Monthly tax update ธันวาคม 2555

Page 1

Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ วันจันทรที่ 4 ธันวาคม 2555 รางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาแสตมปยาสูบ พ.ศ. .... 1 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาแสตมปยาสูบ พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยรับขอสังเกตของสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ไปประกอบการพิจารณาดวย แลวดําเนินการตอไปได ซึ่งรางกฎกระทรวงดังกลาวมีสาระสําคัญ ดังนี้  กํ า หนดให ย าเส น จั ด เก็ บ ภาษี อั ต ราตามมู ล ค า ร อ ยละ 10 อั ต ราภาษี ต ามปริ ม าณ 0.01 บาทต อ หนึ่ ง กรั ม เศษของหนึ่งกรัมใหนับเปนหนึ่งกรัม  กํ า หนดให ย าเส นที่ ผู เ พาะปลู ก ต น ยาสู บ ทํ า จากใบยาที่ ป ลู ก และหั่ น เอง และไดข ายยาเส น นั้ น แกผู ป ระกอบ อุตสาหกรรมยาสูบ จัดเก็บภาษีอัตราตามมูลคารอยละ 0 อัตราภาษีตามปริมาณ 0 บาทตอหนึ่งกรัม เศษของหนึ่งกรัม ใหนับเปนหนึ่งกรัม 0

วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555 มาตรการปรับปรุงโครงสรางภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเพื่อสงเสริมความเปนธรรมและใหสอดคลองกับภาวะ เศรษฐกิจ 2 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงาน สภาผูแทนราษฎรพิจารณา กอนเสนอสภาผูแทนราษฎรพิจารณาตอไป โดยรางพระราชบัญญัติดังกลาวมีสาระสําคัญ ดังนี้  การปรับปรุงโครงสรา งภาษี เงิน ไดบุ คคลธรรมดา เป นการปรั บปรุ งบัญ ชีอัต ราภาษีเงิ นได บุคคลธรรมดา สําหรับการคํานวณเงินไดสุทธิ จากเดิม 5 ขั้นอัตรา เปน 7 ขั้นอัตรา และลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจากอัตรา สูงสุดรอยละ 37 เปนรอยละ 35 โดยมีรายละเอียดตามตารางเปรียบเทียบ ดังนี้ 1

1

เหตุผลในการนําเสนอรางกฎกระทรวงดังกลาว สืบเนื่องจากกระทรวงการคลังไดออกกฎกระทรวงกําหนดอัตราคาแสตมปยาสูบ พ.ศ. 2555 เพื่อปรับ อัตราคาแสตมปยาสูบใหเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบัน แตเนื่องจากกฎกระทรวงฉบับดังกลาวไดสงผลใหผูเพาะปลูกตนยาสูบและผูประกอบอุตสาหกรรม ยาสูบไดรับผลกระทบจากการจัดเก็บคาแสตมปยาสูบสําหรับยาเสนที่ซ้ําซอนในอุตสาหกรรมยาเสน ทั้งนี้ เนื่องจากพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. 2509 กําหนดใหผูเพาะปลูกตนยาสูบที่ทํายาเสนจากใบยาที่ปลูกเองตองเสียคาแสตมปยาสูบ (ภาษี) และเมื่อผูซื้อนํายาเสนที่ไดชําระภาษีแลวดังกลาวมาแบงบรรจุ ซองเพื่อจํา หนายก็ตองเสียคา แสตมปยาสูบ (ภาษี ) อีกครั้งหนึ่ง ดัง นั้น เพื่อเปนการแกไขปญหาดัง กลาว กระทรวงการคลังจึงเสนอใหมีการปรับปรุง กฎกระทรวงกําหนดอัตราคาแสตมปยาสูบ พ.ศ. 2555 ขางตน เพื่อกําหนดอัตราคาแสตมปยาสูบ สําหรับยาเสนใหเหมาะสมกับสภาวการณเศรษฐกิจ ในปจจุบันและไมสงผลกระทบตอชาวไรผูเพาะปลูกตนยาสูบที่ทํายาเสนจากใบยาที่ปลูกเอง และเพื่อบรรเทาภาระภาษีใหแกเกษตรกรที่ผลิตยาเสนที่ใชเปน วัตถุดิบใหแกผูประกอบอุตสาหกรรมผลิตยาเสนสําเร็จรูปและลดภาระภาษีซ้ําซอนในอุตสาหกรรมยาเสน 2 เหตุผลในการนําเสนอรางพระราชบัญญัติดังกลาว เนื่องจากกระทรวงการคลังพิจารณาแลวเห็นวา โครงสรางภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในปจจุบันไดเริ่มใช มาเปนระยะเวลาประมาณ 20 ปแลว (เริ่มใชเมื่อปภาษี 2535) ประกอบกับอัตราภาษีในแตละขั้นมีความแตกตางกันมาก ซึ่งขั้นบัญชีอัตราภาษีเงินได บุคคลธรรมดาดัง กลาว มีความไมเหมาะสมกับโครงสรางทางเศรษฐกิจและรายไดที่เปลี่ยนแปลงไปในปจจุบัน ดังนั้น เพื่อเปนการลดภาระภาษีใหแก ผูมีเงินไดและสรางความเปนธรรมในการกระจายรายไดใหมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเปนการปดชองโหวของการหลีกเลี่ยงภาษี กระทรวงการคลังจึงไดนําเสนอ มาตรการปรับปรุงโครงสรางภาษีดังกลาวเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหความเห็นชอบ

