Macro Views August 2013

Page 1

Macro Views August 2013


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ สู่ 50.3 HighLight : GDP สหร ัฐ Q2/56 ขยายต ัว 1.7% และด ัชนี PMI ยุโรป เดือน ก.ค. เพิม่ ขึน

Global:

■ สหรัฐ : ก.พาณิชย์เผย GDP ทีแ่ ท้จริง Q2/56 ขยายตัว 1.7% ซึง่ สูงกว่าทีค่ าดว่าจะขยายตัว 1.1% ซึง่ ปจั จัยหนึ่งทีท่ าํ ให้ FED อจจะ ชะลอมาตรการ QE เร็วขึน้ โดยคาดว่าอัตราการขยายตัวจะดีขน้ึ ในช่วงครึง่ ปีหลัง ■ ยุโรป: ดัชนี PMI เดือน ก.ค.เพิม่ ขึน้ สู่ 50.3 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี ทีด่ ชั นีอยู่เหนือระดับ 50 โดยได้รบั ปจั จัยหนุนจากการผลิต และคําสังซื ่ อ้ ใหม่ในขณะทีธ่ ุรกิจการส่งออกมีเสถียรภาพมากขึน้ : ยูโรสแตทเผยเงินเฟ้อเบือ้ งต้นของยูโรโซนในเดือน ก.ค.อยู่ท่ี 1.6% คงทีจ่ ากเดือน มิ.ย.ติดต่อกันเป็ นเวลา 6 เดือน ซึง่ ยังคงตํ่ากว่าเพดาน ที่ 2% ของธนาคารกลางยุโรป ■ อังกฤษ: ดัชนี PMI เดือน ก.ค. ขยายตัว 4 เดือนติดต่อกันไปสู่ 54.6 จาก 52.9 ในเดือน มิ.ย. ซึง่ ภาคการผลิตจะเป็ นปจั จัยช่วยผลักดัน เศรษฐกิจของอังกฤษทีก่ าํ ลังฟื้นตัวให้มคี วามแข็งแกร่งมากขึน้ ■ สเปน: ดัชนี PMI เดือนก.ค. ลดลงสูร่ ะดับ 49.8 จาก 50.0 ในเดือนมิ.ย. ส่วนผลผลิตของภาคการผลิตลดลงเล็กน้อย ทัง้ นี้ ดัชนีทต่ี ่าํ กว่า 50 แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมภาคการผลิตอยู่ในภาวะหดตัว ■ จีน : ดัชนี PMI เดือน ก.ค.ลดลง 2 เดือนติดต่อกันอยู่ท่ี 47.7 จาก 48.2 ในเดือน มิ.ย. เนื่องจากอุปสงค์ทงั ้ ในและต่างประเทศทีล่ ดลง ส่งผลให้คาํ สังซื ่ อ้ และการผลิตลดลง ซึง่ ตัวเลขดังกล่าวสวนทางกับ CFLP ทีภ่ าคการผลิตขยายตัวเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย โดยดัชนี PMI อยู่ท่ี 50.3 เพิม่ ขึน้ จากเดือน มิ.ย.ทีเ่ ป็ น 50.1 ■ เกาหลีใต้ : ดัชนี CPI เดือน ก.ค. ขยายตัว 1.4% เมื่อเทียบรายปี และ0.2% เมื่อเทียบรายเดือน เนื่องจากราคาสินค้าการเกษตรและ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมปรับตัวสูงขึน้

Thailand updates :

■ ก.พาณิชย์เผย ดัชนี CPI เดือน ก.ค. เพิ่มขึ ้น 2.00% (y-o-y) ในขณะดัชนี CPI เฉลีย่ 7 เดือนแรกของปี นี ้ขยายตัว 2.60% เนื่องจากราคา อาหารสดเริ่มลดลงเข้ าสูร่ ะดับปกติ รวมถึงการที่ภาครัฐยังคงมาตรการดูแลด้ านค่าครองชีพให้ แก่ประชาชน ทังนี ้ ้ ก.พาณิชย์เตรียมพิจารณาลด เป้าหมายอัตราเงินเฟ้ อปี นี ้จากปั จจุบนั ที่มีกรอบ 2.8-3.4% ต่อไป ■ เงินบาทปิ ดตลาด (1 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.29/31 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (1 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 123.95 จุด หรือ 0.80% ปิ ดที่ 15,623.49 จุด เพราะ FED มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ระยะ สัน้ ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 32.02 จุด หรือ 0.88% ปิ ดที่ 3,658.39 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 15.07 จุด 0.89% ปิ ดที่ 1,700.80 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (1 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิปิดลดลง 201.50 จุด หรือ 1.45% ปิ ดที่ 13,668.32 จุด เพราะเนื่องจากนักลงทุนเทขายหุน้ ก่อน ทราบผลการประชุมกําหนดนโยบาย FED ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 3.02 จุด หรือ 0.16% ปิ ดที่ 1,914.03 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 70.30 จุด หรือ 0.32 % ปิ ดที่ 21,883.66 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,437.51 จุด เพิม่ ขึน้ 14.37 จุด (+1.01%) เนื่องจากปจั จัยการเมืองเรื่อง การชุมนุมต่อต้านการร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมยังไม่มคี วามรุนแรงในช่วงนี้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ 0.5% และอ ัตราขยายต ัวเศรษฐกิจออสเตรเลียอยูท HighLight : ยอดการบริโภคสว่ นบุคคลเดือน มิ.ย.เพิม ่ ขึน ่ ี่ 2.5%

Global:

■ สหรัฐ : ก.พาณิชย์ รายงานยอดการบริโภคส่วนบุคคลเดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ 0.5% (m-o-m) โดยรายได้สว่ นบุคคลขยายตัวอยูท่ ่ี 0.3% โดยมียอด

ซือ้ สินค้าเพิม่ ขึน้ ในกลุ่มยานยนต์ ซึง่ เป็ นผลจากราคานํ้ามันเบนซินเพิม่ ขึน้ : ก.พาณิชย์เผยยอดสังซื ่ อ้ ภาคโรงงานเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 1.5% (m-o-m) อยูท่ ่ี 4.96 แสนล้านดอลลาร์ ตํ่ากว่าทีต่ ลาดคาด 2.3% โดยยอดสังซื ่ อ้ ที่ เพิม่ ขึน้ ได้รบั แรงผลักดันจากยอดสังซื ่ อ้ เครือ่ งบินในภาคพลเรือนเพิม่ ขึน้ 32% : ตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 162,000 ตําแหน่ง โดยมีอตั ราว่างงานลดลง 7.4% ซึง่ ตัวเลขจ้างงานยังตํ่ากว่าทีต่ ลาดคาด จะเพิม่ ขึน้ 175,000 ราย เนื่องจากภาษีทส่ี งู ขึน้ กับการลดค่าใช้จ่ายส่งผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ ทัง้ นี้บริษทั เอกชนจ้างงานเพิม่ ขึน้ 161,000 ตําแหน่ง โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจค้าปลีก บริการด้านอาหาร ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจค้าส่ง ■ ออสเตรเลีย: ก.คลัง คาดอัตราขยายตัวเศรษฐกิจอยูท่ ่ี 2.5% ปี 56-57 ซึง่ ลดลงจากคาดที่ 2.75% ซึง่ ทําให้อตั ราว่างงานจะเพิม่ ขึน้ 6.25% ซึง่ เป็ นผลจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในภาคเหมืองแร่และพลังงานปรับตัวลดลง โดยรัฐบาลคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวขึน้ ระดับ 3% ปี 57-58 ■ จีน : CFLP รายงานดัชนี PMI ภาคบริการปรับตัวขึน้ มาอยูท่ ่ี 54.1 จุด เดือน ก.ค. จาก 53.9 จุด เดือน มิ.ย. ซึง่ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับ ดัชนีภาคการผลิตทีเ่ พิง่ ประกาศไปก่อนหน้านี้ ซึง่ เป็ นสัญญาณทีด่ ตี ่อเศรษฐกิจช่วงครึง่ ปีหลัง ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลคาดอัตราขยายตัวของเศรษฐกิจปีงบการเงิน 56 เป็ น 2.8% จากเดิม 2.5% และอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มปรับเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 0.5% ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกนับตัง้ แต่ปีงบการเงิน 2551 โดยระบุนโยบายอาเบะโนมิคส์จะช่วยกระตุน้ ผูบ้ ริโภคใช้จ่ายมากขึน้ และทําให้เศรษฐกิจฟื้นตัว ■ อิ นโดนี เซีย: GDP Q2/56 เพิม่ ขึน้ 5.81% ซึง่ ลดลง 6.02% (q-o-q) เนื่องจากการลงทุนชะลอตัวลง ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อปรับตัวขึน้ และการ อ่อนค่าของเงินรูเปียห์ ทัง้ นี้ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจในปีน้ลี งสู่ ระดับ 5.8-6.2% จากก่อนหน้าที่ คาดว่าจะขยายตัวได้ 6.6%

Thailand updates :

■ สบน. เผยยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 พ.ค. 56 จํานวน 5,177,034.68 ล้านบาท หรือร้อยละ 44.13 ของ GDP เพิม่ ขึน้ สุทธิ 22,281.06 ล้านบาท (m-o-m) โดยเป็ นหนี้ของรัฐ 3,609,170.92 ล้านบาท หนี้รฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็ นสถาบันการเงิน 1,065,687.09 ล้านบาท หนี้รฐั วิสาหกิจทีเ่ ป็ นสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํา้ ประกัน) 501,363.31 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอืน่ ของรัฐ 813.37 ล้านบาท ■ เงินบาทปิดตลาด (2 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.40/42 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets :

■ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (2 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 30.34 จุด หรือ 0.19% ปิดที่ 15,658.36 จุด เพราะ FED ตัดสินใจเดินหน้ามาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจต่อไปแทนการลดวงเงินซือ้ พันธบัตรอย่างทีน่ กั ลงทุนวิตกกังวล ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 13.85 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 3,689.59 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 2.80 จุด 0.16% ปิดที่ 1,709.67 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (2 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 460.39 จุด หรือ 3.29% ปิดที่ 14,466.16 จุด เพราะได้แรงหนุนจากสกุลเงินเยนทีอ่ ่อนค่าเมือ่ เทียบกับดอลลาร์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 0.35 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 2,029.42 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 102.18 จุด หรือ 0.46 % ปิดที่ 22,190.97 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,420.94 จุด ลดลง 16.57 จุด (-1.15%) เนื่องจากถูกกดดันจากปจั จัยการเมืองเรือ่ งการชุมนุมต่อต้าน การร่าง พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ทีจ่ ะมีการพิจารณาในวันที่ 7 ส.ค. 56 ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

้ สูร่ ะด ับ 50.5 ในรอบ 18 เดือน HighLight : ด ัชนี PMI ยูโรโซนเพิม ่ ขึน

Global:

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com

■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานเผย ตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรเดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ 162,000 ตําแหน่ง ตํ่ากว่าทีค่ าด 175,000 ราย ทําให้เกิดความ วิตกว่าการฟื้นตัวของเศรษฐกิจอาจชะลอตัวลง ■ ยุโรป: ภาคธุรกิจของยูโรโซนขยายตัวเป็ นครัง้ แรกในรอบ 18 เดือน โดยดัชนี PMI เพิม่ ขึน้ สู่ระดับ 50.5 ในเดือน ก.ค. จากระดับ 48.7 ในเดือน มิ.ย. ขณะทีย่ อดสั ่งซือ้ ใหม่ลดลงอีกครัง้ ในเดือนก.ค. แต่อตั ราการลดลงก็ต่ําทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือน ส.ค.54 ทัง้ นี้ PMI ของเยอรมนีและอังกฤษขยายตัวดีขน้ึ แต่ ดัชนี PMI ของสเปน อิตาลี ฝรั ่งเศส ยังคงหดตัวในอัตราทีช่ ะลอลง : ยอดค้าปลีกเดือนมิ.ย. ลดลง 0.5% หลังจากเพิม่ ขึน้ 1.1% (m-o-m) ชีเ้ ศรษฐกิจมีแนวโน้มเผชิญกับภาวะตกตํ่าเนื่องจากยอดค้าปลีกเป็ นปจั จัยชีว้ ดั ที่ สําคัญเกีย่ วกับอุปสงค์ในภาคเศรษฐกิจ ■ อังกฤษ: ดัชนี PMI เดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 60.2 จากระดับ 56.9 ในเดือนมิ.ย. ซึง่ ดัชนีทส่ี งู กว่า 50 แสดงว่าภาคบริการอยูใ่ นภาวะขยายตัว ■ เยอรมนี : ดัชนี PMI เดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ ที่ 51.3 สูงสุดในรอบ 5 เดือน จาก 50.4 ในเดือนมิ.ย. ได้รบั แรงหนุ นจากการเพิม่ ขึน้ ของคําสั ่งซื้อใหม่ และ การฟื้นตัวของการจ้างงาน ■ ฝรั ่งเศส: ดัชนี PMI เดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ ที่ 48.6 สูงสุดนับแต่เดือนส.ค.55 จากระดับ 47.2 ในเดือนมิ.ย. ทัง้ นี้ดชั นีต่าํ กว่าระดับ 50 เนื่องจากการจ้าง งานลดลงเดือน ก.ค. ■ อิ ตาลี: ดัชนี PMI เดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 48.7 เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 26 เดือน จาก 45.8 เดือนมิ.ย. แต่ยงั คงอยูใ่ นภาวะหดตัว เนื่องมาจาก ต้นทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงสุดในรอบ 15 เดือน และราคาผลผลิตทีล่ ดลงอย่างมาก ■ สเปน: ดัชนี PMI ในเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ ที่ 48.5 จาก 47.8 ในเดือนมิ.ย. โดยมีแนวโน้มทีม่ เี สถียรภาพมากขึน้ แต่ยงั คงอยู่ในภาวะหดตัว ■ ญี่ปนุ่ : ญี่ปนุ่ เตรียมเพิม่ รายการสินค้ายกเว้นภาษีสาํ หรับนักท่องเทีย่ วต่างชาติ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องสําอาง โดยนักท่องเทีย่ ว ต่างชาติ 58.2% ซือ้ ขนมหวาน อาหารชนิดอื่นๆ แอลกอฮอล์และบุหรี่ 51.4% ซือ้ ผลิตภัณฑ์ ส่วนอีก 38.5% ซือ้ เครื่องสําอางและผลิตภัณฑ์ดา้ นเภสัช กรรม ซึง่ ถือเป็ นส่วนหนึ่งของการปฏิรปู ภาษีปีงบประมาณ 57

Thailand updates :

■ กฟผ. เตรี ยมตัง้ กองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน (Infrastructure Fund) สําหรับโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ เพื่อระดมทุน 2 พันล้ าน ซึง่ คาดว่าจะได้ ข้อสรุ ปใน

เดือนส.ค.นี ้ ทังนี ้ ้ แผนการลงทุนของกฟผ.ในช่วง10ปี ข้ างหน้ า จะต้ องใช้ เงินรวมประมาณ 781,644 ล้ านบาท แบ่งเป็ นเงินกู้ 70% และเงินทุน 30% โดย เงินกู้จะมีการออกพันธบัตร และระดมเงินผ่านกองทุนรวมโครงสร้ างพื ้นฐาน ■ เงินบาทปิ ดตลาด (5 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.33/35 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อย จากตัวเลขเศรษฐกิจของต่างประเทศ

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (5 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 48.84 จุด หรือ 0.3% ปิ ดที่ 15,609.52 จุด เนื่องจากตลาดตอบรับรายงาน ดัชนี PMI สหรัฐยังคง ขยายตัวในเดือนก.ค. ดัชนี Nasdaq ลดลง 2.36 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 3,687.22 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 0.2 จุด หรือ 0.89% ปิ ดที่ 1,706.77 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (5 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 208.12 จุด หรือ 1.44 % ปิ ดที่ 14,258.04 จุด เพราะได้รบั แรงกดดันจากการแข็งค่าของเงินเยน ดัชนีเซีย่ ง ไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 21.06 จุด หรือ 1.04 % ปิ ดที่ 2,050.48 จุด ดัชนีฮ ั ่งเส็งเพิม่ ขึน้ 31.04 จุด หรือ 0.14% ปิ ดที่ 22,222.01 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,424.31 จุด เพิม่ ขึน้ 3.37 จุด (+0.24 %) เนื่องจากปจั จัยกดดันทางการเมืองในประเทศ ทําให้นักลงทุนชะลอการลงทุนเพื่อรอดูสถานการณ์ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : FED ด ัลล ัส ระบุอ ัตราว่างงานเดือน ก.ค. ลดลง 7.4%

Global:

