิ่มขึน้ ของราคาไข่ อาจจะส่ งผลกระทบต่ อเนื่องไปยังราคาอาหารสาเร็จรูปซึ่งมีสัดส่ วนใน ตระกร้ าการคานวณอัตราเงินเฟ้ อสูงถึงร้ อยละ 14.4 ประกอบกั บ ในช่ วงที่ผ่ านมาราคา อาหารประเภทอื่นๆ อาทิ เนือ้ สัตว์ ผักและผลไม้ มีการปรับตัวเพิ่มขึน้ เช่ นกัน เนื่ องจาก สภาพอากาศที่ร้อนจัด ทังนี ้ ้ ล่ าสุดอัตราเงินเฟ้ อของไทย ณ เดือน เม.ย. 56 อยู่ท่รี ้ อยละ 2.4

3. ดัช นีผ้ จู ดั การแผนกจัดซือ้ ภาคอุตสาหกรรมจีนเดือน พ.ค.ส่ งสัญญาณฟื ้ นตัว 

105. 61

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า ภาวะเศรษฐกิจเดื อ น เม. ย. 56 ชะลอ ลงตามการใช้ จ ่า ย Bath/ USD 30.47 ภาคเอกชนสะท้ อ นจากดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชนขยายตัวร้ อ ยละ 1.7 จากช่วงเดี ย วกั น ปี ก่ อ น ชะลอลงจากเดือ นก่อ นตามการใช้จา่ ยในหมวดยานยนต์ และรายได้ เกษตรกรที่ ห ดตั ว ร้ อ ยละ -7.7 แต่ สินค้ าอุปโภคบริโภคยังขยายตัวตามปกติ ส่วนดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวร้ อ ยละ -3.8 จากการ ลดระดับการผลิตในบางอุตสาหกรรมเพื่อ ลดการใช้พ ลังงานชัว่ คราวในต้ นเดือ น เม.ย. ที่ผ่านมา ประกอบ ม Currencies กับปัญ หาขาดแคลนวัตถุดิบในบางอุตสาหกรรมและการส่งออกที่ฟื้ นตัวช้า อย่างไรก็ดธี ปท.จะพิจารณา THB/USD เรื่อ งตัวเลขเศรษฐกิจปี 56 ในเดือ น ก.ค. 56 นี ้ (onshore) สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจไทยในเดือน เม.ย. 56 ที่ขยายตัวในอัตราชะลอลง ส่ วนหนึ่ งเป็ นผล JPY /USD มาจากในช่ วงที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวต่อเนื่องและเร่ งมากในช่ วงไตรมาสที่ 4 ปี ที่ แล้ ว ทัง้ ทางด้านอุปสงค์และอุปทาน เนื่องจากมีการฟื ้ น ตัว จากปั ญหาน ้า ท่ วมและนโยบาย CNY /USD ภาครัฐที่สนับสนุนการใช้ จ่ายในประเทศ เพื่อทดแทนภาคต่างประเทศที่ ส่ งสั ญ ญาณชะลอตัว USD/EUR ต่อเนื่อง ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญ อย่ างไรก็ด ี ประเด็น ที่ ต้ อ งติด ตาม NEER Index อย่ างใกล้ ชิด คือรายได้เกษตรกรที่เริ่มหดตัวแล้ วเกือบทั่วทุก ภาค ซึ่ งจะส่ งผลโดยตรงต่ อ การ (Average 08=100) บริโภคภาคเอกชนได้ในระยะต่อไป เนื่องจากเกษตรกรมีสัดส่ วนในระดับ สู ง หรื อ ร้ อยละ 40. 0 ของกาลังแรงงงานรวม ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 56 จะขยายตัวร้ อยละ 5. 3 yoy โดย Stock Market มีช่วงคาดการณ์ ร้ อยละ 4.8 - 5.8 (โดยจะมีการปรับประมาณการณ์ อกี ครัง้ ในเดือน มิ. ย. 56) Market

2. พาณิช ย์จ่อประกาศราคาแนะนา แก้ ไข่ แพง 

Dubai

สานักงานสถิติแห่งชาติของจีนเปิ ดเผยข้อ มูล ตัวเลขดัชนี ผ้ ู จัด การแผนกจัด ซือ้ (Purchasing Manager Index, PMI) ภาคอุตสาหกรรมของจีนในเดือ น พ.ค.อยู่ที่ 50.8 เพิ่มขึนจาก ้ 50.6 ในเดือ น เม.ย.ตัว เลข ดังกล่าวดีกว่าที่หลายฝ่ ายคาดไว้ ที่ระดับ 50 จากผลสารวจของสานักข่าว Bloomberg โดยตัวเลขPMI ที่ มากกว่า 50 แสดงถึงการขยายตัว ดัง นั ้น ตั ว เลขทั ้ง 2 เดื อ นที่ ผ่ า นมาบ่ง ชีว้ ่ า มี โ อ กาสที่ ก ารผลิ ต ภาคอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 2 ของจีนอาจปรับตัวดีขนึ ้

สศค. วิเคราะห์ว่า เศรษฐกิจจีนในปี 2556 จะขยายตัวที่ร้อยละ 8.2 (คาดการณ์ ณ เดื อ น มี.ค. 56) ซึ่งเป็ นการเติบโตมากกว่ าปี ที่แล้ วที่ร้อยละ 7.8 อย่างไรก็ดี อั ต ราการขยายตั ว ที่ สศค. คาดการณ์ ก็ยงั ถือว่ าไม่ สูงเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ จีน ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมาที่อยู่ท่รี ้ อยละ 10.5 อี ก ทัง้ ตั ว เลขในไตรมาสแรก ของปี 56 ของ เศรษฐกิจจีนก็แผ่ วลงมาอยู่ท่รี ้ อยละ 7.7จึงทาให้หลายฝ่ ายกังวลว่ าเศรษฐกิจจีนอาจชะลอ ตัวลงในปี นี ้ กระทั่งทางรัฐบาลจีนเองก็มองว่ าเศรษฐกิจของตนในปี 56 จะโตได้ เพียงร้อยละ 7.5 เท่านัน้ การประกาศตัวเลข PMI ภาคอุตสาหกรรมที่แสดงถึงการขยายตัวออกมาจึงอาจ ช่ วยลดความกังวลดังกล่ าวไปได้ ส่วนหนึ่ง อย่างไรก็ดี การพิจารณาทิศทางเศรษฐกิจจีน ใน ไตรมาสที่ 2 ให้ช ัดเจน อาจต้ องรอตัวเลขเครื่องชีส้ าคัญทางเศรษฐกิจที่จะประกาศออกมา ในสัปดาห์หน้ า ได้ แก่ ข้ อมูลด้ านการค้ า ยอดค้ าปลีก ตัวเลขการผลิตภาคอุตสาหกรรม และ อัตราเงินเฟ้ อ

Year to Date

Ast.13

-

105. 14

113. 0

30.39

29.64

30.70

Apr

May

June

106. 81

102. 52

100. 41

30.11

29.02

29.74

30 M ay 13

3 June 13 (spot)

% change

31 May 13

30.16

30.25

0.30

30.41

100.72

100.46

-0 .26

100.55

6.1307

6.1345

0.0620

6.1329

1.3048

1.2995

-0 .4062

1.3001

107.34

107.15

-0 .19

106.75

30 May 13 (Close)

31 May 13 (Close)

1,581.32

1,562.07

-1 .22

15,324.53

15,115.57

-1 .36

6,656.99

6,583.09

-1 .11

NIKKEI-225

13,589.03

13,774.54

1.37

Hang Seng

22,484.31

22,392.16

-0 .41

3,336.01

3,311.37

-0 .74

SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from ( in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Y ield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.689

-0.084

-8.195

-62.191

Thailand-10 Year

3.497

-0.126

9.511

-24.754

USA-2 Year

0.297

0.020

8.590

3.150

USA-10 Year

2.132

1.270

45.830

59.890

30 May 13

31 M ay 13

3 June 13 ( Spot)

Commodities Commodities

%change

Dubai (USD/BBL)

98.82

98.85

-

0.03

WTI (USD/BBL)

93.57

91.93

-

-1 .75

Brent (USD/BBL)

102.19

100.83

-

-1 .33

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.93

37.93

37.93

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.48

35.48

35.48

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,413.25

1,386.40

1,394.25

0.57

Spot Gold B ureau of Ma croe conomi c Poli cy,F iscal P olicy Off ice, Mi nistry of Fina nce Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

2013 Q1


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 4 มิถุนายน 2556

1. พาณิชย์ เผยเงินเฟ้อทั่วไปเดือน พ.ค. อยู่ท่ รี ้ อยละ 2.27 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. รมว.พลังงาน ยันปรั บราคา LPG ภาคครัวเรือน เริ่ม 1 ก.ค. นี ้ 3. นักลงทุนจีนซือ้ อสังหาฯนิวยอร์ ก 2013 Year 2012 to Ast.13 Highlight Q1 Apr May June Date 1. พาณิชย์ เผยเงินเฟ้อทั่วไปเดือน พ.ค. อยู่ท่ รี ้ อยละ 2.27 Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 98.93 1105.15 (105-115)  ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิ ดเผยว่า ดัชนีราคาผู้บริ โภคทั่วไป(CPI) เดือน พ.ค.56 อยู่ที่ 105.15 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 30.11 29.02 29.74 30.39 29.65 (28.9-29.9) 2.27 จากช่ว งเดี ย วกันของปี ก่ อน (หรื อ เพิ่ ม ขึน้ ร้ อยละ 0.24 เมื่อ เที ย บกับ เดื อนก่ อนหน้ า ) ซึ่งต่ า กว่า ที่ Bath/USD 30.47 นักวิเคราะห์คาดไว้ ที่ร้อยละ 2.40 ในขณะที่ดชั นีราคาผู้บริ โภคพื ้นฐาน (Core CPI) ซึ่งไม่รวมหมวดอาหารสด และพลังงานอยูท่ ี่ 102.98 เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.94 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.05 จากเดือน เม.ย.56 ทังนี ้ ้ กระทรวงพาณิชย์ คาดว่าอัตราเงินเฟ้ อในไตรมาส 2/56 จะเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันปี ม ก่อน และคาดการณ์วา่ อัตราเงินเฟ้ อทังปี ้ 56 อยูใ่ นกรอบประมาณการที่ ร้ อยละ 2.8-3.4 4 June 13 

สศค. วิเคราะห์ ว่า อัตราเงินเฟ้อเดือน พ.ค. 56 อยู่ท่รี ้ อยละ 2.3 ลดลงเมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกัน ของปี ก่ อน แสดงให้ เห็นถึงแรงกดดันเงินเฟ้อที่ลดลง เนื่องจากราคานา้ มั นในตลาดโลกลดลง ประกอบกับการแข็งค่ าของเงินบาท ทาให้ ราคานา้ มันในประเทศปรั บตัวลดลง อย่ างไรก็ดี หาก พิจารณา อัตราการขยายตัว (%mom) พบว่ าดัชนีราคาผู้บริ โภคทั่วไปขยายตัวเพิ่มขึน้ ที่ร้อยละ 0.24 จากเดือนก่ อนหน้ า ที่ขยายตัวร้ อยละ 0.16 สาเหตุ หลั กจากสินค้ าส าคั ญ หลายหมวดที่ ปรั บตัวเพิ่มขึน้ ได้ แก่ ผักและผลไม้ ไข่ และเนือ้ สัตว์ เป็ ดไก่ เป็ นต้ น เนื่องจากสภาพอากาศที่ แปรปรวน ส่ งผลให้ ผลผลิตได้ รับความเสียหาย ปริ มาณสินค้ าที่เข้ าสู่ตลาดลดลงส่ งผลให้ ราคา ปรั บตัวสูงขึน้ โดยปรั บตัวเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 4.4 8.8 และ 0.6 ตามลาดับ ทัง้ นี ้ สศค.คาดว่ าอัตราเงิน เฟ้อทั่วไปในปี 56 จะอยู่ท่รี ้ อยละ 3.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ท่รี ้ อยละ 2.5 ถึง 3.5)

2. รมว.พลังงาน ยันปรั บราคา LPG ภาคครัวเรือน เริ่ม1 ก.ค. นี ้  รมว.พลังงาน เปิ ดเผยว่า จะมีการหารื อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อ งในสัปดาห์หน้ า เกี่ยวกับการปรับโครงสร้ า ง ราคาพลังงานทัง้ ระบบ ให้ มี ความสอดคล้ อ ง และเหมาะสมกับ สถานการณ์ ในปั จจุบัน รวมถึงราคาก๊ า ซ ปิ โตรเลียมเหลว (LPG) ก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV) ตลอดจนราคานา้ มันทุกประเภทด้ วย เพื่อให้ ราคาพลังงานทุกชนิดในประเทศ มีเสถียรภาพมากขึ ้น ไม่ผนั ผวนตามราคาตลาดโลก ส่วนการปรับราคา LPG ภาคครัวเรื อน ยืนยันว่า จะเริ่ มได้ ในวันที่ 1 ก.ค. นี ้ เพื่อให้ โครงสร้ างราคามีความชัดเจนมากขึ ้น พร้ อมกล่าวถึง แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ าของไทย (PDP2013) ว่า ไทยจะมีกาลังการผลิตไฟฟ้ ารวมในปี 73 ที่ระดับ 7 หมื่นเมกะวัตต์ จาก 3.1 หมื่นเมกะวัตต์ในปั จจุบนั 

สศค. วิเคราะห์ ว่า การปรั บโครงสร้ างราคาพลังงานจะทาให้ ราคาพลังงานต่ างๆสะท้ อนต้ นทุนที่ แท้ จริง ไม่ บดิ เบือนกลไลตลาดจนทาให้ เกิดการบริโภคอย่ างฟุ่ มเฟื่ อย และนาไปใช้ งานอย่ างผิด วัตถุประสงค์ นอกจากนัน้ ยังจะทาให้ สถานะของกองทุนนา้ มันมีความมั่นคง และทาหน้ าที่เพื่อ รั กษาเสถียรภาพด้ านราคาอย่ างแท้ จริง โดยจะอุดหนุนเฉพาะกลุ่มประชากรที่มีรายได้ น้อย ซึ่ง คาดว่ าหลังจากมีการปรั บโครงสร้ างราคา LPG แล้ วจะทาให้ ใช้ เงินในการอุดหนุนเชือ้ เพลิงใน กลุ่มก๊ าซเพียงเดือนละร้ อยล้ านบาท เปรี ยบเทียบกั บปั จจุบันที่ต้องอุดหนุนถึงเดือนละ 3,000 ล้ านบาท อย่ างไรก็ดี การปรั บขึน้ ราคา LPG จะส่ งผลกระทบต่ ออัตราเงินเฟ้อบ้ าง โดย สศค. คาดว่ าหากมีการปรั บขึน้ ราคาในเดือน ก.ค. 56 จะทาให้ อัตราเงินทั่วไปในปี 56 เพิ่มขึน้ จาก ประมาณการเดิมร้ อยละ 0.02 มาอยู่ท่รี ้ อยละ 3.02

3. นักลงทุนจีนซือ้ อสังหาฯนิวยอร์ ก  ซันเกต ทรัสต์ ของจีน ร่ วมกับเอ็ม ซาฟรา แอนด์ โค บริ ษัทลงทุนจากตระกูลซาฟราของบราซิล ซื ้อหุ้น ร้ อยละ 40 ในอาคารเจนเนอรั ล มอเตอร์ ส ซึ่ ง ตั ว อาคารมี มูล ค่ า 3.4 พัน ล้ า นดอลลาร์ ข้ อ ตกลงนี ท้ าให้ อาคาร พื ้นที่ 2 ล้ านตารางฟุต สูง 50 ชัน้ มองออกไปเห็นเซ็นทรัล พาร์ คของนิวยอร์ ค กลายเป็ นอาคารสานักงานที่แพง ที่สดุ ในสหรัฐ โดยข้ อตกลงเสร็ จสิ ้นในวันศุกร์ ที่ผ่านมา และมีขึ ้นหลังจากบริ ษัทฉางฮุ่ย อินเตอร์ เนชันแนล โฮล ดิงส์ ซื ้อบริ ษัทผลิตเนือ้ หมู "สมิธฟิ ลด์ ฟูดส์" มูลค่า 4.7 พันล้ านดอลลาร์ ซึ่งหากได้ รับการอนุมตั ิ ก็จะเป็ นการ ครอบครองบริ ษัทสหรั ฐโดยบริ ษัทจากจี นครัง้ ใหญ่ที่สดุ ทัง้ นี ้ ก่อนหน้ านี ต้ ระกูลจางเข้ าซือ้ หุ้น ร้ อยละ 49 ใน พาร์ ค อเวนิว พลาซ่าเมื่อปี 2554 เป็ นเงินเกือบ600 ล้ านดอลลาร์ 

สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจจีนขยายตัวอย่ างรวดเร็ ว ในช่ วง 10 ปี ที่ผ่านมา ทาให้ ประชากรมี รายได้ สูงขึน้ จึงมีความต้ องการสินค้ าต่ างๆ เพิ่มขึน้ รวมทัง้ ตลาดอสังหาริ มทรั พย์ ซ่ งึ ขยายตัว ต่ อเนื่องเช่ นกัน โดยเฉลี่ยแล้ วมูลค่ าคลาดอสังหาริมทรั พย์ เพิ่มขึน้ กว่ าร้ อยละ 20.0 ต่ อปี ในช่ วง 20 ปี ที่ผ่านมา (จากที่มีมูลค่ า 47.4 พันล้ านหยวนในปี 2531 เพิ่มขึน้ เป็ น 1,865.5 พันล้ านหยวน ในปี 2552) ดังนัน้ นักลงทุนในภาคอสังหาฯ ของจีนบางส่ วนจึงเริ่ มหันมาลงทุนในต่ างประเทศ โดยเฉพาะสหรั ฐ โดยการลงทุนของจีนในภาคอสังหาริ มฯ เพิ่มขึน้ อย่ างต่ อเนื่องในช่ วง 4 ปี ที่ ผ่ านมา (นับจากปั ญหาซับไพร์ มในสหรั ฐ ที่ส่งผลให้ ราคาอสังหาฯลดลงมาก)

Currencies

3 June 13

% change

(spot)

30.25

30.46

0.69

30.40

JPY/USD

100.46

99.51

-0.95

99.62

CNY/USD

6.1345

6.1312

-0.054

6.1234

USD/EUR

1.2995

1.3075

0.616

1.3065

NEER Index (Average 08=100)

107.15

105.85

-1.30

106.14

Stock Market 31 May 13 (Close)

3 June 13 (Close)

1562.07

1539.26

-1.46

15115.57

15254.03

0.92

6583.09

6525.12

-0.88

NIKKEI-225

13774.54

13261.82

-3.72

Hang Seng

22282.19

22246.07

-0.16

3311.37

3291.08

-0.61

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.692

0.303

-3.206

-56.879

Thailand-10 Year

3.563

6.560

18.896

-15.556

USA-2 Year

0.2933

-0.390

7.350

4.330

USA-10 Year

2.1283

-0.340

38.840

66.960

Commodities Commodities

31 May 13

3 June 13

4 June 13 (Spot)

%change

Dubai (USD/BBL)

98.82

98.85

-

0.03

WTI (USD/BBL)

91.93

93.41

-

1.61

100.83

102.03

-

1.19

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.93

37.93

37.93

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.48

35.48

35.48

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1386.40

1411.10

1412.51

0.10

Brent (USD/BBL)

Spot Gold

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

31 May 13

THB/USD (onshore)


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ยอดนาเข้ านา้ มันเชือ้ เพลิงในเดือน เม.ย. 56 หดตัวร้ อยละ -2 เมื่อเทียบกับเดือนก่ อนหน้ า 2. ทิสโก้ คาด กนง. คงอัตราดอกเบีย้ ในการประชุมครั ง้ ถัดไป 3. ยอดขายรถปิ กอัพ และเอสยูวีของสหรั ฐฯ ในเดือน พ.ค. 56 ปรั บตัวเพิ่มขึน้ Highlight 1. ยอดนาเข้ านา้ มันเชือ้ เพลิงในเดือน เม.ย. 56 หดตัวร้ อยละ -2 เมื่อเทียบกับเดือนก่ อนหน้ า

Fiscal Policy Office 5 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012 Dubai