 สํานักนโยบายภาษี 

1 / 10


Monthly Tax Update เงินไดสุทธิ (บาท) 0 - 150,000 สวนที่เกิน 150,000 – 300,000 สวนที่เกิน 300,000 – 500,000 สวนที่เกิน 500,000 – 750,000 สวนที่เกิน 750,000 – 1,000,000 สวนที่เกิน 1,000,000 – 2,000,000 สวนที่เกิน 2,000,000 – 4,000,000 สวนที่เกิน 4,000,000 ขึ้นไป

อัตราภาษีใหม (รอยละ) ยกเวน 5 10 15 20 25 30 35

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

อัตราภาษีเดิม (รอยละ) ยกเวน 10 20 30 37

ทั้งนี้ ในสวนของการยกเวนภาษีเงินไดสําหรับเงินไดสุทธิ 150,00 บาทแรก กระทรวงการคลังจําเปนตองออก พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... ในลําดับถัดไป เชนเดียวกับโครงสรางภาษีเงิน ไดบุคคลธรรมดาปจจุ บัน ซึ่งกระทรวงการคลังไดมีการยกเวน ภาษี สําหรับเงินไดสุทธิ 150,000 บาทแรก ตามพระราชกฤษฎีกาออกความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 470) พ.ศ. 2551  การปรับปรุงนิยามของ “คณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล” และ “หางหุนสวนสามัญที่มิใชนิติบุคคล”  “คณะบุคคลที่มิใชนิติบุคคล” ใหหมายความวา บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการ รวมกันโดยไมมีวัตถุประสงคจะแบงปนกําไรอันพึงไดแตกิจการที่ทํานั้น ทั้งนี้ ใหเสียภาษีจากเงินไดพึงประเมินกอนหัก รายจายในอัตรารอยละ 20  “หางหุนสวนสามัญที่มิใชนิติบุคคล” ใหหมายความวา หางหุนสวนสามัญที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือที่ตั้ง ขึ้น ตามกฎหมายต า งประเทศ และให หมายความรวมถึงหางหุน สวนสามัญ ที่อธิบ ดีกําหนด โดยอนุมัติรั ฐ มนตรี และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ ใหเสียภาษีจากเงินไดสุทธิในอัตรารอยละ 20 อนึ่ง การปรับปรุงทั้งโครงสรางภาษีและคํานิยามขางตนจะมีผลใชบังคับสําหรับเงินไดพึงประเมินในป พ.ศ. 2556 ที่จะตองยื่นรายการในป พ.ศ. 2557 เปนตนไป  การปรั บ ปรุ ง การยื่ น รายการและเสี ย ภาษี เ งิ น ได บุ ค คลธรรมดาระหว า งสามี -ภริ ย า โดยการปรั บ ปรุ ง ในประเด็นนี้ไดตราเปนกฎหมายแลวตามพระราชกําหนดแกไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 18) พ.ศ. 2555 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555 และลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันเดียวกัน ซึ่งการปรับปรุงการยื่นรายการและ เสียภาษีดังกลาวกําหนดใหมีผลใชบังคับสําหรับเงินไดพึงประเมินประจําป พ.ศ. 2555 ที่จะยื่นรายการใน พ.ศ. 2556 เปนตนไป ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้  ใหยกเลิกขอความใน (2) ของมาตรา 47 แหงประมวลรัษฎากร และใหใชความดังนี้แทน “ (2) ในกรณี ส ามี ภ ริ ย าต า งฝ า ยต า งมี เงิ น ได การหัก ลดหย อนตาม (1) (ก) และ (ข) ให หัก ลดหย อ น รวมกันได 60,000 บาท”  ใหยกเลิกมาตรา 57 ตรี และ 57 เบญจ แหงประมวลรัษฎากร  ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 57 ฉ แหงประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 57 ฉ ในการเก็บภาษีเงินไดจากสามีและภริยานั้น ใหสามีและภริยาตางฝายตางมีหนาที่ยื่นรายการ เกี่ยวกับเงินไดพึงประเมินที่ตนไดรับในระหวางปที่ลวงมาแลวตามมาตรา 56  สํานักนโยบายภาษี 

