FPO Macro Intelligence Briefing
FPO Macro Intelligence Briefing 10 กรกฎาคม 2556 IMF ปรับลดอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก “กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ปรับลดการคาดการณอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในป 55 และ 56 เปน รอยละ 3.1 และรอยละ 3.8 ตามลําดับ จากเศรษฐกิจของประเทศในกลุมตลาดเกิดใหมที่ชะลอตัว และการฟนตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และยูโรโซนที่ยังคงลาชา” ขอมูลพื้นฐาน กองทุ นการเงิน ระหว า งประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ปรั บลดการ คาดการณอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในป 55 และ 56 เปนรอยละ 3.1 และ 3.8 ตามลําดับ ลดลงจากการคาดการณ ณ เดือนเม.ย. 56 ที่อยูที่รอยละ 3.3 และ 4.0 ตามลําดับ จากปจจัยหลัก 3 ประการ ดังนี้ 1. เศรษฐกิจของประเทศในกลุมตลาดเกิดใหม (Emerging market economies) ยังคง ชะลอตัวตอเนื่อง จากปจจัยตางๆ เชน อุปสงคโลกที่ชะลอตัวซึ่งสงผลตอภาคการสงออก และปญหาเสถียรภาพของภาคการเงิน เปนตน ทั้งนี้ IMF ไดปรับลดการคาดการณอัตรา การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนในป 56 และ 57 เปนรอยละ 7.8 และ 7.7 จากเดิมที่เคย คาดการณเมื่อเดือน เม.ย. 56 ไวที่รอยละ 8.0 และ 8.3 ตามลําดับ 2. การฟ น ตั ว ของเศรษฐกิ จยู โ รโซนยั งคงล า ช า กวา ที่ ค าดการณ ไ ว สะท อนจากอุ ป สงค ภายในประเทศและระดับความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจที่ยังคงอยูในระดับต่ํา สงผลให IMF ปรับลดตัวเลขคาดการณอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจยูโรโซนในป 56 และ 57 เปนหด ตัวรอยละ -0.6 และ 0.9 จากเดิมที่เคยคาดการณไวเมื่อเดือน เม.ย. 56 วาจะหดตัวรอย ละ -0.3 และ 1.0 ตามลําดับ 3. เศรษฐกิจสหรัฐฯ เริ่มฟนตัวแตยังคงขยายตัวในอัตราที่ต่ํา เนื่องจากขอจํากัดดานการคลัง แมวาการบริโภคภาคเอกชนจะเริ่มฟนตัว แลวก็ตาม โดย IMF ปรับลดอัตราการขยายตัว ทั้งในป 56 และ 57 เปนรอยละ 1.7 และ 2.7 จากเดิมที่เคยคาดการณไวเมื่อเดือน เม.ย. 56 ที่รอยละ 1.9 และ 2.9 ขณะที่ปรับเพิ่มอัตราการขยายตัวของญี่ปุนในป 56 เปนรอย ละ 2.0 จากรอยละ 1.6 เพื่อสะท อนผลจากนโยบาย Q2 ที่ช วยกระตุน การบริ โภค ภาคเอกชนและสงเสริมความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ แตปรับลดการคาดการณสําหรับป 57 เปนรอยละ 1.2 จากรอยละ 1.5 สะทอนเศรษฐกิจโลกที่จะยังคงชะลอตัวตอเนื่องในป 57 ประเด็นปญหา เศรษฐกิจในกลุมประเทศตลาดเกิดใหมชะลอตัวลง ในขณะที่เศรษฐกิจของยูโรโซนและสหรัฐฯ ยังคงฟนตัวลาชา ความเห็น การคาดการณอัต ราการขยายตัว ของเศรษฐกิจ โลกในป 56 ของ IMF สอดคลอ งกับ สมมติฐานการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกของสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในเดือ น มิ. ย. 56 โดยมีขอ แตกตา งเล็ก นอ ยในสว นของญี่ปุน โดย IMF คาดการณวา ในป 56 