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com

■ สหรัฐ : FED สาขาดัลลัส ระบุอตั ราว่างงานลดลง 7.4% เดือน ก.ค. ซึง่ FED มีแนวโน้มจะลดขนาดการซือ้ สินทรัพย์ ซึ่งคาดว่าอยู่ระหว่างการ พิจารณาเวลาทีเ่ หมาะสมในการเริม่ ลดปริมาณการซือ้ : ก.พาณิชย์ เผยยอดส่งออกเดือนมิ.ย. เพิม่ ขึน้ 2.2% อยูท่ ่ี 1.9117 แสนล้านดอลลาร์ ส่วนยอดนํ าเข้าลดลง 2.5% อยูท่ ่ี 2.2540 แสนล้านดอลลาร์ ส่งผลให้ขาด ดุลการค้า 22.4% อยูท่ ่ี 3.422 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึง่ ยอดนํ าเข้าลดลงอาจส่งผลต่ออุปสงค์และการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจ : ก.พาณิชนย์ เผย ตัวเลขขาดดุลการค้าในมิ.ย. ลดลงมาที่ 22.4% (34,200 ล้านดอลลาร์) น้อยสุด นับแต่ต.ค.52 ■ อังกฤษ: ราคาบ้านเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 4.6% (y-o-y) มากทีส่ ดุ ในรอบ 3 ปี แสดงถึงการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจ : สมาคมค้าปลีก รายงานยอดค้าปลีกรวมเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 3.9% จาก 2.9% เดือน มิ.ย. ซึง่ ช่วยหนุนให้เศรษฐกิจฟื้นตัวในช่วง Q3/56 ■ เยอรมนี : คําสั ่งซือ้ ภาคการผลิตของเพิม่ ขึน้ 3.8% เดือน มิ.ย. (m-o-m) ทัง้ นี้ คําสั ่งซือ้ ภาคการผลิตเดือน พ.ค. ถูกปรับลดลง 0.5% จากเดิมที่ รายงานว่าลดลง 1.3% ■ อิ ตาลี: สํานักงานสถิติ เผย GDP Q2/56 ลดลง 0.2% (q-o-q) และลดลง 2.0% (y-o-y) ซึง่ ลดลงน้อยกว่าทีค่ าดเป็ นไตรมาสที่ 8 ติดต่อกัน ■ ออสเตรเลีย: ธ.กลางประกาศลดอัตราดอกเบีย้ ลงสู่ระดับตํ่าสุดที่ 2.5% เนื่องจากเศรษฐกิจภายในประเทศและทั ่วโลกมีแนวโน้มซบเซา ขณะทีอ่ ตั รา เงินเฟ้อยังอยูใ่ นระดับตํ่า ■ จีน: ภาคอุตสาหกรรมโลจิสติกส์มอี ตั ราการเติบโตลดลง โดยดัชนีรวมของภาคอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ เดือน ก.ค. ลดลงที่ 52.4 ซึง่ ลดลง 0.7% จาก เดือนก่อน ลดลงติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 เป็ นผลจากการขนส่งทางเรือทีซ่ บเซา และการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์สงู เกินไป ■ ญี่ปน: ุ่ ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรมเหล็ก และเหล็กกล้า เดือน ก.ค.ขยายตัวที่ 52.5 ซึง่ เป็ นการขยายตัวครัง้ ที่ 2 นับตัง้ แต่ช่วงต้นปี ทผ่ี ่านมา ■ เกาหลีใต้: เศรษฐกิจของประเทศยังขยายตัวเล็กน้อย ขณะการสร้างงานมีมากถึง 360,000 ตําแหน่ ง เดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนที่ 265,000 ตําแหน่ง ส่วนราคาผูบ้ ริโภคเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 1.4% (y-o-y) แม้วา่ ราคาสินค้าเกษตรและนํ้ ามันจะปรับตัวสูงขึน้

Thailand updates :

■ รมว.คลัง เผยประชุมครม. มีมติเห็นชอบมาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4 ด้ าน ได้ แก่ 1.มาตรการด้ านการบริโภคภาคเอกชน 2. มาตรการด้ านการลงทุนภาคเอกชน 3.มาตรการด้ านการใช้ จ่ายภาครัฐ และ 4.มาตรการด้ านการส่งออก โดยคาดว่าจะช่วยผลักดันให้ GDP เติบโต เพิ่มอีก 1% จากที่เดิมคาด 4 - 4.5% ■ เงินบาทปิดตลาด (6 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.39/41 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงเล็กน้อย จากความกังวลสถานการณ์การเมืองในประเทศ

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน ้ นิวยอร์ก (6 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง

ลดลง 82 จุด หรือ 0.5% ปิดที่ 15,530 จุด เพราะสหรัฐเผยยอดขาดดุลการค้าลดลงเกินคาดใน เดือนมิ.ย. ดัชนี Nasdaq ลดลง 10 จุด หรือ 0.3% ปิดที่ 3,683 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 5 จุด หรือ 0.3% ปิดที่ 1,702 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (6 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 143.02 จุด หรือ 1.00% ปิดที่ 14,401.06 จุด เพราะนักลงทุนซือ้ หุน้ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ หลังราคา หุน้ ในกลุ่มพลังงานตกตํ่า ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 10.02 จุด หรือ 0.49% ปิดที่ 2,060.50 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 298.31 จุด หรือ 1.34% ปิด ที่ 21,923.70 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,429.39 จุด เพิม่ ขึน้ 5.08 จุด (+0.36%) เนื่องจากความกดดันจากปจั จัยทางการเมืองในประเทศ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ครม. ของไทยมีมติเห็ นชอบมาตรการกระตุน ้ GDP ตามทีก ่ ระทรวงการคล ังเสนอ

Global :

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com

สหรัฐ : ยอดขาดดุลการค้าของสหรัฐลดลง 22.4 % จาก 4.41 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือน พ.ค. สู่ 3.422 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือน มิ.ย. ซึง่ ถือเป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือน ต.ค. 2009 สะท้อนภาคการค้าสหรัฐทีม่ ที ศิ ทางดีขน้ึ UK : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (ONS) ของอังกฤษรายงานว่า ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของอังกฤษเพิม่ ขึน้ มากเกินคาดใน เดือน มิ.ย. และพุ่งขึน้ มากทีส่ ดุ ในรอบกว่า 2 ปี จากแรงผลักดันของภาคการผลิต ซึง่ เป็ นสัญญาณแข็งแกร่งอีกตัวทีส่ ะท้อนเศรษฐกิจ กําลังขยายตัวมากขึน้ โดยผลผลิตในภาคอุตสาหกรรมโดยรวม ซึง่ มีสดั ส่วนคิดเป็ น 1 ใน 6 ของเศรษฐกิจอังกฤษ พุ่งขึน้ 1.1%ใน เดือนมิ.ย. ซึง่ สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 0.6% อิ ตาลี : รายงาน 2Q56 GDP ถดถอยต่อเนื่อง แต่ดกี ว่าคาด เป็น -0.2%q-q (Vs 1Q56 -0.6%q-q และคาดการณ์ของตลาดที่ 0.4%q-q) แสดงถึงเศษฐกิจอิตาลีใกล้ผ่านจุดตํ่าสุดแล้ว โดยคาดว่าจะรายงานเติบโตเป็ นบวกได้ใน 4Q56F (คาดทัง้ ปี -1.8%y-y จาก ปี 55 ลดลงกว่า 2%) ญี่ปุ่น : ผลสํารวจคาดว่าธนาคารกลางญีป่ ุน่ (BOJ) จะตรึงนโยบายการเงิน ในการประชุมทบทวนนโยบายในวันที่ 7-8 ส.ค.นี้ ขณะที่ มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) และมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจจะส่งผลบวกต่อเศรษฐกิจอย่างค่อยเป็ นค่อยไป ทัง้ นี้ BOJ คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจของญีป่ นุ่ จะกระเตือ้ งขึน้ ซึง่ เป็ นการปรับเพิม่ มุมมองเศรษฐกิจเป็ นเดือนที่ 7 ติดต่อกัน Emerging Market: ผลสํารวจเผยกิจกรรมทางธุรกิจของกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ หดตัวลงเป็ นครัง้ แรกในรอบกว่า 4 ปี ในเดือน ก.ค. โดยมีสาเหตุหลักมาจากการร่วงลงของภาคการผลิต ขณะทีภ่ าคบริการชะลอตัว ผลสํารวจดังกล่าวสะท้อนถึงความแตกต่างมาก ขึน้ ระหว่างกิจกรรม ทางเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว และกลุ่มประเทศเกิดใหม่ ซึง่ ทําให้เกิดความไม่แน่ใจต่อการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลกอย่างยังยื ่ นจากวิกฤติการเงิน สหรัฐ : วิตก QE3 ทีจ่ ะถูกลดขนาดลง โดยประธานเฟดสาขาแอตแลนตากล่าวว่า เฟดอาจจะเริม่ ต้น ปรับลดขนาด QE ในเดือน ก.ย. แต่อาจจะรอนานกว่านัน้ ถ้าหากเศรษฐกิจสหรัฐไม่ได้เติบโตขึน้ ตามคาดในช่วงครึง่ ปีหลัง และนายชาร์ลส์ อีแวนส์ ประธานเฟด สาขาชิคาโกกล่าวว่า เฟดอาจจะปรับลดขนาด QE ลงในช่วงต่อไปในปี น้ี และอาจจะปรับลดขนาด QE ในเดือน ก.ย.

Thailand : คลังเร่งออกแผนกระตุ้นเศรษฐกิ จ-ครม.เห็นชอบมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ โดยนายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง เปิ ดเผยว่า ทีป่ ระชุม ครม. วันที่ 7 ส.ค. มีมติเห็นชอบมาตรการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมี เสถียรภาพ 4 ด้าน ทีค่ รอบคลุมทัง้ การบริโภค การลงทุนภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐ และการกระตุน้ การส่งออก ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ โดยคาดว่าหลังจากออกมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจทัง้ 4 มาตรการแล้ว จะช่วยผลักดัน GDP ปี น้ใี ห้เติบโต เพิม่ อีก 1% จากเดิมทีค่ าดว่าจะเติบโตราว 4-4.5% พ.ร.บ.นิ รโทษกรรม-ประธานวิปพรรคร่วมรัฐบาล เผยว่าการประชุมสภาผูแ้ ทนราษฎร ในวันที่ 7 ส.ค.นี้ จะเป็ นการพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) นิรโทษกรรม ในขัน้ รับหลักการวาระแรกเท่านัน้ จะไม่มกี ารพิจารณาสามวาระรวดอย่างแน่นอน เนื่องจาก ต้องการเปิ ดโอกาสให้ฝา่ ยค้านได้ตรวจสอบรายละเอียด เนื้อหาสาระ ของร่างกฎหมายอย่างเต็มทีท่ งั ้ ในวาระแรก และ ในชัน้ กรรมาธิการ (กมธ.)วิสามัญ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ิ เชอ ื่ ผูบ ่ ออกเยอรม ันเดือน มิ.ย. เพิม ้ 5.9% และยอดสง ้ 0.6% HighLight : สน ้ ริโภคสหร ัฐเดือน มิ.ย. เพิม ่ ขึน ่ ขึน

Global :

สหรัฐ: ธ.กลาง รายงานสินเชื่อผูบ้ ริโภคเดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ 5.9% ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีล่ ดลง 7.5% (m-o-m) ส่วนสินเชื่อ ั ยผลักดันให้ หมุนเวียนลดลง 3.8% ขณะสินเชื่อประเภทไม่หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 10.0% ทัง้ นี้การทีส่ นิ เชื่อผูบ้ ริโภคเพิม่ ขึน้ จะเป็ นปจจั เศรษฐกิจขยายตัว เยอรมัน: ยอดส่งออกเดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ 0.6% เนื่องจากประเทศกลุ่มยูโรโซนซึง่ เป็ นคู่คา้ รายใหญ่ได้ฟ้ืนตัวจากภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย ออสเตรเลีย: สํานักงานสถิติ รายงานการจ้างงานเดือนก.ค. ลดลง 10,200 ตําแหน่ง เนื่องจากอุปสงค์ทล่ี ดลงทําให้บรรดานายจ้าง ตัดสินใจลดการจ้างงาน ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานเดือนก.ค.อยู่ทร่ี ะดับ 5.7% จีน: กรมศุลกากร เผยยอดส่งออกเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 5.1% จากระดับปี ทแ่ี ล้ว ส่วนการนําเข้าเพิม่ ขึน้ 10.9% ส่งผลให้จนี เกินดุล การค้า 1.78 หมื่นล้านดอลลาร์ ญี่ปุ่น: รัฐบาลระบุยอดบัญชีเดินสะพัดเกินดุล 6 เดือน ตัง้ แต่เดือน ม.ค.- มิ.ย. เพิม่ ขึน้ 0.6% (y-o-y) อยู่ทร่ี ะดับ 3.2114 ล้านล้านเยน โดย ได้แรงหนุนจากการขยายตัวของรายได้การลงทุนโดยตรง ซึง่ ช่วยชดเชยยอดขาดดุลการค้าทีเ่ ป็ นผลจากการนําเข้าเชือ้ เพลิงที่ เพิม่ ขึน้ เกาหลีใต้: ธ.กลางมีมติคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับ 2.5% เนื่องจากเศรษฐกิจมีการฟื้นตัวมากขึน้ ซึง่ เป็ นผลมาจากการใช้มาตรการ กระตุน้ ทางการเงินและการคลัง

Thailand :

ธปท.สังธนาคารตรวจละเอี ่ ยดปล่อยกูบ้ า้ น รถยนต์ โดยในQ2/56 มียอด NPL 2.63 แสนล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสก่อน 7,900 ล้านบาท สัดส่วน NPL ต่อสินเชื่อรวมอยู่ท2่ี .2% ขณะที่ NPL ของสินเชื่ออุปโภคและบริโภคภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ จาก 2% เป็ น 2.1% โดยในจํานวนนี้มี NPL จากสินเชื่อรถยนต์มากสุดจาก1.5% ในครัง้ ก่อนเป็ น1.7% ในQ2/56 ทัง้ นี้ ธนาคารพาณิชย์มกี ารกันเงินสํารอง เพิม่ มากขึน้ เพื่อรองรับความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจในอนาคต ส่งผลให้สดั ส่วนเงินสํารองเพิม่ ขึน้ เป็ น 162.5% เงินบาทปิ ดตลาด (8 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.34/36 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets : ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (8 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 48.07 จุด หรือ 0.31% ปิ ดที่ 15,470.67 จุด เพราะนักลงทุนวิตกว่า FED อาจจะ ลดขนาด QE ดัชนี Nasdaq ลดลง 11.76 จุด หรือ 0.32% ปิ ดที่ 3,654.01 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 6.46 จุด หรือ 0.38% ปิ ดที่ 1,690.91 จุด ตลาดหุน้ เอเชีย (8 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 219.38 จุด หรือ 1.59% ปิ ดที่ 13,605.56 จุด เพราะ ได้รบั แรงกดดันจากการแข็งค่า ของสกุลเงินเยน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 1.88 จุด หรือ 0.09% ปิ ดที่ 2,044.90 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 67.04 จุด หรือ 0.31% ปิ ด ที่ 21,655.88 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,447.16 จุด เพิม่ ขึน้ 17.17 จุด (+1.2%) เนื่องจากนักลงทุนคลายความกังวลต่อ สถานการณ์ทางการเมืองเกีย่ วกับ พรบ. นิรโทษกรรม ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

ิ ค้าคงคล ังภาคธุรกิจของสหร ัฐเดือน มิ.ย. ลดลง 0.2%และธนาคารพาณิชย์ในยุโรปปิ ดสาขา HighLight : สน 5,500 แห่ง

Global :

■ สหรัฐ: สต็อคสินค้าคงคลังภาคธุรกิจเดือน มิ.ย.ลดลง 0.2% ซึง่ เป็ นการลดลง 3 เดือนติดต่อกัน ทําให้บริษทั ต่างๆ จําเป็ นต้องเพิม่ สินค้า ในสต็อคเพิม่ ขึน้ เนื่องจากมีความต้องการสูงขึน้ ■ ยุโรป: ธ.กลาง เผยธนาคารพาณิชย์ในยุโรปปิ ดสาขา 5,500 แห่งในปี 55 (คิดเป็ น 2.5% ของจํานวนสาขาทีเ่ ปิ ดดําเนินงาน) เพื่อลด ต้นทุนการดําเนินงาน เนื่องจากผูบ้ ริโภคนิยมใช้บริการธุรกรรมการเงินผ่านระบบออนไลน์และโทรศัพท์เพิม่ ขึน้ ■ อังกฤษ: ยอดส่งออกเพิม่ ขึน้ สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ใน Q2/56 โดยได้ปจั จัยหนุนจาก demand นอกกลุ่มสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ดัชนี การผลิต บริการ และการก่อสร้างเพิม่ ขึน้ ในเดือน ก.ค. ซึง่ นับเป็นการส่งสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ■ ฝรังเศส: ่ ยอดขาดดุลการค้าเดือน มิ.ย. อยู่ท่ี 5.93 หมื่นล้านยูโร เพิม่ ขึน้ 4.6% (y-o-y) เนื่องจากฝรังเศสให้ ่ ความช่วยเหลือทางการเงิน 4.9 พันล้านยูโรแก่ ธ.เพื่อการลงทุนของยุโรปและกองทุนกลไกรักษาเสียรภาพยุโรป (ESM) ■ จีน: ยอดขายบ้านใหม่เดือน ก.ค. ลดลง 17% ที่ 5.165 แสนล้านหยวน (m-o-m) เนื่องจากนโยบายคุมเข้มด้านอสังหาริมทรัพย์ หลังจาก ยอดซือ้ เพิม่ ขึน้ อย่างมากในช่วงต้นปี ก่อนทีร่ ฐั บาลจะเริม่ ดําเนินนโยบาย ■ ญี่ปนุ่ : GDP ไตรมาส 2 ขยายตัว 2.6% โดยขยายตัวติดต่อกันมา 3 ไตรมาส จากแรงหนุนของยอดขายทีเ่ พอ่มขึน้ ของสินค้าหรูต่างๆ เช่น อัญมณี และการส่งออกก็ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 3% : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ก.ค. ลดลง 0.7% ซึง่ ลดลงต่อเนื่อง 2 เดือนสูร่ ะดับ 43.6 โดยยังคงตํ่ากว่า 50 เนื่องจากผูบ้ ริโภคมีความ วิตกกังวลราคาของทีใ่ ช้ในชีวติ ประจําวันจะแพงขึน้ ■ สิ งคโปร์: สิงคโปร์ปรับคาดการณ์ GDP ปี น้ีเป็ น 2.5%-3.5% จากเดิม 1%-3% หลังจาก Q2/56 เศรษฐกิจขยายตัว 3.8% ซึง่ สูงสุดในรอบ 3 ปี เนื่องจากความแข็งแกร่งในอุตสาหกรรมการเงินของสิงคโปร์

Thailand :