2 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

ในกรณีที่เงินไดพึงประเมินไมอาจแยกไดอยางชัดเจนวาเปนของสามีหรือภริยาแตละฝายจํานวนเทาใด ใหถือ เปนเงินไดพึงประเมินของสามีและภริยาฝายละกึ่งหนึ่ง เวนแตเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (8) สามีและภริยาจะแบง เงินไดพึงประเมินเปนของแตละฝายตามสวนที่ตกลงกันก็ได แตรวมกันตองไมนอยกวาเงินไดพึงประเมินที่ไดรับ ถาตกลง กันไมได ใหถือเปนเงินไดพึงประเมินของสามีและภริยาฝายละกึ่งหนึ่ง สามีและภริยาจะตกลงยื่นรายการและเสียภาษีรวมกัน โดยใหถือเงินไดพึงประเมินของตนเปนเงินไดของสามี หรือภริยาอีกฝายหนึ่งก็ได หรือจะแยกยื่นรายการและเสียภาษีเฉพาะสวนที่เปนเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (1) โดยมิไดถือเอาเปนเงินไดของอีกฝายหนึ่งก็ได แตถามีภาษีคางชําระ สามีและภริยาตองรวมกันรับผิดในการเสียภาษีที่คาง ชําระนั้น เมื่อไดเลือกยื่นรายการตามวรรคสองและวรรคสามในปภาษีใดแลว ใหถือเปนวิธีการยื่นรายการสําหรับ ปภาษีนั้นตลอดไป เวนแตอธิบดีจะอนุมัติใหเปลี่ยนแปลงวิธีการเลือกยื่นรายการดังกลาว”

 สํานักนโยบายภาษี 

3 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

การปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนต 3 คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ อ นุ มั ติ ห ลั ก การร า งประกาศกระทรวงการคลั ง เรื่ อ ง ลดอั ต ราและยกเว น ภาษี ส รรพสามิ ต (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และใหสงคณะกรรมการตรวจสอบรางกฎหมายและรางอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แลวดําเนิน การต อไปได โดยการปรับปรุงโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนตดังกลาวไดพิจารณาจากอัตราการปลอย กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ของรถยนต อยางไรก็ดี เพื่อใหเกิดความเปนธรรมและโปรงใส กระทรวงการคลั ง จึงไดกําหนดใหมีชวงระยะเวลาในการปรับตัวของผูประกอบการรถยนต โดยโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนตที่เสนอ ดังกลาวกําหนดใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 เปนตนไป ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้  ประเภท คุณลักษณะของรถยนต และอัตราภาษี 2

ประเภทรถยนต

ความจุกระบอกสูบ (ซีซี) ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000

ปริมาณการปลอย CO2 (กรัม/กม.) ไมเกิน 150 เกิน 150 แตไมเกิน 200 เกิน 200

อัตราภาษีตามมูลคา (รอยละ) 30 35 40

2. รถยนตนั่ง E85 และรถยนต ที่ใชเชื้อเพลิงประเภทกาซธรรมชาติ ที่ติดตั้งในโรงงานอุตสาหกรรม (NGV-OEM)

ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000

ไมเกิน 150 เกิน 150 แตไมเกิน 200 เกิน 200

25 30 35

3. รถยนตแบบผสมที่ใชพลังงาน เชื้อเพลิงและไฟฟา (Hybrid Electric Vehicle)

ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000 ไมเกิน 3,000

ไมเกิน 100 เกิน 100 แตไมเกิน 150 เกิน 150 แตไมเกิน 200 เกิน 200

10 20 25 30

1. รถยนตนั่ง และรถยนต โดยสารที่มีที่นั่งไมเกิน 10 คน

3

(1) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 มีมติเห็นชอบหลักการปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนตตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ โดยไดมอบหมายให 3 หนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน และกระทรวงอุตสาหกรรม ไปหารือรวมกัน และใหได ขอสรุปภายใน 3 เดือน นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรียังไดมอบหมายใหกระทรวงคมนาคมไปศึกษาแนวทางการปรับโครงสรางภาษีรถยนตประจําป เพื่อให สอดคลองกับการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดอยางเปนรูป ธรรมในอีก 3 ป โดยแนวทางในการปรับโครงสรางภาษีรถยนตทั้ง ระบบครั้ง นี้ เปน การ ดําเนินการเพื่อสงเสริมนโยบายประหยัดพลังงาน ความปลอดภัย ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด และสนับสนุนพลังงานทดแทน (2) การประชุม คณะรัฐ มนตรี เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 มีมติเห็นชอบการเสนอขอขยายระยะเวลาการพิจารณาปรับโครงสรา งภาษี สรรพสามิตรถยนตออกไปกอนเพื่อใหไดขอสรุปที่ชัดเจนรวมกันระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของตามที่กระทรวงการคลังเสนอ โดยกระทรวงการคลังรายงานวา ไดดําเนินการพิจารณาปรับโครงสรางภาษีรถยนตรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ (กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพลังงงาน) แลว และอยูระหวางรอ ความชัดเจนดานนโยบายจากกระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพลังงาน (3) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหกระทรวงการคลังขยายเวลาการพิจารณาปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิต รถยนตออกไปอีก 4 เดือนนับตั้งแตวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เปนตนไป (4) เหตุผลในการนําเสนอรางประกาศดังกลาว เพื่อเปนการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตใหสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยียานยนตของโลก ซึ่งคํานึงถึง การประหยัดพลังงาน สิ่งแวดลอม และประสิทธิภาพของรถยนต ตลอดจนเพื่อแกไขปญหาการบิดเบือนโครงสรางภาษีสรรพสามิตรถยนต จากนโยบายการสงเสริมการใชพลังงานทดแทน และเพื่อสรางความเปนธรรมในการจัดเก็บภาษีรถยนต