เศรษฐกิจญี่ปุนจะขยายตัวรอยละ 1.5 ขณะที่ สศค. คาดการณวาจะขยายตัวรอยละ 2.0 สศค. วิเคราะหวา เศรษฐกิจโลกยังคงมีแนวโนมชะลอตัวในครึ่งหลังของป 56 ตอ เนื่อ งไป ยัง ป 57 จากปจ จัย การชะลอตัว ทางเศรษฐกิจ ของจีน นอกเหนือ จากการชะลอตัว ของ เศรษฐกิจของสหรัฐฯ และยูโรโซน เศรษฐกิจไทยไดรับผลกระทบจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ โลกผา นชอ งทางการคา เปน หลัก อยางไรก็ตาม ตลาดการสงออกของประเทศไทยมีการกระจายตัวไปยังประเทศตางๆ ในภูมิภ าคมากขึ้น ซึ่ง จะชว ยลดความเสี่ย งจากการชะลอตัว ของประเทศขนาดใหญไ ด ประกอบกับ การสง ออกไปยัง ประเทศในกลุม อาเซีย นดว ยกัน เอง (เชน มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย) ยังสามารถขยายตัวไดตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ควรเรงสรางความแข็ง แกรง แก อุปสงคในประเทศในยามที่การฟนตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเปราะบาง นอกจากนี้ เศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัว สว นหนึ่ง เปน ผลจากความพยายามของทางการจีน ใน การลดความรอนแรงของเศรษฐกิจ พรอมกับการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ เชน การลด บทบาทของธนาคารเงา เปนตน ซึ่งถาหากจีนสามารถผานการปฏิรูปเศรษฐกิจครั้งนี้ได จีน ซึ่งเปนคูคาอันดับที่ 1 ของไทยจะสามารถขยายตัว ทางเศรษฐกิจ อยา งยั่ง ยืน และจะเปน มหาอํา นาจทางเศรษฐกิจ ตลอดจนเปน ตลาดสง ออกหลัก ของประเทศตา งๆ ในเอเชีย รวมทั้งไทย จึงควรเฝาติดตามสถานการณเศรษฐกิจจีนอยางใกลชิดตอไป
แนวโนมเศรษฐกิจโลก (คาดการณโดย IMF) qoq%, annualized
ที มา: IMF
การคาดการณอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจคูค าหลัก ในป 2556 โดย IMF และสศค. ประเทศคู่ค ้า หล ักเรียงตาม ั ่ว นมูลค่า สดส ส่งออ ก ในปี 2555
ทงปี ั 2556f 2555
สศค.
IMF
มิ.ย.-13
ก.ค.-13
14 ประเทศ
3.3
3.4
3.4
1.จีน
7.8
7.9
7.8
2.ญีปุ่ น
1.9
1.5
2.0
3.สหรั ฐฯ
2.2
2.0
1.7
4.ยูโรโซน
-0.5
-0.5
-0.6
5.ฮ่องกง
1.4
3.0
3.0
6.มาเลเซีย
5.6
4.7
5.1
7.ออสเตรเลีย
3.6
3.0
3.0
8.อินโดนีเซีย
6.2
6.3
6.3
9.สิงคโปร์
1.3
2.2
2.0
10.เวีย ดนาม
5.0
5.0
5.2
11.อินเดีย
5.0
5.8
5.6
12.ฟิ ล ิปปิ นส์
6.6
5.1
6.0
13.เกาหลีใ ต ้
2.0
2.8
2.8
14.ไตหวั ้ น
1.3
2.9
3.0
ที่มา: IMF
1|Page
FPO Macro Intelligence Briefing 16 กรกฎาคม 2556 ประเด็น : เศรษฐกิจจีนขยายตัวร้อยละ 7.5 ในไตรมาสที่ 2 ปี 56 ตามที่ตลาดคาด “เศรษฐกิจจีนขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงเล็กน้อยในไตรมาสที่ 2 ปี 56 ที่ร้อยละ 7.5 เทียบกับร้อยละ 7.7 ในไตรมาสก่อนหน้า ซึ่งได้เริ่มส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทยไปยังจีนแล้ว” ข้อมูลพื้นฐาน ในไตรมาสที่ 2 ปี 56 เศรษฐกิจ จีนขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงที่ร้อยละ 7.5 จาก ไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.7 อัตราการขยายตัวดังกล่าวสอดคล้องกับเป้าหมายการขยายตัวที่ทางการจีนประกาศ ที่ร้อยละ 7.5 ในปี 56 และร้อยละ 7.0 ในทศวรรษนี้ (2553-2563) นอกจากนี้ รมว. คลังจีนยังได้กล่าวเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 11 ก.