■ ธปท. คุมเข้มการปล่อยสินเชือ่ อุปโภคบริโภค เนื่องจากสัญญาณการค้างชําระหนี้ในสินเชื่อเช่าซือ้ รถยนต์เพิม่ สูงขึน้ มียอดคงค้าง 260,000 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8,800 ล้านบาท ธนาคารได้กนั สํารองเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดย Q2/56 มีการ กันเงินทุนสํารองเพิม่ ขึน้ 29,000 ล้านบาท ทําให้ธนาคารพาณิชย์มเี งินทุนสํารองอยูท่ ่ี 15.7% เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินหากเศรษฐกิจชะลอตัว ■ เงินบาทปิ ดตลาด (9 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.18/20 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (9 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 72.81 จุด หรือ 0.47 % ปิ ดที่ 15,425.51 จุด เนื่องจากนักลงทุนมีความวิตกกังวลว่าFED อาจชะลอมาตรการ QE ดัชนี Nasdaq ลดลง 9.01 จุด หรือ 0.25% ปิ ดที่ 3,660.11 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 6.06 จุด หรือ 0.36% ปิ ดที่ 1,691.42 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (9 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 95.76 จุด หรือ 0.70% ปิ ดที่ 13,519.43 จุด เพราะญีป่ ุน่ เผย GDP Q2/56 ขยายตัวตํ่ากว่า คาดการณ์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 3.26 จุด หรือ 0.17% ปิ ดที่ 1,880.71 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 151.68 จุด หรือ 0.70% ปิ ดที่ 21,807.56 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,432.25 จุด ลดลง 14.91 จุด (-1.03%) เนื่องจากนักลงทุนมีความกังวลเกีย่ วกับสถานการณ์ทางการเมืองใน เรื่อง พรบ. นิรโทษกรรม ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

่ ออกอ ังกฤษ Q2/56 เพิม ้ 0.2% และยอดการสง ้ 4.9% HighLight : ยอดค้าปลีกสหร ัฐเดือน ก.ค. ปร ับขึน ่ ขึน

Global :

■ สหรัฐ: ยอดค้าปลีกเดือน ก.ค. ปรับขึน้ 0.2% จากทีเ่ พิม่ 0.6% ในเดือนก่อน ตํ่ากว่าคาด 0.3% สะท้อนผูบ้ ริโภคระมัดระวังการใช้จ่าย มากขึน้ และราคาสินค้านําเข้า เดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 0.2% จากทีล่ ดลง 0.4% ในเดือนมิ.ย. ถือเป็นการเพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกในรอบ5เดือน เนื่องจาก ต้นทุนนํ้ามันเพิม่ สูงขึน้ แต่ยงั คงตํ่ากว่าคาดทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ 0.8% : ก.การคลังเผยยอดขาดดุลงบประมาณเดือนก.ค. อยู่ท่ี 9.76 หมื่นล้านดอลลาร์ และมียอดค่าใช้จ่ายทัง้ หมด 2.976 แสนล้านดอลลาร์ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิติ เผยดัชนีCPI เดือนก.ค.ขยายตัว 1.9% (y-o-y) จากอัตรา 1.8% ในเดือนก่อน ปรับตัวขึน้ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 3 โดยราคาสินค้าประเภทอาหารในเดือนทีแ่ ล้ว เพิม่ ขึน้ 5.7% (y-o-y) ซึง่ เป็ นปจั จัยให้อตั ราเงินเฟ้อรายปี สงู สุดนับตัง้ แต่ปลายปี 2555 ■ อังกฤษ: สนง.สถิตเิ ผยดัชนี CPI เดือนก.ค.ลดลงที่ 2.8% (y-o-y) ลดลงจากอัตรา 2.9% ในเดือนมิ.ย. ซึง่ สร้างแรงกดดันต่ออํานาจซือ้ ของ ผูบ้ ริโภค ส่วนดัชนี PPI เดือนก.ค. ขยายตัว 2.1% (y-o-y) จากอัตรา 2.0% ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากแรงกดดันเงินเฟ้อทีจ่ ะเกิดขึน้ ใน อนาคต ในขณะทีย่ อดการส่งออกQ2/56 สูงทีส่ ดุ โดยเพิม่ ขึน้ 4.9% (1.22แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) จากดีมานด์นอกกลุ่มอียู : สถาบันผูส้ าํ รวจทีไ่ ด้รบั อนุญาต(RICS) เผย ดัชนีราคาบ้าน เดิอน ก.ค. เพิม่ สูงขึน้ มากสุดในรอบกว่า6ปี สูร่ ะดับ+36 จาก+21ในเดือนก่อน ■ ญี่ปน: ุ่ นายกอาเบะ กําลังพิจารณาปรับลดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ซึง่ ปจั จุบนั อยู่ท่ี 38% เพื่อชดเชยแรงกดดันจากการปรับขึน้ VAT และ เพื่อกระตุน้ การลงทุนของต่างชาติ : ก.เศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรม รายงานการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนมิ.ย. ลดลง 3.1% (m-o-m) นับว่าลดลงครัง้ แรกในรอบ 5 เดือน โดยยอดสังซื ่ อ้ เครื่องจักรพืน้ ฐานเดือนมิ.ย.ลดลง2.7% จากเดือนก่อน ดัชนีการผลิตของโรงงานและเหมืองอยูท่ ่ี 94.7 ดัชนีการขนส่ง ภาคอุตสาหกรรมลดลง 3.2% โดยตัวเลขข้อมูลการผลิตยารักษาโรคและชิน้ ส่วนเครื่องบิน เป็ นปจั จัยหลักทีช่ ่วยหนุนให้มกี ารปรับเพิม่ ตัวเลข การผลิตภาคอุตสาหกรรม

Thailand :

■ กบง. มีมติปรับเพิม่ อัตราเงินส่งเข้ากองทุนนํ้ามันเชือ้ เพลิงดีเซล 0.40 บาท/ลิตร จากเดิมจัดเก็บเข้ากองทุนฯ 0.90 บาท/ลิตร เป็ น 1.30 บาท/ลิตร ซึง่ ยังคงทําให้ราคาขายปลีกนํ้ามันดีเซลอยู่ทไ่ี ม่เกิน 30 บาท/ลิตร ครัง้ นี้จะทําให้กองทุนฯมีรายรับเพิม่ ขึน้ จากเดิมประมาณ 55 ล้านบาท/วัน เป็ นประมาณ 77 ล้านบาท/วัน ■ เงินบาทปิ ดตลาด (13 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.24/26 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าตามค่าเงินภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (13 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 29.89 จุด หรือ 0.19% ปิ ดที่ 15,449.57 จุด เนื่องจากตัวเลขยอดค้าปลีกของสหรัฐ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 6.31 จุด หรือ 0.17% ปิ ดที่ 3,676.26 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 3.16 จุด หรือ 0.19% ปิ ด ที่ 1,692.63 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (13 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 347.57จุด หรือ 2.57% ปิ ดที่ 13,867 จุด เพราะเงินเยนอ่อนค่าเมื่อเทียบกับดอลลาร์ สหรัฐ ซึง่ ทําให้กลุ่มบริษทั ผูส้ ง่ ออกมีรายได้ทแ่ี ข็งแกร่งมากขึน้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 4.88 จุด หรือ 0.23% ปิ ดที่ 2,106.16 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 161.55 หรือ 0.73% ปิ ดที่ 22,432.83 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,459.08 จุด เพิม่ ขึน้ 26.83 จุด (+1.87 %) เนื่องจากปจั จัยในสถานการณ์การเมืองค่อนข้างสงบยังไม่มเี หตุการณ์ใดๆ เข้ามากระทบตลาด ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 15 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL RESEARCH : QE Tapering สหร ัฐ : ผลต่อตลำดหุน ้ และตลำดส่งออก ื่ มน HighLight : ด ัชนีควำมเชอ ่ ั ต่อสภำพเศรษฐกิจของเยอรม ันอีก 6 เดือนข้ำงหน้ำลดลงมำอยูท ่ ี่ - 25.5 ้ ที่ 0.0%-0.1% ระด ับตำ ่ สุดในปี นี้ และ BOJ ตรึงอ ัตรำดอกเบีย

Global: ■ สหรัฐ: ดัชนี PPI ในเดือนก.ค. ยังทรงตัวอยูท่ ร่ี ะดับเดิมหลังจากเพิม่ ขึน้ 0.8% ในเดือนมิ.ย. ขณะทีด่ ชั นี PPI พืน้ ฐาน ไม่นบั รวมหมวด อาหารและพลังงานทีม่ คี วามผันผวนสูง เพิม่ ขึน้ 0.1% (m-o-m) หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.2% ในเดือนมิถุนายน ต่ากว่าคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ 0.3% ■ ยุโรป: ยูโรสแตท รายงาน GDPของยูโรโซน Q2/56 ขยายตัว 0.3% จากไตรมาสก่อนหน้าซึง่ หดตัวลง 0.3% และ หดตัว 0.7% (y-o-y) ในขณะที่ อียู GDP Q2/56 ขยายตัว 0.3% เทียบกับไตรมาสแรก และปรับตัวลง 0.2% (y-o-y) ■ เยอรมนี : ดัชนีความเชื่อมันต่ ่ อสภาพเศรษฐกิจในอีก 6 เดือนข้างหน้าของนักลงทุนและนักวิเคราะห์ลดลงมาอยู่ท่ี - 25.5 ซึง่ เป็ นระดับ ต่าสุดในปี น้ี จาก -19.6 ในเดือนก.ค. โดยภาคการส่งออกอาจได้รบั ผลกระทบมากทีส่ ดุ จากวิกฤตหนี้ยโุ รปทีย่ ดื เยือ้ และเศรษฐกิจโลกทีช่ ะลอ ตัว : Destatis รายงาน GDP Q2/56 ขยายตัว 0.7% จากไตรมาสก่อนหน้า สูงกว่าคาดที่ 0.6% จากแรงหนุนของอุปสงค์ภายในประเทศ ■ อังกฤษ: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รายงาน จานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงาน เดือนก.ค. ลดลง29,200 ราย มากกว่าคาดอยู่ท่ี 1.44 ล้าน ราย ในขณะทีเ่ ดือนมิ.ย.ปรับลดลง 29,400 ราย ส่วนอัตราว่างงานใน Q2 ยังทรงตัวที่ 7.8% : อัตราเงินเฟ้อในเดือนก.ค. ชะลอตัวลงเล็กน้อยทีร่ ะดับ 2.8% จากระดับ2.9% ในเดือนมิ.ย. ซึง่ ยังสูงกว่าเป้าทีธ่ นาคารกลางตัง้ ไว้ท่ี 2.0% ■ จีน: รัฐบาลจีนวางแผนลดกาลังการผลิตส่วนเกินในประเทศลงให้เร็วกว่าแผนการเดิม 1 ปี ขณะเดียวกันก็จะกระตุน้ การใช้จ่ายในด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึน้ เพือ่ รักษาระดับการเติบโตของเศรษฐกิจ โดยจะดาเนินการให้ลุล่วงภายในสิน้ ปี 57 จากแผนเดิมทีจ่ ะ ดาเนินการ 5 ปี สน้ิ สุดในปี 58 โดยจะลดการผลิตในโรงงานในประเทศทีล่ า้ สมัย ■ ญี่ปน: ุ่ BOJ ตรึงอัตราดอกเบีย้ ที่ 0.0%-0.1% และยังคงจะซือ้ สินทรัพย์ 70 ล้านล้านเยนเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็ นไปได้สงู ที่ ั จะได้รบั ผลกระทบรุนแรงจากปญหาหนี ้ยุโรป

Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ รายงาน ยอดธุรกิจทีย่ ่นื ขอจดทะเบียนจัดตัง้ กิจการใหม่ในเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 14% หรือ 6,403 ราย สูงสุดเป็ นอันดับ ที่ 3 ในรอบ 111 ปี นบั ตัง้ แต่มกี ารรับจดทะเบียนนิตบิ ุคคล โดยกิจการทีจ่ ดั ตัง้ มากสุดคือ บริการด้านวิทยุและโทรทัศน์ 602 ราย รองลงมา เป็ นก่อสร้างอาคารทัวไป ่ และอสังหาริมทรัพย์ ขณะทีใ่ นเดือนก.ค.มีธุรกิจจดทะเบียนเลิกกิจการ 1,400 ราย ลดลง 0.1% (y-o-y) ■ เงินบาทปิ ดตลาด (14 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.33/34 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวตามค่าเงินในภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (14 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 31.33 จุด หรือ 0.20% ปิ ดที่ 15,451.01 จุด เนื่องจาก FED อาจจะยังไม่ลดขนาด โครงการซือ้ สินทรัพย์หรือมาตรการ QE ในการประชุมเดือนก.ย.นี้ ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 14.49 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 3,684.44 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 4.69 จุด หรือ 0.28% ปิ ดที่ 1,694.16 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (14 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 183.16 จุด หรือ 1.32% ปิ ดที่ 14,050.16 จุด เพราะการฟื้นตัวของเศรษฐกิจทัวโลก ่ หลังจากมีรายงานข้อมูลเศรษฐกิจแข็งแกร่ง ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 47.34 จุด หรือ 1.02% ปิ ดที่ 4,699.73 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 269.85 หรือ 1.21% ปิ ดที่ 22,541.13 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,460.63 จุด เพิม่ ขึน้ 1.55 จุด (+0.11 %) เนื่องจากเนื่องจากความกังวล เกีย่ วกับการเมืองในประเทศ และการลดขนาดมาตรการ QE ของสหรัฐ หรือ 0.31% ปิ ดที่ 21,900.96 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,456.68 จุด ลดลง 44.68 จุด (-2.98 %) เหตุจากนักลงทุนกังวลปญั หาทางการเมือง จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


Macroeconomic Policy Bureau

GLOBAL RESEARCH :

ฉบับที่ 21 ประจาวันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

QE Tapering ลดเงินอ ัดฉีดในสหร ัฐ : แล้วไทยจะได้อะไร ?

มาตรการ QE หรือ Quantitative Easing เรียกอีกอย่างว่า “มาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ” คือหนึ่งในนโยบายทางการเงิน เพื่ออัดฉีดเม็ดเงินเข้า สูร่ ะบบเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลจะเข้าไปซือ้ สินทรัพย์ของสถาบันการเงิน และจะให้สถาบันทางการเงินปล่อยกูใ้ ห้ภาคเอกชนต่อไป เพื่อกระตุ้นให้ ประชาชนในประเทศมีการใช้จา่ ยมากขึน้ ซึง่ เป็ นมาตรการภาคต่อในกรณีท่ี “มาตรการปรับลดอัตราดอกเบีย้ ” ไม่สามารถกระตุน้ การบริโภคและลงทุน ได้เท่าทีค่ วร โดยในสหรัฐ นัน้ ได้เริม่ นา QE มาใช้เพื่อบรรเทาปญั หาวิกฤต sub-prime ในปี 2551 เป็ นต้นมา โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ได้ ดาเนินมาตรการมาอย่างต่อเนื่องนับตัง้ แต่ QE1, QE2 เรื่อยมาถึงปจั จุบนั ทีเ่ รียกว่า QE3 ทีถ่ ูกนามาใช้เมื่อก.ย.2555 ส่งผลให้เกิดสภาพคล่องที่ เพิม่ ขึน้ ผ่านการซือ้ ตราสารทางการเงินต่างๆ และการอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสูร่ ะบบเศรษฐกิจสหรัฐกว่า 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ/เดือน ผลจากการประชุม Fed ล่าสุด ทีแ่ ม้จะยังคงมีมติคงอัตราดอกเบีย้ Fed Funds ไว้ทก่ี รอบเดิม (ร้อยละ 0.00-0.25) และคงวงเงินการเข้าซือ้ พันธบัตรภายใต้ มาตรการ QE ไว้ท่ี 8.5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ/เดือนตามเดิม แต่ Fed ได้สง่ สัญญาณว่า อาจจะมีการยกเลิกมาตรการ QE ในระยะเวลาอันใกล้ ตามถ้อยแถลงทีน่ ายเบน เบอร์ นันเก้ ประธาน Fed โดยจะเริม่ ทยอยลดวงเงินการเข้าซื้อพันธบัตรภายใต้มาตรการ QE (QE tapering) ในช่วงปลายปี 2556 นี้ และจะดาเนินการต่อเนื่องตลอดช่วงครึง่ แรกของปี 2557 และอาจสามารถยุตมิ าตรการ QE ได้ในช่วงกลางปี 2557 เนื่องจาก Fed เล็งเห็นสัญญาณการฟื้นตัวบางอย่างของเศรษฐกิจสหรัฐ อาทิ ตัวเลขการใช้จา่ ย ผูบ้ ริโภค ณ ก.ค.2556 ปรับเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.8 ซึง่ เป็ นการเพิม่ ทีแ่ ข็งแกร่งทีส่ ุดในรอบ 5 เดือน รายได้สว่ นบุคคลของสหรัฐปรับตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.3 ในเดือน ก.ค. (มากกว่า เดือน มิ.ย. ทีเ่ พิม่ ขึน้ เพียงร้อยละ 0.2) อัตราการออมในเดือน ก.ค. ลดลงร้อยละ 5 (จาก เดือน มิ.ย. ทีร่ ะดับร้อยละ 5.5) สอดคล้องกับตลาดสินเชื่อของสหรัฐที่คกึ คักทิศทางเดียวกันกับตลาดอื่นๆ เช่นกัน โดยยอดใช้จา่ ยผ่านบัตรเครดิตใน สหรัฐในเดือน พ.ค. ปรับตัวสูงขึน้ อีกครัง้ ด้วยยอดการกูย้ มื เพิม่ ขึน้ จากเดือนก่อนหน้า 1.96 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ นับเป็ นการเพิม่ ขึน้ ของยอดการ กูย้ มื ทีส่ งู ทีส่ ดุ ในรอบกว่า 1 ปี แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมั ่นในการบริโภคและใช้จ่ายของชาวอเมริกนั ทีเ่ ริม่ แข็งแกร่งขึน้ 1 สอดคล้องกับอัตราการ ว่างงานของสหรัฐ ที่ Fed คาดว่าปรับตัวลงไปมีคา่ เฉลีย่ ประมาณร้อยละ 6.5-6.8 ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2557 และจะปรับลดลงอย่างต่อเนื่องไป ทีร่ อ้ ยละ 5.8-6.2 ในช่วงไตรมาส 4/2558 ขณะที่ เศรษฐกิจสหรัฐฯ อาจขยายตัวประมาณร้อยละ 3.0-3.5 ในปี 2557 และ 2.9-3.6 ในปี 2558 ซึง่ เป็ น ทิศทางทีส่ ะท้อนการฟื้นตัวจากปี 2556 ทีค่ าดว่าจะขยายตัวประมาณร้อยละ 2.3-3.6 อย่างไรก็ดี ท่ามกลางสภาวะข่าวดีของเศรษฐกิจสหรัฐ และท่าทีของ Fed ดังกล่าว กลับสร้างความผันผวนให้กบั นักลงทุนในตลาดหุน้ ไม่ น้อย เนื่องจากข้อกังวลในเรื่องของการเคลื่อนย้ายทุนจากเอเชียกลับไปสหรัฐ โดยหากพิจารณาตลาดหุน้ ไทยช่วงสัปดาห์น้ี (13-16 ส.ค.56) คาดว่าจะ มีการแกว่งตัว ในกรอบ 1,405 - 1,460 จุด นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาดัชนีหนุ้ ไทยเมื่อวันศุกร์ท่ี 9 ส.ค. ทีผ่ า่ นมา ก็แกว่งตัวในแดนลบตลอดทัง้ วันตาม แรงขายทากาไรก่อนวันหยุดยาว โดยลงไปต่ าสุดที่ 1,430.41 จุด ลดลง 16.75 จุด และปิ ดตลาดที่ 1,432.25 จุด สอดคล้องกับตลาดการเงินการลงทุน ทั ่วโลกทีม่ คี วามผันผวนเช่นกัน ทัง้ นี้ ปจั จัยทีท่ าให้เกิดความกังวลของนักลงทุนทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตลาดหุน้ ดังกล่าว เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา ราคาสินทรัพย์เสีย่ งปรับตัวเพิม่ ขึน้ จาก เม็ดเงิน QE ทีไ่ หลเข้าต่อเนื่อง ดังนัน้ สัญญาณการปรับลดและยุติ QE ของ Fed ดังกล่าว ส่งผลให้นกั ลงทุนต่างก็เทขายสินทรัพย์ต่างๆออกมาอย่าง ถ้วนหน้า เนื่องจากการหยุดมาตรการ QE จะทาให้เม็ดเงินไหลจากตลาดเกิดใหม่กลับเข้าไปยังสหรัฐ และยิง่ ในภาวะผันผวน นักลงทุนต่างก็หนั ไปถือ เงินสดเพื่อลดความเสีย่ ง จึงยิง่ ทาให้ตลาดหุน้ เกิดใหม่ในภาพรวมต่างก็ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี หลังจากทีก่ ระทรวงพาณิชย์สหรัฐได้เปิ ดเผยตัวเลข GDP ในไตรมาส 2 ของปี 2556 ว่ามีการเติบโตถึงร้อยละ 1.7 (สูงกว่าไตร มาสแรกทีข่ ยายตัวร้อยละ 1.1) ก็กลับทาให้บรรยากาศสถานการณ์ของเศรษฐกิจทั ่วโลกก็เริม่ กลับมาคึกคักอีกครัง้ เห็นได้จาก Weekly Fund Flow ในช่วง 1-7ส.ค.ทีแ่ รงซือ้ ต่างชาติเข้ามาเน้นตลาดหุน้ พัฒนาแล้ว และกลับมาขายตลาดหุน้ เกิดใหม่ ส่งผลให้ MSCI2 ตลาดหุน้ เอเชีย (ไม่รวมญี่ปนุ่ ) กลับมาเป็ นบวกร้อยละ 0.8 เนื่องจากนักลงทุนทั ่วโลกต่างคาดหวังว่า การฟื้นคืนของประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจของโลกอย่างสหรัฐจะสามารถ เกือ้ หนุนให้ภาวะเศรษฐกิจโลกในปจั จุบนั สลัดหลุดจากความซบเซาได้อย่างเด็ดขาด (รวมถึงก้าวเข้ามาเป็ นแรงขับเคลื่อนชดเชยกรณีทจ่ี นี มหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลกเริม่ มีปญั หากับการชะลอตัว) 1