 สํานักนโยบายภาษี 

4 / 10


Monthly Tax Update ประเภทรถยนต 4. รถยนตกระบะที่ไมมีพื้นที่ ใสสัมภาระดานหลังที่นั่งคนขับ (No Cab) 5. รถยนตกระบะที่มีพื้นที่ ใสสัมภาระดานหลังที่นั่งคนขับ (Space Cab) 6. รถยนตนั่งที่มีกระบะ (Double Cab) 7. รถยนตนั่งกึ่งบรรทุก (Pick-up Passenger Vehicle: PPV)

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

ความจุกระบอกสูบ ปริมาณการปลอย CO2 อัตราภาษีตามมูลคา (ซีซี) (กรัม/กม.) (รอยละ) ไมเกิน 3,250 ไมเกิน 200 3 ไมเกิน 3,250 เกิน 200 5 รถยนตกระบะที่มีคุณลักษณะนอกเหนือจากขางตน จัดเก็บอัตราตามมูลคารอยละ 18 ไมเกิน 3,250 ไมเกิน 200 5 ไมเกิน 3,250 เกิน 200 7 ไมเกิน 3,250 ไมเกิน 3,250 ไมเกิน 3,250 ไมเกิน 3,250

ไมเกิน 200 เกิน 200 ไมเกิน 200 เกิน 200

12 15 25 30

 สําหรับรถยนตที่มีคุณลักษณะนอกเหนือจากขอ 1.- 7. ขางตน ใหจัดเก็บภาษีดังนี้

(1) รถยนตในขอ 1. – 3. หากมีความจุของกระบอกสูบเกิน 3,000 ซีซี จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 50 (2) รถยนตในขอ 4. – 7. หากมีความจุของกระบอกสูบเกิน 3,250 ซีซี จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 50 (3) รถยนตแบบพลังงานไฟฟา (Electric Powered Vehicle) และรถยนตแบบเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell Powered Vehicle) จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 10 (4) รถยนต Eco Car จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 17 ทั้งนี้ รถยนต Eco Car ที่ปลอย CO2 ไมเกิน 100 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บภาษีในอัตรารอยละ 14 และ รถยนต Eco Car ที่ใชเชื้อเพลิงประเภทเอทานอล ไมนอยกวารอยละ 85 เปนสวนผสมกับน้ํามันเชื้อเพลิงได และปลอย CO2 ไมเกิน 100 กรัม/กิโลเมตร จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 12 (5) รถยนตนั่งดัดแปลงซึ่งมีคุณลักษณะตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังประกาศกําหนด (5.1) ที่ ดั ด แปลงโดยผู ดั ด แปลงที่ ป ระกอบกิ จ การเป น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ต ามที่ รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงการคลังประกาศกําหนด (5.1.1) ที่มีความจุของกระบอกสูบไมเกิน 3,250 ซีซี จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 3 (5.1.2) ที่มีความจุของกระบอกสูบเกิน 3,250 ซีซี จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 50 (5.2) ที่ดัดแปลงโดยผูดัดแปลงทั่วไป จัดเก็บภาษีจากมูลคาสวนตอเติมหรือดัดแปลง อัตราภาษีตามมูลคา เชนเดียวกับรถยนตนั่ง (6) รถยนตนั่งสามลอ และรถยนตนั่งที่ผลิตขึ้นโดยใชเครื่องยนตของรถจักรยานยนตขนาดไมเกิน 250 ซีซี จัดเก็บอัตราตามมูลคา รอยละ 5 (7) รถยนตนั่งหรือรถยนตโดยสารที่มีที่นั่งไมเกิน 10 คน ที่ใชเปนรถพยาบาลของสวนราชการ โรงพยาบาล หรือองคการสาธารณกุศลตามหลักเกณฑ เงื่อนไข และจํานวนที่อธิบดีประกาศกําหนด ใหไดรบั การยกเวนภาษี