ค. ที่ผ่านมาอีกว่า สามารถยอมรับได้ หากเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวเพียงร้อยละ 6.5-7.0 ในปีนี้ อัตราการขยายตัวดังกล่าวสอดคล้องกับการคาดการณ์ของ IMF และ ADB โดยใน เดือน ก.ค. ปี 56 IMF ได้ปรับลดการคาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน ในปี 56 และ 57 เป็นร้อยละ 7.8 และ 7.7 จากเดิมที่เคยคาดการณ์เมื่อเดือน เม.ย. ปี 56 ไว้ ที่ ร้ อ ยละ 8.0 และ 8.3 ตามล าดั บ เป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ADB ที่ ประมาณการณ์ว่า อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีนในปี 56 และ 57 จะเป็น ร้อยละ 7.7 และ 7.5 ตามลาดับ
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจจีน (%yoy)
7.5
ที่มา: สานักงานสถิติแห่งชาติจีน รวบรวมโดย สศค.
อัตราการขยายตัวการส่งออกและนาเข้าจีน (%yoy)
ประเด็นปัญหา การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน ซึ่งเป็นเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยหรือไม่ ความเห็น การขยายตัวชะลอลงของเศรษฐกิจจีนในไตรมาสที่ 2 เป็นผลจาก เศรษฐกิจโลกที่ ยังคงซบเซา ทาให้ก ารส่งออกของจีน ซึ่ง คิด เป็น สัด ส่ว นร้อ ยละ 24.0 ของจีดีพี ขยายตัว ในอัตราที่ชะลอลงตลอดไตรมาสที่ร้อยละ 3.7 โดยเฉพาะในเดือน มิ.ย. ซึ่งมูลค่าการส่งออกหดตัวร้อยละ -3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นการหดตัวครั้ง แรกในรอบ 17 เดือน จากการส่งออกไปยังคู่ค้าสาคัญที่หดตัวลงต่อเนื่อง ทั้งสหรัฐฯ ฮ่องกง และยูโรโซน นอกจากนี้ การลงทุนภายในประเทศ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48.1 ของจีดีพี ก็ ขยายตัวชะลอลงต่อเนื่อง สะท้อนจากการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่ขยายตัว เฉลี่ย ตลอดไตรมาสเพียงร้อยละ 20.4 อย่างไรก็ดี การบริโ ภคภายในประเทศ ซึ่งคิด เป็นสัดส่วนร้อยละ 35.7 ของจีดีพี ยังคงขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพที่ร้อยละ 13.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน สศค. วิเคราะห์ว่า เศรษฐกิจจีนเป็นเศรษฐกิจที่สาคัญต่อไทย โดยการส่งออกของ ไทยไปยัง จีน คิด เป็น สัด ส่ว นกว่า ร้อ ยละ 11.7 ของการส่ง ออกทั้ง หมด ดัง นั ้น แม้ว่าเศรษฐกิจจีนน่าจะสามารถขยายตัวได้ ตามเป้าหมาย แต่ถือว่าเป็นอัตราการ เติบ โตที่อ ยู่ใ นระดับ ที่ค่อ นข้า งต่าเมื่อ เทีย บกั บ ในช่ว งหลายปีที่ผ่า นมา จึง อาจ ส่ง ผลกระทบในทางลบต่อ ไทยได้ ดัง จะเห็น ได้จ าก การส่งออกไปยังจีนในช่วง ม.ค.-พ.ค. ปี 56 ที่ได้รับผลกระทบบ้างแล้ว โดยหดตัวร้อยละ -0.9 เมื่อเทีย บกั บ ช่วงเวลาเดียวกันปีก่อน
ที่มา: กรมศุลกากรจีน รวบรวมโดย สศค.
อัตราการขยายตัวการส่งออกของไทยไปยังจีน (%yoy)
ที่มา: สศค.