105.61

อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน เปิ ดเผยว่า มูลค่าการนาเข้ าน ้ามันเชื ้อเพลิงในเดือน เม.ย. 56 อยู่ที่ 980,000 บาร์ เรลต่อวัน 30.47 หดตัวร้ อยละ -0.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน หรื อร้ อยละ -2.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ า ทาให้ ในช่วง 4 Bath/USD เดือนแรกของปี 56 มูลค่าการนาเข้ าน ้ามันเชื ้อเพลิงหดตัวร้ อยละ -2.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน สาหรับ ภาพรวมการใช้ น ้ามันเชื ้อเพลิงในช่วง 4 เดือนแรกของปี 56 พบว่า กลุ่มน ้ามันเบนซินเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 9 น ้ามันดีเซล เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5 NGV เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 11 และ LPG เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 8 จากภาคขนส่งและปิ โตรเคมีภายหลังจากที่ ม รัฐบาลมีมาตรการดูแลการใช้ LPG ข้ ามประเภท Currencies  สศค. วิเ คราะห์ ว่า มูลค่ าการนาเข้ า นา้ มันเชือ้ เพลิงที่หดตัวลงมีสาเหตุสาคัญจากราคานา้ มันดิบดูไ บใน THB/USD ตลาดโลกที่ปรั บตัวลดลงนับจากต้ นปี 56 ถึงร้ อยละ -8.3 และผลของค่ าเงินบาทที่แข็งค่ าขึน้ นับจากต้ นปี (onshore) 56 ร้ อยละ 0.7 โดยเฉพาะในช่ วง 4 เดือนแรกของปี 56 ที่แข็งค่ าขึน้ ถึงร้ อยละ 4.1 ทาให้ ในช่ วง 4 เดือน แรกของปี 56 มูลค่ าการนาเข้ าสินค้ าขยายตัว 4.6 ขณะที่มูลค่ าการส่ งออกสินค้ าขยายตัว 4.0 ส่ งผลให้ JPY/USD ดุลการค้ าของไทยขาดดุลรวม 12.1 พันล้ านเหรี ยญดอลลาร์ สหรั ฐ นอกจากนี ้ ผลของราคานา้ มันดิบใน CNY/USD ตลาดโลกที่ปรั บตัวลดลงยังมีส่วนสาคัญทาให้ อัตราเงินเฟ้อของไทยไม่ ปรั บตัวสูงขึน้ มาก เนื่องจากราคา USD/EUR นา้ มันถือเป็ นต้ นทุนสาคัญในการขนส่ งสินค้ า ขณะที่หมวดอาหารและเครื่ องดื่มไม่ มีแอลกอฮอล์ ซ่ ึงมี สัดส่ วนนา้ หนักร้ อยละ 33.5 ในตระกร้ าเงินเฟ้อ ปรั บตัวสูงขึน้ ต่ อเนื่อง โดยล่ าสุด อัตราเงินเฟ้อทั่วไปใน NEER Index (Average 08=100) เดือน พ.ค. 56 ขยายตัวร้ อยละ 2.3 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ชะลอลงจากเดือนก่ อนหน้ าที่ ขยายตัวร้ อยละ 2.4 ทาให้ ในช่ วง 5 เดือนแรกของปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 2.8 โดยในหมวดพาหนะ การ ขนส่ ง และการสื่อสาร ซึ่งมีสัดส่ วนนา้ หนักร้ อยละ 25.5 ในตระกร้ าเงินเฟ้อ ขยายตัวร้ อยละ 1.5 เมื่อเทียบ Stock Market กับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 56 จะขยายตัวร้ อยละ 3.0 โดยมี Market ช่ วงคาดการณ์ ร้อยละ 2.5-3.5 (คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 56) 2. ทิสโก้ คาด กนง. คงอัตราดอกเบีย้ ในการประชุมครั ง้ ถัดไป SET  สานักวิจยั บริ ษัทหลักทรัพย์ทิสโก้ ระบุว่า อัตราเงินเฟ้ อทัว่ ไปเดือน พ.ค. อยู่ที่ระดับร้ อยละ 2.27 จาก ลดลง จากร้ อย Dow Jones ละ 2.42 ใ ที่คาดการณ์ ไว้ ในขณะที่อตั ราเงินเฟ้ อพื ้นฐานต่ากว่าที่คาดการณ์ ไว้ เช่นกัน โดย FTSE-100 อยู่ที่ร้อยละ 0.94 จ ที่ค ไว้ ที่ร้อยละ1.1 ทั ้งนี ้ อัตราเงินเฟ้ อที่ลดลงเกิ ดจากการใช้ มาตรการควบคุมราคาของ NIKKEI-225 รัฐบาล ที่ประสบผลสาเร็ จเกินคาด อย่างไรก็ตาม เชื่อว่า คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) จะคงอัตราดอกเบี ้ย นโยบายที่ร้อยละ 2.5 ใ 10 .ค. ค . จะพิ จารณาข้ อมูลเศรษฐกิจรายเดือน Hang Seng ประกอบการตัดสินใจเรื่ องทิศทางอัตราดอกเบี ้ยนโยบายในระยะต่อไป Straits Time  สศค. วิเคราะห์ ว่า กนง.ปรั บลดอัตราดอกเบีย้ ในการประชุ มครั ้งล่ าสุด (วันที่ 29 พ.ค. ) จากร้ อยละ 2.75 มาอยู่ท่รี ้ อยละ 2.50 หลังจากที่ตัวเลขเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ต่ ากว่ าที่หลายฝ่ ายคาดการณ์ ไว้ โดยขยายตั ว ยร้ อยละ 5.3 ต่ อ ปี (%yoy) หรื อ หดตั ว ร้ อยละ -2.2 qoq_sa เพื่ อ การกระตุ้ น เศรษฐกิ จ Bond Yield ภายในประเทศ นอกจากนี ้ ครม.มีมติเห็นชอบกรอบเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อเป็ นมาตรการที่บูรณา การท างานด้ า นเศรษฐกิ จ ในภาพใหญ่ เพื่ อ ท าให้ เ ศรษฐกิ จ ปี 56 ขยายตั ว อย่ างมี เ สถี ย รภาพ เช่ น มาตรการการเงิน ได้ แก่ 1.การซือ้ ขายเงินตราต่ างประเทศในอัตราแลกเปลี่ยน 2.การดาเนินนโยบายอัตรา Gov’t Bond Yield ดอกเบีย้ ที่เหมาะสมกับพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ 3.มาตรการกากับดูแลสถาบันการเงินเพื่อป้องกันไม่ ให้ เกิด Thailand - 2 Year ปั ญหาฟองสบู่ในภาคส่ วนต่ างๆ มาตรการการคลัง ได้ แก่ 1.การกากับดูแลการเบิกจ่ ายงบประมาณ 2. ดาเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ เช่ น การลงทุนระบบนา้ 3.5 แสนล้ านบาท และลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐาน Thailand-10 Year ด้ า นขนส่ ง 2 ล้ า นล้ า นบาท 3.ก าหนดให้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ช าระหนี ้ หรื อ ปรั บ โครงโครงสร้ างหนี เ้ งิน ตรา USA-2 Year ต่ างประเทศ 3. ยอดขายรถปิ กอัพ และเอสยูวีของสหรั ฐฯ ในเดือน พ.ค. 56 ปรั บตัวเพิ่มขึน้ USA-10 Year  ข้ อมูลยอดขายรถยนต์ของสหรัฐฯ ในเดือน พ.ค. 56 เท่ากับ 1.4 ล้ านคัน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 8 จากช่วงเวลาเดี ยวกันของ ปี ที่แล้ ว โดยค่ายรถยนต์ 2 รายใหญ่ของสหรัฐฯ เช่น ฟอร์ ด และไครสเลอร์ รายงานยอดขาย ที่เพิ่มขึ ้นมากกว่าร้ อย Commodities ละ 10 ขณะที่เจนเนอรัล มอเตอร์ l (จีเอ็ม) ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่สุดของประเทศ ปรับขึ ้นเล็กน้ อยที่ร้อยละ 3.1 ขณะที่ผ้ ผู ลิตรถยนต์สญ ั ชาติญี่ปนุ่ เช่น โตโยต้ า มียอดขายเพิ่มขึ ้o ร้ อยละ 2.5 และนิสสันมียอดขายเพิ่มขึ ้นถึงร้ อยละ Commodities 25.0 ซึง่ ผู้ผลิตรถส่วนใหญ่แสดงความมัน่ ใจ ว่ายอดขายจะเติบโตขึ ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั ้งปี สศค. วิเคราะห์ ว่า ยอดขายรถยนต์ สหรั ฐฯ ในเดือน พ.ค. 56 ที่ปรั บตัวเพิ่มขึน้ ส่ วนหนึ่งเกิดจากเศรษฐกิจสหรั ฐฯ ที่ Dubai (USD/BBL) ปรั บตัวดีขนึ ้ สะท้ อนได้ จากในไตรมาสที่ 1 ของปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 1.8 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน หากปรั บผล WTI (USD/BBL) ทางฤดูกาลขยายตัวจากไตรมาสก่ อนร้ อยละ 0.6 โดยการบริ โภคและการลงทุนภาคเอกชนยังคงขยายตัวดีท่ รี ้ อย Brent (USD/BBL) ละ 2.1 และ 4.3 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ตามลาดับ นอกจากนี ้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริ โภค เดือน พ.ค. 56 อยู่ ที่ร ะดั บสู ง สุ ดในรอบกว่ า 5 ปี ที่ร ะดั บ 76.2 จุ ด สู ง ขึ น้ มากจากเดื อ นก่ อ นหน้ าที่อ ยู่ ท่ ีร ะดับ 69.0 จุ ด Gasohol-95 (Bt/litre) ประกอบกับการจ้ างงานที่ปรั บตัวดีขนึ ้ อย่ างต่ อเนื่อง อย่ างไรก็ตาม การใช้ จ่ายภาครั ฐหดตัวต่ อเนื่อง จาก Gasohol-91 การตัด ลดงบประมาณรายจ่ ายตามกฎหมายควบคุ มงบประมาณ ทัง้ นี ้ สศค. ประมาณการเศรษฐกิ จ (Bt/litre) สหรั ฐฯ ในปี 56 จะขยายตัวร้ อยละ 2.2 (ณ มี.ค. 56) และจะมีการปรั บประมาณการอีกในเดือน มิ.ย. 56 Diesel (Bt/litre)

2013 Q1

Apr

May

106.81

102.52

100.41

30.11

29.02

29.74

Year to Date

June

Ast.13

98.15 1105.10

(105-115)

Spot Gold

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

3 June 13

4 June 13

30.48

29.66

(28.9-29.9)

5 June 13 (spot)

% change

30.46

30.42

-0.13

30.55

99.51

100.00

0.49

100.11

6.1312

6.1285

-0.044

6.1282

1.3075

1.3078

0.0229

1.3076

105.85

106.17

0.32

105.75

3 June 13 (Close)

4 June 13 (Close)

1,539.26

1,555.61

1.06

15,254.03

15,177.54

-0.50

6,525.12

6,558.58

0.51

13,261.82

13,533.76

2.05

22,282.19

22,285.52

0.01

3,291.08

3,291.35

0.01

Yield (%)

% change

Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

2.689

-0.329

-3.535

-62.217

3.630

6.728

25.624

-11.465

0.3013

0.000

8.150

4.740

2.148

-0.180

40.810

57.530

3 June 13

4 June 13

5 June 13 (Spot)

%change

97.50

98.80

-

1.33

93.41

93.36

-

-0.05

102.03

102.29

-

0.25

37.93

37.93

37.93

-

35.48

35.48

35.48

-

29.99

29.99

29.99

-

1,411.10

1,399.04

1,402.24

0.23


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. "สัมมากร-เอ็นซีเฮ้ าส์ ซ่ งิ " รับมีสัญญาณคอนโดมิเนียมล้ นตลาด 2. แบงค์ ห่วงมูตดีส์ห่ นั เรตติง้ กระทบต้ นทุนเงินกู้ 3. นายกฯ ญี่ปุ่นเล็งประกาศแผนเพิ่มรายได้ ประชาชน Highlight 1. "สัมมากร-เอ็นซีเฮ้ าส์ ซ่ งิ " รับมีสัญญาณคอนโดมิเนียมล้ นตลาด  กรรมการผู้จัด การ บริ ษั ท สัม มากร จํ า กัด (มหาชน) กล่ า วว่ าขณะนี ม้ ีสัญญาณฟองสบู่เ กิ ด ขึน้ จริ ง กับกลุ่ม ธุร กิ จ คอนโดมิเนียมบาง ทําเลที่เป็ นผู้ประกอบการขนาดเล็ก ซึง่ สถานการณ์ ยังไม่รุนแรงมากจนทําให้ เกิดปั ญหาใหญ่เหมือน ในอดีต โดยสังเกตุจากการจําหน่ายใบจองจํานวนมาก แต่ย อดโอนคอนโดฯปั จจุบันเริ่ มมีการชะลอตัวลงบ้ าง ซึ่งใน ฐานะผู้ประกอบการที่มีแผนจะสร้ างคอนโดมิเนียมเช่นกัน จึงต้ องใช้ ความระมัดระวัง และเริ่ มติดตามปั ญหาดังกล่าว อย่างใกล้ ชิด  สศค. วิเคราะห์ ว่า สถานการณ์ ในธุรกิจอสังหาริ มทรั พย์ ในปั จจุบันยังไม่ น่าเป็ นห่ วงอย่ างที่กล่ าวมา ทัง้ นี ้ ในส่ วนของ ม ภาษีจากการทําธุรกรรมอสังหาริ มทรั พย์ ในเดือน เม.ย. 56 ขยายตัวถึงร้ อยละ 35.1 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน จากเดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวร้ อยละ 24.0 และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล (m-o-m SA) พบว่ า ขยายตัวร้ อยละ 5.4 ต่ อเดือน จากแนวโน้ มเศรษฐกิจที่ยังคงขยายตัวได้ อย่ างต่ อเนื่อง ประกอบกับการปล่ อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยจาก ธนาคารพาณิชย์ ในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ทัง้ ที่อยู่อาศัยแนวราบ และที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุ ดปรั บเพิ่มขึน้ ทัง้ นี ้ ในส่ วนของดัชนีราคาที่อยู่อาศัยจากฐานข้ อมูลสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ ประเภทคอนโดมิเนียม ในเดือน เม.ย. 56 ก็ขยายตัวสูงถึงร้ อยละ 10.2 เพิ่มขึน้ จากเดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวร้ อยละ 9.4 จากข้ อมูลข้ างต้ น จะพอว่ าในภาค อสังหาริ มทรั พย์ ยังไม่ มีสัญญาณของการชะลอตัวเกิดขึน้ นอกจากนี ้ จากข้ อมูลล่ าสุดของการขอจดทะเบียนอาคาร ชุดทัง้ ประเทศ (คอนโดมิเนียม) ตัง้ แต่ ต้นปี จนถึงเดือน มี.ค. 56 อยู่ท่ ี 15,830 ยูนิต ซึ่งขยายตัวสูงถึงร้ อยละ 66.2 เมื่อ เทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน 2. แบงค์ ห่วงมูตดีส์ห่ นั เรตติง้ กระทบต้ นทุนเงินกู้  รองกรรมการผู้จดั การ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) กล่าวถึงกรณีที่สถาบันจัดความน่าเชื่อถือระหว่างประเทศ มู ดีส์ อินเวสเตอร์ เซอร์ วิส อาจจะปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของไทย จากระดับ Baa1 แนวโน้ มมีเสถียรภาพ เนื่องจาก ปั ญหาการขาดทุนจากโครงการรับจํานําข้ าว ว่าอาจจะกระทบทําให้ ต้นทุนการกู้เงิน การระดมทุนของภาครัฐและเอกชน ไทยเพิ่มสูงขึ ้น เนื่องจากต่างประเทศมองว่า ไทยจะมีความเสี่ยงด้ านเสถียรภาพด้ านงบประมาณมากขึ ้น ดังนั ้นจะคิด อัตราดอกเบี ้ยเพิ่มตามไปด้ วย ส่วนทิศทางอัตราดอกเบี ้ยของธนาคารพาณิชย์ หลังจาก กนง. ปรับลดอัตราดอกเบี ้ยลง 0.25%ในสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่ธนาคารพาณิชย์ยงั ไม่ปรับลดดอกเบี ้ยลงตาม เนื่องจากทุกธนาคารกําลังพิจารณาปั จจัย ต่างๆ ที่ เข้ ามากระทบ ทั ้งด้ านความต้ องการสิ นเชื่อ การลงทุน การระดมเงิ นฝาก และข่ า วที่มูดีส์เ ตรี ย มลดเครดิ ต ประเทศไทย ทําให้ แบงค์ต้องพิจารณาให้ รอบคอบ ก่อนลดอัตราดอกเบี ้ยลงตาม  สศค. วิเคราะห์ ว่า หากข้ อมูลดังกล่ าวเป็ นจริ ง และทําให้ ไทยถูกปรั บลดอันดับความน่ าเชื่อถือ จะทําให้ ต้นทุน ในการลงทุนหรื อกู้ยืมเงินสูงขึน้ มีความเสี่ยงเพิ่มขึน้ รวมทัง้ ความมั่นใจของต่ างชาติท่ ีมีต่อเศรษฐกิจไทยใน ภาพรวมก็อาจจะลดลงด้ วย ดังนัน้ เป็ นหน้ าที่ของเราที่จําเป็ นต้ องให้ ข้อ มูลเพื่อแก้ ไ ขระดับความน่ าเชื่อถือ ดังกล่ าว ส่ วนทิศทางอัตราดอกเบีย้ ที่ธนาคารพาณิชย์ ยังไม่ ปรั บลด ตามมติของ กนง. ที่มีการปรั บลดอัตรา ดอกเบีย้ ในการประชุมครั ง้ ล่ าสุด (วันที่ 29 พ.ค. ) จากร้ อยละ 2.75 มาอยู่ท่ รี ้ อยละ 2.50 นัน้ คาดว่ าธนาคาร พาณิชย์ ต้องพิจารณาอย่ างรอบคอบ เนื่องจากในปั จจุบนั ความต้ องการสินเชื่อ และการระดมเงินฝาก ยังคงมี อั ต ราการเพิ่ ม สู ง ขึ น้ การปรั บลดอั ต ราดอกเบี ย้ จะทํา ให้ ต้ นทุ น เงิ น กู้ สู ง ขึ น้ อาจส่ งผลกระทบต่ อผล ประกอบการของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งแนวโน้ มอัตราดอกเบีย้ ในระยะต่ อไป น่ าจะทรงตัวและมีการปรั บลดลง หลังจากที่ตัวเลขเศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ชะลอลงมากและตํ่ากว่ าที่หลายฝ่ ายคาดการณ์ ไว้ โดย ขยายตัวยร้ อยละ 5.3 ต่ อปี (%yoy) หรื อหดตัวร้ อยละ -2.2 qoq_sa โดยจะต้ องพิจารณาภาวะเศรษฐกิจในไตร มาส 2 และ 3 รวมถึงทิศทางการส่ งออกและการบริ โภคว่ าจะมีเพิ่มขึน้ หรื อไม่ 3. นายกฯ ญี่ปุ่นเล็งประกาศแผนเพิ่มรายได้ ประชาชน  นายกรัฐมนตรี ญี่ปนเตรี ุ่ ยมเปิ ดเผยนโยบายฟื น้ ฟูเศรษฐกิจด้ วยการเพิ่มรายได้ ของประชาชนร้ อยละ 3 ต่อปี ซึ่งถือเป็ น นโยบายสําคัญในการยุติภาวะเงินฝื ดและเศรษฐกิจซบเซาที่ยืดเยื ้อหลายทศวรรษของญี่ปุ่น รวมทั ้งนโยบายการปรับลด ภาษี และลดขั ้นตอนทางราชการที่ยุ่งยากในเขตเศรษฐกิจพิเศษ อย่ างไรก็ตาม นักวิเคราะห์ บางรายเห็นว่า การเพิ่ ม รายได้ ตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ อาจเป็ นเรื่ องยาก โดยเฉพาะหากในแผนการเติบโตที่นายอาเบะกําลังจะประกาศนั ้น ประกอบด้ วยมาตรการที่เปิ ดทางให้ จ้างคนงานชัว่ คราวได้ ง่ายขึ ้น เพราะคนงานชัว่ คราวมีแนวโน้ มจะได้ ค่าจ้ างตํ่า  สศค. วิเคราะห์ ว่า การดําเนินนโยบายทางการเงินและการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของญี่ปุ่น (Abenomics) รั ฐบาลญี่ปุ่น ทําให้ เศรษฐกิจญี่ปุ่นสามารถกลับมาขยายตัวได้ อีกครั ้ง โดยล่ าสุด GDP ในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 0.2 เมื่อ เทียบกั บไตรมาสเดียวกันของปี ก่ อน และเมื่ อปรั บผลทางฤดู กาลแล้ ว ขยายตัวร้ อยละ 0.9 จากผลของการบริ โภค ภาคเอกชนและการส่ งออกเป็ นสําคัญ โดยการบริ โภคภาคเอกชนสะท้ อนจากการใช้ จ่ายของผู้บริ โภคในเดือน เม.ย. 56 ขยายตัวร้ อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ขณะที่ภาคการผลิตสะท้ อนจากผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือน เม.ย. 56 ขยายตัวร้ อยละ 1.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่ อนหน้ า และดัชนีผ้ ูจัดการฝ่ ายจัดซือ้ (PMI) ในเดือน พ.ค. 56อยู่ท่ รี ะดับ 51.5 ซึ่งแสดงถึงภาคการผลิตมีสัญญาณฟื ้ นตัวอย่ างต่ อเนื่อง อย่ างไรก็ตาม สิ่งที่เป็ นประเด็นทางเศรษฐกิจที่สําคัญของ ญี่ปนในขณะนี ุ่ ค้ ือ ยุทธศาสตร์ การเติบโตในระยะยาวที่เรี ยกว่ า ศรดอกที่สาม (Third Arrow) ซึ่งมีเป้าหมายในการปฏิรูป เศรษฐกิจในเชิงโครงสร้ างของประเทศเพื่อสร้ างการเจริ ญเติบโตในระยะยาวอย่ างยั่งยืน และการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ในหลายพืน้ ที่ท่ วั ประเทศเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่ างประเทศ ซึ่งนายกฯ ญี่ปุ่นจะประกาศรายละเอียดของยุทธศาสตร์ ก่ อนหน้ าการประชุมกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ 8 ประเทศ (G8) ในวันที่ 17-18 มิ.ย. 56 นี ้ ทัง้ นี ้ ยุทธศาสตร์ ดังกล่ าว ถือเป็ นปั จจัยสําคัญในการสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นในอนาคตต่ อไป สศค. คาดว่ า อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของญี่ปนในปี ุ่ 56 จะขยายตัวร้ อยละ 1.5 (คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 56)

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 6 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. Q1

Apr

May

June

Year to Date

105.61

106.81

102.52

100.41

98.75

104.96

30.47

30.11

29.02

29.74

30.50

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

4 June 13

5 June 13

Ast.13 (105-115)

29.67

(28.9-29.9)

6 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.42

30.55

0.43

30.56

JPY/USD

100.00

99.05

-0.95

99.42

CNY/USD

6.1285

6.1276

-0.0147

6.1276

USD/EUR

1.3078

1.3093

0.1147

1.3079

NEER Index (Average 08=100)

106.17

105.46

0.32

105.59

Stock Market 4 June 13 (Close)

5 June 13 (Close)

1,555.61

1,522.66

-2.12

15,177.54

14,960.59

-1.43

6,558.58

6,419.31

-2.12

NIKKEI-225

13,533.76

13,014.87

-3.83

Hang Seng

22,285.52

22,069.24

-0.97

3,291.35

3,243.43

-1.46

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.679

-0.985

-2.632

-63.202

Thailand-10 Year

3.601

-2.977

23.269

-14.443

USA-2 Year

0.290

0.000

7.350

2.370

USA-10 Year

2.104

1.250

33.950

44.260

4 June 13

5 June 13

6 June 13 (Spot)

Commodities Commodities

%change

Dubai (USD/BBL)

98.80

99.94

-

1.15

WTI (USD/BBL)

93.36

93.66

-

0.32

102.29

103.75

-

1.43

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.93

37.93

37.93

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.48

35.48

35.48

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,399.04

1,402.80

1,398.01

-0.34

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. หอการค้ าฯ เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือน พ.ค.56 ลดลง 2. อินเดียปรั บเพิ่มอัตราภาษีนาเข้ าทองคา เพื่อลดการขาดดุลการค้ า 3. ยอดส่ งออกออสเตรเลียเดือน เม.ย. 56 กลับมาหดตัว Highlight 1. 1. หอการค้ าฯ เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือน พ.ค.56 ลดลง  ผู้อานวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย เปิ ดเผยผลสารวจดัชนีความเชื่อมัน่ ผู้บริ โภค เดือน พ.ค. 56 โดยดัชนีความเชื่อมัน่ ผู้บริ โภคเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยโดยรวมพ.ค.อยู่ที่ 72.8 จุด ลดลงจากเดือน เม.ย. 56 ที่ระดับ 73.9 ด้ านดัชนีความเชื่อมัน่ เกี่ยวกับโอกาสในการหางานทาอยู่ที่ 74.4 จุด ลดลงจาก 76.4 จุดในเดือนก่อน หน้ า ส่วนดัชนีความเชื่อมัน่ ผู้บริ โภคเกี่ยวกับรายได้ ในอนาคตอยู่ที่ 100.4 จุด ลดลงจาก 101.8 จุดในเดือนก่อนหน้ า โดยเป็ นผลจากการที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) แถลงตัวเลขอัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจไตรมาส 1 ปี 56 ชะลอตัวลงเหลือร้ อยละ 5.3 และปรับลดคาดการณ์ ปี 56 เหลือร้ อยละ 4.2 - 5.2 ม นอกจากนี ้ การส่งออกเดือนเม.ย.56 ขยายตัวในระดับต่า ราคาน ้ามันขายปลีกในประเทศปรับตัวเพิ่มขึ ้น อีกทังเงิ ้ นบาท แข็ งค่า นอกจากนี ้ ราคาพืชผลการเกษตรทรงตัวในระดับต่า ความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนต่อการฟื น้ ตัวของ เศรษฐกิ จโลกยั ง เป็ นปั จจั ย เสี่ ย งของเศรษฐกิ จไทย อย่ างไรก็ ตาม ปั จจั ย บวก ส่ ว นหนึ่ ง มาจากการที่ คณะกรรมการนโยบายทางการเงิน (กนง.) ปรับลดอัตราดอกเบี ้ยนโยบายลงร้ อยละ 0.25 อีกทังเงิ ้ นบาทปรับตัวอ่อนค่า ลงมาเล็กน้ อย  สศค. วิเคราะห์ ว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริ โภคเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมเดือน พ.ค. 56 ที่ปรั บตัวลดลงดังกล่ าว สอดคล้ องกับเครื่ องชีท้ างเศรษฐกิจด้ านการบริ โภคภาคเอกชนที่แสดงสัญญาณการชะลอตัวลงมาตัง้ แต่ เดือน เม.ย. 56 ไม่ ว่าจะเป็ นยอดภาษีมูลค่ าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ที่ในเดือน เม.ย. 56 ขยายตัวในระดับต่ าที่ร้อยละ 3.7 เมื่อเทียบกับ ช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ชะลอลงมากจากไตรมาส 1 ปี 56 ที่ขยายตัวเฉลี่ยร้ อยละ 6.9 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน อีกทัง้ ยอด จาหนายรถยนต์ น่ ั งส่ วนบุคคลในเดือน เม.ย. 56 เริ่ มส่ งสัญญาณชะลอลงเช่ นกัน อย่ างไรก็ตาม ภาคการบริ โภค ภาคเอกชนไทยได้ รับอานิสงส์ จากอัตราเงินเฟ้อที่ปรั บตัวลดลงต่ อเนื่อง ล่ าสุดเดือน พ.ค. 56 อยู่ท่ รี ้ อยละ 2.3 เมื่อ เทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ซึ่งระดับราคาที่มีเสถียรภาพจะช่ วยเอือ้ ให้ ผ้ ูบริ โภคสามารถตัดสินใจจับจ่ ายใช้ สอยได้ ดี ขึน้ ทัง้ นี ้ สศค. คาดการณ์ ณ มี.ค. 56 ว่ าการบริ โภคภาคเอกชนในปี 56 นีจ้ ะขยายตัวร้ อยละ 4.6 และจะมีการปรั บ ประมาณการครั ้งต่ อไปในช่ วงปลายเดือน มิ.ย. 56 นี ้ 2. 2. อินเดียปรับเพิ่มอัตราภาษีนาเข้ าทองคา เพื่อลดการขาดดุลการค้ า  นาย Sumit Bose อธิบดีกรมสรรพสามิตอินเดีย ประกาศปรับเพิ่มอัตราภาษี นาเข้ าทองคาจากร้ อยละ 6.0 เป็ นร้ อยละ 8.0 วานนี ้ (5 มิ.ย. 56) และมีผลบังคับใช้ ทนั ที โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อควบคุมปริ มาณการนาเข้ าทองคา ทังนี ้ ้ ในเดือน เม.ย. 56 ราคาทองคาปรับตัวลดลงอย่างมาก อุปสงค์ต่ อทองคาเพิ่ มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็ ว อินเดียจึงนาเข้ าทองคาเป็ น ปริ มาณมากจนส่งผลให้ อินเดียขาดดุลการค้ ามากถึง 967 พันล้ านรู เปี ยห์  สศค. วิเคราะห์ ว่า อินเดียเป็ นประเทศที่นาเข้ าทองคามากที่สุดในโลก เนื่ องจากชาวอินเดียมีความนิยมในทองค า เป็ นอย่ างมาก ตัง้ แต่ ใช้ ทองคาเป็ นสินสอดในการแต่ งงานจนถึงการถือครองเพื่อลดความเสี่ยงจากแรงกดดันจากเงิน เฟ้อ (Inflation Hedge) โดยในปี 55 อินเดียนาเข้ าทองคาคิดเป็ นร้ อยละ 11.5 ของมูลค่ าการนาเข้ ารวม ทัง้ นี ้ ในช่ วง เดือน เม.ย. 56 ราคาทองคาในตลาดโลกลดลลงมาก เนื่องจาก (1) EU บังคับให้ รัฐบาลไซปรั สนาทองคาสารอง มูลค่ า กว่ า 400 ล้ านยูโร ออกมาขายเพื่อระดมทุนในการช่ วยเหลือภาคธนาคารที่กาลังประสบวิกฤติ (2) ตัวเลขเศรษฐกิจ โลกที่ออกมาไม่ ดีเท่ าที่คาด โดย GDP จีน ไตรมาส 1 ปี 56 ขยายตัวพียงร้ อยละ 7.7 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ต่ ากว่ าที่นักวิคราะห์ คาดการณ์ ไว้ ท่ รี ้ อยละ 8.0 (3) คาแถลงของธนาคารกลางสหรั ฐในการประชุม FOMC เมื่อวันที่ 19-20 มี.ค 56 และมีการแถลงเมื่อวันที่ 11 เม.ย. 56 ว่ า Fed อาจชะลอหรื อลดปริ มาณการท ามาตรการ QE ได้ เนื่องจากเศรษฐกิจสหรั ฐฯ ส่ งสัญญาณฟื ้ นตัวอย่ างต่ อเนื่อง ส่ งผลกระทบต่ อจิตวิทยาของนักลงทุน ทาให้ นักลงทุน คาดการณ์ ว่าราคาทองคากาลังปรั บตัวลดลง จึงมีการเทขายทองคาแท่ ง (Physical Gold) และสัญญาซือ้ ขายทองคา ล่ วงหน้ า (Gold Futures) ทาให้ ราคาทองคาในช่ วงนัน้ ลดลงอย่ างรวดเร็ ว และราคาทองคายังคงมีแนวโน้ มลดลงอย่ าง ต่ อเนื่ อง โดยราคา ณ 5 มิ.ย. 56 อยู่ท่ ี 1,398.44 ดอลลาร์ สหรั ฐต่ อออนซ์ ลดลงจากราคา ณ ต้ นปี มากถึงร้ อยละ -16.2 ซึ่งราคาที่ยังคงลดลงอย่ างต่ อเนื่ องอาจเป็ นปั จจัยหนึ่ งที่กระตุ้ นอุ ปสงค์ ทองคาของอินเดียได้ การปรั บเพิ่ม อัตราภาษีนาเข้ าทองคาจึงเป็ นมาตรการที่เหมาะสมมาตรการหนึ่งในการป้องกันการขาดดุลการค้ าของอินเดีย 3. 3. ยอดส่ งออกออสเตรเลียเดือน เม.ย. 56 กลับมาหดตัว  มูลค่าการส่งออกออสเตรเลีย เดือน เม.ย. 56 กลับมาหดตัวร้ อยละ -0.5 จากช่วงเดียวกันปี ก่อน หรื อเมื่ อขจัดปั จจัยทาง ฤดูกาลแล้ วหดตัวร้ อยละ -1.2 จากเดือนก่ อนหน้ า จากการส่งออกไปยังญี่ ปนและสหรั ุ่ ฐฯ ที่ยังคงหดตัวเป็ นสาคัญ ประกอบกับมูลค่าการนาเข้ าในเดือนเดียวกัน หดตัวร้ อยละ -1.2 จากช่วงเดียวกันปี ก่อน ส่งผลให้ ออสเตรเลียเกินดุล การค้ ามูลค่า 629 ล้ านดอลลาร์ ออสเตรเลีย  สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจออสเตรเลียพึ่งพาเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าในสัดส่ วนที่น้อยมาก จากสัดส่ วนการส่ งออกสุทธิใน ปี 55 อยู่ท่ รี ้ อยละ 1.0 ของGDP สะท้ อนว่ าอุปสงค์ ต่างประเทศที่ยังฟื ้ นตัวไม่ เต็มที่นัน้ ไม่ ได้ ส่งผลกระทบต่ อเศรษฐกิจ ออสเตรเลียผ่ านช่ องทางการค้ าอย่ างมีนัยสาคัญ แต่ อย่ างไรก็ตาม GDP ออสเตรเลีย ไตรมาส 1 ปี 56 ที่ประกาศออกมา เมื่อวันที่ 5 มิ.ย. 56 นัน้ ขยายตัวเพียงร้ อยละ 2.4 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน นับเป็ นอัตราการขยายตัวต่ าสุดในรอบ 8 ไตร มาสที่ผ่านมา จากการลงทุนภาครั ฐที่หดตัวเป็ นสาคัญ ผนวกกับการบริ โภคและการลงทุ นภาคเอกชนที่ชะลอตัวต่ อเนื่อง ส่ งผลต่ อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของออสเตรเลียที่เป็ นไปอย่ างเปราะบาง ทัง้ นี ้ ธนาคารกลางออสเตรเลีย ได้ มีมติคง อัตราดอกเบีย้ นโยบาย เดือน มิ.ย. 56 ไว้ ท่รี ้ อยละ 2.75 ต่ อปี ภายหลังจากการปรั บลดร้ อยละ 0.25 ในเดือน พ.ค. 56 ที่ผ่าน มา เพื่อเป็ นปั จจัยเอือ้ ต่ อการกระตุ้นอุปสงค์ ในประเทศซึ่งเป็ นเป็ นแรงขับเคลื่อนหลักของเศรษฐกิจออสเตรเลียให้ ขยาย ตัวอย่ างแข็งแกร่ ง Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 7 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Q1