 สํานักนโยบายภาษี 

5 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

 กําหนดใหรถยนตที่มีประเภทและคุณลักษณะดังตอไปนี้ มีมาตรฐานความปลอดภัย (Active Safety) ตามที่

อธิบดีประกาศกําหนดเปนมาตรฐานบังคับ ไดแก (1) รถยนตนั่งหรือรถยนตโดยสารที่มีที่นั่งไมเกิน 10 คน รถยนต E85 และรถยนต NGV-OEM ที่มีความจุ ของกระบอกสูบไมเกิน 3,000 ซีซี และมีปริมาณการปลอย CO2 ต่ํากวา 150 กรัม/กิโลเมตร (2) รถยนต Hybrid ที่มีขนาดความจุของกระบอกสูบไมเกิน 3,000 ซีซี และมีปริมาณการปลอย CO2 ต่ํากวา 100 กรัม/กิโลเมตร (3) รถยนต PPV ที่มีความจุของกระบอกสูบไมเกิน 3,250 ซีซี และมีปริมาณการปลอย CO2 ต่ํากวา 200 กรัม/กิโลเมตร (4) รถยนต Eco Car ที่ปลอย CO2 ไมเกิน 100 กรัม/กิโลเมตร และรถยนต Eco Car ที่ใชเชื้อเพลิงประเภท เอทานอล ไมนอยกวารอยละ 85 เปนสวนผสมกับน้ํามันเชื้อเพลิงได และปลอย CO2 ไมเกิน 100 กรัม/กิโลเมตร  อัตราภาษีดังกลาวขางตน ไมใหใชบังคับสําหรับผูประกอบอุตสาหกรรมที่ผลิตรถยนตจากอุปกรณหรือชิ้นสวน ที่ใชแลว  มอบหมายให ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมกํ า หนดแนวทางให ผู ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมรถยนต แ ละผู นํ า เข า รถยนตทุกประเภทตองติดปายแสดงการประหยัดพลังงานและปริมาณการปลอย CO2  มอบหมายใหกระทรวงคมนาคมศึกษาแนวทางการปรับโครงสรางภาษีรถยนตประจําปเพื่อใหสอดคลองกับภาษี สรรพสามิตรถยนตตอไป 4 3

รางพระราชกฤษฎีกาใหนําราคาปานกลางของที่ดินที่ใชอยูในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ ประจําป พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2524 มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2556 พ.ศ. .... 5 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาใหนําราคาปานกลางของที่ดินที่ใชอยูในการประเมินภาษี บํารุงทองที่ ประจําป พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2524 มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2556 พ.ศ. .... และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเปนเรื่องดวน แลวดําเนินการตอไปได โดยรางพระราชกฤษฎีกา ดังกลาวมีสาระสําคัญ ดังนี้  พระราชกฤษฎีกามีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เปนตนไป  กําหนดใหนําราคาปานกลางของที่ดินที่ใชอยูในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ประจําป พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2524 ที่ ใชในการประเมิ น ภาษี บํ า รุ งท องที่ สําหรับ ป พ.ศ. 2555 มาใชในการประเมิน ภาษีบํา รุงทองที่ สําหรับ ป พ.ศ. 2556 4

4

การจัดเก็บภาษีคาธรรมเนียมรถยนตประจําปของกรมการขนสงทางบก กระทรวงมหาดไทย กําหนดใหรถยนตที่มีการครอบครองตามพระราชบัญญัติ การขนสงทางบก พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. 2522 จัดเก็บภาษีรถยนตตามอายุการใชงาน ซึ่งหากมีระยะเวลาในการครอบครอง เกินกวา 6 ปขึ้นไป จะไดรับการลดหยอนภาษี ซึ่งขัดตอหลักการจัดเก็บภาษีจากปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซต (CO2) เนื่องจากรถยนตที่มี การใชงานระยะยาวจะปลอย CO2 ในอัตราที่สูงกวารถยนตใหม ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการพิจารณาแนวทางการปรับอัตราภาษีการครอบครองรถยนต ใหเหมาะสมซึ่งควรที่จะสะทอนถึงการใชงานของรถยนตกับการปลอย CO2 ที่แทจริง เพื่อลดปญหาการปลอยกาซเรือนกระจกและภาวะโลกรอนตอไป 5 เหตุผลของการนําเสนอรางพระราชกฤษฎีกาดังกลาว กระทรวงมหาดไทยเสนอวา โดยที่มาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติกําหนดราคาปานกลางของที่ดิน สําหรับการประเมินภาษีบํารุงทองที่ พ.ศ. 2529 กําหนดใหนําราคาปานกลางของที่ดินที่ใชอยูในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ประจําป พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2524 ซึ่งใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2529 มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2530 และในปตอๆ ไป ตามที่จะไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนด แตเนื่องจากการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บภาษีบํารุงทองที่ใหเหมาะสมแกสภาพการณในปจจุบัน ยังไมแลวเสร็จ จึงเห็นควรใหนําราคาปานกลางของที่ดินที่ใชอยูในการประเมินภาษีบํารุงทองที่ประจําป พ.ศ. 2521 ถึง พ.ศ. 2524 ซึ่งใชในการประเมิน ภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2555 มาใชในการประเมินภาษีบํารุงทองที่สําหรับป พ.ศ. 2556 ดวย