1|Page
FPO Macro Intelligence Briefing 19 กรกฎาคม 2556
ประเด็น : การลดลงของงบลงทุนการจัดการน้ําและผลกระทบตอเศรษฐกิจไทย “คําตัดสินของศาลปกครองทําใหบางโครงการลงทุนของงบบริหารจัดการน้ํา 3.5 แสนลานบางสวนตองลาชา แมผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรง ตอการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะสั้นจะมีไมมากนัก แตคาดวาจะกระทบกับความเชื่อมั่นของนักลงทุนไมนอย” ขอมูลพื้นฐาน • แผนการลงทุน โครงการบริห ารจัด การน้ํา สว นที่เ ปน module มูลคา 2.91 แสนลานบาท (ตารางที่1) จากทั้ง หมด 3.5 แสนลาน ไดทําการประมูลเสร็จ สิ้นและไดผูรับเหมา 4 รายไปเมื่อ วันที่ 10 มิ.ย. 56 ไดแ ก ITD Power China JV, K-Water, Loxley, และ Summit SUT • ศาลปกครองไดมีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 56 ใหรัฐบาลตอ ง ดํ า เนิ น การ (1) ศึ ก ษาและประเมิ น ผลกระทบต อ คุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล อ มและสุ ข ภาพของคนในชุ ม ชน และ (2) จั ด ให มี กระบวนการรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชนและผู มี ส ว นได เสียกอนการดําเนิน • คําพิพากษาดัง กลาวทํ าใหสํานัก งานบริหารหนี้สาธารณะปรับลด กรอบเงินลงทุนในปงบประมาณ 2556 ลง 9.2 พันลานบาท เหลือ 24.3 พันลานบาท
ตารางที่ 1: รายละเอียดโครงการบริหารจัดการนํ้าส่ วนที่เป็ น module A1-A6 และ B1-B4
Module A1 A2 A3 A4 A5 A6, B4 B1 B2 B3
กิจกรรม/รายการ อางเก็บน้ํา ปง ยม นาน สะแกกรัง ปาสัก ผังที่ดิน พื้นที่ปดลอมลุมแมน้ําเจาพระยา พื้นที่เกษตรชลประทาน นครสวรรค ปรับปรุงลําน้ํา แมน้ํายม เจาพระยา Flood Way คลังขอมูล อางเก็บน้ํา 17 ลุมน้ํา ผังที่ดิน พื้นที่ปดลอม 17 ลุมน้ํา ปรับปรุงลําน้ํา 17 ลุมน้ํา รวม
มูลคา (ลานบาท) 50,000 26,000 10,000 17,000 153,000 4,000 12,000 14,000 5,000 291,000
ที่มา: สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
ประเด็นปญหา ความกังวลของผลกระทบจากการระงับโครงการตอเศรษฐกิจที่กําลังชะลอ ความเห็น • โครงการที่ถูก ระงับ เปน โครงการลงทุนกอ สรา งซึ่ง นอกจากจะดึง รายจา ยของรัฐ ออกแลว ยัง ทํา ใหก ารจา งงาน และการบริโ ภค ภาคเอกชนสูญหายไปดวย • สศค. ประเมิน วา มีผ ลตอ ระบบเศรษฐกิจ ตอ ตัว แปรเชิง มหภาค ดัง นี้ การลงทุน ภาครัฐ ลดลงรอ ยละ 3.3 การบริโ ภคภาคเอกชน ลดลงรอยละ 0.1 การวางงานเพิ่มขึ้นรอยละ 0.1 การนําเขาลดลง รอยละ 0.2 และนั่นทําใหก ารเติบโตของ Real GDP ป 56 ลดลง จากประมาณการกรณีฐาน (ณ มิ.