การใช้จ่ายภาคครัวเรือนในสหรัฐเป็นพลังหลักในการผลักดันการเติบโตของสหรัฐ โดยภาคการบริโภคในประเทศมีสดั ส่วนประมาณร้อยละ 70 ของ GDP สหรัฐ MSCI หรือ Morgan Stanley Capital International อันเป็นชือ่ เต็มของบริษทั ทีจ่ ดั สร้างดัชนีน้ขี น้ึ มา โดยดัชนี MSCI หรือ MSCI Index เป็นดัชนีอา้ งอิง (benchmark) ทีถ่ ูกจัดทาขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผลู้ งทุนสถาบันทีล่ งทุนในภูมภิ าคต่างๆ ทัวโลก ่ ได้นามาใช้เป็ นมาตรฐานในการวัดผลตอบแทนในการลงทุน ของตนเองว่าเป็นอย่างไร ได้ผลตอบแทนดีหรือไม่ เมือ่ เทียบกับดัชนี MSCI 2

Source: Phatra Securities, “Clarifying Fed “thresholds”(7 August 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

GLOBAL RESEARCH :

ฉบับที่ 21 ประจาวันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

่ ออก QE Tapering สหร ัฐ : ผลต่อตลำดหุน ้ และตลำดสง

ทัง้ นี้ ท่ามกลางข่าวดีทส่ี หรัฐจะส่งสัญญาณฟื้นตัว แต่หากพิจารณาโดย ถ่องแท้แล้ว เอเชียและบรรดาประเทศกาลังพัฒนาต่างๆ กลับไม่ได้รบั อานิสงส์จาก การฟื้นตัวของสหรัฐเท่าทีค่ วร ยืนยันได้จากตัวเลขการเติบโตของภาคการส่งออก ของหลายประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ในไตรมาสทีส่ องของปี น้ีทโ่ี ดยเฉลี่ยปรับตัว ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า โดยการส่งออกของเอเชียไปยังสหรัฐในไตร มาสทีผ่ า่ นมาลดลงเฉลีย่ ร้อยละ 2.4 ซึง่ หากพิจารณาปจั จัยสาคัญทีส่ ง่ ผลให้อานิสงส์ ไม่ถงึ ภาคการส่งออกของเอเชีย พบว่ามี 2 ประการสาคัญ คือ 1) ภูมิภาคเอเชีย ขาดแรงดึงดูดเงิ นทุนจากต่างชาติ เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นๆ โดยเฉพาะในสหรัฐ เนื่องจากเศรษฐกิจของหลายประเทศในเอเชียขณะนี้ม ี แนวโน้มชะลอตัว ส่วนหนึ่งเพราะตลาดส่งออกสินค้าทีส่ าคัญอย่างสหรัฐและยุโรป ยังไม่ฟ้ืนตัวเต็มที่ ขณะทีก่ ารส่งออกไปยังจีน อีกหนึ่งตลาดส่งออกหลักของหลาย ประเทศในเอเชียก็เริม่ ซบเซาลงแล้วเช่นกัน จนทาให้การเติบโตของเอเชียชะงักไป และ 2) สหรัฐมุ่งเน้ นการใช้จ่ายไปที่ตลาดบ้านและ อสังหาริมทรัพย์ มากกว่าที่จะนาเข้าสิ นค้าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้ า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ และสิ นค้าอื่นๆ ทั ่วไป (ซึง่ เป็ นสินค้าส่งออกหลัก ของภูมภิ าคเอเชีย) สะท้อนจากยอดขายบ้านในสหรัฐ ณ มิ.ย.2556 ปรับเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.3 หรืออยูท่ ร่ี ะดับ 4.97 แสนยูนิต ซึง่ เป็ นระดับสูงสุด นับตัง้ แต่ พ.ค.2551 เป็ นต้นมา สอดคล้องกับรายงานการสารวจดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยซือ้ (PMI) ของเอเชียทีส่ ะท้อนให้เห็นคาสั ่งซือ้ สินค้าใหม่ทล่ี ดลง ดังนัน้ จะเห็นว่า ท่ามกลางสัญญานข่าวดีของเศรษฐกิจประเทศมหาอานาจอย่างสหรัฐ กลับไม่ใช่ข่าวดีเท่าทีค่ วรสาหรับประเทศในภูมภิ าคเอเชีย (รวมถึงประเทศไทย) จากผลของการเคลื่อนย้ายเงินทุนออกจากภูมภิ าคเอเชียและผลของโครงสร้างการบริโภคสหรัฐทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปจากเดิมลดการ นาเข้าสินค้าจากประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชีย ดังนัน้ ประเทศไทยจาเป็ นต้องปรับตัวและเดินหน้าปฏิรูปเศรษฐกิจให้ยนื ได้ดว้ ยลาแข้งตนเองอย่าง จริงมากขึน้ อาทิ เพิม่ การทาตลาดในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV) ทดแทนตลาดในกลุ่มประเทศคู่คา้ หลักเดิม (ยูโรโซน สหรัฐ จีน ญี่ป่นุ ) ทีม่ คี าสั ่ง ซือ้ ชะลอลง (ทัง้ ยุโรป สหรัฐ จีน ญี่ปนุ่ ) ทัง้ นี้ การเพิม่ การทาการตลาดดังกล่าวจะช่วยสร้างมูลค่าเพิม่ ให้สนิ ค้า และทาให้เกิดการพัฒนาสินค้าที่ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าในแต่ละประเทศดังกล่าว ทีม่ คี วามนิยมในสินค้าไทยเป็ นทุนเดิมอยู่แล้ว

Source: Phatra Securities, “Clarifying Fed “thresholds”(7 August 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 16 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL RESEARCH : ปฏิรูปภำษีทำงออกของ “สึนำมิกองหนี”้ ้ 0.2% และด ัชนีนก HighLight : ด ัชนี CPI ในสหร ัฐเดือน ก.ค.ปร ับเพิม ่ ขึน ิ เกอิลดลง 297.22 จุด จำกควำมก ังวล ทีร่ มว.คล ังญีป ่ ่น ุ ล ังเลทีจ ่ ะลดอ ัตรำภำษีนต ิ บ ิ ค ุ คล

Global: ■ สหรัฐ: ดัชนี CPI ในเดือนก.ค.ปรับเพิม่ ขึน้ 0.2% (m-o-m) จากราคาน้ ามันเบนซินทีเ่ พิม่ ขึน้ 1% และราคาอาหารเพิม่ ขึน้ 0.1% โดยการผลิตใน โรงงานปรับตัวลดลง 0.1% การผลิตในเหมืองแร่เพิม่ ขึน้ 2.1% เพิม่ ขึน้ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 4 ส่วนการผลิตด้านสาธารณูปโภคลดลง 2.1% ขณะที่ อัตราการใช้กาลังการผลิตเดือนก.ค. ลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 77.6% จาก 77.7% ในเดือนมิ.ย. : จานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ท่ี 10 ส.ค. ปรับตัวลดลง 15,000 ราย สูร่ ะดับ 320,000 ราย เป็ นระดับต่าสุดในรอบ 6 ปี และสวนทาง กับคาดว่า จะเพิม่ ขึน้ 5,000 ราย ■ ยุโรป: ECB ระบุ ธพ.ในยุโรปปี 55 ปิ ดสาขาลงมากถึง 5,500 แห่ง หรือ 2.5% จากจานวนสาขาทัง้ หมด ส่งผลให้ยอดรวมการปิ ดสาขาเพิม่ ขึน้ เป็ น 20,000 แห่ง นับตัง้ แต่เริม่ เข้าสู่วกิ ฤติการเงินในปี 51 โดยกรีซมียอดการปิ ดตัวสูงสุดที่ 5.7% ตามมาด้วย สเปน 4.9% ไอซ์แลนด์ 3.3% และอิตาลี 3.1% โดยอังกฤษเป็ นชาติทม่ี กี ารปิ ดธนาคารน้อยทีส่ ดุ แต่สถิตกิ ารปิ ดสาขายังคงต่ากว่าจานวน 7,200 แห่ง ทีป่ ิ ดในปี 54 ■ อังกฤษ: ยอดค้าปลีกในเดือนก.ค.ปรับเพิม่ ขึน้ 1.1% จากเดือนก่อน และ 3% จากปี ก่อน เป็ นการเพิม่ ขึน้ ติดต่อกันเดือนที่ 3 และเป็ นการเพิม่ ขึน้ ใน ทุกอุตสาหกรรมทัง้ ภาคบริการ การผลิต และการก่อสร้าง โดยอากาศทีร่ อ้ นกว่าปกติเป็ นปจั จัยสาคัญทีท่ าให้ยอดค้าปลีกปรับเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ ยอดขายอาหาร ■ ฝรั ่งเศส: Insee เผย GDP Q2/56 ขยายตัว 0.5 เทียบกับไตรมาสก่อนหน้า หลังจากทีห่ ดตัวลงในช่วง 2 ไตรมาสก่อนหน้านี้ ผลจากอุปสงค์ดา้ นการ ส่งออกทีไ่ ด้ช่วยหนุนการผลิตในภาคโรงงาน รวมทัง้ ความต้องการภายในประเทศทีแ่ ข็งแกร่งขึน้ ■ จีน: สานักงานพลังงานแห่งชาติ เผยการใช้ไฟฟ้าของจีน เดือนก.ค.เพิม่ ทีร่ ะดับ 4.95 แสนล้านกิโลวัตต์ช ั ่วโมง (kWh) เพิม่ ขึน้ 8.8% (y-o-y) ส่วน ปริมาณการใช้ไฟฟ้าทัง้ หมดในช่วง 7 เดือนแรกของปี น้ี เพิม่ ขึน้ 5.7% สูร่ ะดับ 2.990 ล้านล้าน kWh ■ ญี่ปน: ุ่ รมว.คลังญี่ปนุ่ แสดงความลังเลทีจ่ ะลดอัตราภาษีนิตบิ ุคคล ซึง่ ถือเป็ นการสกัดกระแสคาดการณ์ทว่ี า่ รัฐบาลญี่ปนุ่ อาจใช้มาตรการดังกล่าว เพื่อบรรเทาผลกระทบเชิงลบทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจจากการขึน้ ภาษีการขาย แต่มแี นวโน้มว่าจะพิจารณาเรื่องการลดอัตราภาษีเพื่อกระตุน้ การลงทุนใน

ภาคเอกชน ทัง้ นี้รมว.คลังญีป่ นุ่ ชีว้ ่าเนื่องจากมีบริษทั เพียง 30% ทีจ่ ่ายภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล จึงไม่คดิ ว่าการลดภาษีเงินได้นติ บิ ุคคลจะส่งผล บวกในทันที