 สํานักนโยบายภาษี 

6 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

มาตรการขยายระยะเวลาปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซล 6 คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ ห็ น ชอบร า งประกาศกระทรวงการคลั ง เรื่ อ ง ลดอั ต ราภาษี ส รรพสามิ ต (ฉบั บ ที่ ..) ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และใหดําเนินการตอไปได ซึ่งรางประกาศดังกลาวมีสาระสําคัญ ดังนี้  ให ขยายระยะเวลาการปรั บลดอัตราภาษีน้ํ ามัน ดีเซลที่มี ปริ มาณกํามะถัน ไมเ กิน รอยละ 0.005 โดยน้ํา หนั ก ในอัตราภาษี 0.005 บาทตอลิตร และน้ํามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมันผสมอยูไมนอยกวา รอยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทตอลิตร ออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึง วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2556 5

หมายเหตุ มาตรการขางตนมีผลบัง คับใชตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 105) ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555

6

(1) คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554 เห็นชอบการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลที่มีปริมาณกํามะถันไมเกินรอยละ 0.035 โดยน้ําหนัก และน้ํามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมันผสมอยูไมนอยกวารอยละ 4 ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศกําหนด จากเดิมลิตรละ 5.310 บาท และ 5.040 บาท ตามลําดับ ใหลดลงเหลือ 0.005 บาท โดยใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 (2) ตอมาคณะรั ฐ มนตรีไดมีม ติเ มื่อวัน ที่ 13 กัน ยายน พ.ศ. 2554 เห็น ชอบการขยายระยะเวลาการปรับ ลดอัต ราภาษีส รรพสามิต น้ํา มัน ดีเ ซล ตามมาตรการดังกลาวออกไปอีก 3 เดือน คือ ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 (3) การประชุม คณะรัฐ มนตรีเมื่อวัน ที่ 27 ธัน วาคม พ.ศ. 2554 มีม ติเห็น ชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีส รรพสามิต น้ํา มันดีเซล ตามมาตรการดังกลาวออกไปอีก 1 เดือน คือ ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2555 (4) การประชุม คณะรัฐมนตรีเมื่อวัน ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555 มีม ติเห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับ ลดอัตราภาษีส รรพสามิต น้ํา มันดีเซล ตามมาตรการดังกลาวออกไปอีก 1 เดือน คือ ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 (5) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวัน ที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 มีม ติเห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซล ตามมาตรการดังกลาวออกไปอีก 1 เดือน คือ ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 (6) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหปรับปริมาณคากํามะถันของน้ํามันดีเซลจากเดิมที่มีปริมาณกํามะถันเกินและ ไมเกินรอยละ 0.035 โดยน้ําหนัก เปน ที่มีปริมาณกํามะถันเกินและไมเกินรอยละ 0.005 โดยน้ําหนัก รวมทั้งใหปรับลดอัตราภาษีน้ํามันดีเซลที่มีปริมาณ กํามะถันไมเกินรอยละ 0.005 โดยน้ําหนัก และน้ํามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอรของกรดไขมันผสมอยูไมนอยกวารอยละ 4 ในอัตราตาม ปริมาณลิตรละ 0.005 บาท ออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2555 (7) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลตามมาตรการ ในขอ (6) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (8) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (7) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555 (9) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (8) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 (10) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (9) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (11) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (10) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 (12) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (11) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2555 (13) การประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลในขอ (12) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 (14) การประชุมคณะรัฐ มนตรีเมื่อวัน ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาการปรับ ลดอัต ราภาษีส รรพสามิต น้ํา มันดีเซล ในขอ (13) ขางตนออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