ย. 56) รอยละ 0.07 มาอยูที่รอย ละ 4.47 คิดเปนมูลคาความเสียหายประมาณ 9.5 พันลานบาท • นอกจากนี ้ สศค. คาดวา ยัง มีผ ลกระทบที ่ย ัง มองไมเ ห็น ในเชิง ปริม าณ นั่น คือ ความเชื่อ มั่น ตอ โครงการลงทุน ของภาครัฐ ใน อนาคต ที่อาจมีผลกระทบตอ การดึง ดูดการลงทุนจากภาคเอกชน ทั้ง ไทยและตา งชาติ เนื่อ งจากการดํา เนิน โครงการที่มีอ ุป สรรค ขัดขวางไมใหโครงการเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นไดอยางลาชากวาที่คาดไว จะทํ า ให (1) ภาคเอกชนไมก ลา ที ่จ ะรว มลงทุน ซึ ่ง ทํ า ใหก ารที่ ภาครัฐจะ finance ดวยวิธี PPP ยากขึ้น (2) การบริโ ภคและการ ลงทุนที่จ ะตามมาเปน second round effect จะเกิดขึ้นไดนอ ย จากการที่ผูบ ริโ ภคและนัก ลงทุนจะชะลอดูทาทีของโครงการหรือ ลดสัด สว นเงิน ที่จ ะใชใ นกิจ กรรมที่เ กิด ขึ้น จากโครงการ นํา ไปสู self-fulfilling prophecy ที่เริ่มจากการที่คนเชื่อ วาโครงการจะ ไมป ระสบความสํ า เร็จ ก็จ ะไมล งทุน และจากการที ่ไ มล งทุน โครงการก็จึงไมประสบความสําเร็จ
ตารางที่ 2: ผลกระทบต่ อเศรษฐกิจมหภาคจากการที่โครงการลงทุนด้ านนํ้าบางส่ วนถูกระงับ กรณีฐาน (1)
กรณีคําสั�งศาล (2)
2013-F Q2 Q3 Q4
2013-F Q2 Q3 Q4
Major Economic Indicators Items
Unit
Q1
GDP Growth Rate(1988 prices) % yoy
5.3
% qoq
-2.2
1.7
2.3
2.5
%
2.16
1.59
1.56
-0.70
Unemployment Rate (% )
4.0
4.6
4.3
Total 4.54 1.15
Q1 5.3
4.0
4.3
ผลต่าง (2)-(1)
4.3
-2.2
1.6
2.0
2.8
2.16
1.61
1.84
-0.70
Total
Q1
Q2
2013-F Q3 Q4
Total
4.47
0.00 -0.02 -0.28
0.01 -0.07
0.0
0.0
-0.3
0.3
0.0
1.22
0.00
0.01
0.27
-0.01
0.07
Consumption (1988 prices)
%yoy
3.9
3.8
3.7
3.1
3.6
3.9
3.8
3.5
3.1
3.6
0.0
0.0
-0.2
0.0
-0.1
- Private Sector
%yoy
4.3
3.9
3.5
2.7
3.6
4.3
3.9
3.2
2.7
3.5
0.0
0.0
-0.3
0.0
-0.07
- Public Sector
%yoy
2.2
2.9
4.5
5.1
3.7
2.2
2.9
4.5
5.1
3.7
0.0
0.0
0.0
0.0
0.0
Investment (1988 prices)
%yoy
6.0
3.5
6.0
14.0
7.3
6.0
3.3
3.4
14.1
6.6
0.0
-0.1
-2.5
0.1
-0.7
-Private Sector
%yoy
3.1
2.3
4.2
13.5
5.7
3.1
2.3
4.2
13.5
5.7
0.0
0.0
0.0
0.0
0.0
-Public Sector
%yoy
18.8
8.2
11.4
16.1
13.3
18.8
7.5
1.1
16.5
10.0
0.0
-0.7
-10.3
0.4
-3.3
0.0
0.0
0.0
0.0
0.0
- Export of Goods & Service
%yoy
8.4
4.5
7.4
5.6
6.5
8.4
4.5
7.4
5.6
6.5
0.00
0.00
0.00
0.00
0.00
- Import of Goods & Service
%yoy
8.2
4.4
9.3
4.1
6.5
8.2
4.3
8.5
4.1
6.3
0.00
-0.04
-0.77
0.02
-0.20
Export & Import (1988 prices)
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
1|Page
FPO Macro Intelligence Briefing 19 กรกฎาคม 2556 ประเด็น : สรุปสาระสาคัญ UNCTAD World Investment Report 2013 “การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศปี 2555 ปรับลดลง แต่ FDI ในประเทศกาลังพัฒนาแซงหน้าประเทศพัฒนาแล้วเป็นครั้งแรก”
FDI โลกปรับ ลดลงในปี 2555 อนาคตยังไม่ สดใส แต่ ประเทศกาลัง พัฒนามีบทบาท มากขึน้ ชัดเจน
FDI Inflows ใน ประเทศกาลัง พัฒนาแซงขึ้น เป็นอันดับหนึ่ง เป็นปีแรก FDI Inflows เพิ่มขึ้นใน แอฟริกา ขณะที่ ภูมิภาคหลักๆ ปรับลดลงทั้งสิ้น