Thailand updates : ■ ยอดขายรถยนต์ในไทยเดือน ก.ค. อยูท่ ่ี 9.8 หมื่นคัน ลดลง 25.4% (y-o-y) เป็ นระดับต่ากว่า 1 แสนคันเป็ นครัง้ แรกในรอบ 15 เดือน จากการส่ง มอบรถยนต์ในโครงการรถคันแรกทีห่ มดลง และความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อทีม่ ากขึน้ ของไฟแนนซ์ ขณะทีย่ อดผลิตรถยนต์ในเดือน ก.ค. อยูท่ ่ี 201,446 คัน ลดลง 6.45% และยอดส่งออกอยูท่ ่ี 82,710 คัน ลดลง 13.99% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (15 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.26/27 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อย 0.07 จากวันก่อน ตามค่าเงินในภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (15 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 113.35 จุด หรือ -0.73% ปิ ดที่ 15,337.66 จุด เนื่องจากความไม่ม ั ่นใจเกีย่ วกับมาตรการ QE หลังจากทีเ่ จ้าหน้าทีข่ องเฟดได้ออกมาส่งสัญญาทีแ่ ตกต่างกัน ดัชนี NASDAQ ลดลง 15.17 จุด หรือ -0.41% ปิ ดที่ 3,669.27 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 15.17 จุด หรือ -0.41% ปิ ดที่ 3,669.27 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (15 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 297.22 จุด หรือ 2.12% ปิ ดที่ 13,752.94 จุด เพราะได้รบั แรงกดดันจากเงินเยนทีแ่ ข็งค่า และการแสดง ความคิดเห็นในด้านลบจากเจ้าหน้าทีร่ ฐั บาลญี่ปนุ่ เกีย่ วกับข่าวการปรับลดภาษีนิตบิ ุคคล ดัชนีเซี่ยงไฮ้คอมโพสิตลดลง 18.26 จุด หรือ 0.87% ปิ ดที่ 2,081.88 จุด ดัชนีฮ ั ่งเส็งลดลง 1.88 จุด หรือ 0.01% ปิ ดวันนี้ท่ี 22,539.25 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดที่ 1,453.07 จุด ลดลง 7.56 จุด (-0.52%) จาก ปญั หาการเมือง และปญั หาอุทกภัยในหลายพืน้ ที่ ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 22 ประจาวันที่ 16 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : ปฏิ รปู ภาษี ทางออกของ “สึนามิ กองหนี้ ” ในขณะนี้ “ญี่ปน” ุ่ ประเทศเศรษฐกิ จยักษ์ใหญ่อนั ดับ 3 ของโลก ถูกจัดอันดับให้เป็ นประเทศที่แบกรับภาระหนี้ มากที่สดุ ในโลก โดยหนี้ สาธารณะของญี่ปนุ่ ณ สิ้ นเดือนมิ .ย. เพิ่ มสูงขึน้ ถึง 1,008 ล้านล้านเยน (10.4 ล้านล้านดอลลาร์) คิ ดเป็ น 2 เท่าของ GDP ทาลายสถิติสงู สุดเป็ นประวัติการณ์ ซึง่ ถือเป็ นการสันคลอนความ ่ เชือ่ มันที ่ ม่ ตี ่อนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี ชินโสะ อา เบะ ทีถ่ กู ขนานนามว่า "อาเบะโนมิกส์" ทีก่ าลังเริม่ ส่งผลบวกต่อ เศรษฐกิจของประเทศในช่วงต้นปีทผ่ี า่ นมา ส่งผลให้รฐั บาลแดนปลา ดิบไม่อาจเพิกเฉยต่อภาวะ “หนี้ท่วม” นี้ได้อกี ต่อไป โดยระดับหนี้ สาธารณะที่เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็วนัน้ เป็ นผลจาก การขาดดุลงบประมาณ ซึ่งสะสมมาตัง้ แต่ปี 34 ซึ่งเป็ นปี ที่ฟองสบูใ่ นภาคอสังหาริมทรัพย์ในญี่ปนแตก ุ่ อีกทัง้ ภาครัฐยังมีรายจ่าย ผูกพันที่เพิ่ มขึน้ อย่างต่อเนื่ อง โดยเฉพาะรายจ่ายด้านสวัสดิ การผูส้ งู อายุ เพื่อหลุดพ้นจาก “สึนามิ กองหนี้ ” ดังกล่าว นามาสู่ มาตรการปฏิ รปู ภาษี คือ การปรับเพิ่มภาษี การขาย (VAT) หรือที่ร้จู กั กันในญี่ปนในชื ุ่ ่อ “ภาษีการบริโภค” โดยจะปรับเพิ่มเป็ น 2 ระยะ คือ จากระดับเดิ ม 5 % เป็ น 8% ภายในเดือนเม.ย. ปี หน้ า และจากนัน้ จะปรับขึน้ อีกเท่าตัว เป็ น 10% ในปี 58 โดยภาษีการขายของญีป่ นุ่ ที่ 5% นี้ ถือเป็ นอัตราทีต่ ่ามากเมือ่ เทียบกับประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วทีเ่ ฉลีย่ 18% (อังกฤษ อยูท่ ่ี 20%) ซึง่ การปรับขึน้ ภาษีในครัง้ นี้ไม่นบั เป็ นครัง้ แรก เนื่องจากญีป่ นุ่ ได้เริม่ นามาตรการภาษีการขายมาใช้เริม่ ทีอ่ ตั รา 3% ในปี 32 และอัตราดังกล่าวได้ถกู ปรับขึน้ มาอยูท่ ่ี 5% ในปี 40 แต่ หลังจากนัน้ ไม่นานญีป่ นุ่ ก็ได้เข้าสูภ่ าวะถดถอย และภาวะเงินฝืดอย่างรุนแรง ทาให้การขึน้ ภาษีขาย ถูกกล่าวหาว่าเป็ นตัวการทีก่ ่อให้เกิดปญั หา ดังกล่าว และนับแต่นนั ้ ก็ไม่มรี ฐั บาลไหนอาจหาญแตะต้องเรือ่ งภาษีอกี เลย ซึง่ ในความเป็ นจริงสาเหตุสว่ นใหญ่มาจากแรงกดดันจากวิกฤต เศรษฐกิจทีร่ ุกรามทัวเอเชี ่ ย รวมไปถึงการถดถอยครัง้ แรกในสหรัฐฯ แต่อย่างไรก็ตามแม้การขึน้ ภาษี การขายอาจช่วยบรรเทาปัญหาหนี้ ได้ แต่ในทางกลับกันก็อาจเป็ นการบันทอน ่ “ความเชื่อมัน” ่ ทัง้ ทางการ บริ โภคของประชาชนและการลงทุนของภาคเอกชนลงได้ ผนวกกับ ความไม่แน่ นอนว่าการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิ จจะเป็ นไปได้อย่างต่อเนื่ อง หรือไม่ เนื่องจาก GDP ไตรมาสสองโตขึน้ 2.6% เมือ่ เทียบปีตอ่ ปี ซึง่ ต่ากว่าที่ หลายฝา่ ยประเมินไว้ 1% แม้วา่ ตัวเลขทีอ่ อกมาจะสูงกว่าการเติบโตเฉลีย่ ในช่วง 10 ปีทผ่ี า่ นมา แต่กย็ งั คงน้อยกว่าไตรมาสแรกของปี ซึง่ สะท้อนถึง เศรษฐกิจกิจญีป่ นุ่ ยังเปราะบางต่อปจั จัยแวดล้อม บีบให้อาเบะต้องพิ จารณา อย่างรอบคอบว่าควรปรับขึน้ ภาษี ตามที่รฐั บาลชุดก่อนวางแผนไว้ หรือไม่ หรือควรชะลอแผนการไปจนถึงฤดูใบไม้ร่วงในปี หน้ า จากเดิมที่ วางแผนไว้ในเดือน เม.ย. แม้วา่ แผนการขึน้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ จะผ่านสภาตัง้ แต่ปีทแ่ี ล้วก็ตาม และในขณะเดียวกันเพือ่ เป็ นการบรรเทาผลกระทบที่ จะเกิดจากการขึน้ ภาษีขาย 2 ระยะในปีหน้า นายอาเบะจึงได้มกี ารพิจารณาเกีย่ วกับการลดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ทีม่ อี ตั ราสูงถึง 38% ในปจั จุบนั เพือ่ เป็ นการลดภาระให้กบั บริษทั และเพือ่ เป็ นการดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในประเทศ ท้ายทีส่ ดุ นายอาเบะจะตัดสินใจอย่างไร ต้องรอจนถึงวันที่ 9 ก.ย.นี้ ซึง่ เป็ นการเรียกประชุมเพือ่ พิจารณาแผนการดังกล่าวเป็ นครัง้ สุดท้าย หลังจากทีม่ กี ารทบทวนตัวเลขการเติบโตไตรมาสสองอีกครัง้ โดยนักเศรษฐศาสตร์หลายคนยังคงหนุนให้อาเบะปรับขึน้ ภาษีตามแผนเดิม และ ส่วนใหญ่เห็นว่าควรขึน้ ภาษี แม้ GDP จะโตเพียง 1 - 2% แต่รฐั บาลควรพิจารณาทยอยปรับขึน้ ครัง้ ละ 1% เพือ่ ลดแรงกดดันทีจ่ ะเกิดขึน้ นอกจากนี้การขึน้ ภาษีขายตามแผนทีว่ างไว้จะช่วยเสริมความมันใจว่ ่ า รัฐบาลญีป่ นุ่ จริงจังกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ และไม่นิ่งนอนใจกับ ปญั หาหนี้สาธารณะ ซึง่ เป็ นประเด็นทีต่ ่างชาติให้ความสาคัญ ซึง่ หากนักลงทุนสูญเสียความเชือ่ มันต่ ่ อรัฐบาลแดนปลาดิบ อาจส่งผลให้อตั รา ผลตอบแทนพันธบัตรญีป่ นุ่ สูงขึน้ ได้ อันจะกระทบต่อมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณที่ BOJ ใช้อยูเ่ ป็ นการต่อไป... Source: The Hongkong and Shanghai Banking Corporation Limited (HSBC), “Japan must press ahead with tax reform” (14 August 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 19 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค

ั้ นำ 67% ใน HighLight : ด ัชนีควำมเชือ่ มน่ ั ผูบ ้ ริโภคของสหร ัฐเดือน ส.ค.ลดลงสู่ 80 จุด เป็นสถิตท ิ ต ี่ ำ ่ สุด และบริษ ัทชน ้ ภำษีกำรขำยในเดือน เม.ย.57 ญีป ่ ่ นเห็ ุ นด้วยก ับแผนขึน

Global : ■ สหรัฐ : รอยเตอร์ รายงาน ดัชนีความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ส.ค.ลดลงสู่ 80 จุด จาก 85.1 จุดในเดือนก่อน ซึง่ ถือเป็ นสถิตทิ ต่ี ่าทีส่ ดุ นับตัง้ แต่ ก่อนทีเ่ ศรษฐกิจสหรัฐจะถดถอย เนื่องจากอัตราดอกเบีย้ สูงขึน้ ในช่วงทีผ่ า่ นมา ทาให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้รบั ผลกระทบ : ประสิทธิภาพการผลิตนอกภาคการเกษตร Q2/56 เพิม่ ขึน้ 0.9% สูงกว่าคาด 0.3% สะท้อนให้เห็นถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจทีด่ ขี น้ึ และ GDP Q2/56 เพิม่ ขึน้ 1.7% จาก Q1/56 ทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.1% ■ ยุโรป : การส่งออกของยูโรโซนในเดือน มิ.ย. เพิม่ ขึน้ 3% จาก -2.6% ในเดือนก่อน เป็ นการกลับมาขยายตัวครัง้ แรกในรอบ 3 เดือนจากแรง หนุนในการส่งออกของเยอรมนีทข่ี ยายตัวถึง 6.3% และนาเข้าเพิม่ ขึน้ 2.5% จาก -2.1% ในเดือนก่อน ทาให้ยโู รโซนมียอดเกินดุลการค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็ น 14.9 พันล้านยูโร จาก 13.8 พันล้านยูโรในเดือนทีแ่ ล้ว ■ อังกฤษ : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ รายงานยอดค้าปลีกเดือนก.ค. ขยายตัว 1.1% (m-o-m) หลังจากขยับขึน้ เพียง 0.2%ในเดือนมิ.ย. สูงกว่า คาดทีข่ ยายตัว 0.7% โดยได้รบั แรงหนุนจากยอดขายสินค้าสาหรับฤดูรอ้ น เช่น เสือ้ ผ้าและอาหาร และยอดค้าปลีกเดือนก.ค.สูงขึน้ 3.0% (y-o-y) บ่งชีถ้ งึ การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่ง โดยธุรกิจค้าปลีกคิดเป็นสัดส่วนเกือบ 6% ของเศรษฐกิจโดยรวม ■ ญี่ปนุ่ : บริษทั ชัน้ นา 111 แห่งในญีป่ นุ่ 67% เห็นด้วยกับแผนขึน้ ภาษีการขายในเดือน เม.ย.57 ของรัฐบาล เนื่องจากจาเป็ นในการฟื้นฟูฐานะ การคลังของประเทศ ในขณะทีท่ ป่ี รึกษานายกรัฐมนตรีญป่ี นุ่ กังวลว่าแผนขึน้ ภาษีการขาย 3% ในปีหน้าจะทาให้การบริโภคหดตัวรุนแรง เนื่องจาก เศรษฐกิจยังไม่แข็งแกร่งเพียงพอ จึงควรปรับขึน้ เพียงปีละ 1% เพือ่ ลดผลกระทบต่อการบริโภค ■ จีน : จีนเตรียมผ่อนคลายเกณฑ์สาหรับการลงทุนจากต่างชาติในเขตการค้าเสรี เพือ่ อานวยความสะดวกและลดขัน้ ตอนต่อการลงทุนจาก ต่างชาติในพืน้ ทีบ่ างแห่ง เช่น เซียงไฮ้ ถือเป็ นอีกก้าวหนึ่งในการปฏิรปู เศรษฐกิจทีต่ อ้ งการลดบทบาทของรัฐต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจลง : ราคาบ้านใหม่ของจีนในเดือน ก.ค.เพิม่ ขึน้ ใน 69 จาก 70 เมือง โดยเมืองกวางโจวเพิม่ ขึน้ สูงสุดที่ 17% จากปีก่อน รองลงมาคือปกั กิง่ และเซีย่ ง ไฮ้ทเ่ี พิม่ ขึน้ 14%

Thailand : ■ คณะกรรมการจัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์ เห็นชอบกรอบร่างแผนยุทธศาสตร์รองรับ AEC โดยมีพนั ธกิจหลัก 3 ด้าน คือ 1) การเคลือ่ นย้าย แรงงานเสรี 2) การคุม้ ครองแรงงานต่างชาติให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล และ 3) การเข้าสู่ AEC ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อคนบางกลุ่ม เช่น คน สูงอายุ ผูพ้ กิ าร ทีอ่ าจทาให้หางานทาได้ยากขึน้ จะต้องจัดระบบดูแลและเยียวยาต่ อไป ■ เงินบาทปิดตลาด (16 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.25-31.30 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยตามตามระดับภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (16 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 225.47 จุด (-1.47%) ปิดที่ 15,112.19 จุด เนื่องจากนักลงทุนกังวลว่าเฟดอาจลดขนาด QE ดัชนี NASDAQ ลดลง 63.15 จุด (-1.72%) ปิดที่ 3,606.12 จุด ดัชนี S&P 500 5.49 จุด (-0.33%) ปิดที่ 1,655.83 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 24.07 จุด (-1.43%) ปิดที่ 1,661.32 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (16 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 102.83 จุด (-0.75%) ปิดที่ 13,650.11 จุด เนื่องจากตัวเลขว่างงานของสหรัฐทีล่ ดลงเกินคาด ทา ให้นกั ลงทุนกังวลว่าเฟดจะลดขนาดการใช้ QE ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 13.43 จุด (-0.64%) ปิดที่ 2,068.45 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 21.44 จุด (0.10%) ปิดที่ 22,517.81 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 7.31 จุด (-0.50%) ปิดที่ 1,445.76 จุด เคลือ่ นไหวตามทิศทางตลาดหุน้ ต่างประเทศ ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 20 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL RESEARCH : QE (ภำคสอง) : นโยบำย Fed คลุมเคลือ >> กระทบค่ำเงินผ ันผวน ั ื่ ประธำนเฟดคนต่อไป และควำมชดเจน HighLight : น ักลงทุนจ ับตำรำยชอ QE ในกำรประชุมใหญ่ ประจำปี ที่ Jakson hole

Global: ■ สหรัฐ: นักลงทุนจับตาการประชุมใหญ่ประจาปี ท่ี Jakson hole วันที่ 22-24 ส.ค.นี้ ซึง่ ถือเป็ นการประชุมครัง้ สาคัญ คาดว่าจะเปิ ดเผย รายชื่อบุคคลทีม่ าทาหน้าทีต่ ่อจากนายเบน เบอร์นนั เก้ ประธานเฟดทีก่ าลังหมดวาระใน ม.ค. 57 และประเด็นแนวทางช่วงเวลาทีเ่ ฟดจะถอน มาตรการQE ■ อังกฤษ: สมาพันธุอ์ ตุ สาหกรรมอังกฤษ ปรับเพิม่ การคาดการณ์ขยายตัวของเศรษฐกิจเป็ น 1.2% จากระดับ 1.0% ทีค่ าดการณ์ไว้ใน เดือน พ.ค. เนื่องจากสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังคงแข็งแกร่ง โดยดัชนีภาคบริการ การผลิต และการก่อสร้างปรับตัวขึน้ ทัง้ หมดใน เดือนทีแ่ ล้ว ในขณะทีย่ อดขอสวัสดิการว่างงานลดลงมากกว่าทีค่ าดการณ์ไว้ถงึ เท่าตัว ■ สเปน: หนี้สาธารณะในเดือน มิ.ย.เพิม่ ขึน้ 9.43 แสนล้านยูโร หรือเพิม่ ขึน้ 6.37 พันล้านยูโรจากเดือนก่อน สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ คิด เป็ นสัดส่วน 90.2% ต่อ GDP โดยรัฐบาลคาดว่าหนี้สาธารณะจะทีร่ ะดับ 91.4% ต่อ GDP ในสิน้ ปี น้ี ■ รัสเซีย: ยอดค้าปลีกเดือน ก.ค. ขยายตัวเพิม่ ทีร่ ะดับ 4.3% จากการขยายตัวที่ 3.5% ในเดือน มิ.ย. สูงกว่าคาดทีว่ ่าจะขยายตัว 3.7% ผล จากอัตราเงินเฟ้อของรัสเซียทีล่ ดลงมาอยู่ท่ี 6.5% ในเดือน ก.ค. จากระดับ 6.9% ในเดือนก่อนหน้า และอัตราการว่างงานของรัสเซียในเดือน ก.ค. ทีล่ ดลงมาอยู่ทร่ี ะดับ 5.5% จากระดับ 5.3% ในเดือนก่อนหน้า ■ ญี่ปน: ุ่ ยอดขาดดุลการค้าในเดือนก.ค.ทัง้ สิน้ 1.024 ล้านล้านเยน เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินเยนและความต้องการพลังงานทีส่ งู ขึน้ ใน ช่วงฤดูรอ้ นได้หนุนต้นทุนการนาเข้าเชือ้ เพลิงปรับตัวเพิม่ ขึน้ และมียอดการนาเข้าเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 19.6% สูร่ ะดับ 6.986 ล้านล้านเยน ทา สถิตขิ ยายตัวติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 9 เนื่องจากยอดนาเข้าน้ามันดิบพุ่งขึน้ 30.2% และยอดนาเข้าก๊าซธรรมชาติเหลวปรับขึน้ 16.9%(y-o-y) ■ จีน: สานักงานสิถติ ิ ระบุ ราคาบ้านใหม่ในเมืองใหญ่เดือนก.ค. ปรับตัวสูงขึน้ 62 เมือง (เดือนมิ.ย.63เมือง) จาก 70 เมือง และราคาบ้าน มือสองในเดือนก.ค.สูงขึน้ 57 เมือง จากเดือนก่อนที่ 55 เมือง

Thailand updates : ■ สภาพัฒน์ปรับลดคาดการณ์อตั ราขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในปี 56 เหลือเติบโต 3.8-4.3% จากเดิมคาดไว้ในช่วง 4.2-5.2% เนื่องจากเศรษฐกิจโลกทีฟ่ ้ืนตัวช้ากว่าคาด ฐานทีส่ งู การลดลงของแรงส่งจากมาตรการภาครัฐ แผนลงทุนภาครัฐทีช่ า้ กว่าคาด รวมถึงความ ั ยการส่งออกเป็ นหลัก ขัดแย้งและเสถียรภาพการเมืองในประเทศ โดยมองว่าการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในช่วงครึง่ ปีหลังจะขึน้ อยู่กบั ปจจั รวมถึงการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณ ■ เงินบาทปิ ดตลาด (19 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.35-31.36 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าขึน้ เล็กน้อย เคลื่อนไหวตามค่าเงินในภูมภิ าค