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

99.05

104.91

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.50

29.67

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

5 June 13

6 June 13

(28.929.9)

7 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.55

30.58

0.10

30.57

JPY/USD

99.05

96.94

-2.14

96.81

CNY/USD

6.1276

6.1359

0.1355

6.1365

USD/EUR

1.3093

1.3245

1.1609

1.3237

NEER Index (Average 11=100)

105.46

104.64

-0.7775

104.60

Stock Market 5 June 13 (Close)

6 June 13 (Close)

1,522.66

1490.21

-2.13

14,960.59

15040.62

0.53

6,419.31

6336.11

-1.30

NIKKEI-225

13,014.87

12904.02

-0.85

Hang Seng

22,069.24

21838.43

-1.05

3,243.43

3193.51

-1.54

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.680

-0.50

-1.75

-55.43

Thailand - 10 Year

3.580

1.50

22.00

-6.33

USA - 2 Year

0.290

-0.01

7.36

2.38

USA - 10 Year

2.079

1.23

31.47

41.78

5 June 13

6 June 13

7 June 13 (Spot)

Commodities Commodities

%change

Dubai (USD/BBL)

99.94

99.96

-

0.02

WTI (USD/BBL)

93.66

94.71

-

1.12

103.76

103.62

-

-0.13

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.93

37.93

38.53

1.58

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.48

35.48

36.08

1.69

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,402.80

1,413.15

1,415.31

0.15

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. สถาบันสิ่งทอตัง้ เป้าส่ งออกสิ่งทอปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 4.0 - 5.0 2. ธปท.คาดเงินขายหุ้นบอนด์ อยู่ในไทย 3. ตัวเลขการจ้ างงานสหรั ฐฯ เดือน พ.ค. 56 ฟื ้ นตัวต่ อเนื่อง Highlight 1. 1. สถาบันสิ่งทอตัง้ เป้าส่ งออกสิ่งทอปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 4.0 - 5.0  ผู้อานวยการสถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอเปิ ดเผยถึงสถานการณ์สิ่งทอและเครื่ องนุ่งห่มในช่วง 4 เดือน แรกปี 56 ว่ามีมลู ค่า 3,242 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ หรื อขยายตัวร้ อยละ 2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อน ตามการขยายตัวของผ้ าผืน และเส้ นด้ ายที่ขยายตัวร้ อยละ 12.1 และร้ อยละ 8.6 ตามลาดับ ส่วนมูลค่าการ ส่งออกเครื่ องนุ่งห่ม ยังคงหดตัวร้ อยละ -5.4 ทั ้งนี ้ ในปี 56 คาดว่าการส่งออกสิ่งทอและเครื่ องนุ่งห่ม จะ ขยายตัวร้ อยละ 4.0 - 5.0 จากปี 55 ม  สศค. วิเคราะห์ ว่า ในช่ วง 2 - 3 ปี ที่ผ่านมา อุตสาหกรรมสิ่งทอประสบปั ญหาในหลายด้ าน อาทิ ปั ญหา ค่ าจ้ างแรงงานที่ปรั บตัวสู งขึน้ และปั ญหาการขาดแคลนวั ตถุ ดิบ เช่ น ฝ้าย ด้ าย ทาให้ ราคาวั ตถุ ดิ บ ปรั บตัวสูงขึน้ ต่ อเนื่ อง รวมถึงปั ญหาวิฤตเศรษฐกิจโลก ทาให้ อุปสงค์ ในตลาดโลกชะลอตัวตามไปด้ วย โดยเฉพาะตลาดหลักอย่ างสหภาพยุโรปและอเมริ กา ซึ่งมีสัดส่ วนประมาณร้ อยละ 35.0 ของการส่ งออก สิ่งทอรวม อย่ างไรก็ดี ปั จจัยบวกที่คาดว่ าจะสนั บสนุ นอุ ตสาหกรรมสิ่งทอให้ ขยายตัวต่ อเนื่ องในปี 56 ได้ แก่ 1. ปั ญหาการขาดแคลนวัตถุดิบคลี่คลายลง และ 2. แนวโน้ มการฟื ้ นตัวของเศรษฐกิจโลกและการ ขยายตัวต่ อเนื่องของเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยสัดส่ วนมูลค่ าการส่ งออกไปยังตลาดดังกล่ าวมี ประมาณ ร้ อยละ 20.0 ของการส่ งออกสิ่งทอรวม 2. 2. ธปท คาดเงินขายหุ้นและบอนด์ อยู่ในไทย  นางสุชาดา กิระกุล ที่ปรึกษาผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า ภาวะเงินทุนไหลออกจาก ประเทศไทยในขณะนี ้ยังไม่ใช่ภาวะที่นา่ กังวล เนื่องจากนักลงทุนต่างชาติส่วนใหญ่ยงั เชื่อมัน่ ในพื ้นฐาน และ แนวโน้ มของเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชีย รวมทั ้งไทย เพราะเป็ นกลุ่มประเทศที่สาคัญที่มีแนวโน้ มเติบโตได้ ดี (Grow Area) นอกจากนี ้ เงินที่ออกจากตลาดหุ้น และตลาดพันธบัตรของไทยก็น่าจะยังไม่ออกนอกประเทศ โดยคาดว่าน่าจะยังพักอยูใ่ นบัญชีเงินบาทของผู้มีถิ่นฐานนอกประเทศ แต่ต้องขอไปตรวจสอบตัวเลขดูก่อน  สศค. วิเคราะห์ ว่ า สาเหตุหนึ่งที่นักลงต่ างชาติขายหุ้น เนื่องจากนั กลงทุนกังวลว่ าธนาคารกลางสหรั ฐฯ อาจยุติหรื อลดขนาดวงเงินของมาตรการ QE เร็ วๆนี ้ ทาให้ นักลงทุนเทขายเพื่อทากาไรหลังจากดัชนี ฯ ปรั บตัวสูงขึน้ มามากแล้ วในช่ วงที่ผ่านมา ทัง้ นี ้ ระหว่ างวันที่ 3 – 6 มิ.ย. 56 นักลงทุนต่ างชาติขายสุทธิใน ตลาดหลั กทรั พย์ ไทย -17,331.93 ล้ านบาท ขณะที่ผลตอบแทนพั นธบั ตรรั ฐบาลปรั บตั วสู งขึ น้ ใน พันธบัตรระยะปานกลาง-ยาว ประมาณ 1-15 bps ในทิศทางเดียวกับ US Treasury จากแรงขายของนั ก ลงทุนต่ างชาติ เนื่องจากมีความกังวลว่ า Fed อาจชะลอมาตรการ QE ดังกล่ าว โดยระหว่ างวันที่ 3 – 6 มิ.ย. 56 นักลงทุนต่ างชาติขายสุทธิ -7,456.1 ล้ านบาท (ไม่ รวมพันธบัตร ธปท.) ส่ งผลให้ ค่าเงินบาทอ่ อน ค่ าลง โดย ณ วันที่ 7 มิ.ย. 56 ค่ าเงินบาทปิ ดที่ 30.62 บาทต่ อดอลลาร์ สหรั ฐ อ่ อนค่ าลงร้ อยละ -1.22 จากสัปดาห์ ก่อนหน้ า ซึ่งเป็ นไปในทิศทางเดียวกับค่ าเงินรู เปี ยะอินโดนีเซีย 3. 3. ตัวเลขการจ้ างงานสหรั ฐฯ เดือน พ.ค. 56 ฟื ้ นตัวต่ อเนื่อง  การจ้ างงานรวมของสหรัฐฯ ในเดือน พ.ค. 56 เพิ่มขึ ้น 1.75 แสนตาแหน่งต่อเนื่องจากการเพิ่มขึ ้น 1.49 แสน ตาแหน่งในเดือน เม.ย. จากข้ อมูลของกระทรวงแรงงานสหรัฐฯ เมื่อพิจารณาในรายสาขาการผลิต พบว่า ภาคบริการเป็ นสาขาเดียวที่ทาให้ ตวั เลขการจ้ างงานเพิ่มสูงขึ ้นในเดือนที่ผ่านมา โดยในสาขาดังกล่าวมีการ จ้ างงานเพิ่มขึน้ 1.79 แสนตาแหน่ง โดยเฉพาะในด้ านก่อสร้ างและด้ านค้ าปลีกที่ได้ รับแรงสนับสนุนจาก ตลาดที่ อ ยู่ อ าศั ย และก าลั ง การบริ โ ภคที่ ฟื้ น ตั ว ในขณะที่ ส าขาอื่ น ๆ มี ก ารจ้ างงานลดลง ได้ แก่ ภาคอุตสาหกรรมจ้ างงานลดลง 8 พันตาแหน่ง จากคาสัง่ สินค้ าที่ยงั คงซบเซาตามภาวะเศรษฐกิจโลก และ ภาครัฐที่จ้างงานลดลง 9.4 พันตาแหน่ง จากแผนการตัดงบประมาณ อย่างไรก็ตาม อัตราการว่างงานใน เดือน พ.ค. กลับเพิ่มขึ ้นมาอยูท่ ี่ร้อยละ 7.6 จากร้ อยละ 7.5 ในเดือนก่อนหน้ า สาเหตุมาจากกาลังแรงงานที่ เพิ่มขึ ้นมีมากกว่าการจ้ างงานที่เพิ่มขึ ้น  สศค. วิเคราะห์ ว่า การจ้ างงานที่เพิ่มขึน ้ อย่ างต่ อเนื่องจะสนับสนุนกาลังการบริ โภคภาคเอกชนของสหรั ฐฯ ซึ่งถือเป็ นกาลังสาคัญของเศรษฐกิจ เนื่องจากมีสัดส่ วนถึงร้ อยละ 70 นอกจากนี ้ ราคาบ้ าน และดัชนีตลาด หลักทรั พย์ ท่ ีเพิ่มขึน้ ต่ อเนื่องก็เป็ นตัวสนับสนุนการบริ โภคเช่ นกัน ผ่ านความมั่งคั่งของครั วเรื อนของชาว อเมริกันที่ในไตรมาสแรกของปี 56 ได้ เพิ่มสูงขึน้ มาอยู่ท่ ี 70.3 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ ซึ่งสูงกว่ าระดับความ มั่งคั่งสูงสุดก่ อนวิกฤติท่ ี 68.1 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ ในไตรมาสที่ 3 ปี 50 ทาให้ เศรษฐกิจสหรั ฐฯ อยู่ใน ภาวะการฟื ้ นตัวที่ชัดเจนขึน้ เรื่ อยๆ แม้ จะมี อุปสรรคทางการคลัง เช่ น การขึน้ ภาษีและการตัดงบประมาณ ภาครั ฐก็ตาม ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า เศรษฐกิจสหรั ฐฯ ในปี 56 จะขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 56) ซึ่งเป็ นการขยายตัวของเศรษฐกิจ ต่ อจากปี ที่แล้ วที่ร้อยละ 1.8 Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 10 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Q1

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

99.29

104.87

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.52

29.68

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

6 June 13

7 June 13

(28.929.9)

10 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.58

30.62

0.13

30.66

JPY/USD

96.94

97.53

0.61

97.90

CNY/USD

6.1359

6.1333

-0.042

ปิ ดทำกำร

USD/EUR

1.3245

1.3222

-0.174

1.3218

NEER Index (Average 11=100)

104.64

104.78

0.15

104.83

Stock Market 6 June 13 (Close)

7 June 13 (Close)

1522.66

1490.21

-2.13

15040.62

15248.12

1.38

6336.11

6411.99

1.20

NIKKEI-225

12904.02

12877.53

-0.21

Hang Seng

21838.43

21575.26

-1.21

3193.51

3184.72

-0.28

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.680

-0.50

-2.76

-56.43

Thailand - 10 Year

3.580

1.50

22.00

-6.33

0.3057

1.610

8.170

3.590

2.179

10.030

39.950

53.510

USA - 2 Year USA - 10 Year

Commodities Commodities

6 June 13

7 June 13

10 June 13 (Spot)

%change

Dubai (USD/BBL)

99.96

100.23

-

0.27

WTI (USD/BBL)

94.71

96.11

-

1.48

103.62

104.32

-

0.68

Gasohol-95 (Bt/litre)

37.93

38.53

38.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

35.48

36.08

36.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1413.15

1383.89

1385.44

0.11

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ธปท.เตรี ยมปรั บลดคาดการณ์ จีดีพีปีนีล้ งในเดือน ก.ค.นี ้ จากเดิมที่คาดว่ าจะโตร้ อยละ 5.1 2. ครม. อนุมัตงิ บฯ 72,270 ล้ านบาท พัฒนาภาคเหนือตอนล่ าง 2 1. 3. ญี่ปุ่นเผยยอดขายเกินดุลบัญชีเดินสะพัด 7.5 แสนล้ านเยนในเดือน เม.ย. Highlight 1. ธปท.เตรี ยมปรั บลดคาดการณ์ จีดีพีปีนีล้ งในเดือน ก.ค.นี ้ จากเดิมที่คาดว่ าจะโตร้ อยละ 5.1  ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิ ดเผยว่า ในเดือน ก.ค.นี ้ ธปท. เตรี ยมจะปรับลดคาดการณ์การ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ (จี ดีพี)ในปี 56 จากเดิมที่ คาดว่า จะขยายตัวร้ อยละ 5.1 เนื่ องจากเศรษฐกิจของ สาธารณรัฐประชาชนจีนชะลอตัว ซึ่งอาจจะกระทบต่อการส่งออก โดยจะประกาศอย่างเป็ นทางการใน รายงานแนวโน้ มนโยบายการเงินในวันที่ 19 ก.ค. 56 อนึ่งเมื่อ เม.ย.ที่ผ่านมา ธปท.ได้ ปรับเพิ่มคาดการณ์ (จีดีพี) ของไทยในปี 56 เป็ นเติบโตร้ อยละ 5.1 จากเดิมคาดโตร้ อยละ 4.9 หลังเศรษฐกิจในไตรมาส 4/55 ม เติบโตดีกว่าที่คาด แต่เมื่อไตรมาสแรกปี นี ้ จีดีพีเติบโตต่ากว่าคาดโดยขยายตัวเพียงร้ อยละ 5.3  สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 2/56 มีสั ญญาณการชะลอตัวลงโดยเฉพาะด้ านการ ผลิตทัง้ ในภาคอุตสาหกรรมและภาคการเกษตร โดยสะท้ อนจากดัชนี ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมใน เดือน เม.ย. 56 หดตัวร้ อยละ -3.8 เนื่องจากการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญอย่ าง ประเทศจีน และกลุ่มสหภาพยุโรป ประกอบกับดัชนีผลผลิตสินค้ าเกษตรหดตัวต่ อเนื่องจากเดือน ก่ อนหน้ ามาอยู่ท่ ีร้อยละ -4.4 เนื่องจากเผชิญปั ญหาภัยแล้ งที่ส่งผลต่ อการเพาะปลูก นอกจากนั น้ เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1/56 ยังขยายตัวได้ ต่ ากว่ าที่คาด ทาให้ สศค.เตรี ยมปรั บตัวเลขประมาณ การเศรษฐกิ จไทยในปี 56 ลงอี กครั ้งในช่ วงสิ น้ เดือน มิ.ย.56 เพื่ อให้ สามารถสะท้ อนภาพของ เศรษฐกิจไทยได้ ชัดเจนขึน้ 2. 2. ครม. อนุมัตงิ บฯ 72,270 ล้ านบาท พัฒนาภาคเหนือตอนล่ าง 2  รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี แถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี วันนี ้ (10 มิ.ย.) ที่ประชุมให้ ความ เห็น ชอบแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง 2 รวม 199 แผนงาน ในวงเงิ น งบประมาณ 72,270 ล้ านบาท ภายใต้ แนวทางการพัฒนา 4 ด้ าน ประกอบด้ วย การพัฒนากระบวนการผลิต สินค้ าเกษตรสาคัญ การเพิ่มมูลค่าสินค้ าเกษตรและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรู ปจากสินค้ าเกษตร การพัฒนา ระบบขนส่งและกระจายสินค้ า และศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม  สศค.วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจภาคเหนือมีแนวโน้ มขยายตัวต่ อเนื่อง โดยเศรษฐกิจภาคเหนือมีสัดส่ วน ประมาณร้ อยละ 10 ของ GDP ทัง้ ประเทศ โดยมีสาขาเศรษฐกิจที่สาคัญ ได้ แก่ 1) สาขาเกษตรกรรม มีสัดส่ วนร้ อยละ 30.4 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเหนื อ 2) สาขาอุตสาหกรรม มีสัดส่ วนร้ อยละ 16.8 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเหนือ 3) สาขาค้ าปลีก - ค้ าส่ ง มีสัดส่ วนร้ อยละ 8.0 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเหนื อ 4) สาขาบริ หารภาครั ฐ มีสัดส่ วนร้ อยละ 6.0 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเหนื อ และ 5) สาขาก่ อสร้ างและอสังหาริ มทรั พย์ มีสัดส่ วนร้ อยละ 6.0 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภาคเหนื อ เป็ นต้ น ทัง้ นี ้ การพัฒนาโครงการดังกล่ าวจะเป็ นการช่ วยส่ งเสริ มให้ เศรษฐกิจภาคเหนือมีแนวโน้ ม ที่จะขยายตัวเพิ่มขึน้ 3. 3. ญี่ปุ่นเผยยอดขายเกินดุลบัญชีเดินสะพัด 7.5 แสนล้ านเยนในเดือน เม.ย.  กระทรวงการคลังญี่ปนเปิ ุ่ ดเผยว่า ในเดือน เม.ย. ญี่ปนมี ุ่ ยอดเกินดุลบัญชีเดินสะพัด อยูท่ ี่ 7.5 แสนล้ านเยน ซึ่งเป็ นการเกินบัญชีเดินสะพัดติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 3 นอกจากนี ้ สานักข่าวเกียวโดรายงานว่า บัญชีรายได้ ซึ่ ง เป็ นมาตรวัด เม็ด เงิ น ที่ ญี่ปุ่นได้ รับ จากการลงทุน ต่ า งประเทศนัน้ มี ย อดเกิ น ดุล ที่ ท าสถิ ติ ร ายเดื อ น สูงสุด 2.12 ล้ านล้ านเยนในเดือน เม.ย. เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 51.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ที่ แล้ ว โดยมี สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการอ่อนค่า ของเงินเยน ซึ่งทาให้ รายได้ จากการลงทุนในต่างประเทศคิดเป็ นตัวเงิน เพิ่มขึ ้น  สศค. วิเคราะห์ ว่ า เมื่อธนาคารกลางญี่ปุ่ นประกาศใช้ มาตรการผ่ อนคลายเชิงปริ มาณและคุณภาพ (QQE) ด้ วยการอั ดฉี ดเงิ นจ านวน 2.7 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐ เข้ าสู่ ระบบในระยะเวลา 2 ปี (โดยมี วัตถุประสงค์ ท่ ีสาคั ญเพื่อยุ ติปัญหาที่ประเทศจมอยู่ ในภาวะเงินฝื ดเฉลี่ ยร้ อยละ 0.2 ต่ อปี มาหลาย ทศวรรษ) ส่ งผลให้ หลั งการประกาศมาตรการดั งกล่ าว เงิ นเยนก็ อ่อนค่ าลงอย่ างรวดเร็ วจนทะลุ ระดับ 100 เยน/ดอลลาร์ สหรั ฐ ซึ่งถือว่ าอ่ อนค่ าที่สุดในรอบ 4 ปี ซึ่งหากนับตัง้ แต่ ต้นปี 56 ก็อ่อนค่ าลง มาแล้ วกว่ าร้ อยละ 18 และเป็ นปั จจั ยสาคัญที่เมื่อภาวะเงินเยนอ่ อนค่ าลงก็ส่งผลให้ ต้นทุนด้ านการ นาเข้ าให้ สูงขึน้ และทาให้ บัญชีเดินสะพัดเกินดุลต่ อเนื่องกันมาหลายเดือน