 สํานักนโยบายภาษี 

7 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2555 การขยายระยะเวลามาตรการสําหรับเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต 7 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ เห็นชอบ และรับทราบ ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. อนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และเห็นชอบในหลักการรางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเรียกเก็บคาธรรมเนียมจดทะเบียน สิทธิและนิติกรรมตามกฎหมายวาดวยอาคารชุด กรณีการโอนและการจํานองหองชุดตามมาตรการสนับสนุนเขตพัฒนา พิ เ ศษเฉพาะกิ จ ตามหลั กเกณฑ ที่ ค ณะรั ฐ มนตรี กํา หนด และร า งประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อ ง การเรี ย กเก็ บ คาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน กรณีการโอนและการจํานองอสังหาริมทรัพยตาม มาตรการสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ตามหลักเกณฑที่คณะรัฐมนตรีกําหนด รวมจํานวน 2 ฉบับ และใหสง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได 2. เห็นชอบการขยายระยะเวลามาตรการชดเชยสวนตางเบี้ยประกันภัย ภายใตวงเงินงบประมาณปละ 20 ลานบาท โดยมอบหมายใหคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ดําเนินการตอไป 3. รับทราบผลการดําเนินการมาตรการสินเชื่อผอนปรนโดยธนาคารออมสินและโครงการพักชําระหนี้เกษตรกร รายยอยและประชาชนผูมีรายไดนอยที่มีหนี้คงคางต่ํากวา 500,000 บาท และแจงใหกระทรวงการคลังทราบตอไป ทั้งนี้ สาระสําคัญของรางกฎหมายที่เกี่ยวของ มีดังนี้ 6

7

เหตุผลและความจําเปนของการขยายระยะเวลาในแตละมาตรการ (1) เนื่องจากมาตรการภาษีและคาธรรมเนียมสนับสนุนเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจตามที่กําหนดไวในพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษ ฎากร (ฉบับที่ 492) พ.ศ. 2553 และประกาศกระทรวงมหาดไทยจะสิ้น สุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 กระทรวงการคลัง และกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทยจึงไดเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาขยายระยะเวลามาตรการดังกลาวออกไปอีก 2 ป จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต ป พ.ศ. 2555 - 2557 ที่จัดทําโดยศูนยอํานวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต ทั้งนี้ ผลของมาตรการภาษีและคาธรรมเนียมที่ผานมา ซึ่งเริ่มตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 จนถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 พบวาสงผลตอการจัดเก็บรายไดของรัฐบาลและองคกรปกครองสวนทองถิ่น แตทําใหผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดเพิ่มขึ้น (2) การขยายมาตรการชดเชยสวนตางเบี้ยประกันภัยภายใตวงเงินงบประมาณปละ 20 ลานบาท ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่ผานมามีการขอรับเงินชดเชยต่ํากวางบประมาณที่ไดรับ และผูเอาประกันภัยยังมีจํานวนไมมากหากเทียบกับจํานวนผูประกอบการจริงที่ดําเนินธุรกิจ ในพื้นที่ดังกลาว โดยตั้งแตเริ่มมาตรการเมื่อป พ.ศ. 2550 จนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 มีผูเอาประกันทั้งสิ้น 355 ราย จํานวนเงินที่ชดเชย รวมทั้งสิ้นประมาณ 44 ลานบาท กระทรวงการคลังจึงเห็นควรขยายระยะเวลามาตรการดังกลาวออกไปอีก 2 ป และเห็นควรใหคณะกรรมการกํากับและ สงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยพิจารณาเพิ่มการประชาสัมพันธใหมากขึ้นเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของมาตรการฯ และพิจารณาปรับ ปรุง กระบวนการในการอนุมัติคาชดเชยสวนตางเบี้ยประกันภัยแกผูประกอบการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น (3) มาตรการสินเชื่อผอนปรนโดยธนาคารออมสิน มีระยะเวลาการขอกูจนถึงวัน ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และที่ผานมาปริมาณการใชสินเชื่อ โดยเฉลี่ยภายใตโ ครงการดังกลา วอยูที่ป ระมาณรอยละ 60-70 ของวงเงินโครงการทั้งสิ้นจํานวน 25,000 ลา นบาท จึงเห็นควรใหสถาบัน การเงิน แตละแหงใชวงเงินที่ไดรับการจัดสรรจากธนาคารออมสินใหเต็มวงเงินกอน โดยกระทรวงการคลังจะติดตามความคืบหนาของโครงการกับธนาคารออมสิน เปนระยะ หากมีความจําเปนที่จะตองขอวงเงินโครงการเพิ่มเติมหรือขอขยายระยะเวลา กระทรวงการคลังจะพิจารณานําเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง (4) โครงการพักชําระหนี้เกษตรกรรายยอยและประชาชนผูมีรายไดนอยที่มีหนี้คงคางต่ํากวา 500,000 บาท มีกําหนดระยะเวลา 3 ป ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557 โดยเปดลงทะเบียนผูมีสิทธิเขารวมโครงการ ตั้งแตวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2555 ซึ่งลูกคาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) ที่อยูในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตเปนกลุมเปาหมายของ โครงการอยูแลว ดัง นั้น ลูกคา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในพื้นที่จัง หวัดชายแดนภาคใตที่ เขาโครงการพักชําระหนี้ฯ เงินตน ไมถึง 200,000 บาท ที่ไดลงทะเบียนเขารวมโครงการพักชําระหนี้ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 สามารถขยายระยะเวลาพักชําระ หนี้ไดจนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557 ทั้งนี้ มีผูเขารวมโครงการทั้งสิ้นจํานวน 35,846 ราย มูลหนี้ทั้งสิ้น 3,747 ลานบาท

 สํานักนโยบายภาษี 

8 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

 รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่..)