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (19 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 70.73 จุด หรือ -0.47% ปิ ดที่ 15,010.74 จุด เนื่องจากนักลงทุนกังวลว่าเฟดอาจจะลด ขนาดการใช้มาตรการ QE ประกอบกับข้อมูลทางเศรษฐกิจทีน่ ่าผิดหวัง ดัชนี NASDAQ ลดลง 13.69 จุด หรือ -0.38% ปิ ดที่ 3,589.09 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 9.77 จุด หรือ -0.59% ปิ ดที่ 1,646.06 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (19 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 108.02 จุด หรือ 0.79% ปิ ดที่ 13,758.13 จุด เนื่องจากนักลงทุนเข้ามาซือ้ คืนหุน้ หลังจากทีต่ ลาดร่วงลงในช่วงทีผ่ า่ นมา ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 17.15 จุด หรือ 0.83% ปิ ดที่ 2,085.60 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 54.11 จุด หรือ 0.24% ปิ ดที่ 22,463.70 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 47.28 จุด -3.27% ปิ ดที่ 1,398.48 จุด หลัง GDP Q2 ออกมาต่ากว่าคาด ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

GLOBAL RESEARCH :

ฉบับที่ 23 ประจาวันที่ 20 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

QE (ภำคสอง) : นโยบำย Fed คลุมเคลือ >> กระทบค่ำเงินผ ันผวน

เมือ่ หันมาพิจารณาในส่วนของตลาดหุน้ ในสัปดาห์น้ี (19-23 ส.ค.56) พบว่าแนวโน้มการปรับตัวของตลาดจะให้น้าหนักกับต่อ ความกังวลในการลดขนาด QE อย่างมาก ซึง่ ความกังวลดังกล่าว อาจจะดึงให้ตลาดหุน้ สหรัฐปรับตัวลดลง ขณะทีต่ ลาดหุน้ ไทยคาด ว่ากรอบการลงทุนอยูใ่ นแนวรับที่ 1,420 จุด แนวต้าน ที่ 1,460 จุด โดยมองว่าตลาดจะปรับขึน้ ได้ในช่วงต้นสัปดาห์แต่ ในกลางสัปดาห์จะมีแรงขายทากาไรออกมา เพราะยังขาดปจั จัย ใหม่กระตุน้ ทัง้ นี้ หากพิ จารณาผลกระทบจาก QE ที่มีต่อ ความกังวลของนักลงทุนดังกล่าวแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อ ความเคลื่อนไหวของค่าเงิ นบาทไทย รวมไปถึงค่าเงิ นสกุล อื่นๆ ในเอเซียอีกหลายประเทศด้วย โดยเมือ่ ย้อนกลับไปดูภาวะการเคลือ่ นไหว ของค่าเงินในช่วงอาทิตย์ก่อน (12-16 ส.ค. 56) จะพบว่าค่าเงินดอลลาร์สหรัฐยังคงแข็ง ค่าต่อเนื่องในช่วงต้นสัปดาห์โดยได้รบั แรง หนุนจากการเปิดเผยดัชนียอดค้าปลีกของ กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ ซึง่ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 0.5 ในช่วง ก.ค.ส่งผลให้มแี รงซือ้ ดอลลาร์ในตลาดจากการคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจสหรัฐกาลังมีการฟื้นตัว และ Fed มี แนวโน้มทีจ่ ะพิจารณาปรับลดวงเงิน QE (ดังทีเ่ คยกล่าวใน Global Research ฉบับ 15 ส.ค.56)

อย่างไรก็ดี ค่าเงินดอลลาร์ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอีกครัง้ หนึ่งในช่วงท้ายสัปดาห์จากความไม่มนใจว่ ั ่ า Fed จะดาเนินมาตรการ QE ต่อไป หรือไม่ หลังจากประธาน Fed สาขาแอตแลนต้าได้ออกมาส่งสัญญาณว่า Fed อาจจะยังไม่ลดขนาดโครงการ QE ลงในการประชุมนโยบายที่ จะมีขน้ึ ในวันที่ 17-18 ก.ย. นี้ ขณะทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของ Fed รายอืน่ ๆ ยังคงส่งสัญญาณไม่ตรงกันในเรือ่ งนี้ ซึง่ จากท่าทีทไ่ี ม่สอดคล้องกัน ของผูบ้ ริหาร Fed ดังกล่าว จึงเป็นเรือ่ งทีค่ าดเดาได้คอ่ นข้างลาบากว่าผลการประชุม Fed ในครัง้ ต่อไปนัน้ จะมีผลต่อทิศทางตลาดค่าเงินของ ไทยอย่างไร (ซึง่ เป็ นไปได้ทงั ้ แข็งค่าหรืออ่อนค่า) สอดคล้องกับกราฟดัชนีคา่ เงิน (Nominal Effective Exchange Rate: NEER )1 ทีม่ ลี กั ษณะ ค่อนข้างผันผวนสะท้อนความไม่มเี สถียรภาพด้านการค้าและลงทุนของไทย ทัง้ นี้ ไม่ใช่แค่ประเทศไทยทีต่ อ้ งเผชิญกับความผันผวนดังกล่าว ประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคเอเชียก็ตอ้ งเผชิญกับภาวะความผันผวนของ ค่าเงินเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประเทศมาเลเซีย ทีค่ า่ เงินริงกิตได้อ่อนค่าลงมากสุดในรอบ 3 ปี โดย ณ 19 ส.ค.56 ค่าเงินอยูท่ ่ี 3.27 ริงกิ ตต่อเหรียญสหรัฐ (เมือ่ เทียบกับอัตราแลกเปลีย่ นในช่วงเดือน พ.ค.ทีผ่ า่ นมาที่ 2.99 ริงกิตต่อเหรียญสหรัฐ) เนื่องจากภาวะความไม่แน่นอน ของนโยบาย Fed ที่ ดัชนีค่าเงิน (Nominal Effective Exchange Rate: NEER) คือ ดัชนีวดั สะท้อนมูลค่าของเงินบาท เปรียบเทียบถ่วงน้าหนักกับสกุลเงินต่างประเทศที่ สาคัญ 23 สกุลเงิน (ทัง้ ประเทศคู่คา้ และประเทศคู่แข่ง) โดยแปลงเป็นดัชนีปีฐาน (ปี 1994 ทีม่ คี ่าเฉลีย่ NEER = 100) โดยการถ่วงน้าหนักจะให้ ความสาคัญตามสัดส่วนการค้า การลงทุน ทัง้ นี้ NEER มักใช้เป็นเครือ่ งสะท้อนความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของประเทศ โดยหากตัวเลข NEER เพิม่ สูงขึน้ หมายความว่าค่าเงินแข็งขึน้ (NEER ต่าลง สะท้อนค่าเงินอ่อนลง) 1

Source: Bank of America Merrill Lynch “Volatility and negativity for Asia FX : Phatra Securities Public Company Limited : 19 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มู ล


Macroeconomic Policy Bureau

GLOBAL RESEARCH :

ฉบับที่ 23 ประจาวันที่ 20 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 3/3

QE (ภำคสอง) : นโยบำย Fed คลุมเคลือ >> กระทบค่ำเงินผ ันผวน

มีต่อ QE ส่งผลให้เกิดภาวะเงินทุนไหลออกจากแดนเสือเหลืองอย่างหนักในช่วงหลายเดือนทีผ่ า่ นมา และมีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะต้องเผชิญกับ ภาวะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดได้เป็นครัง้ แรกนับตัง้ แต่ปี 1997 ขณะเดียวกัน ผลจากการทีภ่ าวะเศรษฐกิจประเทศดังกล่าวเข้าสูภ่ าวะชะลอตัว ประกอบกับฐานะความมันคงทางการคลั ่ งเริม่ อ่อนแอลง โดยเฉพาะอัตราส่วนหนี้สาธารณะทีพ่ งุ่ ขึน้ มาอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 53.3 ในปีทแ่ี ล้ว ทาให้ Fitch Rating ตัดลดเครดิตของมาเลเซียลงจากสถานะมันคงลงมาอยู ่ ท่ ต่ี ดิ ลบ สอดคล้องกับข้อคิดเห็นของนักเศรษฐศาสตร์อาเซียนจาก Merrill ั Lynch ทีเ่ ห็นว่า ณ ปจจุบนั มีนกั ลงทุนต่างชาติทเ่ี ข้ามาถือครองพันธบัตรรัฐบาลมาเลเซียมากถึงร้อยละ 49.5 ของจานวนพันธบัตรรัฐบาล ทัง้ หมด ดังนัน้ แดนเสือเหลืองจึงเสีย่ งเจ็บตัวมากทีส่ ดุ หาก Fed ยุตหิ รือถอน QE เนื่องจากนักลงทุนต่างประเทศจะแห่เทขายพันธบัตร ดังกล่าว เพือ่ หันกลับเข้าไปซือ้ พันธบัตรสหรัฐทีจ่ ะมีผลตอบแทนสูงขึน้ นอกเหนือจากมาเลเซียแล้ว อีกหนึ่งประเทศทีต่ อ้ งเผชิญกับภาวะค่าเงินผันผวน ั อย่างหนัก จากปญหาเงิ นทุนไหลออกก็คอื อินโดนีเซีย ทีใ่ นช่วงเดือน ก.ค.ทีผ่ า่ นมา เพียงเดือนเดียว ค่าเงินรูเปียห์ได้อ่อนค่าลงไปแล้วถึงร้อยละ 3.4 ที่ 10,384.84 รูเปียห์ ต่อเหรียญสหรัฐ (ขณะทีเ่ มือ่ ช่วงปลายเดือน ม.ค. ค่าเงินรูเปียห์แข็งค่าขึน้ ไปถึง 9,832 รู เปียห์ต่อเหรียญสหรัฐ) ส่วนการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของแดนอิเหนาก็คาดว่าจะยังคง เพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยคาดว่าในไตรมาส 2 ปีน้ยี อดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจะ พุง่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ขณะทีไ่ ตรมาสแรกของปีน้อี ยูท่ ่ี 5,300 ล้าน เหรียญสหรัฐเท่านัน้ เนื่องจากการไหลทะลักออกของเงินทุนยังคงเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง แม้วา่ ทางธนาคารกลางอินโดนีเซียจะพยายามปรับขึน้ ดอกเบีย้ มาแล้วหลายครัง้ ก็ตาม ั ขณะเดียวกันทางด้าน “อินเดีย” ก็ยงั คงต้องเผชิญกับปญหาค่ าผันผวนต่อไป เช่นกัน โดยค่าเงินรูปี ณ วันที่ 19 ส.ค.56 ค่าเงินรูปีออ่ นค่าลงต่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 61.64 รูปีต่อเหรียญสหรัฐ และเมือ่ เทียบทัง้ ปีคา่ เงินรูปีออ่ นค่าลงมาแล้วถึงร้อยละ 10 (ขณะทีเ่ มือ่ ปลายปีทแ่ี ล้วค่าเงินรูปีแข็งค่าขึ้นอยูท่ ่ี 55.07 รูปีต่อเหรียญสหรัฐ) ทัง้ นี้ สาเหตุสาคัญเป็ นผลมาจากการทีเ่ งินทุนไหลออกจากอินเดียอย่างรวดเร็ว โดยในช่วงเดือนทีผ่ า่ นมา นักลงทุนทัว่ โลกได้ถอนทุนออกจากตลาดทุนอินเดียมากถึง 1,050 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ ถือเป็ นกระแสเงินทุนไหลออกทีม่ ากทีส่ ดุ ในบรรดาตลาดหุน้ 10 ประเทศในเอเชีย ซึง่ จากภาวะความผันผวนของค่าเงินของหลายประเทศทีเ่ กิดขึน้ ภายในระยะเวลาไม่กเ่ี ดือน ได้ทาให้เหล่าบรรดาองค์กรทางเศรษฐกิจ ชัน้ นา อาทิ IMF หรือ World Bank ทีต่ ่างพากันออกโรงกระตุน้ เตือนให้เหล่าบรรดาชาติมหาอานาจ โดยเฉพาะธนาคารกลางสหรัฐ หันมา ตระหนักถึงการสือ่ สารกับตลาดให้มคี วามชัดเจนมากขึน้ และต้องระมัดระวังในการถอนมาตรการอัดฉีดอีกด้วย เนื่องจากความคลุมเครือและ การขาดความรอบคอบในการสือ่ สาร เพือ่ ชีน้ านโยบายการเงินต่อตลาดย่อมส่งผลเสียต่อภาวะเสถียรภาพทางเศรษฐกิจไปทัวทั ่ ง้ โลก ซึง่ ผู้ ได้รบั ผลกระทบมากสุดก็คงจะเลีย่ งไม่พน้ บรรดาประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ในเอเชีย เพราะในช่วงที่ Fed เร่งโหมอัดฉีดนโยบายการเข้าซือ้ สินทรัพย์ เพือ่ ฉีดเงินเข้าสูร่ ะบบอย่างหนัก ซึง่ ตลาดทุน และตลาดพันธบัตรในเอเชียได้กลายเป็ นเป้าหมายสาคัญในการนาเงินเข้าไปลงทุน ดังนัน้ หาก Fed ยุติ QE ย่อมจะส่งผลให้เกิดภาวะช็อกทางเศรษฐกิจขึน้ อย่างแน่นอน เช่น ค่าเงินในเอเชียทีจ่ ะอ่อนค่าลงอย่างหนัก ต้นทุน การระดมทุนจากตลาดพันธบัตรทีจ่ ะสูงขึน้ อย่างรวดเร็ว แต่ทงั ้ นี้และทัง้ นัน้ เพือ่ เป็ นการลดผลกระทบจากความผันผวนในตลาดทีอ่ าจเกิดขึ้น ในอนาคตอันใกล้ ส่วนหนึ่งเอเชียก็ควรทีจ่ ะต้องหันมาเตรียมการรับมือกับภาวะความไม่แน่นอนเอาไว้ให้ดี มิใช่หวังพึง่ แต่องค์กรระหว่าง ั ประเทศในการเข้ามาช่วยแก้ไขปญหาเพี ยงฝา่ ยเดียว โดยเฉพาะอย่างยิง่ บรรดาผูป้ ระกอบการทีม่ กี ารทาธุรกรรมทางการเงินกับต่างกับ ต่างประเทศทีจ่ าเป็ นต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับแนวโน้มความผันผวนของค่าเงินทีเ่ พิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ นอกเหนือไปจากการบริหารความเสีย่ งจาก อัตราแลกเปลีย่ น (Exchange Rate Risk Management) โดยอาศัยเครือ่ งมือทางการเงินต่างๆ อาทิ การทา Forward Contract แล้ว ผูป้ ระกอบการควรกาหนดทิศทางของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความตามความต้องการที่มลี กั ษณะเฉพาะ(Niche Market) มากขึน้ มุง่ เน้น ผลิตภัณฑ์ทล่ี ดสัดส่วนการพึง่ การใช้วตั ถุดบิ จากต่างประเทศ (หรือผลิตภัณฑ์ทม่ี ี Local Content สูง) การกระจายตลาดส่งออกโดยลดการ พึง่ พาเพียงประเทศหรือกลุ่มประเทศใดประเทศหนึ่ง ตลอดจนการวางแผนบริหารเงินทุนทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ

Source: Bank of America Merrill Lynch “Volatility and negativity for Asia FX : Phatra Securities Public Company Limited : 19 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มู ล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : ด ัชนีความเชือ่ มน่ั ผูบ ้ ริโภคของสหร ัฐเดือน ส.ค.ลดลงสู่ 80 จุด จาก 85.1 จุด ในขณะทีด ่ ัชนีกจ ิ กรรมการผลิต ้ สูร่ ะด ับ -0.15. จากระด ับ -0.23 เดือน ก.ค เพิม ่ ขึน

Global :

■ สหรัฐ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ส.ค.ลดลงสู่ 80 จุด จาก 85.1 จุดในเดือนก่อน เพราะอัตราดอกเบีย้ สูงขึน้ ในช่วงทีผ่ า่ นมา ทําให้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้รบั ผลกระทบ : เฟด ชิคาโก ระบุ ดัชนีกจิ กรรมการผลิตทัวประเทศในเดื ่ อนก.ค เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ -0.15. จากระดับ -0.23 ในเดือนมิ.ย. ยังคงติดลบติดต่อกัน เป็ นเดือนที่ 5 บ่งชีก้ ารขยายตัวทีต่ ่าํ กว่าแนวโน้ม และการจ้างงานเพิม่ ขึน้ ที่ 0.06 จาก 0.05 ในเดือนมิ.ย. ผลจากอัตราว่างงานทีล่ ดลงที่ 7.4% ในเดือนก.ค. จาก 7.6% ในเดือนก่อนหน้า ขณะทีย่ อดขาย คําสังซื ่ อ้ และสินค้าคงคลังเพิม่ ขึน้ ที่ 0.04 จาก -0.07 ในเดือนมิ.ย. : การเริม่ สร้างบ้านใหม่ในเดือน ก.ค.เพิม่ ขึน้ 5.9% สู่ 896,000 ยูนิต ขณะทีย่ อดการอนุญาตก่อสร้างเพิม่ ขึน้ 2.7% ที่ 943,000 ยูนิต จากการ เริม่ สร้างอพาร์ตเมนท์ทเ่ี พิม่ ขึน้ 26% แต่การเริม่ สร้างบ้านเดีย่ วลดลง 2.2% ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิติ ระบุ ดัชนี PPI เดือนก.ค.ลดลง 0.1% จากเดือนมิ.ย. ซึง่ เป็ นการปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่หากเทียบกับ ก.ค.ปี 55 ดัชนี PPI ยังปรับตัวขึน้ 0.5% เนื่องจากราคาอาหารปรับตัวขึน้ 4.1% จากปี ก่อน บวกกับต้นทุนพลังงานและค่าจ้างทีส่ งู ขึน้ ■ สเปน : หนี้เสียของธ.พาณิชย์ในสเปนเพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ร่ี ะดับสูงสุดที่ 11.61% ของสินเชื่อทัง้ หมดในเดือนมิ.ย. โดยอัตราหนี้เสียปรับตัวขึน้ จาก 11.2% ในเดือนพ.ค. 56 และจาก 9.6% ในเดือนมิ.ย. 55 ■ จีน : สํานักงานสถิติ เผย บริษทั อุตสาหกรรมจีนรายใหญ่มกี าํ ไรเพิม่ ขึน้ 11.1% จากปี ทแ่ี ล้ว แตะระดับ 2.58366 ล้านล้านหยวน ในครึง่ แรกของปี น้ี โดยอัตราการขยายตัวลดลง 1.2% จากช่วง 5 เดือนแรกของปี น้ี : ผูว้ ่าการ ธ. กลางจีน ระบุ เศรษฐกิจจีนจะไม่ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่อง ซึง่ เป็ นการส่งสัญญาณว่า ธ. กลางพร้อมทีจ่ ะปล่อยอัตราดอกเบีย้ เงิน ฝากเคลื่อนไหวอย่างเสรี เพื่อทีจ่ ะเปิ ดเสรีตลาดการเงินอย่างเต็มรูปแบบ