Fiscal Policy Office 11 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Dubai

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

99.48

104.82

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.53

29.68

Bath/USD

Currencies

2013

7 June 13

10 June 13

(28.929.9)

11 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.62

30.79

0.56

30.85

JPY/USD

97.53

98.73

1.23

98.85

CNY/USD

6.1333

6.1333

USD/EUR

1.3222

1.3256

0.2571

1.3249

NEER Index (Average 11=100)

104.78

104.83

0.04

104.68

0.000

ปิ ดทำกำร

Stock Market 7 June 13 (Close)

10 June 13 (Close)

1,516.24

1,528.55

0.81

15,248.12

15,238.59

-0.06

6,411.99

6,400.45

-0.18

NIKKEI-225

12,877.53

13,514.20

4.94

Hang Seng

21,575.26

21,615.09

0.18

3,184.72

3,200.51

0.50

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.707

2.922

2.836

-54.562

Thailand - 10 Year

3.710

11.306

37.591

2.037

USA - 2 Year

0.314

0.800

7.300

4.380

USA - 10 Year

2.213

3.430

31.340

62.730

7 June 13

10 June 13

11 June 13 (Spot)

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

%change

100.23

100.48

-

0.25

96.11

95.82

-

-0.30

104.32

104.12

-

-0.19

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.53

38.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.08

36.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,383.89

1,386.40

1,383.79

-0.19

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Q1

2012


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 13 มิถุนายน 2556

1. สภาอุตสาหกรรมปรับเป้าส่ งออกอาหารปี 56 เหลือร้ อยละ 1.5 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. กรรมการผู้จัดการศุภาลัยยืนยันว่ าภาคอสังหาฯ ยังไม่ เกิดปั ญหาฟองสบู่ 3. อัตราว่ างงานฟิ ลิปปิ นส์ สูงขึน้ อยู่ท่ รี ้ อยละ 7.5 2013 Year 2012 to Ast.13 Q1 Apr May June Highlight Date 1. สภาอุตสาหกรรมปรับเป้าส่ งออกอาหารปี 56 เหลือร้ อยละ 1.5 Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 99.56 105.13 (105-115)  สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยว่า ได้ ปรับลดเป้าหมายการส่งออกอุตสาหกรรมอาหารของ (28.930.11 29.02 29.74 30.71 30.456 ไทยปี นีล้ งเหลือเพียง 1.5% คิดเป็ นมูลค่า 9.8 แสนล้ านบาท จากเดิมที่คาดว่าจะขยายตัวได้ 6% ที่ มลู ค่า 1.03 Bath/USD 30.47 29.9) ล้ านล้ านบาท เนื่องจากได้ รับผลกระทบจากการขาดแคลนวัตถุดิบพืชผัก ผลไม้ จากปั ญหาสภาพอากาศ รวมทัง้ โรคระบาดในกุ้ง และค่าเงินบาทที่แข็งค่าอย่างมากในช่วงที่ผ่านมา  สศค. วิเคราะห์ ว่า การส่ งออกในช่ วง 4 เดือนแรกที่ขยายตัวเพียงร้ อยละ 3.9 เนื่ องจากได้ รับผลกระทบจาก ม ปั จจั ยภายในและภายนอก โดยปั จจั ยภายในประเทศจากการลดลงของผลผลิ ตในหมวดพื ชผลที่ ส าคั ญ 13 June 13 Currencies 11 June 13 12 June 13 % change โดยเฉพาะข้ าว และมันสาปะหลัง เนื่องจากการจากัดการผลิตจากความกังวลของสภาะอากสศของสถานการณ์ (spot) ภัยแล้ งในปี เพาะปลูก 56 ขณะที่ปัจจัยภายนอกจากความเชื่อมั่นของสถานะการเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ ฟื้นตัว THB/USD 30.95 30.95 0.000 31.04 (onshore) เต็มที่ ประกอบการอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่ าขึน้ ในช่ วงที่ผ่านมา ทัง้ นี ้ การส่ งออกสินค้ าในหมวดอุตสาหกรรม JPY/USD 96.01 96.00 94.52 -0.01 เกษตรมี สั ดส่ วนร้ อยละ 7.9 ของการส่ งออกรวม ซึ่ งในช่ วง 4 เดื อนแรกของปี 56 การส่ งออกในหมวด 6.1333 6.1333 0.000 6.1390 อุตสาหกรรมการเกษตรลดลงร้ อยละ -2.8 โดยสินค้ าส่ งออกที่ปรั บตัวลดลง ได้ แก่ ยางพารา ลดลงร้ อยละ - CNY/USD 8.6 กุ้ งแช่ แข็งและแปรรู ป ลดลงร้ อยละ -19.3 และนา้ ตาลลดลงร้ อยละ -3.4 เป็ นสาคั ญ ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า USD/EUR 1.3314 1.3336 1.3309 0.1652 มูลค่ าการส่ งออกในปี 56 จะขยายตัวที่ร้อยละ 9.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ท่ ีร้อยละ 8.0 -10.0 คาดการณ์ ณ เดือน NEER Index 103.52 103.49 102.96 -0.09 มี.ค. 56 และจะมีการปรับประมาณการอีกครัง้ ในเดือนมิ.ย. 56) (Average 11=100) Stock Market

2. กรรมการผู้จัดการศุภาลัยยืนยันว่ าภาคอสังหาฯ ยังไม่ เกิดปั ญหาฟองสบู่ อธิ ป พีชานนท์ ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมอาคารชุดไทย และ กรรมการผู้จัดการ บมจ.ศุภาลัย กล่าวถึง ภาวะฟองสบูใ่ นภาคอสังหาริ มทรัพย์ในเขตกรุงเทพฯและปริ มณฑลว่า ในขณะนีย้ งั ไม่มีสญ ั ญาณการเกิดฟองสบู่ ในภาคอสังหาริ มทรัพย์ของไทย โดยอสังหาฯ ประเภทบ้ านจัดสรร ปั จจุบันอยู่ในภาวะดุลยภาพ หรื อ มีความ สมดุลระหว่างจานวนบ้ านจัดสรรที่เปิ ดขายและความต้ องการซื ้อ นอกจากนี ้ ยังพบว่าในบางพื ้นที่ ความต้ องการ บ้ านจัดสรรมีมากกว่าจานวนบ้ านจัดสรรที่เปิ ดขายอยู่ เนื่องจากขณะนีป้ ระชาชนหมดความกังวลเกี่ยวกับปั ญหา นา้ ท่วมที่เกิดขึ ้นในช่วงปลายปี 2554 แล้ ว สาหรับ ที่อยู่อาศัยประเภทคอนโดมิเนียม ก็เช่นเดียวกันไม่มีปัญหา ภาวะฟองสบู่ เพราะปริ มาณความต้ องการซื ้อเพื่ออยู่อาศัยจริ งขยายตัวเพิ่มขึ ้น ตามการขยายเส้ นทางรถไฟฟ้ า ของภาครัฐ โดยเฉพาะสายสีมว่ งและสายสีน ้าเงินที่กาลังก่อสร้ างอยู่  สศค. วิเคราะห์ ว่า ปั จจุบันดัชนีราคาที่อยู่อาศัยจากฐานข้ อมูลสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ ประเภทคอนโดมิเนียม ในเดือน เม.ย. 56 ก็ ขยายตั วร้ อยละ 10.2 และราคาทาวน์ เฮ้ าส์ พร้ อมที่ดิ นที่ ขยายตั วร้ อยละ 6.4 จากช่ วง เดียวกั นของปี ก่ อน ซึ่งแสดงให้ เห็นว่ าราคาอสั งหาริ มทรั พย์ ยังไม่ มีสัญญาณของการชะลอตัว ทัง้ นี ้ ในส่ วน ของภาษี จากการท าธุ รกรรมอสั งหาริ มทรั พย์ ในเดื อน เม.ย. 56 ขยายตัวถึงร้ อยละ 35.1 เมื่ อเทียบกั บช่ วง เดียวกันของปี ก่ อน จากเดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวร้ อยละ 24.0 จากแนวโน้ มเศรษฐกิจที่ยังคงขยายตัวได้ อย่ าง ต่ อเนื่อง ประกอบกั บการปล่ อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยจากธนาคารพาณิชย์ ในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ทัง้ ที่ อยู่อาศัยแนวราบ และที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุดปรับเพิ่มขึน้  นาย

3. อัตราว่ างงานฟิ ลิปปิ นส์ สูงขึน้ อยู่ท่ รี ้ อยละ 7.5

11 June 13 (Close)

12 June 13 (Close)

1,528.55

1452.63

-4.97

15,122.02

14995.23

-0.84

6,340.08

6299.45

-0.64

NIKKEI-225

13,317.62

13289.32

-0.21

Hang Seng

21,615.09

21354.66

-1.20

3,170.38

3153.48

-0.53

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.834

5.280

15.611

-41.239

Thailand - 10 Year

3.979

3.858

64.460

30.086

USA - 2 Year

0.3258

0.00

8.50

3.18

USA - 10 Year

2.1955

3.25

27.82

59.60

 รัฐบาลฟิ ลิปปิ นส์ รายงานว่าอัตราการว่างงานในเดือนเม.ย. 56 อยู่ที่ร้อยละ 7.5 สูงขึ ้นจากร้ อยละ 7.1 ในเดือน

ม.ค. 56 โดยเฉพาะจากภาคกสิกรรม เนื่องจากในปี นีฤ้ ดูเก็บเกี่ยวมีความล่าช้ า ส่งผลให้ ผ้ ตู อบแบบสารวจหลาย คนรายงานว่าพวกเขาไม่มีงานทา และทาให้ ตัวเลขอัตราการว่างงานสูงขึ ้น ตัวเลขการว่างงานที่ เพิ่มขึน้ นี ม้ ีขึน้ ในช่วงที่เศรษฐกิจฟิ ลิปปิ นส์ขยายตัวร้ อยละ 7.8 ในไตรมาสแรกของปี นี ้ ซึ่งนับเป็ นอัตราการขยายตัวที่เร็ วที่สุด ตังแต่ ้ นายเบนิญโญ อคิโน เข้ ามารับตาแหน่งประธานาธิบดีในปี 53  สศค. วิเคราะห์ ว่ า อัตราการว่ างงานของฟิ ลิปปิ นส์ ท่ ีร้อยละ 7.5 นั บเป็ นตัวเลขที่สูงที่สุดในรอบ 2 ปี นับจาก เดือนเม.ย. 54 ที่อยู่ท่ ีร้อยละ 8.0 โดยเป็ นการว่ างงานชั่วคราว จากความล่ าช้ าในการเก็ บเกี่ ยวภาคกสิ กรรม เท่ านั น้ ทัง้ นีเ้ มื่อพิจารณาข้ อมูลอัตราเงินเฟ้อล่ าสุดในเดือน เม.ย. 56 พบว่ า ปรั บลดลงอยู่ท่ ีร้อยละ 2.6 จาก ร้ อยละ 3.1 ในปี 55 ขณะที่อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 1 ปี 56 พบว่ าขยายตัวได้ ดีอยู่ท่ ีร้อยละ 7.8 สูงขึน้ จากปี 55 ที่ขยายตัวร้ อยละ 6.6 และเป็ นการขยายตัวสูงกว่ าระดับร้ อยละ 7 เป็ นไตรมาสที่ 3 ติดกัน ซึ่ง สภาพการณ์ ดังกล่ าวทาให้ ฟิลิ ปปิ นส์ มีการเติบโตที่สูงที่สุดในเอเชีย สู งกว่ าจีนที่ขยายตัวร้ อยละ 7.7 ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า เศรษฐกิ จฟิ ลิ ปปิ นส์ ในปี 56 จะขยายตั วร้ อยละ 5.1 เมื่ อเที ยบกั บช่ วงเดี ยวกั นของปี ก่ อน (คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 56)

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

12 June 13

11 June 13 (Spot)

%change

100.10

99.47

-

-0.63

95.50

95.98

-

0.50

101.74

103.36

-

1.58

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.53

38.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.08

36.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1377.49

1387.79

1,390.49

0.19

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

11 June 13


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ผู้ว่า กนอ. เผย แผนนิคมอุตสาหกรรมใหม่ เงินลงทุนสะพัด 8.9 แสนล้ านบาท 2. ธนาคารโลกปรั บลดตัวเลขคาดการณ์ เศรษฐกิจโลก 3. อัตราการว่ างงานออสเตรเลีย เดือนพ.ค. 56 ลดลงอยู่ท่ รี ้ อยละ 5.5 ของกาลังแรงงานรวม Highlight 1. ผู้ว่า กนอ. เผย แผนนิคมอุตสาหกรรมใหม่ เงินลงทุนสะพัด 8.9 แสนล้ านบาท  นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้วา่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เปิ ดเผยความคืบหน้ าในการพัฒนาพื ้นที่ อุตสาหกรรมตามนโยบายรัฐบาล เพื่อรองรับความต้ องการของนักลงทุนทัง้ ในและต่างประเทศที่เข้ ามาลงทุนใน ไทยว่า ขณะนี ผ้ ้ ูพัฒนานิ ค มอุตสาหกรรมได้ ยื่ นข้ อเสนอขอจัดตัง้ นิ ค มอุตสาหกรรมใหม่ต่อ กนอ.จ านวน 28 โครงการ ในพื ้นที่ 14,000 ไร่ วงเงินในการลงทุนรวม 890,000 ล้ านบาท และเกิดการจ้ างงาน 530,000 อัตรา โดย กนอ.จะเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของพื ้นที่จัดตัง้ และผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม เนื่องจากมีจานวนวนักลงทุน ม สนใจเข้ ามาลงทุนมากขึ ้น ขณะที่พื ้นที่นิคมอุตสาหกรรมในประเทศลดลง  สศค. วิเคราะห์ ว่า นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรั ฐบาล รวมถึงความคืบหน้ าของโครงการบริ หารจัดการนา้ 3.5 แสนล้ านบาท ประกอบกับอุปสงค์ ในประเทศที่ขยายตัวดีต่อเนื่อง ทาให้ าาคการผลิต โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ของประเทศ ซึ่ งมี สั ดส่ วนสู งถึ งกว่ าร้ อยละ 40 ของ GDP ฟื ้ นตั วต่ อเนื่ อง สะท้ อนจากดั ชนี ผลผลิ ต าาคอุตสาหกรรม (MPI) ในไตรมาส 1 ปี 56 ที่ขยายตัวร้ อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน เร่ งขึน้ มาก จากช่ วงที่าาคอุตสาหกรรมได้ รับผลกระทบจากมหาอุทกาัยสูงสุด ในช่ วงไตรมาส 4 ปี 54 ที่หดตัวสูงถึงร้ อยละ -34.4 อย่ างไรก็ ตาม เศรษฐกิ จโลกที่มีแนวโน้ มชะลอลงต่ อเนื่ อง อาจส่ งผลกระทบต่ อความเชื่อมั่ นของนั ก ลงทุน และอาจส่ งให้ มีการชะลอการลงทุน ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่ อาาพรวมของเศรษฐกิจไทยได้ ในระยะต่ อไป 2. ธนาคารโลกปรับลดตัวเลขคาดการณ์ เศรษฐกิจโลก  ธนาคารโลก (World Bank) ปรับลดตัวเลขคาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 56 จากเดิมที่เคย คาดการณ์ ณ เดือน ม.ค. 56 ที่ร้อยละ 2.4 เป็ นร้ อยละ 2.2 ทัง้ นี ้ แม้ ว่าเศรษฐกิจของประเทศที่พฒ ั นาแล้ วได้ เริ่ ม ฟื น้ ตัว (ยกเว้ นเศรษฐกิจยูโรโซนที่ยังคงหดตัวต่อเนื่อง) แต่เศรษฐกิจประเทศกาลังพัฒนาที่ เคยเป็ นแรงผลักดัน เศรษฐกิ จโลกเริ่ มขยายตัวในอัตราชะลอลง จึงทาให้ ธนาคารโลกปรั บลดตัวเลขคาดการณ์ดังกล่าว รวมทัง้ ได้ ประกาศตัวเลขคาดการณ์ เศรษฐกิ จโลกว่าจะขยายตัว ร้ อยละ 3 และ 3.3 ในปี 57 และ 58 ตามลาดับ ทัง้ นี ้ ธนาคารโลกคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจจีนจะขยายตัว ร้ อยละ 7.7 จากเดิมที่เคยคาดการณ์ไว้ ที่ร้อยละ 8.4 รวมทัง้ ปรับลดอัตราการขยายตัวของยูโรโซนจากร้ อยละ -0.1 เป็ นร้ อยละ -0.6 อย่างไรก็ตาม ธนาคารโลกได้ ปรับเพิ่ม ตัวเลขคาดการณ์ เ ศรษฐกิ จ ของสหรั ฐฯ และและญี่ ปนซึ ุ่ ่งคาดการณ์ ว่าจะเศรษฐกิ จมีแนวโน้ มที่ ดีขึน้ จากการ กระตุ้นทางนโยบายการเงินและการคลัง โดยปรับตัวเลขของสหรัฐฯ จากร้ อยละ 1.9 เป็ นร้ อยละ 2.0 และตัวเลข คาดการณ์เศรษฐกิจญี่ปนจากร้ ุ่ อยละ 0.8 เป็ น 1.4  สศค. วิ เคราะห์ ว่ า การที่ ธนาคารโลกปรั บตั วเลขคาดการณ์ ลงอาจมี สาเหตุ จากตั วเลขทางเศรษฐกิ จของ ประเทศกาลังพัฒนาเช่ น จีน ซึ่งมีสัดส่ วน GDP คิดเป็ นร้ อยละ 11.8 ของ GDP โลก มีแนวโน้ มชะลอลง สะท้ อน จากตัวเลข GDP ในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ที่ขยายตัวเพียงร้ อยละ 7.7 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ชะลอตัวลง จากไตรมาสก่ อนที่ร้อยละ 7.9 นอกจากนี ้ เศรษฐกิ จของยูโรโซนฟื ้ นตัวล่ าช้ า สะท้ อนจากอัตราการว่ างงาน เดือนเม.ย. 56 อยู่ท่ ีร้อยละ 12.2 ของกาลั งแรงงานรวม อย่ างไรก็ ตาม เศรษฐกิ จสหรั ฐฯ คาดว่ าจะขยายตั ว ต่ อเนื่ อง ถึงแม้ จะได้ รับผลกระทบจากการตัดลดงบประมาณรายจ่ ายก็ ตาม อีกทัง้ เศรษฐกิจญี่ปุ่น คาดว่ าจะ ยังคงขยายตัวได้ ในอัตราต่ า ตามอัตราการขยายตัวศักยาาพ (Potential Growth) โดยค่ าเงินเยนที่อ่อนค่ าลงมาก จะเป็ นหนึ่งในปั จจัยที่ช่วยเอือ้ าาคการส่ งออกญี่ปุ่น ทัง้ นี ้ สศค.คาดการณ์ ว่าเศรษฐกิจโลกในปี นีจ้ ะขยายตัว ร้ อยละ 3.6 ณ เดือน มี .ค. 56 อย่ างไรก็ ตาม สถานการณ์ เศรษฐกิ จโลกล่ าสุ ดที่ มีความเสี่ ยงของการชะลอ ตัวอย่ างชัดเจน ส่ งผลให้ สศค. จะปรับประมาณการเศรษฐกิจโลก ในการประมาณการ เดือน มิ.ย. 56 ที่จะถึงนี ้ 3. อัตราการว่ างงานออสเตรเลีย เดือนพ.ค. 56 ลดลงอยู่ท่ รี ้ อยละ 5.5 ของกาลังแรงงานรวม  สานักงานสถิติแห่งชาติออสเตรเลียประกาศอัตราว่างงาน เดือนพ.ค. 56 อยู่ที่ร้อยละ 5.5 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 5.6 ของกาลังแรงงานรวม โดยพบว่าตัวเลขการจ้ างงานแบบเต็มเวลา (Full Time) ลดลง 5,300 ตาแหน่ง ในขณะที่การจ้ างงานแบบไม่เต็มเวลา (Part Time) เพิ่มขึ ้น 6,400 ตาแหน่ง ส่งผลให้ อัตรา การจ้ างงานโดยรวมเพิ่มขึ ้น 1,100 ตาแหน่ง  สศค. วิเคราะห์ ว่ า ตัวเลขการว่ างงานที่ ลดลงในเดือนพ.ค. 56 นี ้ เป็ นผลจากการจ้ างงานแบบไม่ เต็มเวลาที่ สูงขึน้ ส่ งสัญญาณถึงอุปสงค์ ในประเทศที่ยังคงขยายตัวได้ สอดคล้ องกับยอดค้ าปลีกที่ขยายตัวต่ อเนื่อง โดย ล่ าสุ ดในเดือนเม.ย. 56 อยู่ ท่ ีร้อยละ 3.3 จากช่ วงเดียวกั นปี ก่ อน ซึ่งเป็ นปั จจัยสนั บสนุ นต่ อการเติบโตทาง เศรษฐกิ จออสเตรเลี ยจากสั ดส่ วนการพึ่งพาการบริ โาคาาคเอกชนถึงร้ อยละ 53.0 ของ GDP (สั ดส่ วนปี 55) อย่ างไรก็ ตาม เมื่อดูในรายละเอียดพบว่ าการจ้ างงาน Part Time เพิ่มขึน้ ขณะที่การจ้ างงานแบบ Full Time ลดลง ซึ่ งส่ วนหนึ่ งมาจากค่ าจ้ างที่ อยู่ ในระดั บสู ง ประมาณ 16 ดอลลาร์ ออสเตรเลี ยต่ อสั ปดาห์ บ่ งชี ถ้ ึ ง โครงสร้ างตลาดแรงงานออสเตรเลี ยที่เน้ นการจ้ างงานแบบไม่ เต็มเวลาเพิ่มขึน้ ซึ่งอาจส่ งผลให้ การขยายตัว ของเศรษฐกิ จออสเตรเลียเป็ นไปอย่ างเปราะบาง สะท้ อนจาก GDP ไตรมาสแรกปี 56 ขยายตัวชะลอลงอยู่ท่ ี ร้ อยละ 2.4 เทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน จากเดิมซึ่งขยายตัวอยู่ท่ ีร้อยละ 3.0 นับว่ าขยายตัวในอัตราต่ าสุดใน รอบ 8 ไตรมาส ซึ่งเป็ นผลมาจากการลงทุนของาาครัฐที่หดตัวลงเป็ นสาคัญ Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 14 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Q1

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

99.58

104.69

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.67

29.73

(28.929.9)

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

12 June 13

13 June 13

14 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.95

30.74

-0.68

30.65

JPY/USD

96.00

95.37

-0.66

94.71

CNY/USD

6.1333

6.1341

0.0130

6.1354

USD/EUR

1.3336

1.3374

0.2849

1.3358

NEER Index (Average 11=100)

103.49

103.86

0.3963

104.00

Stock Market Market SET Dow Jones FTSE-100 NIKKEI-225 Hang Seng Straits Time

12 June 13 (Close)

13 June 13 (Close)

1,433.47

1,403.27

-2.11

14,995.23

15,176.08

1.21

6,299.45

6,304.63

0.08

13,289.32

12,445.38

-6.35

Close

20,887.04

-2.19

3,153.48

3,130.69

-0.72

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.830

2.00

14.60

-38.83

Thailand - 10 Year

3.840

16.50

47.50

26.75

USA - 2 Year

0.286

3.98

4.52

-0.80

USA - 10 Year

2.149

7.91

23.16

54.94

Commodities Commodities

12 June 13

13 June 13

14 June 13 (Spot)

%change

Dubai (USD/BBL)

99.47

99.75

-

0.28

WTI (USD/BBL)

95.98

96.66

-

0.71

103.36

103.63

-

0.26

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.53

38.53

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.08

36.08

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,387.79

1,385.44

1,384.20

-0.09

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ดัชนีเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม พ.ค. 56 ฟื ้ นรอบ 4 เดือน 2. ยอดผลิตรถยนต์ ในเดือน พ.ค. 56 ขยายตัวร้ อยละ 11.09 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน 3. กองทุนการเงินระหว่ างประเทศ (IMF) คาดสหรัฐฯคง QE จนถึงสิน้ ปี นี ้

Fiscal Policy Office 17 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012

Highlight 1. ดัชนีเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม พ.ค. 56 ฟื ้ นรอบ 4 เดือน