แนวโน้มการลงทุนของโลก แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวได้ในปี 2555 แต่การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ หรือ Foreign Direct Investment (FDI) ของโลกกลับลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 18 มาอยู่ที่ระดับ 1.35 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ จากความกังวลของนักลงทุนต่อความเปราะบางของเศรษฐกิจและความไม่ แน่นอนของนโยบายเศรษฐกิจ ทั้งนี้ UNCTAD คาดการณ์ว่า FDI รวมในปี 2556 จะอยู่ในระดับ ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เเละจะเพิ่มขึ้นเป็น 1.6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2557 และ 1.8 ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2558 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี หากเศรษฐกิจในช่วงข้างหน้ายังคงอ่อนแอ FDI Flows อาจยังคงอยู่ในขาลงต่อไป
FDI inflows ทิศทางของ FDI Flows ของโลกในปี 2555 พบว่ากลุ่มประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะ ภูมิภาคแอฟริกา กลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกและ ASEAN ได้มีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด แม้ว่ามูลค่า FDI Inflows โดยรวมจะลดลงในปี 2555 แต่ประเทศกาลังพัฒนานั้นได้รับผลกระทบ น้อยกว่ากลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ทาให้ปี 2555 เป็นปีเเรกที่ FDI Inflows ในประเทศกาลังพัฒนามี สัดส่วนมากกว่า โดยกินสัดส่วนของ FDI inflows รวมของโลกสูงถึงร้อยละ 52.0 เพิ่มขึ้นจากร้อย ละ 44.5 ขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วมีสัดส่วนในปีเดียวกัน ร้อยละ 41.5 ลดลงจากร้อยละ 49.7 ในปี 2554 โดยสหภาพยุโรปเป็นภูมิภาคที่มีการลดลงของ FDI Inflows ในประเทศพัฒนาแล้ว หากจาเเนกกลุ่มประเทศออกตามภูมิภาคต่างๆพบว่า กลุ่มที่มี FDI Inflows เพิ่มขึ้น ได้แก่
FPO Macro Intelligence Briefing 19 กรกฎาคม 2556 ภูมิภาคแอฟริกา ซึง่ มีการเติบโตเป็นบวกในปี 2555 โดยเป็นการลงทุนส่วนมากในอุตสาหกรรมขุด เจาะ (Extractive Sector) อุตสาหกรรมและบริการสาหรับสินค้าเพื่อการบริโภค และ ภูมิภาค อเมริกาใต้ มี Inflows ทีข่ ยายตัวได้ดีจากการที่มีทรัพยากรด้านพลังงานและแร่ธาตุอยู่ปริมาณมาก และการขยายตัวของชนชั้นกลาง กลุ่มประเทศด้อยพัฒนา (Structurally Weak and Vulnerable Economies) มี Inflows ที่ขยายตัวได้ดีเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะประเทศที่มีทรัพยากร ทางธรรมชาติมาก นักลงทุนหลักในภูมิภาคนี้มาจากกลุ่มประเทศกาลังพัฒนา ขณะที่กลุ่มประเทศที่ มี FDI Inflows ลดลง ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียที่มี Inflows ลดลงในทุกๆ ภูมิภาคย่อย โดยลดลงมาก ที่สุดในเอเชียใต้และเอเชียตะวันตก ภูมิภาคอเมริกากลางและฝั่งแคริบเบียน และกลุ่มประเทศ Transition Economies1 