Thailand :

■ รองผูอ้ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กล่าว ความเสีย่ งหนี้สนิ ภาคครัวเรือนในระยะต่อไปน่าจะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก สถานการณ์สนิ เชื่อมีแนวโน้มแผ่วลง และน่าจะกลับสูภ่ าวะปกติ ในQ1/56 หนี้ครัวเรือนของไทยอยู่ท่ี 77.5% ของ GDP ซึง่ ถือว่าเป็ นระดับที่ ห่างไกลต่อความเสีย่ งทีจ่ ะก่อให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ■ เงินบาทปิ ดตลาด (20 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.63/65 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ เคลื่อนไหวอ่อนค่าตามทิศทางของค่าเงินสกุลอื่นๆ ในเอเชีย

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (20 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 7.75 จุด หรือ-0.05% ปิ ดที่ 15,002.99 จุด ทําสถิตปิ ิ ดลบติดต่อกัน 5 วันทําการ ขณะที่ นักลงทุนจับตาดูรายงานการประชุมของเฟด ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 24.50 จุด หรือ +0.68% ปิ ดที่ 3,613.59 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.29 จุด หรือ +0.38% ปิ ดที่ 1,652.35 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (20 ส.ค.) ตลาดหุน้ เอเชีย (16 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 361.75 จุด หรือ -2.63% ปิ ดที่ 13,396.38 จุด ซึง่ เป็นระดับตํ่าสุด นับตัง้ แต่วนั ที่ 27 มิ.ย.เนื่องจากความวิตกกังวลว่าเฟดจะลดขนาดการใช้ QE ก่อนกําหนด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 13.01 จุด หรือ 0.62% ปิ ดที่ 2,072.59 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 493.41 จุด หรือ -2.20% ปิ ดที่ 21,970.29 ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 27.62 จุด หรือ -1.98% ปิ ดที่ 1,370.86 จุด เนื่องจากแรงเทขายของนักลงทุนต่างชาติ หลังค่าเงินได้อ่อนค่าลง และวิตกเกีย่ วกับมาตราการ QE ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 24 ประจําวันที่ 22 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : จับตาผลขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดอิ นโดฯ ฤาไทยจะเป็ นเช่นกัน เมื่อพิจารณาตลาดหุน้ ไทยช่วงนี้ (19-23 ส.ค.56) พบว่ามีแนวโน้มปรับตัวลดลงต่อเนื่อง หลังจากทีห่ ลุดแนวรับ 1,400จุดซึง่ เป็ นไปใน ทิศทางเดียวกับตลาดหุน้ อื่นในภูมภิ าคเอเชียทีส่ ว่ นใหญ่จะอยูใ่ นแดนลบ โดยสาเหตุการปรับตัวลงสําคัญมาจากแรงเทขายของนักลงทุนต่างชาติ โดยสาเหตุส่วนหนึ่งมาปจั จัยอื่นๆ ทัง้ ภายในประเทศ ได้แก่ การประกาศตัวเลข GDP ณ ไตรมาส 2 ปี 56 ของไทยทีอ่ อกมาตํ่าเกินกว่าคาดการณ์ และปจั จัยต่างประเทศ อาทิ ความกังวลของนักลงทุนต่อท่าทีของ Fed ต่อการลดขนาด QE ลง (ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วใน Global Research ฉบับ วันที่ 15 และ 20 ส.ค.56) และอีกปจั จัยทีเ่ ป็ นที่จบั ตามองนั ่นคือ “ผลขาดดุลบัญชี เดินสะพัดของประเทศอินโดนีเซีย”

ทัง้ นี้ หาก ั พิจารณาปญหาทาง เศรษฐกิจของอินโดฯ พบว่ามีอยูห่ ลาย ประการ ยกตัวอย่าง ทีส่ าํ คัญๆ ได้แก่ ปญั หา การอ่อนค่าลงของเงินอิน โดฯ โดยในช่วงสัปดาห์น้ี ค่าเงินรูเปียห์ร่วงลงแตะระดับตํ่าสุดในรอบ 4 ปี โดย ณ 22 ส.ค.56 ค่าเงินรูเปียห์อยูท่ ่ี 1 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อ 10,751 รูเปียห์ ซึง่ จากกราฟจะเห็นว่า แนวโน้มของค่าเงินรูเปียห์กย็ งั ไม่มที ที ่าว่าจะแข็งขึน้ และนํามาซืง่ ปญั หาการลดลงของ ทุนสํารองสกุลต่างประเทศของอินโดฯ ทีป่ จั จุบนั มีจาํ นวน 92,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงอย่างต่อเนื่องจาก 98,100 ล้านดอลาร์สหรัฐ เมือ่ มิ.ย.56 ซึง่ แม้วา่ ระดับทุน สํารองยังเท่ากับปริมาณการนําเข้า 5 เดือนครึง่ แต่ธนาคารกลางอินโดฯ ก็ไม่สามารถเดินหน้านําทุนสํารองไปใช้ในระดับปจั จุบนั ได้โดยทีต่ ลาด ไม่รสู้ กึ วิตกกังวลได้ ส่งผลให้เกิดภาพการชะลอตัวของการปล่อยกูข้ องภาคธนาคารพาณิชย์ในอินโดฯ ในอินโดฯ นอกจากนี้แล้ว ปจั จัยทีม่ กี ารกล่าวถึงกันมากในช่วงนี้ คือ “ยอดขาด ดุลบัญชีเดินสะพัด” ที่ ณ ปจั จุบนั (ส.ค.56) อยูท่ ่ี 9.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยปจั จัยสําคัญมาจากเรือ่ งของการขาดดุลการค้า มาเป็ นเวลานานนับปี เนื่องจากยอดการส่งออกทีช่ ะลอลงนับจากต้นปี 55 เป็ นต้นมา จากปญั หา เศรษฐกิจโลก ทัง้ นี้ สินค้าส่งออกสําคัญของอินโดฯ ได้แก่ ถ่านหิน นํ้ามัน ก๊าซ ธรรมชาติ แร่เหล็กและเหล็กกล้า อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ สินค้าทุนประเภท เครือ่ งมือเครือ่ งจักร นํ้ามันปาล์ม และยางพารา โดยมีประเทศคูค่ า้ สําคัญได้แก่ จีน (ร้อยละ 14 ของการส่งออก และร้อยละ 19 ของการนําเข้า) ญีป่ นุ่ (ร้อยละ 12 ของการส่งออก และร้อยละ 15 ของการนําเข้า) และสหรัฐ (ร้อยละ 9.5 ของ การส่งออก และร้อยละ 7.5 ของการนําเข้า) รวมไปถึงประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย เกาหลีใต้ เป็ นต้น ซึง่ ผลจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดที่ ยาวนานนับปี ทําให้รศั มีของอินโดฯ ในฐานะประเทศทีเ่ ป็ นแหล่งหลบภัยสําหรับนักลงทุนเริม่ หมองคลํ้าลง และอาจไม่ใช่ประเทศทีน่ ่าสนใจใน การลงทุนเช่นเดิมอีกต่อไป ซึง่ สิง่ นี้ อาจเป็ นจุดสําคัญทีจ่ ะชะลอความร้อนแรงทางเศรษฐกิจของอินโดฯ ลง หลังจากทีใ่ นช่วงก่อนหน้าเศรษฐกิจ ของประเทศนี้ เริม่ มีอาการทีเ่ รียกว่า "Overheating" จากการทีเ่ ศรษฐกิจโตเร็วเกินไป (%y-o-y of GDP growth สูงกว่าร้อยละ 6.0 มาอย่าง 1

การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดก็หมายถึง การมีผลรวมสุทธิของบัญชีดุลการค้า ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน น้อยกว่าทีเ่ สียไป โดยไม่จาํ เป็ นต้องขาดดุลในทุก บัญชีทว่ี ่าไว้ อาจจะขาดดุลเฉพาะบัญชีใดบัญชีหนึ่ง แต่เมือ่ รวมทัง้ หมดแล้วมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย 2 Indonesia Balance of Trade averaged 788.24 USD Million from 1960 until 2013, reaching an all time high of 4641.92 USD Million in December of 2006 and a record low of -1700 USD Million in April of 2013. Source: Bank of America Merrill Lynch “Asia rates : cautious Indo & India : Phatra Securities Public Company Limited : 21 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 24 ประจําวันที่ 22 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 3/3

GLOBAL RESEARCH : จับตาผลขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดอิ นโดฯ ฤาไทยจะเป็ นเช่นกัน ั ั ต่อเนื่อง) ซึง่ ในช่วง Overheat นัน้ นักการเงินหลายคนกลับมองข้ามปญหานี ้ไป เนื่องจากการให้ความสําคัญกับปญหาเงิ นเฟ้อ (Inflation Targeting) มากจนเกินไป ทัง้ ทีใ่ นความเป็ นจริง ในช่วงทีผ่ า่ นมา อัตราเงินเฟ้อทัวไปของอิ ่ นโดฯ อยูใ่ นช่วงร้อยละ 4.3 (ปี 55) ถึง 5.3 (ไตรมาส 1 ปี 56) ซึง่ เมือ่ เงินเฟ้อไม่ดดี ตัวขึน้ สูงอย่างมีนยั สําคัญ ส่งผลให้ธนาคารกลางของอินโดฯ วางใจถึงขนาดลดดอกเบีย้ ลงไปอีก หลังจากวิกฤต เศรษฐกิจโลกผ่านไปแล้วอีกร้อยละ 0.75 จนกระทังดอกเบี ่ ย้ นโยบายนัน้ ลงมาอยูท่ ร่ี ะดับตํ่าทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ เพือ่ อัดฉีดกระตุน้ เศรษฐกิจ เพิม่ ในยามที่ GDP ยังโตได้เฉลีย่ ปีละกว่าร้อยละ 6 ซึง่ นโยบายการเงินทีผ่ ดิ พลาดนี่เองก็คอื หนึ่งในปจั จัยทีท่ าํ ให้เศรษฐกิจของอินโดนีเซียนัน้ เริม่ Overheat ดังนัน้ สิง่ เดียวทีอ่ อกอาการฟ้องว่าเศรษฐกิจมหภาค ั ของอินโดนีเซียกําลังมีปญหาคื อ ดุลการค้าและดุลบัญชี เดินสะพัด (Current Account Balance) ทีต่ กฮวบดังกล่าว ซึง่ นี่ ก็เป็ นปจั จัยหลักตัวหนึ่งทีท่ าํ ให้ธนาคารชาติของอินโดนีเซียต้อง เข้าไปแทรกแซงพยุงค่าเงินรูเปียห์ไม่ให้อ่อนค่าเกินไป โดย อาศัยทุนสํารองระหว่างประเทศทีม่ อี ยู่ (นํามาซึง่ การลดลงของ ทุนสํารองฯ ดังกล่าวข้างต้น) ทัง้ นี้ แม้จะมีนกั เศรษฐศาสตร์บาง ท่านพยายามมองโลกในแง่ดวี า่ การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของ อินโดฯ เป็ นปญั หาชัวคราว ่ เนื่องจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodities) ต่างๆ อาทิ ถ่านหิน นํ้ามัน นํ้ามันปาล์ม ที่ ประเทศนี้สง่ ออกนัน้ ซบเซามากในปีทผ่ี า่ นมา แล้วปีน้รี าคาน่าจะ กระเตือ้ งกลับขึน้ สูง แต่การมองโลกสวยดังกล่าวอาจมีขอ้ ผิดพลาดเนื่องจากมูลค่าการส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์เหล่านี้อาจไม่ดขี น้ึ สักเท่าไร โดยเฉพาะถ่านหิน เมือ่ ลูกค้าใหญ่อย่างจีนยังคงพอใจกับการเติบโตทางเศรษฐกิจทีช่ ะลอลงอีกทัง้ ยังมีสต๊อกเดิมอยูม่ าก ขณะทีส่ หรัฐเองก็ลดการพึงพาการนําเข้าก๊าซธรรมชาติ เนื่องจาก สหรัฐเองก็คน้ พบ Unconventional Gas หรือก๊าซธรรมชาติทไ่ี ด้จากชัน้ หินในปริมาณมากและคาดว่าจะสามารถเปลีย่ นสถานะประเทศจากผูน้ ําเข้าพลังงาน เป็ นผูส้ ่งออกก๊าซฯ ภายในปี 2563 นอกจากนี้ หากเราแยกบัญชี การค้าของอินโดนีเซียเป็ นส่วนของสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity) 1 และสินค้าอื่นๆ (Non-commodity) พบว่า ดุลในสินค้าทัง้ สองประเภทล้วนลดลง ซึง่ เป็ นการสะท้อนว่า ความหวังในการพึง่ พาการส่งออกจากกระเตือ้ งของสินค้าจะยังคงริบหรี่ ทัง้ นี้ผลจากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดดังกล่าวจะเป็ น สัญญาณเตือนว่าค่าเงินรูเปี ยห์จะถูกแรงกดดันให้อ่อนตัวลงไปอีก สุดท้ายรัฐบาลก็คงไม่สามารถจะหลีกเลีย่ งการเหยียบเบรกเพื่อชะลออุปสงค์ ภายในประเทศ อาจจะด้วยการผลักภาระราคานํ้ามันทีต่ นอุม้ อยูใ่ ห้ผบู้ ริโภคต้องจ่ายเองมากขึน้ หรือการปล่อยให้ธนาคารชาติขน้ึ ดอกเบีย้ บางตัว เพื่อ ลดปญั หา Overheating ลง ถ้าเราเป็ นนักลงทุนในอินโดนีเซีย คงต้องถามตัวเองว่าเราพร้อมกับการปรับตัวของอินโดนีเซียทีน่ ่าจะเกิดในไม่นานนี้หรือ ยัง 0

นอกจากนี้ หากย้อนกลับมามองเศรษฐกิ จไทยที่เริ่มประสบปัญหาการขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดในไตรมาส 2 ปี 56 (ดุลบัญชี เดิ นสะพัดขาดดุล 5,076 ล้านเหรียญสหรัฐ จําแนกเป็ น ขาดดุลการค้า 497 ล้านเหรียญสหรัฐ ดุลบริการ รายได้ และเงินโอนขาดดุล 4,579 ล้านเหรียญสหรัฐ แต่เงินทุนเคลื่อนย้ายสุทธิ ไหลเข้า 4,183 ล้านเหรียญสหรัฐ และดุลการชําระเงินขาดดุล 2,441 ล้านเหรียญสหรัฐ) แต่เรา ยังคงมีความหวังว่าเศรษฐกิ จไทยจะไม่เกิ ดปัญหาเหมือนกรณี ของอิ นโดฯ เพราะไทยไม่มีการขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดรุนแรงเหมือน อิ นโดนี เซีย ซึ่งตามคาดการณ์ของสํานักต่างๆ ประเมินว่าปี นี้ ดลุ บัญชีเดิ นสะพัดของไทยน่ าจะเข้าสู่ภาวะสมดุล จากครึ่งปี แรกอาจขาดดุล บ้าง แต่ถือว่าไม่มากและไม่ได้เป็ นปัญหา (คิ ดเป็ นประมาณไม่ถึงร้อยละ 1 ของ GDP) และที่สาํ คัญไทยไม่ต้องใช้เงินเข้าไปอุดหนุนเรื่อง พลังงานมากเหมือนอิ นโดนี เซีย 3

สินค้าโภคภัณฑ์ เป็นกลุ่มสินค้าเพือ่ การลงทุนประเภทหนึ่งทีม่ ลี กั ษณะเป็ นวัตถุดบิ ต่างๆ ซึง่ สามารถนํามาใช้ประโยชนในการผลิตสินค้าและบริการสําหรับ อุปโภคบริโภค โดยสินค้าโภคภัณฑ์สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ 1) สินค้าเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา มันสําปะหลัง กาแฟ ถัวเหลื ่ อง ปาล์ม นํ้ามัน ฯลฯ 2) สินค้าประเภทโลหะ เช่น ทองคํา เงิน ทองแดง ดีบุก อลูมเิ นียม ฯลฯ และ 3) สินค้าประเภทพลังงาน เช่น นํ้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ฯล Source: Bank of America Merrill Lynch “Asia rates : cautious Indo & India : Phatra Securities Public Company Limited : 21 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค

HighLight : จํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานสหร ัฐลดลงตํา่ สุดในรอบ 5 ปี และค่าเงินบาท 32.13/14 อ่อนค่าสุด ในรอบ 3 ปี

Global :