Dubai

105.61

ประธานสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยผลการสํ า รวจความเชื่ อ มั่ น ของ Bath/USD 30.47 ภาคอุตสาหกรรมไทยประจําเดือน พ.ค. 56 จํานวน 1,042 ราย ครอบคลุม 42 กลุ่มอุตสาหกรรมของสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พบว่า ค่าดัชนีความเชื่อมัน่ ฯ อยูท่ ี่ระดับ 94.3 เพิ่มขึ ้นจากระดับ 92.9 ในเดือน เม.ย. 56 โดยปรับตัวเพิ่มขึ ้นครั ง้ แรกในรอบ 4 เดื อน ตามการเพิ่มขึน้ ของยอดคําสั่งซื ้อโดยรวม ยอดขาย ม โดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการของภาคอุตสาหกรรม  สศค. วิเคราะห์ ว่า ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนพ.ค. 56 ปรั บตัวเพิ่มขึน ้ เล็กน้ อยจากเดือน Currencies ก่ อน เนื่องจากมีหลายปั จจัยที่ทาํ ให้ ผ้ ูประกอบการคลายความกังวล ได้ แก่ ค่ าเงินบาทที่กลับมาอ่ อนค่ า THB/USD อี กครั ้ง ประกอบกั บการลดอั ตราดอกเบีย้ นโยบายของคณะกรรมการการเงิน (กนง.) ลงร้ อยละ 0.25 (onshore) JPY/USD เหลือร้ อยละ 2.50 ซึ่งมีส่วนในการกระตุ้นการใช้ จ่ายในประเทศอีกด้ วย อย่ างไรก็ดี ผู้ประกอบการยังมี ความกั งวลต่ อสถานการณ์ เศรษฐกิจโลกที่อาจจะส่ งผลกระทบต่ ออุ ปสงค์ ภายนอกประเทศ ตลอดจน CNY/USD ปั ญหาการขาดแคลนแรงงานในหลายอุตสาหกรรม USD/EUR 2. ยอดผลิตรถยนต์ ในเดือน พ.ค. 56 ขยายตัวร้ อยละ 11.09 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน NEER Index  โฆษกกลุ่มอุต สาหกรรมยานยนต์ สภาอุต สาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิ ดเผยถึ ง ยอดการผลิ ต (Average 11=100) รถยนต์ในเดือน พ.ค. 56 อยู่ที่ 231,070 คัน เพิ่มร้ อยละ 11.09 โดย 5 เดือนแรกปี 56 ยอดผลิตรวมอยู่ที่ 1.12 ล้ านคัน เพิ่มร้ อยละ 31.73 โดยได้ รับอานิสงส์จากนโยบายรถยนต์คันแรกและตลาดส่งออกที่ขยายตัว Stock Market ในระดับดี ทั ้งนี ้ ในปี 56 คาดว่าสามารถผลิตรถยนต์ได้ ตามเป้าที่กําหนดไว้ 2.55 ล้ านคัน สําหรับประเด็น Market การส่งมอบรถตามโครงการรถยนต์คนั แรกของรัฐบาลนั ้น คาดว่าจะทยอยส่งมอบหมดภายในเดือน ต.ค. 56 SET  สศค. วิ เคราะห์ ว่า หลั งจากสถานการนํา้ ท่ วมคลี่ คลายลงในช่ วงต้ นปี 55 การผลิ ตและการบริ โภคสินค้ า Dow Jones หมวดยานยนต์ มีส่วนสําคัญในการช่ วยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยให้ เติบโตต่ อเนื่อง โดยเฉพาะการบริ โภค FTSE-100 ภาคเอกชนขยายตัวในอั ตราเร่ งที่ร้อยละ 6.7 ในปี 55 จากปี ก่ อนที่ขยายตัวเพียงร้ อยละ 1.3 เท่ านั น้ นอกจากนีย้ ังส่ งผลต่ อเนื่องมายังไตรมาสแรกปี 56 ให้ การบริ โภคภาคเอกชนขยายตัวในเกณฑ์ ดีท่ รี ้ อย NIKKEI-225 ละ 4.2 จากช่ วงเดียวกั นปี ก่ อน โดยส่ วนหนึ่งเป็ นมาจากนโยบายรถยนคันแรกของรั ฐบาล อย่ างไรก็ดี Hang Seng ยอดการผลิตและยอดขายยานยนต์ คาดว่ าจะขยายตัวชะลอลงในช่ วงปลายปี 56 ตามที่ ส.อ.ท. สามารถ เร่ งทยอยการส่ งมอบหมดภายในเดือน ต.ค. 56 นี ้ และจะส่ งผลต่ อการบริ โภคภาคเอกชนในช่ วงปลายปี Straits Time 56 ชะลอลงตามไปด้ วย ทัง้ นี ้ การบริ โภคภาคเอกชนในปี 56 คาดว่ าจะขยายตัวร้ อยละ 4.6 (โดยมีช่วง คาดการณ์ ท่ รี ้ อยละ 4.1 – 5.1 ประมาณการ ณ เดือน มี.ค. 56 และสศค.จะปรั บประมาณการอีกครั ้งใน Bond Yield เดือน มิ.ย. 56 นี)้ 3. กองทุนการเงินระหว่ างประเทศ (IMF) คาดสหรั ฐฯคง QE จนถึงสิน้ ปี นี ้ Gov’t Bond Yield  กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรื อ IMF ได้ ให้ ความเห็นในการแถลงข่าวมุมมองต่อเศรษฐกิจครัง้ ล่าสุดต่อ เศรษฐกิจสหรัฐฯ ว่าทางธนาคารสหรัฐฯน่าจะยังคงมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณโดยการเข้ าซื ้อพันธบัตร Thailand - 2 Year หรื อ QE ไปอย่างน้ อยจนถึงสิ ้นปี 56 นี ้ โดยทาง IMF ยังคงประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ Thailand - 10 Year สหรัฐฯไว้ ที่ ร้ อยละ 1.9 เท่ากับการประมาณการครัง้ ก่อนหน้ า แต่ได้ ปรับลดการขยายตัวเศรษฐกิจสหรัฐฯใน USA - 2 Year ปี 2557 ลงมาอยูที่ร้อยละ 2.7 จากร้ อยละ 3.0 สาเหตุจาก IMF ประเมินว่าการตัดลดงบประมาณจะมีผล USA - 10 Year ทางลบในปี หน้ ามากกว่าที่ได้ คาดการณ์ไว้ ในคราวที่แล้ ว  สศค. วิ เคราะห์ ว่ า การถอดมาตรการ QE ออกของสหรั ฐฯที่แม้ จะยั งไม่ เกิ ดขึน ้ จริ งในปี นี อ้ ย่ างที่ IMF Commodities คาดการณ์ แต่ การส่ งสั ญญาณโดยเฟดฯก็ เพี ยงพอที่จะทําให้ ภาคการเงินของโลกเกิดความผั นผวน ในทันที โดยหลังจากนายเบน เบอร์ นันกี ้ ประธานเฟดฯได้ กล่ าวถึงความเป็ นไปได้ ในการถอดมาตรการ Commodities ดังกล่ าวในช่ วงกลางเดือน พ.ค. ที่ผ่านมาก็ทาํ ให้ นักลงทุนดึงเงินทุนออกจากตราสารทุนทั่วโลกไปแล้ ว รวมเป็ นมูลค่ าทัง้ สิน้ กว่ า 3 ล้ านล้ านเหรี ยญสหรั ฐฯ นัยยะเชิงนโยบายของไทยต่ อการถอดมาตรการ QE Dubai (USD/BBL) ของสหรั ฐฯคือ การจับตาดูตัวเลขทางเศรษฐกิจของสหรั ฐฯและการสื่อสารของเฟดฯอย่ างใกล้ ชิด ไป WTI (USD/BBL) พร้ อมๆกั บเตรี ยมความพร้ อมในการหามาตรการรั บมือกั บความผั นผวนของเงินทุนเคลื่อนย้ ายเพราะ Brent (USD/BBL) มาตรการ QE เป็ นสิ่งที่ผูกโยงกั บความผั นผวนทัง้ ในตลาดการเงินและตลาดสินค้ าโภคภัณฑ์ และเมื่ อ Gasohol-95 ความแน่ ชัดของการสิน้ สุดของมาตรการ QE ปรากฎ สศค. คาดว่ า เงินทุนจะไหลเข้ าเอเชียอี กครั ง้ จาก (Bt/litre) การที่มี อั ตราการขยายตั วในอนาคตดี กว่ าสหรั ฐฯ ที่ขาดแรงสนั บสนุ นจากสภาพคล่ องจาก QE ไป Gasohol-91 (Bt/litre) ซึ่งอาจส่ งผลให้ ค่าเงินบาทมีความผันผวนได้ Diesel (Bt/litre)

Q1

Apr

2013 May

June

Year to Date

Ast.13

106.81

102.52

100.41

99.82

104.67

(105-115)

30.11

29.02

29.74

30.63

29.73

(28.929.9)

Spot Gold Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

13 June 13

14 June 13

17 June 13 (spot)

% change

30.74

30.56

-0.59

30.55

95.36

94.07

-1.35

94.71

6.1341

6.1306

-0.057

6.1295

1.3374

1.3346

-0.209

1.3337

103.85

104.13

0.396

104.32

13 June 13 (Close)

14 June 13 (Close)

1403.27

1465.27

4.42

15176.08

15070.18

-0.70

6304.63

6308.26

0.06

12445.38

12686.52

1.94

20887.04

20969.14

0.39

3130.69

3161.43

0.98

Yield (%)

% change

Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

2.794

-5.184

6.522

-43.597

3.707

-13.986

31.770

5.288

0.2741

-1.190

2.510

-2.390

2.1295

-1.940

14.770

48.750

13 June 13

14 June 13

17 June 13 (Spot)

%change

99.75

101.92

-

2.18

96.66

97.83

-

1.21

103.63

105.35

-

1.66

38.53

38.53

38.53

-

36.08

36.08

36.08

-

29.99

29.99

29.99

-

1385.44

1390.20

1389.81

-0.03


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ก.เกษตรคาดผลผลิต 56/57 ข้ าวนาปี เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 6.95 จากผลพวงโครงการรับจานาข้ าว 2. ธปท. ยอมรับเงินบาทผันผวนมากขึน้ ตามการไหลเข้ า-ออกของเงินทุนที่เร็ วขึน้ 3. ยูโรโซนเกินดุลการค้ าลดลงในเดือนเม.ย. หลังส่ งออกหดตัว Highlight 1. ก.เกษตรคาดผลผลิต 56/57 ข้ าวนาปี เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 6.95 จากผลพวงโครงการรับจานาข้ าว  ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่า วภายหลัง เป็ นประธานการประชุม คณะกรรมการพัฒนา คุณภาพข้ อมูลด้ านการเกษตรว่า ได้ รับทราบรายงานผลการพยากรณ์ ปริ มาณการผลิตสินค้ าเกษตร ปี 56/57 ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยคาดว่าข้ าวนาปี ปี 56/57 จะมีผลผลิตประมาณ 28.44 ล้ านตัน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 6.95 พื ชไร่ คาดว่ามีผลผลิตประมาณ 4.88 ล้ านตัน เพิ่มขึ ้นร้ อย ม ละ 2.06 มันสัมปะหลัง คาดว่ามีผลผลิต ประมาณ 28.22 ล้ านตัน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.7 และอ้ อย โรงงานคาดว่ามีผลผลิตประมาณ 106.94 ล้ านตัน เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.87 เป็ นต้ น  สศค. วิเคราะห์ ว่า แนวโน้ มข้ าวนาปี ในปี เพาะปลูก 56/57 คาดว่ าผลผลิตจะเพิ่มขึน ้ เมื่อเทียบ กับปี ที่แล้ ว ส่ วนหนึ่งเป็ นผลมาจากสภาพดินฟ้าอากาศที่เอือ้ อานวยต่ อการเพาะปลูกและ สถานการณ์ ภัยแล้ งที่เริ่ มคลี่คลายลง ประกอบกับแรงจูงใจด้ านราคาข้ าวที่ยังคงทรงตัวใน ระดับสูง จากโครงการรั บจานาข้ าวเปลือกของรั ฐบาล อย่ างไรก็ดี หากผลผลิตภาคเกษตร เพิ่ มขึน้ จะส่ งผลดี ต่ อ GDP ภาคเกษตรให้ เพิ่ มขึ น้ และส่ งผลให้ รายได้ รายได้ เกษตรกร เพิ่มขึน้ ซึ่งจะเป็ นปั จจัยหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในส่ วนภูมิภาคต่ อไป ทัง้ นี ้ ในช่ วง 4 เดือนแรกปี 56 ดัชนีผลผลิตสินค้ าเกษตรขยายตัวเล็กน้ อยที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับช่ วง เดี ยวกันปี ก่ อน ตามการขยายตั วของปริ มาณผลผลิ ตสิ นค้ าเกษตร อาทิ ยางพารา มั น ส าปะหลัง และอ้ อยโรงงานป็ นส าคัญ ขณะที่ดั ชนี ราคาสินค้ าเกษตร หดตั วร้ อยละ -3.9 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันปี ก่ อน 2.ธปท. ยอมรับเงินบาทผันผวนมากขึน้ ตามการไหลเข้ า-ออกของเงินทุนที่เร็วขึน้  ผู้ช่วยผู้ว่าการสายตลาดการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิ ดเผยว่า แนวโน้ มการเคลื่อนไหว การลงทุนของต่างชาติจากนี ้ จะมีความผันผวนและเคลื่อนไหวเข้ าออกอย่างรวดเร็ วมากขึ ้น ซึง่ แม้ ว่า ธปท. จะพยายามดูแลไม่ให้ การไหลเข้ าออกหรื อผลของการไหลเข้ าออกกระทบต่อตลาดการเงินและ อัตราแลกเปลี่ยนมากนัก แต่นกั ลงทุนและผู้ที่เกี่ ยวข้ องจาเป็ นจะต้ องติดตามข่าวสารที่เกี่ ยวข้ อง ซึง่ ตลาดการเงินขณะนี ้ค่อนข้ างอ่อนไหวกับปั จจัยที่เ กิดขึ ้นอย่างรวดเร็ ว รวมถึงการติดตามถ้ อยแถลง ของทางการสหรัฐฯ ต่อกรณีการยกเลิกหรื อชะลอการดาเนินนโยบายผ่อนคลายทางการเงิน  สศค. วิเคราะห์ ว่าสถานการณ์ ค่าเงินบาทในเดือน มิ.ย. 56 แม้ จะมีความผันผวนแต่ แนวโน้ ม ทิศทางโดยรวมยั งคงมี ทิ ศทางอ่ อนค่ าลงต่ อเนื่ องตามเงินทุ นเคลื่ อนย้ ายที่ไหลออกจาก ประเทศไทย โดยเฉพาะจากตลาดหลักทรั พย์ ท่ ีนักลงทุนต่ างชาติมียอดขายสุทธิในเดือน มิ.ย. 56 มากกว่ า 3.2 หมื่นล้ านบาท ทาให้ ค่าเงินบาทอ่ อนค่ าลงมาอยู่ท่ รี ะดับ 30.65 บาท/ดอล ล่ าร์ สหรั ฐ ซึ่งถ้ าเทียบกับระดับที่แข็งค่ าที่สุดในเดือน เม.ย. ที่ 28.7 บาท/ดอลล่ าร์ สหรั ฐ จะ คิดเป็ นการอ่ อนค่ าลงมากถึงร้ อยละ 6.8 ภายในระยะเวลา 2 เดือน อย่ างไรก็ดีในสัปดาห์ นี ้ ตลาดการเงินกาลังจับตาการประชุมของเฟดในวันที่ 19 มิ.ย. 56 ในการตัดสินใจการดาเนิน มาตรการผ่ อนขยายเชิงปริ มาณ (Quantitative Easing : QE) จึงทาให้ ตลาดการเงินค่ อนข้ างผัน ผวนทัง้ ค่ าเงินสหรั ฐฯ ค่ าเงินเยน และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10 ปี ของสหรัฐฯ 3. ยูโรโซนเกินดุลการค้ าลดลงในเดือน เม.ย. หลังส่ งออกหดตัว  สานักงานสถิ ติแห่งชาติของสหภาพยุโรป (ยูโรสแตท) เปิ ดเผยในวันนี ้ว่ า ยูโรโซนมียอดเกินดุล การค้ า 1.49 หมื่นล้ านยูโร (1.99 หมื่นล้ านดอลลาร์ ) ในเดือน เม.ย. ซึง่ ยอดเกินดุลดังกล่าวลดลงเกื อบร้ อยละ 30 เมื่อเทียบกับที่เกินดุลการค้ า 2.29 หมื่นล้ านยูโรในเดือน มี.ค. นอกจากนี ้ ยูโรสแตทระบุว่าในเดือน เม.ย. การส่งออกลดลงร้ อยละ 0.8 แต่การนาเข้ าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 0.5 จากเดือน มี.ค.  สศค. วิ เคราะห์ ว่า สัญญาณการลดลงของดุลการค้ าดังกล่ าว สะท้ อนการชะลอตัวของอุปสงค์ สินค้ าของบรรดาประเทศคู่ค้าของกลุ่มยูโรโซน ดังนัน้ การส่ งออกที่แข็งแกร่ งของยูโรโซนอาจจะ ไม่ สามารถเกิดขึน้ ได้ อย่ างต่ อเนื่ อง จึงเป็ นปั จจัยที่ทาให้ ธนาคารกลางยูโรป (ECB) หันมา กระตุ้ นเศรษฐกิจด้ านการบริ โภคและการลงทุ น ผ่ านมาตรการทางเงิน โดยปรั บลดอัตรา ดอกเบีย้ ลงสู่ระดับต่าสุดเป็ นประวัติการณ์ ท่ รี ้ อยละ 0.5

Fiscal Policy Office 18 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Dubai

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

100.11

104.65

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.64

29.73

(28.929.9)

Bath/USD

Currencies

2013

14 June 13

17 June 13

18 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.56

30.64

0.26

30.74

JPY/USD

94.07

94.49

0.45

94.67

CNY/USD

6.1306

6.1248

-0.0946

6.1289

USD/EUR

1.3346

1.3367

0.1574

1.3356

NEER Index (Average 11=100)

104.13

104.32

0.18

103.91

Stock Market 14 June 13 (Close)

17 June 13 (Close)

1,465.27

1,471.04

0.39

15,070.18

15,179.85

0.73

6,308.26

6,330.49

0.35

NIKKEI-225

12,686.52

13,033.12

2.73

Hang Seng

20,969.14

21,225.90

1.22

3,161.43

3,183.44

0.70

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.677

0.028

-2.918

-56.806

Thailand - 10 Year

3.597

2.515

24.338

-8.135

USA - 2 Year

0.270

-0.400

2.430

-1.610

USA - 10 Year

2.178

4.860

22.400

60.430

17 June 13

18 June 13 (Spot)

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

14 June 13

%change

101.92

103.03

-

1.09

97.83

97.86

-

0.03

105.35

106.05

-

0.66

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.83

38.83

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.38

36.38

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,390.20

1,384.35

1,384.79

0.03

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Q1

2012


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 19 มิถุนายน 2556

1. สทท. เผย ดัชนีความเชื่อมั่น "ท่ องเที่ยว" ไตรมาสที่ 2 ปี 56 สูงสุดในรอบ 3 ปี Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. โตโยต้ าเปิ ดเผยยอดขายตลาดรถยนต์ ในประเทศเดือน พ.ค. 56 เท่ ากับ 111,848 คัน 3. ประเทศกลุ่ม G8 ชีแ้ นวโน้ มเศรษฐกิจโลกยังอ่ อนแอ 2013 Year 2012 to Ast.13 Q1 Apr May June Highlight Date 1. สทท. เผย ดัชนีความเชื่อมั่น "ท่ องเที่ยว" ไตรมาสที่ 2 ปี 56 สูงสุดในรอบ 3 ปี Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 100.26 104.63 (105-115)  ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สทท.) เปิ ดเผยผลการสารวจความเชื่อมัน ่ ของผู้ประกอบการ (28.930.11 29.02 29.74 30.69 29.76 ที่เกี่ ยวข้ องกับภาคธุรกิ จท่องเที่ ยว อาทิ โรงแรม สปา บริ ษัทนาเที่ ยว ร้ านขายสินค้ าที่ ร ะลึก ฯลฯ จานวน 600 Bath/USD 30.47 29.9) ตัวอย่าง ในช่วงไตรมาส 2 ปี นี ้ พบว่า ผู้ประกอบการท่องเที่ยวมีความเชื่อมัน่ ต่อสถานการณ์การท่องเที่ยวในระดับ ที่สูงที่สุด เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันในรอบ 3 ปี ที่ผ่านมา นอกจากนี ้ ยังคาดว่า ในช่วงครึ่ งปี หลัง 56 จะมี นักท่องเที่ ยวต่า งชาติ เ ดิ นทางเข้ ามาประเทศไทยเพิ่มขึน้ ประมาณร้ อยละ 15.4 ส่งผลให้ จานวนนักท่ องเที่ ย ว ม ต่างชาติทงปี ั ้ 56 มีปีประมาณ 26.08 ล้ านคน หรื อขยายตัวร้ อยละ 17.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน 19 June 13 Currencies 17 June 13 18 June 13 % change (spot)  สศค. วิเคราะห์ ว่า อุตสาหกรรมการท่ องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีความสาคัญต่ อเศรษฐกิจไทย โดยในปี THB/USD 30.64 30.80 31.04 0.26 2555 ภาคโรงแรมและภัตตาคาร มีสัดส่ วนคิดเป็ นร้ อยละ 4.2 ของ GDP ด้ านการผลิ ต ทัง้ นี ้ ในช่ วง 5 เดือน (onshore) แรก ของปี 56 มีจานวนนักท่ องเที่ยวต่ างชาติ เดินทางเข้ ามาในประเทศไทยทัง้ สิน้ 10.7 ล้ านคน ขยายตัวร้ อย JPY/USD 94.49 95.32 95.52 0.45 ละ 19.1 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน โดยทัง้ ปี สศค. คาดว่ าจะมีจานวนนักท่ องเที่ยวทัง้ สิน้ 26.3 ล้ าน CNY/USD 6.1248 6.1283 6.1302 0.0571 คน ขยายตัวร้ อยละ 18.0 เมื่อทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน และจะสร้ างรายได้ ให้ กับประเทศแล้ วทัง้ สิน้ 1.19 USD/EUR 1.3367 1.3393 1.3391 ล้ านล้ านบาท 0.1574 2. โตโยต้ าเปิ ดเผยยอดขายตลาดรถยนต์ ในประเทศเดือน พ.ค. 56 เท่ ากับ 111,848 คัน  บริ ษัท โตโยต้ า มอเตอร์ (ประเทศไทย) จากัด เปิ ดเผยยอดขายรถยนต์เดือน พ.ค.56 มีปริ มาณการขายทัง้ สิ ้น 111,848 คัน ลดลงร้ อยละ 3.5 จากช่วงเดี ยวกันของปี ก่อนโดยเป็ นการลดลงครั ง้ แรกในรอบ 17 เดื อน เป็ นผลจาก การที่ลกู ค้ าที่จองรถยนต์เพื่อใช้ สิทธิ รถยนต์ คันแรกส่วนใหญ่ได้ ทยอยรับรถเรี ยบร้ อยแล้ ว โดยตลาดรถยนต์นั่ง มีปริ มาณการขาย 52,734 คัน ลดลงร้ อยละ 5.8 จากช่วงเดี ยวกัน ของปี ก่อน ตลาดรถยนต์ เพื่อการพาณิ ชย์ มีปริ มาณการขาย 59,114 คัน ลดลงร้ อยละ 1.4 จากช่วงเดี ยวกันของปี ก่อน รวมทัง้ รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี ้จานวน 49,664 คัน ลดลงร้ อยละ 4.8 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน  สศค. วิเคราะห์ ว่า การที่ยอดขายรถยนต์ ภายในประเทศในเดือนนีท ้ ่ ีลดลงจากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อนส่ วน หนึ่งเกิดจากการเร่ งบริโภคจากนโยบายรถยนต์ คันแรกไปตัง้ แต่ ช่วงครึ่ งหลังของปี 55 ซึ่งสะท้ อนได้ จากยอด ภาษีรถยนต์ ในเดือน พ.ค. 55 เพิ่มขึน้ ถึงร้ อยละ 93.6 จากช่ วงเดียวกั นของปี ก่ อน อย่ างไรก็ ตาม ยอดการ จาหน่ ายรถยนต์ ในช่ วง 5 เดือนแรก ก็ยังขยายตัวได้ ดี โดยขยายตัวถึงร้ อยละ 31.4 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ซึ่งเป็ นสถิติใหม่ ของยอดขายสะสม 5 เดือนแรก ทัง้ นี ้ ตัง้ แต่ เริ่ มโครงการรถยนต์ คันแรกถึง 31 ธ.ค. 55 มีจานวนผู้ขอใช้ สิทธิ์ ทัง้ หมดจานวน 1.3 ล้ านคัน คิดเป็ นเงินที่ต้องคืนประมาณ 91,908 ล้ านบาท และตัง้ แต่ ก.ย. 55 – มี.ค. 56 กระทรวงการคลังได้ มีการอนุมัติเงินคืน จานวน 99,522 คัน เป็ นเงิน 6,905.7 ล้ านบาท แต่ มียอดจ่ ายจริงจานวน 99,268 คัน เป็ นเงิน 6,899.5 ล้ านบาท หรือคิดเป็ นร้ อยละ 7.5 ของเงินคืน 3. ประเทศกลุ่ม G8 ชีแ้ นวโน้ มเศรษฐกิจโลกยังอ่ อนแอ  ผู้นากลุม ่ ประเทศอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ 8 ชาติ (G8) เปิ ดเผยว่า แนวโน้ มเศรษฐกิจโลกยังอ่อนแออยู่แม้ ว่าความ เสี่ยงขาลงจะลดน้ อยลง โดยในช่วงปี ที่ผ่านมา ประเทศกลุม่ ยูโรโซนมีความเสี่ยงทางเศรษฐกิจขาลงลดน้ อยลงแต่ ก็ยงั คงอยูใ่ นภาวะถดถอย เศรษฐกิจสหรัฐฯ ยังฟื น้ ตัวอย่างต่อเนื่องและมีการใช้ นโยบายการขาดดุลงบประมาณ ลดลงอย่างรวดเร็ ว ซึง่ ยังต้ องกระตุ้นให้ ขยายตัวต่อไปด้ วยการวางแผนนโยบายการเงินอย่างยัง่ ยืนและส่งเสริ มการ ลงทุนเพื่อการเติ บโต รวมทัง้ เศรษฐกิ จญี่ ปนที ุ่ ่ขยายตัวจากแรงสนับสนุน จากมาตรการกระตุ้นทางการคลังใน ระยะสัน้  สศค. วิเคราะห์ ว่า ทิศทางของเศรษฐกิ จโลกยังคงมีการเติบโตที่ฟื้นตัวอย่ างเปราะบาง โดยเศรษฐกิจประเทศ กลุ่มยูโรโซนที่มีข้อจากัดในการใช้ นโยบายการเงินและการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจยังคงอยู่ในภาวะถดถอย ขณะที่เศรษฐกิ จสหรั ฐฯ ที่เผชิญวิกฤติการเงินอย่ างรุ นแรงในปี 51 ก็ ได้ ใช้ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิ จหรื อ มาตรการผ่ อนคลายเชิงปริ มาณ (QuantitativeEasing : QE) มาอย่ างต่ อเนื่องจนส่ งผลให้ เศรษฐกิจสหรั ฐฯ ฟื ้ น ตัวดีขนึ ้ ตามลาดับและมีการจ้ างงานที่เติบโตขึน้ โดยล่ าสุด GDP ในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 1.8 เมื่อ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี ก่ อน และอัตราการว่ างงานในเดือน พ.ค. 56 อยู่ท่ ีร้อยละ 7.6 ของกาลังแรงงาน รวม อย่ างไรก็ดี ประเด็นการประชุมนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรั ฐฯ (FED) ในวันที่ 19 มิ.ย. 56 เพื่อ พิจารณากรอบเวลาในการปรั บลดขนาด QE ถือ ประเด็นทางเศรษฐกิจที่สาคัญโดยเฉพาะผลกระทบที่มี ต่ อตลาดการเงินโลก สาหรั บเศรษฐกิจญี่ ปุ่นก็มีทิศทางการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ดีขึน้ จากปั จจัยสนั บสนุ น จากการดาเนินนโยบายทางการเงินและการคลั งเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของญี่ปุ่น (Abenomics) โดยล่ าสุด GDP ในไตรมาสที่ 1 ปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี ก่ อน อย่ างไรก็ตาม ประเด็นทาง เศรษฐกิ จที่สาคัญของญี่ ปุ่นในขณะนี ค้ ือ ยุทธศาสตร์ การเติบโตในระยะยาวที่เรี ยกว่ า ศรดอกที่สาม (Third Arrow) ซึ่งถือเป็ นปั จจัยสาคัญในการสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นใน อนาคตต่ อไป ทั ง้ นี ้ สศค. คาดว่ า อั ตราการขยายตั วทางเศรษฐกิ จโลกในปี 56 จะขยายตั วร้ อยละ 3.8 (คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 56) Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