พ.ศ. .... กําหนดใหลดอัตราหรือยกเวนรัษฎากร ดังตอไปนี้ 1) ลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาและภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับผูมีเงินไดที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยู ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ในกรณีที่ไดรับเงินไดพึงประเมินจากการประกอบกิจการผลิตสินคา การขายสินคา หรือ การใหบริการ ณ สถานประกอบกิจการนั้น 2) ลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาและภาษีเงินไดนิติบุคคลที่มีเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูใน เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 3) ลดอั ต ราภาษี เ งิ น ได หั ก ณ ที่ จ า ย และคงจั ด เก็ บ ในอั ต ราร อ ยละ 0.1 ของเงิ น ได ซึ่ ง เป น ราคาขาย อสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 4) กําหนดใหผูมีเงินไดที่ไดรับเงินไดจากการขายอสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ซึ่งถูกหัก ภาษีเงินได ณ ที่จายแลว ไดรับยกเวนไมตองนําเงินไดดังกลาวมาคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินไดตามมาตรา 48 (1) (2) และ (4) แหงประมวลรัษฎากร 5) ลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ และคงจัดเก็บในอัตรารอยละ 0.1 สําหรับรายรับกอนหักรายจายใดๆ จากการ ขายอสังหาริมทรัพยเปนทางการคาหรือหากําไร ทั้งนี้ เฉพาะการขายอสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ที่ไดกระทําในระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557  รางประกาศกระทรวงมหาดไทย จํานวน 2 ฉบับ 1) กําหนดใหเรียกเก็บคาจดทะเบียนการโอนและคาจดทะเบียนการจํานองหองชุดรอยละ 0.01 สําหรับการ โอนหองชุดโดยการขาย แลกเปลี่ยน ให และการโอนโดยทางมรดกใหแกทายาท หรือการจํานองหองชุดที่ตั้งอยูในทองที่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลาเฉพาะในทองที่อําเภอจะนะ อําเภอเทพา อําเภอนาทวี และอํ า เภอสะบ า ย อย และจั งหวั ด สตู ล โดยใหใชบั งคับ ตั้ งแตวั น ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึง วัน ที่ 31 ธั น วาคม พ.ศ. 2557 2) กําหนดใหเรียกเก็บคาจดทะเบียนการโอนและคาจดทะเบียนการจํานองอสังหาริมทรัพยรอยละ 0.01 สําหรับการโอนอสังหาริมทรัพยโดยการขาย แลกเปลี่ยน ให และการโอนโดยทางมรดกใหแกทายาท หรือการจํานอง อสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูในทองที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลาเฉพาะในทองที่อําเภอจะนะ อําเภอเทพา อําเภอนาทวี และอําเภอสะบายอย และจังหวัดสตูล โดยใหใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

 สํานักนโยบายภาษี 

9 / 10


Monthly Tax Update

ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2555

ร า งพระราชกฤษฎี ก าออกตามความในประมวลรั ษ ฎากร ว า ด ว ยการกํ า หนดกิ จ การที่ ไ ด รั บ ยกเว น ภาษี ธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การกําหนดกิจการที่ไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะเพิ่มเติม) คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการกําหนดกิจการ ที่ไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การกําหนดกิจการที่ไดรับยกเวนภาษีธุรกิจเฉพาะเพิ่มเติม) ตามที่ กระทรวงการคลั ง เสนอ และให ส ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าตรวจพิ จ ารณา แล ว ดํ า เนิ น การต อ ไปได ซึ่งรางพระราชกฤษฎีดังกลาวมีสาระสําคัญ ดังนี้  กําหนดใหยกเวนภาษีธุ รกิจ เฉพาะสํา หรับ กิจการเยี่ ยงธนาคารพาณิชย ของบริษัท หรือ หางหุ นสว นนิติ บุคคล ตามมาตรา 91/2 (5) แหงประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ เฉพาะสวนที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยที่ไดรับในกรณีบริษัทหรือหางหุนสวน นิติบุคคลในเครือเดียวกันใหกูยืมเงินกันเอง กรณีบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนําเงินทุน เงินกูยืม เงินเพิ่มทุนหรือ เงินอื่นที่ เหลืออยูไปฝากธนาคารหรือซื้อตั๋วเงินของสถาบันการเงินอื่น และกรณีบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลไดมี ระเบียบเกี่ยวกับเงินกองทุนสะสมพนักงาน หรือทุนอื่นใดเพื่อพนักงาน และบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลนั้นไดนํา เงินกองทุนนี้ออกใหพนักงานที่เปนสมาชิกกูยืมเพื่อเปนสวัสดิการ 

ที่มา: สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

 สํานักนโยบายภาษี 

10 / 10


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.