ก็หดตัวเช่นกัน จากการหดตัวของการลงทุนในยุโรป ด้านกลุ่มประเทศ พัฒนาแล้วมี Inflows ทีห่ ดตัวถึงร้อยละ 32 จากปีก่อน ส่วนมากลดลงในประเทศหลัก ได้แก่ ยุโรป สหรัฐฯ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ FDI Outflows จากประเทศ กาลังพัฒนามี สัดส่วนเพิ่มขึน้ มาก โดยมีกลุ่ม BRICS เป็นกลุ่ม นักลงทุนสาคัญ FDI Outflows จากแอฟริกา เพิ่ม 3 เท่า จีน และอาเซียนก็ ลงทุน ต่างประเทศเพิ่ม ส่วนกลุ่มที่ ประสบวิกฤติมี Outflows ลดลงชัดเจน
1
FDI outflows ในด้าน FDI outflows แม้ว่าประเทศพัฒนาแล้วยังคงครองอันดับหนึ่งในด้านสัดส่วนของ outflows รวมทั้งโลก แต่ outflows จากประเทศกาลังพัฒนาได้มีการเพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจในปี 2555 โดยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 30.6 จากร้อยละ 25.2 ในปีก่อนหน้า ซึง่ ภูมิภาคเอเชีย เป็นแหล่งที่มาของ FDI outflows ที่ใหญ่ที่สุด ด้านกลุ่ม BRICS (ได้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริกาใต้) ก็ยังคงเป็นแหล่ง outflows ที่สาคัญ โดยมี FDI outflows รวมกันคิดเป็นร้อยละ 10 จาก FDI outflows โลก โดยเฉพาะประเทศจีนที่ขยับขึ้นมาอยู่ที่อันดับ 3 ของประเทศที่มีการ ลงทุนมากที่สุดจากอันดับ 6 ในปี 2554 ขณะที่ในฝั่งของประเทศพัฒนาแล้วมีสัดส่วนในปี 2555 ร้อยละ 65.4 ลดลงจากร้อยละ 70.5 ในปีก่อนหน้า จากการลดลงในภูมิภาคยุโรปและอเมริกาเหนือ หากจาแนกกลุ่มประเทศออกตามภูมิภาคต่างๆ พบว่ากลุ่มประเทศที่มี FDI Outflows เพิ่มขึ้น ได้แก่ ภูมิภาคแอฟริกาทีม่ ี Outflows เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าในปี 2555 มาจาก TransMultinational Companies (TNCs) จากแอฟริกาใต้ที่ลงทุนผ่าน FDI มากขึ้น ในขณะที่กลุ่ม ประเทศที่ FDI Outflows คงที่ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียทีม่ ี FDI Outflows ในปี 2555 ค่อนข้างคงที่ จากปีก่อนหน้า โดย Outflows เพิ่มขึ้นในเอเชียตะวันออก (นาโดยจีน) และ ASEAN (นาโดยไทย และมาเลเซีย) แต่ลดลงอย่างมากในเอเชียใต้ และ กลุ่มประเทศด้อยพัฒนามี FDI Outflows ที่ คงที่จากปี 2554 เช่นกัน ขณะที่กลุ่มประเทศที่มี FDI Outflows ลดลง ได้แก่ ภูมิภาคอเมริกาใต้ และฝั่งแคริบเบียน มีการหดตัวเล็กน้อยในปี 2555 ส่วน FDI Outflows ในกลุ่มประเทศ Transition Economies หดตัวเช่นกัน โดยลดลงถึงร้อยละ 24 ซึง่ รัสเซียยังคงเป็นนักลงทุนหลัก ของภูมิภาคโดยมีสัดส่วนเงินลงทุนอยู่ที่ร้อยละ 92 ของเงินลงทุนรวมในภูมิภาค ด้าน FDI Outflows ในปี 2555 ของกลุม่ ประเทศพัฒนาแล้วหดตัวลงร้อยละ 23 โดยเป็นการหดตัวของ ยุโรปร้อยละ 40 และจากสหรัฐฯร้อยละ 17 อย่างไรก็ดี Outflows จากญี่ปุ่นได้ขยายตัวร้อยละ 14
ประเทศที่เคยเป็น Centrally Planned Economy เเต่ว่าเปลี่ยนเป็น Free Market อาทิเช่น โปแลนด์ รัสเซีย จีน บัลแกเรีย และเวียดนาม