NEER Index (Average 11=100)

104.02

103.86

103.14

-0.16

Stock Market 17 June 13 (Close)

18 June 13 (Close)

1,471.04

1,427.42

-2.97

15,179.85

15,318.23

0.91

6,330.49

6,374.21

0.69

NIKKEI-225

13,033.12

13,007.28

-0.20

Hang Seng

21,225.90

21,225.88

-0.00

3,183.44

3,229.55

1.45

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.851

0.842

15.229

-35.180

Thailand - 10 Year

3.805

1.570

47.175

23.300

USA - 2 Year

0.2662

-0.400

2.00

-2.830

USA - 10 Year

2.1872

0.18

23.31

56.75

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

17 June 13

18 June 13

19 June 13 (Spot)

%change

103.03

101.96

-

-1.04

97.86

98.46

-

0.61

106.05

105.46

-

-0.56

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.83

39.13

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.38

36.68

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,384.35

1367.79

1365.56

-0.16

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 20 มิถุนายน 2556

1. IMFเตือนไทยระวังเงินเฟ้อ-หนีค้ รัวเรือนสูง Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. ความสามารถในการแข่ งขันของไทยดีขนึ ้ อยู่ในอันดับที่ 27 3. ญี่ปนขาดดุ ุ่ ลการค้ าเป็ นเดือนที่ 11 2013 Year 2012 to Ast.13 Q1 Apr May June Highlight Date 1. IMFเตือนไทยระวังเงินเฟ้อ-หนีค้ รัวเรือนสูง Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 100.46 105.24 (105-115)  คณะผู้แทนกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ประเมินเศรษฐกิจ ไทยปี 56 ว่ามีความสามารถในการปรับตัว (28.930.11 29.02 29.74 30.68 30.46 จากวิกฤตภายนอกได้ ดี ไม่วา่ จะเป็ นผลจากวิกฤตการเงินโลก และมหาอุทกภัยในปี 54 เป็ นผลมาจากพื ้นฐานทาง Bath/USD 30.47 29.9) เศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง โดยคาดว่าทังปี ้ 56 และ 57 เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวได้ ที่ร้อยละ 4.75 และ 5.25 ตามลาดับ โดยมีแรงขับเคลื่อนสาคัญจากอุปสงค์ภาคเอกชนที่ขยายตัวในเกณฑ์ดีและการเร่ งใช้ จ่ายของภาครัฐ อย่างไรก็ ตาม IMF มีความกังวลจากการขยายบทบาทของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) และระดับหนีภ้ าคครัวเรื อนที่ ม เพิ่มขึ ้น จากนโยบายการกระตุ้นการบริ โภคในประเทศในระยะสัน้ และย ้าว่าเป็ นเรื่ องที่ทางการไทยยังต้ องติดตาม 20 June 13 Currencies 18 June 13 19 June 13 % change (spot) ต่อไป THB/USD 30.80 30.66 31.00 -0.45  สศค.วิเคราะห์ ว่า ข้ อมูลล่ าสุดในไตรมาสที่ 1 ปี 2556 ยอดสินเชื่อรวมขยายตัวร้ อยละ 15.8 เมื่อเทียบกับช่ วง (onshore) เดียวกันของปี ก่ อน แบ่ งเป็ น สินเชื่ออุปโภคบริ โภคขยายตัวร้ อยละ 20.0 โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อการซือ้ หรื อเช่ า JPY/USD 95.32 96.46 96.56 1.20 ซือ้ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ ท่ ขี ยายตัวร้ อยละ 33.7 และสินเชื่ออุปโภคบริโภคกรณีไม่ รวมสินเชื่อเพื่อการ CNY/USD 6.1283 6.1264 6.1311 -0.0310 ซือ้ หรื อเช่ าซือ้ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ พบว่ า ขยายตัวที่ร้อยละ 15.1 ขณะที่สินเชื่อในหมวด USD/EUR 1.3393 1.3294 1.3271 -0.7392 อสังหาริ มทรั พย์ ไม่ ได้ ขยายตัวมากนัก โดยหนีค้ รัวเรื อนที่ขยายตัวส่ วนหนึ่งมาจากภาวะเศรษฐกิจไทยที่ ขยายตัวดี และนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลจากวิกฤตอุทกภัยในปี 54 โดยเฉพาะนโยบายรถคันแรก NEER Index 103.86 104.82 103.95 0.97 (Average 11=100) และ การสนับสนุนการเข้ าถึงแหล่ งเงินทุน (Access to Finance) ทัง้ นี ้ สศค. ประเมินว่ า อัตราการขยายตัวของ หนีค้ รั วเรื อนจะกลับสู่ภาวะปกติหลังจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสิน้ สุดลง นอกจากนี ้ หนีค้ รั วเรื อนของไทย ต่ อรายได้ ครั วเรื อนในปี 55 อยู่ท่ ีร้อยละ 81.9 ซึ่งถือว่ าอยู่ในระดับปานกลางเทียบกับต่ างประเทศ เช่ น ประเทศ Stock Market โปรตุเกสและไอร์ แลนด์ อยู่ในระดับร้ อยละ 101.7 กับร้ อยละ 119.5 ตามลาดับ 18 June 13 19 June 13 Market

2. ความสามารถในการแข่ งขันของไทยดีขึน้ อยู่ในอันดับที่ 27  โฆษกประจาส านักนายกรัฐ มนตรี เปิ ดเผยว่า สมาคมการจัดการธุ รกิ จ แห่งประเทศไทยได้ รายงานสรุ ปและ วิเคราะห์ ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในปี 2556 ซึ่งทาการจัดอันดับโดย สถาบัน International Institute for Management Development (IMD) ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ โดยได้ จัด อันดับประเทศต่าง ๆ รวม 60 ประเทศทั่วโลก ซึ่งปี นี ป้ ระเทศสหรัฐอเมริ กาได้ รับการจัดอันดับอยู่ในอันดับสูง ที่สดุ รองลงมาได้ แก่ ประเทศสวิตเซอร์ แลนด์ และฮ่องกง ตามลาดับ ส่วนประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 27 จาก ทังหมด ้ 60 ประเทศ ซึง่ ถือว่าอยูใ่ นอันดับที่ดีขึ ้น 3 อันดับ (ปี 2555 อยูใ่ นอันดับที่ 30)  สศค. วิเคราะห์ ว่า การที่อันดับขีดความสามารถในการแข่ งขันของไทยที่ปรั บตัวเพิ่มขึน ้ นัน้ ซึ่งเป็ นไปตาม แนวทางการจัดทายุทธศาสตร์ ประเทศของรั ฐบาลที่จะนาไปสู่ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขันของ ประเทศ ที่ ให้ ความส าคั ญกั บ 4 ยุ ทธศาสตร์ หลั กด้ วยกั น คื อ 1) ยุ ทธศาสตร์ สร้ างความสามารถในการ แข่ งขันของประเทศ (Growth & Competitiveness) 2) ยุทธศาสตร์ สร้ างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่ าเทียม กันทางสังคม (Inclusive Growth) 3) ยุทธศาสตร์ การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้ อม (Green Growth) และ4) ยุทธศาสตร์ ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริ หารจัดการภาครั ฐ ซึ่งยุทธศาสตร์ ทัง้ 4 ด้ านมี เป้าหมายการพัฒนาประเทศที่จะทาให้ เศรษฐกิ จไทยขยายตัวอย่ างต่ อเนื่ อง และส่ งเสริ มให้ ประชาชนมี รายได้ ต่อหัวเพิ่มขึน้ เพื่อให้ คนไทยสามารถหลุดพ้ นกั บดักประเทศรายได้ ปานกลาง (Middle Income Trap) โดยให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเสมอภาคและเป็ นธรรม โดยการสร้ างรายได้ จากการพัฒนา เพื่ อให้ เกิ ดความสมดุล และการพั ฒนาอย่ างยั่ งยื น ซึ่งเป็ นการเพิ่ มขี ดความสามารถในการแข่ งขั นของ ประเทศ ทัง้ นี ้ อันดับขีดความสามารถในการแข่ งขันของไทยเมื่อเทียบกับกลุ่ มอาเซียนจานวน 5 ประเทศ พบว่ า ไทยอยู่ในอันดับที่ 3 ซึ่งสู งกว่ า ฟิ ลิ ปปิ นส์ และอินโดนี เซีย แต่ อยู่ในอันดับรองจาก สิ งค์ โปร์ และ มาเลเซีย 3. ญี่ปนขาดดุ ุ่ ลการค้ าเป็ นเดือนที่ 11  กระทรวงการคลังญี่ปน ุ่ เผยยอดการค้ าในเดือน พ.ค. นี ้ ว่า ขาดดุลอยู่ที่ระดับ 990 พันล้ านเยน ทาลายสถิติ ขาดดุลการค้ าติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 11 เนื่องจากค่าเงินเยนอ่อนค่า ส่งผลให้ ราคาสินค้ านาเข้ าปรับตัวสูงขึน้ สาหรับการส่งออกของญี่ปนุ่ ซึ่งเป็ นแรงขับเคลื่อนหลักของการเติบโตทางเศรษฐกิจของญี่ปนขยายตั ุ่ วสูงขึน้ แต่ก็ไม่สามารถชดเชยผลกระทบที่เกิดจากการนาเข้ าในอัตราที่สงู ขึ ้นได้ ทาให้ ขาดดุลทางการค้ า  สศค. วิเคราะห์ ว่า ตัวเลขล่ าสุ ดของมูลค่ าส่ งออกและนาเข้ าแสดงให้ เห็นถึงปั ญหาการขาดดุลทางการค้ า ของประเทศญี่ปุ่น โดยมูลค่ าส่ งออกขยายตัวสูงขึน้ ที่ร้อยละ 10.1 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ปรั บตัวสูงขึน้ จาก เดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวอยู่ท่ ีร้อยละ 3.8 หรื อคิดเป็ นมูลค่ า 5.77 ล้ านล้ านเยน ทาสถิติเพิ่มขึน้ ติดต่ อกั น เป็ นเดือนที่ 3 โดยมูลค่ าส่ งออกไปจีนและอเมริ กาขยายตัวสู งถึงร้ อยละ 8.3 และ 16.3 ส่ วนมูลค่ านาเข้ า ขยายตัวที่ร้อยละ 10.0 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน ปรับตัวสูงขึน้ เพียงเล็กน้ อยจากเดือนก่ อนหน้ าที่ขยายตัวอยู่ ที่ร้อยละ 9.5 หรือคิดเป็ นมูลค่ า 6.76 พันล้ านเยน โดยตัง้ แต่ ต้นปี จนถึงปั จจุบันญี่ปุ่นขาดดุลการค้ าอยู่ท่ ี 4.7 ล้ านล้ านเยน อีกทัง้ ปั ญหาค่ าเงินเยนที่อ่อนตัวมาจากการใช้ มาตรการผ่ อนคลายนโยบายทางการเงินของ ญี่ปนในเดื ุ่ อน เม.ย. ที่ผ่านมา ส่ งผลให้ มูลค่ านาเข้ านา้ มันและก๊ าซธรรมชาติเพิ่มสูงขึน้ ด้ วย Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance  Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

สศค. วิเคราะห์ ว่า

SET

(Close)

% change

(Close)

1,427.42

1437.70

0.72

15,318.23

15112.19

-1.35

6,374.21

6348.82

-0.40

NIKKEI-225

13,007.28

13245.22

1.83

Hang Seng

21,225.88

20986.89

-1.13

3,229.55

3213.79

-0.49

Dow Jones FTSE-100

Straits Time

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.848

-0.340

17.869

-35.35

Thailand - 10 Year

3.767

-3.789

45.882

19.851

0.3185

-0.80

7.65

0.39

2.36

-0.55

33.53

70.97

USA - 2 Year USA - 10 Year

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

18 June 13

19 June 13

20 June 13 (Spot)

%change

101.96

102.89

-

0.92

98.46

98.24

-

-0.22

105.46

105.81

-

0.33

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.83

39.13

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.38

36.68

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1367.79

1350.69

1346.26

-0.33

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus 1. ไทยได้ รับรางวัลจาก FAO ลดคนอดอยากจาก 25 ล้ านคนเหลือ 5 ล้ านคน 2. ดัชนี HSBC Mfg. PMI ของจีน เดือน มิ.ย. 56 (ตัวเลขเบือ้ งต้ น) อยู่ท่ รี ะดับ ต่าสุดในรอบ 9 เดือน ที่ 48.3 จุด 3. เงินรูปีอ่ อนค่ าต่าสุดเป็ นประวัติการณ์ ท่ ี 59.94 รู ปีต่ อดอลลาร์ สหรั ฐ Highlight 1. ไทยได้ รับรางวัลจาก FAO ลดคนอดอยากจาก 25 ล้ านคนเหลือ 5 ล้ านคน  นายยุคล ลิ ้มแหลมทอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิ ดเผยว่าองค์การ เกษตรและอาหารแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ได้ มอบรางวัลประเทศที่ มีความก้ าวหน้ าโดดเด่นในการต่อสู่กับภาวะอดอยาก (Recognizing outstanding progress in fighting hunger) ซึ่งเป็ นรางวัลที่ FAO มอบให้ กับประเทศที่สามารถลดจานวนของประชากรที่ ขาดสารอาหารได้ มากกว่าครึ่ งในปี 55 ซึ่งในกรณีของไทย ประเทศไทยมีจานวนผู้ขาดสารอาหารเป็ นจานวน ม 25.24 ล้ านคน และสามารถลดจานวนได้ เหลือ 5.10 ล้ านคน ภายในปี 55 คิดเป็ นสัดส่วนที่ลดลลงจากร้ อยละ 43.8 เหลือร้ อยละ 7.3 ของประชากรทัว่ ประเทศ  สศค.วิเคราะห์ ว่า การที่เศรษฐกิจของไทยจะเติบโตได้ อย่ างยั่งยืนนัน ้ สุขภาพที่ดีของประชากรถือเป็ นปั จจัย สาคัญ นอกจากนี ้ การลดลงของจานวนผู้ยากจนย่ อมสะท้ อนถึงความเท่ าเทียมทางด้ านรายได้ ท่ ีสูงขึน้ ซึ่ง สอดคล้ องกับตัวเลข Gini Index ที่เป็ นดัชนีท่ ีแสดงความเหลื่อมลา้ ทางรายได้ ของแต่ ละประเทศ ยิ่งดัชนีมี ค่ าต่าใกล้ 0 ยิ่งสะท้ อนว่ ามีความเท่ าเทียมกันทางรายได้ ในทางตรงกันข้ าม หากดัชนีมีค่าสูงใกล้ 100 จะชี ้ ถึงความเหลื่อมลา้ ทางรายได้ ท่ ีเพิ่มขึน้ ในกรณีของไทย พบว่ ามีแนวโน้ มลดลงอย่ างต่ อเนื่อง กล่ าวคือ Gini Index ปี 54 อยู่ท่ รี ะดับร้ อยละ 40 ลดลงจากร้ อยละ 42 ในปี 49  อย่ างไรก็ ตาม การลดจ านวนคนยากจนนั บเป็ นความส าเร็ จขั น ้ แรกในเชิ งปริ มาณในด้ านการพั ฒนา ทรัพยากรบุคคลของประเทศ ซึ่งในขัน้ ต่ อไปไทยจะต้ องเร่ งพัฒนาทรั พยากรมนุษย์ ในเชิงคุณภาพ เช่ น การ พัฒนาฝี มือแรงงาน การเร่ งสร้ างทุนทางสัมคม เป็ นต้ น ควบคู่กันไป 2. ดัชนี HSBC Mfg. PMI ของจีน เดือน มิ.ย. 56 (ตัวเลขเบือ้ งต้ น) อยู่ท่ รี ะดับ ต่ าสุดในรอบ 9 เดือน ที่ 48.3 จุด  ดัชนีผ้ จู ัดการฝ่ ายจัดซื ้อภาคอุตสาหกรรมจีน (HSBC Mfg. PMI) เดือน มิ.ย. 56 (ตัวเลขเบื ้องต้ น ) อยู่ที่ระดับ ต่าสุดในรอบ 9 เดือน ที่ 48.3 จุด โดยลดลงจากเดือนก่อนหน้ าที่อยู่ที่ระดับ 49.2 ส่วนหนึ่งเป็ นผลจากอุปสงค์ ภายนอกที่ยงั คงซบเซา กอปรกับอุปสงค์ภายในที่ชะลอตัวลง นอกจากนี ้ นโยบายภาครัฐของจีน ที่ม่งุ เน้ นการ ปรับโครงสร้ างทางเศรษฐกิจเพื่อการเติบโตที่ยงั่ ยืน นัน้ ถึงแม้ จะเป็ นผลบวกกับภาพรวมเศรษฐกิจจีนในระยะ ยาว อย่างไรก็ตาม นโยบายดังกล่าวอาจส่งผลกระทบกับเศรษฐกิจจีนในระยะสัน้ ทัง้ นี ้ ล่าสุด HSBC ได้ ปรับ ลดประมาณการณ์อตั ราการโตของเศรษฐกิจปี 56 จากร้ อยละ 8.2 เป็ นร้ อยละ 7.4  สศค. วิเคราะห์ ว่า ดัชนี ผ้ ูจัดการฝ่ ายจัดซือ้ ที่ปรั บตัวลดลงดังกล่ าว สะท้ อนการหดตัวในภาคอุตสาหกรรม ต่ อเนื่องเป็ นเดือนที่ 3 โดยเป็ นผลจากการชะลอลงของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะคู่ค้าสาคัญอย่ างยูโรโซน ซึ่ง ยังคงเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจซบเซาต่ อเนื่อง ขณะที่อุปสงค์ ในประเทศของจีนมีแนวโน้ มชะลอลง โดยแม้ ว่า ทางการจีนมีนโยบายที่จะปรั บโครงสร้ างเศรษฐกิจในระยะยาว เพื่อลดการพึ่งพาอุปสงค์ จากนอกประเทศ อย่ างไรก็ตาม ในระยะสัน้ จีนต้ องเผชิญกับความเสี่ ยงจากภาวะฟองสบู่ในภาคอสั งหาริ มทรั พย์ ซึ่งอาจทา ให้ มาตรการกระตุ้นอุปสงค์ ในประเทศอาจด าเนิ นการได้ ไม่ เต็มที่นัก ซึ่งอาจกระทบต่ อการขยายตัวของ เศรษฐกิจได้ ในระยะต่ อไป ส่ งผลให้ สศค. อาจปรั บลดคาดการณ์ เศรษฐกิจจีนปี 56 ลง จากคาดการณ์ เดิม ในเดือน มี.ค. 56 ที่ร้อยละ 8.2  ทัง้ นี ้ เศรษฐกิ จจี นที่ ส่ งสั ญญาณชะลอลงดังกล่ าว อาจส่ งผลกระทบต่ อภาคการส่ งออกของไทยในระยะ ต่ อไป เนื่ องจากจี นเป็ นคู่ ค้าสาคัญอันดับที่ 1 ของไทย (สั ดส่ วนการส่ งออกร้ อยละ 11.7 ของมูลค่ าการ ส่ งออกรวมปี 55) 3. เงินรูปีอ่ อนค่ าต่าสุดเป็ นประวัติการณ์ ท่ ี 59.94 รู ปีต่ อดอลลาร์ สหรั ฐ  เงิ น รู ปียังคงอ่อ นค่า ลงอย่า งต่ อ เนื่ อ งในวัน นี ้ โดยอ่ อ นค่ า ลงแตะระดับต่ า เป็ นประวัติ ก ารณ์ ที่ 59.94 รู ปีต่ อ ดอลลาร์ สหรัฐ ในการซื ้อขายช่วงเช้ าวันนี ้ โดยก่อนหน้ านี ้ เงินรูปีร่วงลงหนักเป็ นประวัติการณ์เมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 56 อยูท่ ี่ 58.98 รูปีต่อดอลลาร์ สหรัฐ ทังนี ้ ้ เงินรูปีอ่อนค่าลงไปกว่าร้ อยละ 6 นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 พ.ค. 56 เนื่องจาก ยอดขาดดุลบัญชี เดินสะพัด การนาเข้ าทองคาและนา้ มันในระดับสูง รวมทัง้ กระแสเงิ นทุนต่างประเทศที่ไหล ออกจานวนมาก ซึง่ ปั จจัยเหล่านี ้ล้ วนชี ้ให้ เห็นถึงความอ่อนแอของเศรษฐกิจอินเดีย  สศค. วิเคราะห์ ว่า อินเดียเป็ นประเทศที่ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาโดยตลอด บ่ งชีจ้ ากสัดส่ วนการส่ งออก สุ ทธิ ในปี 55 คิ ดเป็ นร้ อยละ -10.0 ของGDP โดยสั ดส่ วนการน าเข้ าอยู่ท่ ี ร้อยละ 36.0 สะท้ อนการเป็ น ประเทศผู้นาเข้ าสุทธิของอินเดียมาโดยตลอด การอ่ อนค่ าลงต่ อเนื่องของค่ าเงินรู ปีเป็ นอุปสรรคโดยตรงต่ อ การนาเข้ าสินค้ าโดยเฉพาะสินค้ าในหมวดทองคาและพลังงานซึ่งเป็ นสินค้ านาเข้ าหลักของอินเดีย ถึงแม้ ว่า ราคาทางคาในตลาดโลกจะลดลงอย่ างต่ อเนื่องก็ตาม ทัง้ นี ้ เมื่อมองในแง่ การส่ งออกระหว่ างไทยและอินเดีย ไทยอาจได้ รับผลกระทบผ่ านทางการแข่ งขันทางด้ านราคาที่ลดลง อย่ างไรก็ตาม เนื่ องจากสั ดส่ วนการค้ า ของไทยไปยังอินเดียไม่ สูงมากนั ก โดยคิดเป็ นร้ อยละ 4.9 ของมูลค่ าการส่ งออกรวม ทาให้ การอ่ อนค่ าของ เงินรู ปีไม่ ส่งผลโดยตรงต่ อเศรษฐกิ จไทยโดยรวมแต่ อาจส่ งผลต่ อการส่ งออกของไทยไปยังอินเดียในบาง หมวดสิ นค้ า อาทิ สิ นค้ าจ าพวกเครื่ องปรั บอากาศ อะลู มิเนี ยมเจือ เครื่ องประดั บเพชรพลอย และโพลิ คาร์ บอเนต ซึ่งเป็ นสินค้ าส่ งออกสาคัญของไทยไปยังอินเดีย Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Fiscal Policy Office 21 มิถุนายน 2556 Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Q1

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

100.52

104.58

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.70

29.77

(28.929.9)

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

19 June 13

20 June 13

21 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.66

31.07

1.34

31.17

JPY/USD

96.46

97.27

0.84

97.07

CNY/USD

6.1264

6.1277

0.0212

6.1297

USD/EUR

1.3294

1.3218

-0.5717

1.3246

NEER Index (Average 11=100)

104.82

104.03

-0.7537

103.65

Stock Market 19 June 13 (Close)

20 June 13 (Close)

1437.70

1402.19

-2.47

15112.19

14759.32

-2.34

6348.82

6159.51

-2.98

NIKKEI-225

13245.22

13014.58

-1.74

Hang Seng

20986.89

20382.87

-2.88

3213.79

3133.26

-2.51

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.890

-4.33

19.67

-30.75

Thailand - 10 Year

4.005

-29.00

68.00

47.80

USA - 2 Year

0.331

-2.02

8.87

1.61

USA - 10 Year

2.421

-6.64

45.62

77.06

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

19 June 13

20 June 13

21 June 13 (Spot)

%change

102.89

101.17

-

-1.68

98.24

94.89

-

-3.41

105.81

102.97

-

-2.68

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.53

38.83

39.13

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.08

36.38

36.68

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,350.69

1,277.39

1,282.60

0.41

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 24 มิถุนายน 2556

1. ข้ าวถุงเหนื่อยคู่แข่ งเพียบส่ งออกไม่ ได้ Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. ธนาคารกรุงเทพคาดผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ปี 56 อยู่ท่ รี ้ อยละ 4.0 3. นโยบายสร้ างความยั่งยืนของจีนกระเทือนเศรษฐกิจโลก 2013 Year 2012 to Ast.13 Highlight Q1 Apr May June Date 1. ข้ าวถุงเหนื่อยคู่แข่ งเพียบส่ งออกไม่ ได้ Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 100.46 104.54 (105-115)  กรรมการผู้จด ั การผู้จดั จําหน่ายข้ าวแบรนด์หงษ์ ทองเปิ ดเผยว่า ภาวะเงินบาทแข็งค่าตัง้ แต่ช่วงต้ นปี ที่ผ่านมา (28.930.11 29.02 29.74 30.74 29.78 ได้ สร้ างผลกระทบต่อภาคการส่งออก โดยเฉพาะข้ าวไทย และแม้ วา่ ภาวะเงินบาทเริ่ มอ่อนค่าลง แต่คาดว่าการ Bath/USD 30.47 29.9) ส่ง ออกในช่ ว งครึ่ ง ปี หลัง นี ้ ไม่มี สัญ ญาณว่า จะดี ขึน้ เมื่ อ เที ย บกับ ช่ ว งครึ่ ง ปี แรก ทัง้ นี ้ ในช่ ว งที่ ผ่ า นมา ผู้ประกอบการข้ าวหันมาผลิตสินค้ าป้อนในประเทศมากขึ ้น โดยมีแบรนด์ข้าวบรรจุถงุ เข้ ามาในตลาด 20-30 แบรนด์ โดยวางตําแหน่งเป็ นข้ าวระดับกลาง ราคาตํ่ากว่า 200 บาท และข้ าวระดับล่าง ราคาตํ่ากว่า 150 บาท ม ส่งผลให้ ตลาดข้ าวบรรจุถงุ มูลค่า 3 หมื่นล้ านบาท แข่งขันรุนแรงมากขึ ้น โดยเฉพาะการใช้ กลยุทธ์ราคา 24 June 13 Currencies 20 June 13 21 June 13 % change (spot)  สศค.วิ เ คราะห์ ว่ า จากข้ อ มู ล ล่ า สุ ด ถึ ง เดือ น เม.ย. 56 มู ล ค่ า การส่ ง ออกข้ า วขยายตั ว ร้ อยละ 4.3 31.07 31.02 31.04 -0.16 โดยมีตลาดส่ งออกหลั กคือ สหรั ฐฯ อิรัก เบนิ น และไอวอรี่ โคสต์ อย่ างไรก็ ดี หากเทียบกับปี 54 THB/USD (onshore) ที่ยังไม่ มีโครงการรับจํานําข้ าว พบว่ าในช่ วง 4 เดือนแรก มูลค่ าการส่ งออกข้ าวลดลงถึง ร้ อยละ 34.4 JPY/USD 97.27 97.89 98.23 0.64 โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก จากราคาข้ า วของไทยที่ สู ง กว่ า ประเทศอื่ น ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถส่ งออกข้ า วได้ ดี 6.1277 6.1328 6.1383 0.0832 อย่ างในอดีต ด้ วยเหตุนี ้ จึงอาจส่ งผลให้ ผ้ ูประกอบการหันมาจําหน่ ายข้ าวในประเทศแทน ทําให้ ราคา CNY/USD ข้ าวในประเทศยังคงขยายตัวไม่ มากนัก จากการแข่ งขันด้ านราคาของผู้จําหน่ ายข้ าว โดยหากดูจาก USD/EUR 1.3218 1.3122 1.3104 -0.7263 ข้ อมูลอัตราเงินเฟ้อล่ าสุ ดช่ วง 5 เดือนแรกของปี พบว่ าราคาสิ นค้ าหมวดข้ าว แป้งและผลิ ตภัณฑ์ NEER Index 104.03 103.65 104.20 -0.38 (Average 11=100) ยังคงมีการขยายตัวในระดับตํ่าที่ร้อยละ 0.69 2. ธนาคารกรุงเทพคาดผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ ปี 56 อยู่ท่ ีร้อยละ 4.0  นายโฆสิต ปั น้ เปี่ ยมรัษฎ์ ประธานกรรมการบริ หารธนาคารกรุ งเทพ เปิ ดเผยว่า ธนาคารได้ ปรับการเติบโตของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในปี 56 ลงมาอยู่ที่ร้อยละ 4 จากเดิ มที่คาดว่าจะเติบโตร้ อยละ 4-5 พร้ อมปรับเป้าหมายสินเชื่อในปี 56 จากเดิมร้ อยละ 6-7 ลงมาอยู่ที่ร้อยละ 6.0 เนื่องจากเครื่ องชีก้ ารบริ โภค ภายในประเทศได้ เข้ าสู่ภาวะชะลอตัวตามนโยบายกระตุ้นของรัฐบาล เช่น โครงการรถคันแรก โครงบ้ านหลัง แรก ที่เริ่ มหมดลง  สศค. วิเ คราะห์ ว่า แนวโน้ มเศรษฐกิ จไทยปี 56 มีสัญญาณชะลอลงในหลายสาขา ส่ วนหนึ่งเป็ นผล มาจาก 1. แนวโน้ มการฟื ้ นตัวอย่ างล่ าช้ าของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสําคัญของไทย และ 2. การแผ่ ว ลงของนโยบายรถยนต์ คันแรกของรั ฐบาล ที่จะทําให้ การบริ โภคภาคเอกชน โดยเฉพาะการบริ โภค ในหมวดสินค้ าคงทน ทัง้ รถยนต์ น่ ัง และรถจักรยานยนต์ ชะลอตัว อย่ างไรก็ดี ปั จจัยบวกที่คาดว่ า จะช่ วยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในปี 56 ได้ แก่ (1) ระดับราคาสินค้ าทั่วไปที่ไม่ สูงมากนัก สะท้ อนจาก อัตราเงินเฟ้อที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับที่ร้อยละ 2.8 ในช่ วง 5 เดือนแรกปี 56 (2) ผลจากการปรั บขึน้ เงิ น ข้ า ราชการและค่ า จ้ า งแรงงานขั น้ ตํ่า 300 จะยั ง คงมี ส่ ว นช่ ว ยประคั บ ประคองให้ ก ารบริ โ ภค ภาคเอกชนไม่ ให้ ชะลอตัวมากนั ก (3) อั ตราดอกเบีย้ ที่ ทรงตัว ในระดั บตํ่า และ (4) การผลิ ตภาค บริ ก ารยั ง คงขยายตั ว ต่ อเนื่ อง โดยเฉพาะสาขาโรงแรมและภั ต ตาคาร สะท้ อนจากจํ า นวน นักท่ องเที่ยวที่ยังขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 19.2 ในช่ วง 5 เดือนแรกปี 56 3. นโยบายสร้ างความยั่งยืนของจีนกระเทือนเศรษฐกิจโลก  รั ฐ บาลจี น ได้ ว างแนวทางของนโยบายเศรษฐกิ จ ให้ เ ป็ นไปในทางสร้ างความยั่งยืน มากกว่า เน้ น การเติ บโต ดังเช่นในยุคก่อนหน้ าที่สามารถโตได้ ร้อยละ 9-10 โดยมองว่าอัตราการเติบโตที่เหมาะสมน่าจะอยู่ที่ประมาณ ร้ อยละ 7 เหตุที่ทําให้ ทางการจี นเริ่ มเข้ มงวดเนื่องมาจากการเติ บโตในอัตราที่ สูงของสินเชื่ อและขนาดของ Shadow banking ในจีน โดยสินเชื่อในเดือน พ.ค. 56 เติบโตร้ อยละ 22 ใกล้ แตะระดับร้ อยละ 200 ต่อ GDP ด้ านหนี ภ้ าคเอกชนของจีนก็ขยายตัวในอัตราเร่ งกว่าที่หนี ข้ องสหรัฐฯและยุโรปได้ ขยายตัวในช่วงก่อนวิกฤติ เศรษฐกิจครัง้ ล่าสุด และขนาด Shadow banking ของจีนก็ขยายเพิ่มเป็ นเท่าตัวภายใน 3 ปี ก่อให้ เกิดความ กังวลว่าจีนอาจเดินเข้ าสูค่ วามเปราะบางในภาคการเงินซึง่ จะนําไปสูค่ วามเสี่ยงที่จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ  สศค. วิเคราะห์ ว่า จีนเป็ นศูนย์ กลางสําคัญของเศรษฐกิจในช่ วงเวลาที่สหรั ฐฯ ยังเพิ่งเริ่ มฟื ้ น ยุโรปยัง อยู่ใ นวิก ฤติ ญี่ ปุ่ นยั งคงพยายามหลุ ดพ้ นทศวรรษแห่ งความซบเซา และอาเซียนก็ ยัง มีข นาดทาง เศรษฐกิ จไม่ ใหญ่ พอ ด้ วยเหตุนีห้ ากเกิ ดวิกฤติเ ศรษฐกิจในจีนจะก่ อความเสียหายอย่ างใหญ่ หลวง การออกมาตรการรักษาความยั่งยืนของการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนจึงเป็ นสิ่งที่ดีในระยะยาว ทัง้ ต่ อจีนเองและประเทศต่ างๆทั่วโลก อย่ างไรก็ดี หากดําเนินมาตรการอย่ างเข้ มงวดเกินไปในระยะสัน้ ในช่ วงเวลาที่ธนาคารกลางสหรั ฐฯ กําลังจะลด QE จะทําให้ เกิดความผันผวนทัง้ ในตลาดเงิน และ ตลาดสิ นค้ าโภคภัณฑ์ อาจรวมถึงภาคเศรษฐกิจจริ งของจีนและประเทศคู่ค้าด้ วย อนึ่ง จีนถือได้ ว่า เป็ นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่ าการค้ าใน 4 เดือนแรกของปี 56 อยู่ท่ ี 6.3 แสนล้ านบาทหรื อคิด เป็ นร้ อยละ 13.1 ของมูลค่ าการค้ ารวม แนวทางการเติบโตของจีนในยุคใหม่ เพื่อความยั่งยืนนีจ้ ึงเป็ น เรื่องสําคัญที่นักลงทุนและผู้กําหนดนโยบายในไทยควรติดตามอย่ างใกล้ ชิด

Stock Market 20 June 13 (Close)

21 June 13 (Close)

1402.19

1400.50

-0.12

14758.32

14799.40

0.28

6159.51

6116.17

-0.70

NIKKEI-225

13014.58

13230.13

1.66

Hang Seng

20382.87

20263.31

-0.59

3133.26

3124.45

-0.28

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.916

3.898

24.666

-29.180

Thailand - 10 Year

3.985

4.331

67.677

41.405

USA - 2 Year

0.3717

4.100

13.370

6.920

USA - 10 Year

2.5422

12.130

61.240

92.260

20 June 13

21 June 13

24 June 13 (Spot)

Commodities Commodities Dubai (USD/BBL)

%change

101.17

99.62

-

-1.53

94.89

93.81

-

-1.14

102.97

100.61

-

-2.29

Gasohol-95 (Bt/litre)

38.83

39.13

39.13

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.38

36.68

36.68

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1277.39

1296.75

1296.41

-0.03

WTI (USD/BBL) Brent (USD/BBL)

Spot Gold Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

% change


Macro Morning Focus

Bureau of Macroeconomic Policy Fiscal Policy Office 26 มิถุนายน 2556

1. บล.บัวหลวงหวังกาไรบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ดันดัชนีแตะ 1,600 จุด Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2. ททท. สนับสนุนธุรกิจความงามเจาะกลุ่มที่มีกาลังซือ้ สูง (ไฮเอ็น) จากจีน 3. รัฐบาลญี่ปนได้ ุ่ ประกาศยกเว้ นวีซ่าเข้ าประเทศญี่ปนให้ ุ่ กับคนไทยมีผลบังคับใช้ ตงั ้ แต่ 1 ก.ค. 56 เป็ นต้ นไป 2013 Year 2012 to Ast.13 Highlight Q1 Apr May June Date 1. บล.บัวหลวงหวังกาไรบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ดันดัชนีแตะ 1,600 จุด Dubai 105.61 106.81 102.52 100.41 100.14 105.36 (105-115)  กรรมการผู้อานวย บริ ษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง เปิ ดเผยว่า บรรยากาศการลงทุนในตลาดหุ้นไทยในช่วงนี ้เกิดจากการ (28.9เทขายอย่างหนักของนักลงทุนต่างชาติที่มีความกังวลในเรื่ องปริ มาณ QE ที่จะลดลง ดังนั ้น การลงทุนในช่วงนี ้จึงควร Bath/USD 30.47 30.11 29.02 29.74 30.77 30.45 29.9) ให้ น ้าหนักกับหุ้นพื ้นฐานดี เช่น หุ้นกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ที่ราคาปรับลงไปต่ากว่า Book Value หรื อหุ้นกลุ่มพลังงาน ที่ราคายังไม่สูงมากนัก นอกจากนี ้ ยังเห็นว่าดัชนีตลาดหุ้นไทยยังมีโอกาสรี บาวน์กลับไปที่ระดับ 1,600 จุดในปี นี ้ จากปั จจัยพื น้ ฐานที่ดีจากกาไรของบริ ษั ทจดทะเบียนไทยที่ยังขยายตัวได้ อย่ างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ บลบัวหลวงยัง .คง ม เป้าหมายดัชนีปีนี ้ที่ระดับ 1,640 จุด 25 June 13 Currencies 21 June 13 24 June 13 % change  สศค. วิเคราะห์ ว่า ดัชนี ตลาดหลักทรั พย์ ของไทย (SET) ที่ปรั บตัวลดลงต่ อเนื่ องสะท้ อนถึงปริ มาณเงินทุนจาก (spot) ต่ างประเทศที่ไหลออกจากตลาดหลักทรั พย์ ของไทยได้ เป็ นอย่ างดี โดยล่ าสุ ด ดัชนี ตลาดหลักทรั พย์ ของไทย THB/USD 31.08 30.93 31.05 0.48 (onshore) (SET) ล่ าสุดเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 56 ปิ ดตลาดที่ระดับ 1,364.09 จุด ปรั บตัวลดลงถึงร้ อยละ -12.7 เมื่อเทียบกับสิน้ 97.72 97.80 97.93 0.08 เดือน พ.ค. 56 หรื อร้ อยละ -7.8 ในรอบ 3 เดือนล่ าสุด โดยมูลค่ าการซือ้ ขายสุทธิสะสมของนักลงทุนต่ างชาติของ JPY/USD ตลาดหุ้นไทยตัง้ แต่ ม.ค. 56 – 24 มิ.ย. 56 อยู่ท่ ี -68.3 พันล้ านบาท อย่ างไรก็ตาม ปั จจัยพืน้ ฐานทางด้ านเศรษฐกิจ CNY/USD 6.1441 6.1448 6.1454 0.0114 ของไทยที่ยังคงแข็งแกร่ ง และผลประกอบการของบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ ท่ ีสามารถเติบโตได้ ดี 1.3117 1.3084 1.3081 -0.2516 ต่ อเนื่ องโดยมีกาไรสุ ทธิในไตรมาสที่ 1 ปี 56 อยู่ท่ ี 241.6 พันล้ านบาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 12.8 เมื่อเทียบกับช่ วง USD/EUR เดียวกันของปี ก่ อน รวมถึงร่ าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐานวงเงิน 2 ล้ านล้ านบาท ที่มีแผนการลงทุน NEER Index 104.34 104.70 104.33 0.35 ในช่ วงปี 2556-2563 ถือเป็ นยุทธศาสตร์ การลงทุนพัฒนาโครงสร้ างพืน้ ฐานด้ านคมนาคมขนส่ งของประเทศซึ่งจะ (Average 11=100) ส่ งผลสาคัญต่ อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขันของประเทศและสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิ จ ไทยในระยะต่ อไป ล้ วนเป็ นปั จจัยที่ช่วยสร้ างความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่ อตลาดหุ้นไทยและสนับสนุนการ Stock Market เติบโตของตลาดหลักทรัพย์ ไทยในระยะต่ อไป 21 June 13 24 June 13 Market % change (Close) (Close) 2. ททท. สนับสนุนธุรกิจความงามเจาะกลุ่มที่มีกาลังซือ้ สูง (ไฮเอ็น) จากจีน SET 1,364.09 1384.63 1.51  การท่ องเที่ ยวแห่ งประเทศไทย (ททท.) ร่ วมมือกับสมาคมสปาไทย จัดกิจกรรมส่งเสริ มธุรกิ จการท่องเที่ยวสุขภาพ ประจาปี 56 หรื อ Thailand Medical And Wellness FAM Trip เพื่อผลักดันให้ ผ้ ปู ระกอบการทังด้ ้ านการแพทย์ Dow Jones 14,659.56 14760.31 0.69 คลินิกเสริ มความงาม และธุรกิจสปาของไทย ให้ เป็ นที่ยอมรับในระดับโลก พร้ อมกับดึงดูดนักท่องเที่ยวในกลุ่ มที่มี FTSE-100 6,029.10 6101.91 1.21 กาลังซื ้อสูง (ไฮเอ็น ) จากจีนให้ เดินทางเข้ ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึน้ เนื่องจากในปั จจุบนั ธุรกิจดังกล่าว 13,062.78 12969.34 -0.72 กาลังเป็ นที่นิยมในตลาดจีนและอาเซียนอย่างมาก ซึง่ คาดว่าในปี นี ้จะทาให้ มีเงินสะพัดจากนักท่องเที่ยวกลุ่มดังกล่าว NIKKEI-225 ประมาณ 140,000 ล้ านบาท Hang Seng 19,813.98 19855.72 0.21  สศค. วิ เ คราะห์ ว่ า การเจาะกลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ย วโดยเน้ นดึ ง ดู ด กลุ่ ม เป้ าหมายระดั บ ไฮเอนด์ หรื อ กลุ่ ม Straits Time 3,074.31 3089.93 0.51 นักท่ องเที่ยวที่มีอานาจซือ้ สูงและใช้ ระยะเวลาท่ องเที่ยวในประเทศค่ อนข้ างนาน จะทาให้ การเงินสะพัด และมีการกระจายรายได้ ได้ สูงมากขึน้ ทัง้ นี น้ ั กท่ องเที่ยวจีนเป็ นกลุ่ ม Star คือ มีสัดส่ วนสูงและมีการ ขยายตัวในระดับที่สูง กล่ าวคือ นักท่ องเที่ยวจากจีนมีสัดส่ วนเพิ่มขึน้ ต่ อเนื่อง จากในปี 51 ที่มีสัดส่ วนคิด Bond Yield เป็ นร้ อยละ 5.7 หรื อ อันดับที่ 4 มาอยู่ท่ ี ร้ อยละ 12.5 ในปี 55 หรื ออัน ดับที่ 1 ของนั กท่ องเที่ยวจาก ต่ างประเทศที่เ ดินทางเข้ าไทยทัง้ หมด ด้ วยจานวน 2.8 ล้ านคน หรื อร้ อยละ 61.9 ต่ อปี ทัง้ นี ้ ในช่ วง 5 Change from (in Basis Points) Yield Gov’t Bond Yield (%) 1 Day 1 Month 1 Year เดือนแรก ของปี 56 มีจานวนนักท่ องเที่ยวต่ างชาติจากจีนเดินทางเข้ ามาในประเทศไทยทัง้ สิน้ 1.9 ล้ านคน ขยายตัวร้ อยละ 93.0 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน คาดว่ าสร้ างรายได้ ใ ห้ กับอุ ตสาหกรรมการ Thailand - 2 Year 2.913 -3.895 20.715 -29.669 ท่ องเที่ยวไทยแล้ วจานวน 74,636.66 ล้ านบาท โดยทัง้ ปี สศค. คาดว่ าจะมีจานวนนักท่ องเที่ยวต่ างประเทศ ที่เดินทางเข้ าประเทศทัง้ สิน้ 26.3 ล้ านคน ขยายตัวร้ อยละ 18.0 เมื่อทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน และ Thailand - 10 Year 3.923 -8.254 55.897 35.796 จะสร้ างรายได้ ให้ กับประเทศแล้ วทัง้ สิน้ 1.2 ล้ านล้ านบาท USA - 2 Year 0.426 -1.74 17.48 11.50 3. รั ฐบาลญี่ปุ่นได้ ประกาศยกเว้ นวีซ่าเข้ าประเทศญี่ปนให้ ุ่ กับคนไทยมีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่ 1 ก.ค. 56 เป็ นต้ นไป 

รัฐบาลญี่ปนได้ ุ่ ประกาศยกเว้ นวีซ่าเข้ าประเทศญี่ปนให้ ุ่ กบั คนไทยมีผลบังคับใช้ ตั ้งแต่ 1 ก.ค. 56 เป็ นต้ นไป ซึง่ การยกเว้ น วีซ่าดังกล่าวเพื่อส่งเสริ มความสัมพันธ์ ระหว่างสองประเทศ โดยให้ คนไทยได้ เดินทางท่องเที่ยว ได้ เป็ นเวลา 15 วัน หากมี ความประสงค์จะอยู่นานกว่านัน้ หรื อไปทางาน หรื อมีวัตถุประสงค์อื่นๆ จะต้ องยื่นขอวีซ่าตามปกติ นอกจากนี ้ ผู้ที่จะเข้ า ญี่ปนได้ ุ่ จะต้ องผ่านการพิจารณาจากเจ้ าหน้ าที่ตรวจคนเข้ าเมือง ซึง่ จะสอบถามถึงวัตถุประสงค์ในการเข้ าประเทศ หรื อขอ ตรวจเอกสาร ทั ้งนี ้ ผู้ที่ต้องการเดินทางเข้ าญี่ปนจะต้ ุ่ อ งไม่ทากิจกรรมใดๆ ในญี่ปนที ุ่ ่ขัดต่อกฎหมาย รวมถึงเป็ นผู้ที่ไม่มี ประวัติการถูกส่งตัวกลับจากญี่ปนุ่ ไม่ได้ อยู่ในระยะเวลาของการถูกปฏิเสธไม่ให้ เข้ าประเทศ และไม่เข้ าข่ายคุณสมบัติที่จะ ถูกปฏิเสธไม่ให้ เข้ าประเทศ

สศค. วิเคราะห์ ว่า การท่ องเที่ยวของญี่ปุ่นเป็ นหนึ่งในปั จจัยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของญี่ปุ่น โดยในช่ วง 4 เดือนแรกของปี 56 ได้ รับรายได้ จากการท่ องเที่ยวประมาณ 1,180.1 ล้ านเยน เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 1.3 จากช่ วงเดียวกัน ของปี ก่ อน ประกอบด้ วย (1) รายได้ ท่ไี ด้ รับจากนักท่ องเที่ยวภายในประเทศจานวน 1,157.6 ล้ านเยน คิดเป็ นร้ อย ละ 98.1 ของรายได้ จากการท่ องเที่ยว โดยเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 0.8 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน และ (2) รายได้ ท่ ไี ด้ รับ จากนักท่ องเที่ยวต่ างชาติจานวน 22.5 ล้ านเยน คิดเป็ นร้ อยละ 1.9 ของรายได้ จากการท่ องเที่ยว โดยเพิ่มขึน้ ร้ อย ละ 29.8 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน นอกจากนี ้ ในช่ วง 4 เดือนแรกมีนักท่ องเที่ยวต่ างชาติเข้ ามาท่ องเที่ยวใน ญี่ปุ่นประมาณ 3,178,094 คน โดยเป็ นนักท่ องเที่ยวชาวไทยประมาณ 141,039 คน เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 48.9 จากช่ วง เดียวกันของปี ก่ อน และคิดเป็ นร้ อยละ 4.4 ของจานวนนักท่ องเที่ยวทัง้ หมด ดังนัน้ การที่ประเทศญี่ปุ่นประกาศ ยกเว้ นวีซ่ าเข้ าประเทศให้ กับคนไทย นอกจากจะช่ วยเพิ่มมูลค่ าการท่ องเที่ยวระหว่ างไทยและญี่ปุ่ นแล้ ว ใน อนาคตจะช่ วยกระชับความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่ างประเทศไทยและญี่ปนในแน่ ุ่ นแฟ้นยิ่งขึน้

Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

USA - 10 Year

2.591

2.07

58.06

96.33

Commodities Commodities

24 June 13

25 June 13

26 June 13 (Spot)

%change

Dubai (USD/BBL)

97.04

98.45

-

1.45

WTI (USD/BBL)

95.04

95.22

-

0.16

100.00

101.71

-

1.71

Gasohol-95 (Bt/litre)

39.13

39.13

39.13

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.68

36.68

36.68

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,281.29

1276.74

1258.06

-1.46

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Bureau of Macroeconomic Policy

Macro Morning Focus

Fiscal Policy Office 27 มิถุนายน 2556

1. มูลค่ าส่ งออกและนาเข้ าของไทยในเดือน พ.ค. 56 หดตัวลดลง 2. ตัวแทนธ.กรุ งเทพและธ.กสิกรไทย แนะนาให้ ทบทวนแผนธุรกิจในจีน 3. ความเชื่อมั่นผู้บริโภคสหรั ฐเพิ่มขึน้ สูงสุดในรอบกว่ า 5 ปี Highlight 1. มูลค่ าส่ งออกและนาเข้ าของไทยในเดือน พ.ค. 56 หดตัวลดลง  ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เผยภาวะการค้ าระหว่างประเทศของไทยในเดือน พ .ค .56 ว่า การส่งออกมีมล ู ค่า 19,830 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ หดตัวร้ อยละ -5.25 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน ขณะที่การนาเข้ ามี มูลค่า 22,134 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ หดตัวร้ อยละ 2.14 ส่งผลให้ ขาดดุลการค้ าราว 2,304 พันล้ านดอลลาร์ สหรัฐ  สศค. วิเคราะห์ ว่า มูลค่ าส่ งออกหดตัวในเดือน พ.ค. โดยสินค้ าในหมวดอุตสาหกรรมซึ่งคิดเป็ น ม ร้ อยละ 73.1 ของมูลค่ าส่ งออกทัง้ หมด หดตัวร้ อยละ -0.15 จากช่ วงเดียวของปี ก่ อน ส่ วนมูลค่ า นาเข้ าก็หดตัวในเดือน พ.ค. โดยสินค้ าในหมวดสินค้ าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็ จรู ปซึ่งคิดเป็ นร้ อยละ 42.9 ของมูลค่ านาเข้ าทัง้ หมด หดตัวร้ อยละ -7.12 จากช่ วงเดียวของปี ก่ อน แต่ ถ้าพิจารณามูลค่ า ส่ งออกและนาเข้ าในช่ วง 5 เดือนแรกของปี นี ้ (ม.ค.-พ.ค.56) มูลค่ าส่ งออกมีมูลค่ า 94,206 ล้ าน ดอลลาร์ สหรั ฐ ยังคงขยายตัวร้ อยละ 1.86 ส่ วนมูลค่ านาเข้ ามีมูลค่ า 108,062 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ ก็ขยายตัวได้ ร้อยละ 5.70 ส่ งผลให้ ขาดดุลการค้ ารวมทัง้ สิน้ ประมาณ 1.38 หมื่นล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ 2. ตัวแทนธ.กรุ งเทพและธ.กสิกรไทย แนะนาให้ ทบทวนแผนธุรกิจในจีน  ตัวแทนของธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทย มีความเห็นสอดคล้ องกันว่า ปั ญหาการชะลอตัวของ เศรษฐกิจจีนในขณะนี ้อาจมีผลต่อการแผนการเติบโตธุรกิจในจีนของธนาคารในปี นี ้ เนื่องจากจะต้ องเพิ่ม ความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อและคัดกรองลูกค้ าในจีนให้ เข้ มงวดขึ ้น แต่เชื่อว่าจะไม่มีผลกระทบใน เชิงคุณภาพหนี ้ของธนาคาร เพราะในช่วงที่ผ่านมา ธนาคารมีการดาเนินธุรกิจในจีนด้ วยความระมัดระวัง และไม่เร่งรี บ แต่อย่างไรก็ตาม จะเพิ่มความเข้ มงวดด้ านการดูแลความเสี่ยงมากขึ ้น โดยแนะนาให้ ธุรกิจ ไทยที่ มีการค้ ากับคู่ค้าจี นให้ ความสาคัญกับวิธีการชาระค่าสินค้ าระหว่างกันเพิ่มขึ น้ โดยเลื อกคู่ค้าที่ น่าเชื่อถือหรื อร้ องขอให้ ค่คู ้ ามีการเปิ ดแอล/ซี เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นได้  สศค. วิ เคราะห์ ว่ า รั ฐบาลจี นเริ่ มใช้ นโยบายกระตุ้นการปล่ อยกู้ ภายหลั งวิกฤติการเงินในปี 51 ส่ งผลให้ มีการจั บจ่ ายใช้ สอยและลงทุนมากขึน้ ซึ่งช่ วยขับเคลื่ อนการเติบโตทางเศรษฐกิ จ แต่ ขณะเดี ยวกั นก็ สร้ างภาระให้ กั บรั ฐบาลท้ องถิ่ นและสถาบั นการเงินที่ปล่ อยกู้ ซ่ ึงมี ความเสี่ ย ง เกี่ยวกับหนีเ้ สียเพิ่มมากขึน้ ส่ งผลทาให้ ในปั จจุบันรั ฐบาลเริ่ มออกมาตรการการชะลอการปล่ อย สินเชื่อ ซึ่งมาตรการดังกล่ าวอาจทาให้ มีผลต่ อการขยายตัวทางศรษฐกิจของจีน ทัง้ นี ้ ประเทศจีน นับเป็ นประเทศคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย มีสัดส่ วนมูลค่ าส่ งออกร้ อยละ 11.7 ในปี 55 หากพิจารณา ในช่ วง 5 เดือนแรก ปี 56 จากมูลค่ าการส่ งออกของไทยไปจีน หดตัวร้ อยละ -0.9 เมื่อเทียบกั บ ช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ทัง้ นี ้ สศค.คาดการณ์ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจของจีนในปี 56 ว่ า จะขยายตัวร้ อยละ 8.2 จากปี 55 ที่ขยายตัวร้ อยละ 7.8 (คาดการณ์ ณ เดือน มี .ค. 56 และจะปรั บ ประมาณการณ์ ใหม่ ในเดือนมิ.ย. 56) 3. ความเชื่อมั่นผู้บริโภคสหรั ฐเพิ่มขึน้ สูงสุดในรอบกว่ า 5 ปี  ผู้อานวยการฝ่ ายดัชนีชี ้วัดเศรษฐกิจ ของ Conference Board เปิ ดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมัน ่ ผู้บริโภคสหรัฐ ในเดือนมิ.ย. 56 พุ่งขึ ้นแตะระดับสูงสุดในรอบกว่า 5 ปี โดยดัชนีความเชื่อมัน่ ผู้บริโภคเดือนมิ.ย.อยูท่ ี่ 81.4 จาก 74.3 ในเดือนพ.ค. 56 ความเชื่อมัน่ ผู้บริโภคเพิ่มขึ ้นเป็ นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน และในขณะนี ้อยู่ที่ระดับ สูงสุดนับแต่เดือนม.ค.2551  สศค. วิเคราะห์ ว่า ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคในเดือนมิ.ย. 56 ที่ปรั บตัวเพิ่มขึน ้ ส่ วนหนึ่งเป็ นผล มาจากผู้บริโภคมีมุมมองที่เป็ นบวกมากขึน้ เกี่ยวกับภาวะทางธุรกิจและตลาดแรงงานในปั จจุบัน เมื่อเทียบกับช่ วงต้ นปี สะท้ อนได้ จากการจ้ างงานนอกภาคเกษตร (Nonfarm Payroll) ในเดือน พ.ค. 56 เพิ่มขึน้ ถึง 175,000 ตาแหน่ ง เพิ่มขึน้ จากเดือนก่ อนหน้ าที่เพิ่มขึน้ 14,000 ตาแหน่ ง (ตัวเลขปรั บปรุ ง) โดยส่ วนใหญ่ เป็ นผลจากการจ้ างงานภาคเอกชน โดยเฉพาะในภาคบริ การที่ การจ้ างงานเพิ่มขึน้ ถึง 176,000 ตาแหน่ ง จากภาคการค้ าปลีก ธุรกิจ และสันทนาการเป็ นสาคัญ อย่ างไรก็ตาม กาลังแรงงานที่เพิ่มขึน้ สูงถึง 420,000 คน ทาให้ อัตราการว่ างงาน เดือน พ.ค. 56 ปรั บตั ว สู ง ขึน้ มาอยู่ ท่ ีร้อยละ 7.6 ของก าลั ง แรงงานรวม จากร้ อยละ 7.5 ในเดื อ นก่ อ นหน้ า ขณะที่ยอดค้ าปลีกเดือน พ.ค. 56 ขยายตัวเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 4.9 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน หรื อ ร้ อยละ 0.6 เมื่ อเทียบกั บเดือนก่ อนหน้ า (mom_sa)) ผลจากยอดขายยานยนต์ และชิน้ ส่ วนที่ ขยายตัวดีถึงร้ อยละ 8.9 จากช่ วงเดียวกั นของปี ก่ อน อี กทัง้ ยอดขายวั สดุก่อสร้ างขยายตัวใน ระดับสูงเช่ นกัน บ่ งชีถ้ ึงความแข็งแกร่ งของอุปสงค์ ภายในของสหรั ฐฯ ซึ่งจะส่ งผลดีต่ออัตราการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรั ฐ ทัง้ นี ้ สศค. คาดว่ า เศรษฐกิจสหรั ฐในปี 56 จะขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 (คาดการณ์ ณ มี.ค. 56 และจะปรั บประมาณการณ์ ใหม่ ในเดือนมิ.ย. 56) Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast.

Q1

Apr

May

June

Year to Date

Ast.13

105.61

106.81

102.52

100.41

100.04

104.49

(105-115)

30.47

30.11

29.02

29.74

30.79

29.81

2012 Dubai

Bath/USD

Currencies

2013

25 June 13

26 June 13

(28.929.9)

27 June 13 (spot)

% change

THB/USD (onshore)

30.93

31.12

0.61

31.06

JPY/USD

97.80

97.72

-0.08

97.77

CNY/USD

6.1448

6.1468

0.0325

6.1480

USD/EUR

1.3084

1.3011

-0.5579

1.3033

NEER Index (Average 11=100)

104.69

104.19

-0.50

104.25

Stock Market 25 June 13 (Close)

26 June 13 (Close)

1,384.63

1,424.38

2.87

14,760.31

14,910.14

1.02

6,101.91

6,165.48

1.04

NIKKEI-225

12,969.34

12,834.01

-1.04

Hang Seng

19,855.72

20,338.55

2.43

3,089.93

3,104.40

0.47

Market SET Dow Jones FTSE-100

Straits Time

% change

Bond Yield Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

Gov’t Bond Yield

Yield (%)

Thailand - 2 Year

2.910

-0.239

20.397

-30.024

Thailand - 10 Year

3.930

0.684

53.057

36.522

USA - 2 Year

0.383

0.000

9.050

7.380

USA - 10 Year

2.545

0.370

53.390

92.350

26 June 13

27 June 13 (Spot)

Commodities Commodities

25 June 13

%change

Dubai (USD/BBL)

98.45

98.40

-

-0.05

WTI (USD/BBL)

95.25

95.42

-

0.18

101.71

100.93

-

Gasohol-95 (Bt/litre)

39.13

39.13

38.83

-

Gasohol-91 (Bt/litre)

36.68

36.68

36.38

-

Diesel (Bt/litre)

29.99

29.99

29.99

-

1,276.74

1,225.24

1,243.26

1.47

Brent (USD/BBL)

Spot Gold


Macro Morning Focus

Bureau of Macroeconomic Policy Fiscal Policy Office 28 มิถุนายน 2556

1. "โรจนะ" พร้ อมรั บมือเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้ มชะลอลง 2. ตลาดหุ้นทั่วโลกดีดตัวขึน้ รั บคาดการณ์ Fed คงมาตรการ QE หลัง GDP สหรั ฐฯ Q1 ต่ากว่ าคาด 3. เศรษฐกิจเวียดนามไตรมาส 2 ปี 56 ขยายตัวเร่ งขึน้

Assumptions & Key Indicators in FPO Forecast. 2012

Highlight Dubai 105.61 1. "โรจนะ" พร้ อมรั บมือเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้ มชะลอลง  กรรมการบริ ษัท สวนอุต สาหกรรมโรจนะ ซึ่ง เป็ นหนึ่งในบริ ษัท ของไทยที่ เ ข้ า ไปลงทุน ในจี น โดยเฉพาะด้ า น อสังหาริ มทรัพย์ ออกมาให้ กล่าวแสดงความมัน่ ใจว่า การที่เศรษฐกิจจีนชะลอตัว ไม่สง่ ผลกระทบต่อการดาเนิน Bath/USD 30.47 ธุรกิจอย่างมีนยั สาคัญแต่อย่างใด เนื่องจากล่าสุด โครงการคอนโดมิเนียมจานวน 2 เฟส มูลค่ากว่า 3 พันล้ าน บาทที่ได้ ดาเนินการไปนันมี ้ ความคืบหน้ ามาก โดยสามารถขายไปได้ กว่าร้ อยละ 80 ของโครงการทัง้ หมด และ เริ่ มทยอยโอนมีรายได้ ประมาณร้ อยละ 50 ของรายได้ โครงการรวม ทังนี ้ ้ บริ ษัทได้ เตรี ยมความพร้ อมไว้ บางส่วน ม สาหรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นและบริ หารเงินเป็ นไปอย่างระมัดระวังมากขึ ้นเป็ นสาคัญ Currencies  สศค. วิเ คราะห์ ว่า เศรษฐกิ จ จีนในช่ ว งที่ผ่ านมามีอัตราการขยายตัวที่สู ง เกิ นกว่ าร้ อยละ 7.0 อย่ าง THB/USD ต่ อเนื่อง ส่ งผลให้ จีนประสบปั ญหาที่สาคัญคือ แรงกดดันด้ านราคาที่อยู่ในระดับสูง ประกอบกับการ (onshore) เติบโตที่ร้อนแรงของภาคอสังหาริ มทรั พย์ ในจีน สะท้ อนจากราคาบ้ านที่ปรั บตัวเพิ่มขึน้ ในอัตราที่สูง JPY/USD ต่ อเนื่องนับตัง้ แต่ ต้นปี 56 เป็ นต้ นมา โดยราคาบ้ านจีน เดือน พ.ค. 56 ขยายตัวร้ อยละ 6.0 จากช่ วง CNY/USD เดียวกันปี ก่ อน ซึ่งจากที่กล่ าวมานัน้ มีส่วนผลักดันให้ รั ฐบาลจีนชุดปั จจุบันมีความพยายามที่จะเน้ น การเติบโตทางเศรษฐกิ จของจีนให้ เ ป็ นไปในลั กษณะการปรั บโครงสร้ างทางเศรษฐกิ จเข้ าสู่ สมดุล USD/EUR ดังนั น้ ผลกระทบต่ อธุ รกิจของไทยที่เข้ าไปลงทุนในจีนในระยะสั น้ นั น้ อาจไม่ ส่งผลกระทบมากนั ก NEER Index อย่ างไรก็ ตาม การลงทุนเพิ่มเติมในอนาคตบริ ษัทที่เข้ าไปลงทุนควรระมัดระวังและพิจารณาอย่ าง (Average 11=100) รอบคอบ ผนวกกับปั ญหาด้ านสภาพคล่ องของสถาบันการเงินขนาดเล็กในจีน (Liquidity Crunch) ซึ่ง เป็ นประเด็นสาคัญที่ตลาดให้ ความสาคัญในช่ วงสัปดาห์ ท่ ผี ่ านมานัน้ ยังเป็ นปั จจัยเสี่ยงสาคัญต่ อการ Stock Market ลงทุนอีกด้ วย Market 2. ตลาดหุ้นทั่วโลกดีดตัวขึน้ รับคาดการณ์ Fed คงมาตรการ QE หลัง GDP สหรั ฐฯ Q1 ต่ากว่ าคาด SET  ทางการสหรัฐฯ ได้ ประกาศปรับปรุ งตัวเลข GDP ไตรมาส 1 ปี 56 โดยอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในไตร มาสที่ 1 ปี 56 ขยายตัวที่เพียงร้ อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน หรื อร้ อยละ 0.4 จากไตรมาสก่อนหน้ า Dow Jones โดยอยู่ต่ากว่า ตัวเลขเบื ้องต้ นที่ประกาศก่อนหน้ านีท้ ี่ ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน หรื อร้ อยละ 0.6 FTSE-100 จากไตรมาสก่อนหน้ า อย่างมีนยั สาคัญ เนื่องจากการบริ โภคภาคเอกชน การส่งออกและการนาเข้ าชะลอตัวลง NIKKEI-225 มากกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยหลังจากการประกาศดังกล่าว ตลาดหลักทรัพย์ทวั่ โลกปรับตัวสูงขึ ้น Hang Seng  สศค. วิเคราะห์ ว่า ตัวเลข GDP สหรัฐฯ ที่ต่ ากว่ าที่ประมาณการณ์ ไว้ ก่อนหน้ า ส่ งผลให้ นักลงทุนมอง ว่ าเศรษฐกิจสหรัฐฯ อาจฟื ้ นตัวช้ ากว่ าคาด และ Fed อาจต้ องเลื่อนการปรั บลดมาตรการ QE ออกไป Straits Time อีก เนื่องจากเงื่อนไขหนึ่งของการปรับลดขนาดมาตรการ QE ในปลายปี นี ค้ ือ อัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิ จปี 56 อยู่ท่ ีร้อยละ 2.3-2.6 ซึ่งด้ วย GDP สหรั ฐฯ ในไตรมาส 1 ปี 56 ขยายตัวร้ อยละ 1.6 จากช่ วงเดียวกันปี ก่ อน เศรษฐกิ จสหรั ฐฯ ในอีก 3 ไตรมาสที่เหลือของปี ต้ องขยายตัวเฉลี่ยไม่ น้อย Bond Yield กว่ าร้ อยละ 2.5 ซึ่งเป็ นการขยายตัวระดับสูงเกินกว่ าระดับเฉลี่ย 3 ปี ที่ผ่านมา จึงทาให้ นักลงทุนคลาย ความกั งวล ส่ งผลให้ ตลาดหลั กทรั พย์ สาคัญทั่วโลกปรั บตัวอยู่ในแดนบวก อาทิ ดัชนี Dow Jones Gov’t Bond Yield สหรัฐฯ ปิ ดตลาดปรับตัวสูงขึน้ ร้ อยละ 1.02 อีกทัง้ ตลาดหลักทรั พย์ ในภูมิภาคส่ วนใหญ่ ปรั บตัวอยู่ใน แดนบวกตลอดทัง้ วันต่ อเนื่องเป็ นวันที่สอง โดยเฉพาะดัชนีฮ่ ังเส็งฮ่ องกง ที่ปิดตลาดปรั บตัวขึน้ ร้ อย Thailand - 2 Year ละ 2.43 รวมทัง้ ตลาดหลักทรัพย์ ไทย ซึ่งในวันที่ 27 มิ.ย. 56 ปิ ดตลาดเพิ่มขึน้ 31.49 จุด หรื อคิดเป็ น Thailand - 10 Year ร้ อยละ 2.21 ที่ระดับ 1,455.87 จุด ด้ วยมูลค่ าซือ้ ขาย 57,941.13 ล้ านบาท ต่ อเนื่องจากวันก่ อนหน้ า USA - 2 Year 3. เศรษฐกิจเวียดนามไตรมาส 2 ปี 56 ขยายตัวเร่ งขึน้  ทางการเวียดนามประกาศตัวเลข GDP ของไตรมาสที่ 2 ปี 56 ขยายตัวเร่ งขึ ้นที่ร้อยละ 5.0 เมื่อเทียบกับช่วง USA - 10 Year เดียวกันปี ก่อน ส่วนหนึ่งจากการปรับลดอัตราดอกเบี ้ยนโยบายเพื่อกระตุ้นสินเชื่อภาคธุรกิจ ซึ่งเป็ นปั จจัยเอือ้ ต่อการลงทุนภาคเอกชน และดึงดูดนักลงทุนจากต่างประเทศ โดยล่าสุด กระทรวงการวางแผนและการลงทุน Commodities เผยตัวเลขการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติครึ่งปี แรกขยายตัวร้ อยละ 5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี ก่อน มีมลู ค่า Commodities กว่า 5.7 พันล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ นอกจากนีย้ งั มีปัจจัยสนับสนุนการเติ บโตทางเศรษฐกิ จ สะท้ อนจากผลการ ลงคะแนนเสียงของสภานิติบญ ั ญัติในการปรับลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบคุ คล เพื่อช่วยภาคธุรกิจ Dubai (USD/BBL)  สศค. วิเคราะห์ ว่า เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวดีในช่ วงที่ผ่านมา ส่ วนหนึ่งเป็ นผลจากนโยบายภาครั ฐ และการลงทุนจากต่ างชาติท่ ีเพิ่มขึน้ อย่ างไรก็ตามเวียดนามพึ่งพาการส่ งออกถึงร้ อยละ 78.4 ของ WTI (USD/BBL) GDP ทัง้ นีก้ ารชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกอาจส่ งผลกระทบต่ อการเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนาม Brent (USD/BBL) ผ่ านช่ องทางการส่ งออก เนื่ องจากภาคการส่ งออกของเวียดนามมีลั กษณะกระจุ กตัวสู ง โดยการ Gasohol-95 ส่ งออกไปยัง 3 ตลาดหลัก (สหรัฐฯ สหภาพยุโรป และจีน) มีสัดส่ วนสูงถึงร้ อยละ 44.8 ของมูลค่ าการ (Bt/litre) ส่ งออกรวม (สัดส่ วนปี 55) อีกทัง้ สินค้ าส่ งออกหลักของเวียดนามเป็ นสินค้ าขัน้ ต้ นและขัน้ กลางเป็ น Gasohol-91 (Bt/litre) ส่ ว นใหญ่ จึ ง อาจได้ รั บผลกระทบทั ง้ ทางตรงและทางอ้ อมจากการที่ เ ศรษฐกิ จ โลกยั ง คงมี ค วาม เปราะบาง ทัง้ นี ้ สศค.คาดการณ์ ณ เดือน มิ.ย. 56 ว่ าเศรษฐกิจเวียดนามปี 56 จะขยายตัวที่ร้อยละ Diesel (Bt/litre) 5.0 ใกล้ เคียงกับตัวเลขคาดการณ์ ของ IMF ณ เดือน เม.ย. 56 ที่ร้อยละ 5.2 Spot Gold Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance Tel: 02-273-9020 Ext. 3257

Q1

Apr

2013 May

June

Year to Date

Ast.13

106.81

102.52

100.41

99.95

104.33

(105-115)

30.11

29.02

29.74

30.79

29.82

26 June 13

27 June 13

(28.929.9)

28 June 13 (spot)

% change

31.12

31.14

0.06

31.15

97.72

98.33

0.62

98.60

6.1468

6.1488

0.0325

6.1467

1.3011

1.3035

0.1845

1.3041

104.19

104.12

-0.0635

104.18

26 June 13 (Close)

27 June 13 (Close)

1,424.38

1446.45

1.55

14,910.14

15024.49

0.77

6,165.48

6243.40

1.26

12,834.01

13213.55

2.96

20,338.55

20440.08

0.50

3,104.40

3118.03

0.44

Yield (%)

% change

Change from (in Basis Points) 1 Day 1 Month 1 Year

2.890

1.00

19.33

-32.25

3.755

16.63

38.00

22.83

0.359

2.35

6.70

5.03

2.474

6.69

30.70

85.29

26 June 13

27 June 13

28 June 13 (Spot)

%change

98.40

98.30

-

-0.10

95.42

96.95

-

1.55

100.93

102.94

-

1.99

39.13

38.83

38.83

-0.77

36.68

36.38

36.38

-0.82

29.99

29.99

29.99

-

1,225.24

1199.79

1191.84

-0.66


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.