■ สหรัฐ : คณะกรรมการ FED เห็นพ้องทีจ่ ะลดมาตรการ QE ในปีน้ี ขณะทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่าการลดวงเงิน QE จะเริม่ มีขน้ึ ในเดือน ก.ย.นี้ เนื่องจาก FED ส่งสัญญาณไปทิศทางเดียวกับทีต่ ลาดคาดการณ์ไว้ : จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกรายสัปดาห์ลดลงตํ่าสุดในรอบ 5 ปี โดยเดือนส.ค.เพิม่ ขึน้ 13,000 ราย อยูท่ ่ี 336,000 ราย โดยจํานวนผู้ ขอรับสวัสดิการว่างงานอย่างต่อเนื่องโดยเฉลีย่ ใน 4 สัปดาห์ได้ลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับตํ่าสุดนับตัง้ ปี 50 ที่ 330,500 ราย บ่งชี้ แนวโน้มการจ้างงานได้ ปรับตัวดีขน้ึ ในเดือนส.ค. : ดัชนี PMI ภาคการผลิตเบือ้ งต้นเดือนส.ค. ปรับตัวขึน้ สูร่ ะดับ 53.9 จากระดับ 53.7 ในเดือนก.ค. เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนมี.ค.ทีผ่ า่ นมา จากการจ้างงานและยอดคําสังซื ่ อ้ ใหม่ทป่ี รับตัวขึน้ ในอัตราทีร่ วดเร็วทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนม.ค. โดยดัชนีในหมวดยอดคําสังซื ่ อ้ ใหม่เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 56.6 จากระดับ 55.5 ในเดือนก.ค. และเป็ นสถิตสิ งู สุดในรอบ 7 เดือน : Conference Board ปรับตัวเลขดัชนีชน้ี ําเศรษฐกิจสหรัฐขึน้ 0.6% สูร่ ะดับ 96.0 ใน เดือนก.ค. หลังจากทีท่ รงตัวอยูท่ ร่ี ะดับเดิมในเดือนมิ.ย. บ่งชี้ การขยายตัวทีป่ รับตัวดีขน้ึ ■ เยอรมนี : ดัชนี PMI เบือ้ งต้นของภาคเอกชน ในเดือนส.ค.เพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับ 53.4 สูงสุดในรอบ 7 เดือน จาก 52.1 ในเดือนก.ค. และ ดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนส.ค. เพิม่ ขึน้ ทีร่ ะดับ 52.0 สูงสุดในรอบ 25 เดือน จาก 50.7 ในเดือนก.ค. ขณะทีด่ ชั นี PMI ภาคบริการเบือ้ งต้นปรับ ขึน้ ที่ 52.4 จุด ในเดือนส.ค.จาก 51.3 จุด ในเดือนก่อนหน้า ■ อิ นเดีย: ค่าเงินรูปีลดลงสูร่ ะดับตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์เมือ่ วานนี้ ทีร่ ะดับ65 รูปีต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ท่ามกลางสกุลเงินในตลาดเกิดใหม่ทย่ี งั คง อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง ■ จีน : ดัชนี PMI เดือนส.ค. เพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 50.1 จุด จากเดือนก่อนหน้าทีร่ ะดับ 47.7 จุด สะท้อนถึงการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมจีน หลังจากหดตัวในเดือนก่อนหน้า

Thailand :

■ สบน. รายงาน ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิน้ เดือนมิ.ย. 56 มีจาํ นวน 5,224,965 ล้านบาท หรือ 44.27% ของ GDP เพิม่ ขึน้ 47,931 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับเดือนก่อนหน้า ทัง้ นี้ เป็ นหนี้ของรัฐบาล 3,657,756 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากเดือนก่อน 48,585 ล้านบาท หนี้รฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็ นสถาบัน การเงิน 1,076,174 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 10,487 ล้านบาทจากเดือนก่อน ■ เงินบาทปิดตลาด (22 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 32.13/14 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวอ่อนค่าสุดในรอบ 3 ปี จากการขายพันธบัตรและหุน้ โดยนักลงทุน ต่างชาติ

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (22 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 66.19 จุด หรือ +0.44% ปิดที่ 14,963.74 จุด ผลจากดัชนี PMI ภาคการผลิตในเบือ้ งต้น และระดับการจ้างงานของสหรัฐทีป่ รับตัวดีขน้ึ ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 38.92 จุด หรือ +1.08% ปิดที่ 3,638.71 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 14.16 จุด หรือ +0.86% ปิดที่ 1,656.96 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (22 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 59.16 จุด หรือ -0.44% ปิดที่ 13,365.17 จุด จากความวิตกกังวลว่าเฟดจะลดขนาดการใช้ QE ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 5.84 จุด หรือ - 0.28% ปิดที่ 2,067.12 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 77.67 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 21,895.40 จุด ตลาด ห้นไทย SET ลดลง 3.33 จด หรือ -0.25% ปิดที่ 1,351.81 จด เนื่องจากแรงเทขายของนักลงทน จากค่าเงินทีอ่ อ่ นค่าลงอีก ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 26 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค

HighLight : ยอดขำยบ้ำนใหม่ของสหร ัฐในเดือนก.ค.ลดลง 13.4% ตำ่ สุดในรอบ 9 เดือน และเศรษฐกิจยูโรโซน มีแนวโน้มทีด ่ ข ี น ึ้

Global : ■ สหรัฐ: ยอดขายบ้านใหม่เดือน ก.ค. ปรับตัวลดลง 3.4% สูร่ ะดับ 394,000 หลัง ลดลงต่าสุดในรอบ 9 เดือน ผลจากอัตราดอกเบีย้ การ จานองทีส่ งู ขึน้ ส่งผลให้ตน้ ทุนการซือ้ บ้านปรับตัวสูงขึน้ และทาให้ผทู้ ส่ี นใจซือ้ บ้านชะลอการซือ้ บ้านไป : อุปสงค์ปิโตรเลียมโดยรวมเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 1.7% เมื่อเทียบเป็ นรายปี เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 3 ปี เนื่องจากในเดือน ก.ค. เป็ นช่วงฤดู ร้อนและฤดูท่องเทีย่ ว ส่งผลให้ความต้องการเชือ้ เพลิงปรับตัวเพิม่ ขึน้ ■ ยุโรป: เศรษฐกิจยูโรโซนมีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ สะท้อนจากตัวเลขดัชนี PMI ทีป่ รับตัวดีขน้ึ 5 เดือนติดต่อกัน จากระดับ 50.5 ในเดือนก.ค. เป็ น 51.7 ในเดือนส.ค.สูงกว่าทีค่ าดว่าจะอยูท่ ่ี 50.9 และเป็ นระดับทีส่ งู ทีส่ ดุ ในรอบมากกว่า 2 ปี รวมถึงมีการขยายตัวในภาคบริการในหลาย ประเทศ เช่น อิตาลี สเปน และไอร์แลนด์ ซึง่ เป็ นการบ่งชีว้ ่าเศรษฐกิจยูโรโซนได้ผ่านพ้นภาวะถดถอยแล้ว ■ เยอรมนี : ยอดเกินดุลการค้าในครึง่ ปี แรกปรับตัวเพิม่ ขึน้ 8.38% (y-o-y) สูร่ ะดับ 8.5 พันล้านยูโร คิดเป็ น 0.6% ของGDP ผลจากอัตรา การว่างงานทีล่ ดลง ทาให้ยอดจัดเก็บรายได้เพิม่ ขึน้ ขณะทีG่ DP Q2/56 ขยายตัว 0.7% จากไตรมาสก่อนหน้า ■ จีน: ก.พาณิชย์ เผย จีนได้รบั การลงทุน FDI คิดเป็ นมูลค่า 7.14 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี น้ี เพิม่ ขึน้ 7.1% (y-oy) ทัง้ นี้เฉพาะในเดือนก.ค.ได้รบั FDI คิดเป็ นมูลค่า 9.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯเพิม่ ขึน้ 24.1% (y-o-y) ■ ญี่ปน: ุ่ รมว.นโยบายเศรษฐกิจและการคลัง เผย นายกอาเบะ จะตัดสินใจครัง้ สุดท้ายในเรื่องการขึน้ ภาษีการบริโภค ก่อนการประชุมเอเปค ทีจ่ ะจัดขึน้ วันที่ 7 ต.ค. เนื่องจากต้องรอดูผลสารวจความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจทีจ่ ะเปิ ดเผยในวันที่ 1 ต.ค. ก่อน โดยรัฐบาลญีป่ นุ่ วางแผนจะขึน้ ภาษีการขายเป็ น 8% จากเดิมที่ 5% ในเดือน เม.ย. 57 และเพิม่ เป็ น 10% ในเดือน ต.ค. 58 ■ อิ นโดนี เซีย: ประกาศมาตรการแก้ปญั หาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ด้วยการขึน้ ภาษีสนิ ค้าฟุ่มเฟือย พร้อมกับคืนภาษีให้กบั ผูป้ ระกอบการทีล่ งทุนในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ลดภาษีการนาเข้าน้ามัน รวมถึงลดขัน้ ตอนการอนุญาตให้ลงทุนในประเทศ

Thailand :

■ กรมสรรพากร กล่าว การจัดเก็บรายได้ 11 เดือน ของปี งบประมาณ 56 (ต.ค. 55-ส.ค. 56) ได้ประมาณ 1.59 ล้านล้านบาท เกินเป้าทีต่ งั ้ ไว้ 5,855 ล้านบาท ขณะทีเ่ ป้าทัง้ ปี คอื 1.77 ล้านล้านบาท ในขณะทีช่ ่วงหลายเดือนทีผ่ ่านมา ต่ากว่าเป้าตลอด เนื่องจากการเก็บภาษีVAT และภาษีเงินนิตบิ ุคคลต่ากว่าเป้า ผลกระทบจากค่าเงินบาททีแ่ ข็งค่า รวมทัง้ การลดอัตราภาษีนิตบิ ุคคลจาก 30% เหลือ 23% ในปี ทผ่ี ่านมา และ 20% ในปี น้ี ทาให้การจัดเก็บภาษีนิตบิ คุ คลน้อยกว่าทีป่ ระมาณการไว้ ■ เงินบาทปิ ดตลาด (23 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.91-31.93 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อย จากการเข้ามาแทรกแซงจากทางการ

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (23 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 46.77 จุด หรือ 0.31% ปิ ดที่ 15,010.51 จุด เพราะได้แรงหนุนจากหุน้ ไมโครซอฟท์ท่ี เพิม่ สูงขึน้ ซึง่ ช่วยหันเหความสนใจของนักลงทุนเกีย่ วกับการลดมาตราการ QE ของสหรัฐ ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 19.08 จุด หรือ 0.52 % ปิ ด ที่ 3,657.79 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.54 จุด หรือ 0.39% ปิ ดที่ 1,663.50 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (23 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 295.38 จุด หรือ 2.21% ปิ ดที่ 13,660.55 จุด หลังมีสญ ั ญาณข้อมูลเศรษฐกิจทีด่ ขี น้ึ ของ ประเทศรายใหญ่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 9.66 จุด หรือ -0.47% ปิ ดที่ 2,057.46 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 31.89 จุด หรือ - 0.15% ปิ ดที่ 21,863.51 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 13.68 จุด หรือ -1.01% ปิ ดที่ 1,338.13 จุด จากความกังวลเรื่องเงินทุนต่างชาติทไ่ี หลออกต่อเนื่อง ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


toMacroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : ทรายนํา้ ม ัน : ประกายความหว ัง พล ังงานโลกและไทย ้ื สน ิ ค้าคงทนในเดือนก.ค. ของสหร ัฐลดลงหน ักสุดในรอบเกือบ 1 ปี โดยลดลง HighLight : ยอดคําสง่ ั ซอ ื่ มน ่ ง 2 ปี ้ สูงสุดในชว 7.3% (m-o-m) และความเชอ ่ ั ในเศรษฐกิจยูโรโซนเพิม ่ ขึน

Global:

■ สหรัฐ: ยอดคําสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนในเดือนก.ค. ลดลง 7.3% (m-o-m) สูร่ ะดับ 2.266 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็ นการลดลงหนักสุดในรอบ เกือบ 1 ปี และหดตัวตํ่ากว่าทีค่ าดว่าจะปรับตัวลง 4% ผลจากอุปสงค์ทล่ี ดลงสําหรับสินค้าประเภทต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เครื่องบิน พาณิชย์ รวมถึงการใช้จ่ายในภาคธุรกิจทีอ่ ่อนแรง สําหรับยอดคําสังซื ่ อ้ เครื่องบินพาณิชย์ลดลง 52.3% และยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนลดลง 0.6% (y-o-y) : ประธาน FED สาขาแอตแลนตา ระบุว่า FED อาจจะประกาศขันตอนแรกในการปรั ้ บลดวงเงิน QE ในเดือน ก.ย. ถ้าหากไม่มสี ญ ั ญาณทีน่ ่า เป็ นห่วงมากนัก ทีบ่ ง่ ชีว้ ่าเศรษฐกิจสหรัฐกําลังตกตํ่าลง : Fed สาขาดัลลัส รายงาน ภาวะทางธุรกิจในภาคการผลิตของเท็กซัสในเดือนส.ค.ขยายตัวเล็กน้อย โดยดัชนีกจิ กรรมทางธุรกิจโดยทัวไป ่ เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 5.0 จากระดับ 4.4 ในเดือนก.ค. ■ ยุโรป: ความเชื่อมันในเศรษฐกิ ่ จยูโรโซนเพิม่ ขึน้ สูงสุดในช่วง 2 ปี ส่งสัญญาณดีวา่ เศรษฐกิจกําลังฟื้นตัว โดยดัชนีความเชื่อมันในเดื ่ อน ส.ค. เพิม่ ขึน้ ไปสูร่ ะดับ -15.6 จาก -17.4 ในเดือนก่อน ในขณะทีด่ ชั นีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคเดือนส.ค.ทัง้ กลุ่มสหภาพยุโรป ก็ได้ฟ้ืนตัวขึน้ เช่นกันจาก -14.8 ในเดือนก่อนหน้า ไปสูร่ ะดับ -12.8 จากการทีเ่ ศรษฐกิจเยอรมนีและฝรังเศสปรั ่ บตัวดีขน้ึ ■ จีน: สํานักงานสถิติ ระบุ เศรษฐกิจจีนบ่งชีถ้ งึ ความมีเสถียรภาพ และการเปลีย่ นแปลงในเชิงบวก โดยได้แรงหนุนจากสภาวะใน ต่างประเทศทีป่ รับตัวดีขน้ึ และมีแนวโน้มว่าเศรษฐกิจจีนจะขยายตัวได้ตามเป้าหมาย 7.5% ในปี น้ี หลังจากทีร่ ฐั บาลได้ดาํ เนินมาตรการ กระตุน้ ซึง่ รวมถึงการยกเลิกการจัดเก็บภาษีบริษทั ขนาดย่อม และการเร่งการลงทุนในโครงการสาธารณูปโภคพืน้ ฐานในเมือง และทางรถไฟ ■ ญี่ปน: ุ่ นาย Akira Amari รัฐมนตรีเศรษฐกิจ กล่าวว่านายกรัฐมตรีอาจตัดสินใจเกีย่ วกับการเพิม่ ภาษีมลู ค่าเพิม่ อย่างช้าทีส่ ดุ ก่อนการ ประชุมผูน้ ํา APEC ทีอ่ นิ โดนีเซียในวันที่ 7 ต.ค.นี้ ทัง้ นี้เศรษฐกิจญีป่ ุน่ ขยายตัว 2.6% (ต่อปี ) ในไตรมาสทีแ่ ล้วซึง่ เป็ นอัตราการขยายตัวที่ นาย Taro Aso รัฐมนตรีคลังของญีป่ ุน่ กล่าวว่าสูงพอทีจ่ ะรับมือกับการขึน้ อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้

Thailand updates :

■ ก.พาณิชย์ เผย การส่งออกของไทยเดือน ก.ค. ลดลง 1.48% (y-o-y) ผลจากการชะลอตัวของเศรษษฐกิจโลกเป็ นหลัก ขณะที่ การนําเข้า เพิม่ ขึน้ 1.08% (y-o-y) ทําให้ขาดดุลการค้าประมาณ 2.28 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดยก.พาณิชย์จะทบทวนเป้าการส่งออกปี น้อี กี ครัง้ ในเดือน ก.ย. จากเดิมทีค่ าดไว้โต 7.0-7.5% หลังในช่วง 7 เดือนแรกทีผ่ า่ นมา ส่งออกขยายตัวได้เพียง 0.60% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (26 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 31.94/95 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงเล็กน้อยตามแรงซือ้ แรงขายของนักลงทุนและผูป้ ระกอบการ

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (26 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 64.05 จุด หรือ -0.43% ปิ ดที่ 14,946.46 จุด เนื่องจากนักลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับ แนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐ หลังจากสหรัฐเปิ ดเผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนเดือนก.ค.ทีร่ ่วงลงหนักสุดในรอบ 1 ปี ดัชนี NASDAQ ลดลง 0.22 จุด หรือ -0.01% ปิ ดที่ 3,657.57 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 6.72 จุด หรือ -0.40% ปิ ดที่ 1,656.78 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (26 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 24.27 จุด หรือ -0.18% ปิ ดที่ 13,636.28 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร หลังดัชนีเพิม่ ขึน้ แข็งแกร่งเมื่อวันศุกร์ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 39.02 จุด หรือ 1.90% ปิ ดที่ 2,096.47 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 141.81 จุด หรือ 0.65% ปิ ดที่ 22,005.32 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 8.95 จุด หรือ 0.67% ปิ ดที่ 1,329.18 จุด จากความกังวลด้านแรงขายของนักลงทุนต่างชาติ ทีม่ อี ย่างต่อเนื่อง ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบับที่ 25 ประจําวันที่ 27 สิ งหาคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL RESEARCH : ทรายนํ้ามัน : ประกายความหวัง พลังงานโลกและไทย “คาดการณ์ราคานํ้ามันดิบในช่วงสัปดาห์น้ี (26-30 ส.ค.56) น่าจะเคลือ่ นไหวในกรอบทีส่ งู ขึน้ เล็กน้อย โดยเวสต์เท็กซัสเคลือ่ นไหวในกรอบ 104110เหรียญฯ ส่วนเบรนท์เคลือ่ นไหวในกรอบ 106ั ย 112เหรียญฯ (สําหรับสัญญาเดือน ต.ค.) โดยมีปจจั ความกังวลเนื่องจากความกังวลเรือ่ งความไม่สงบใน อียปิ ต์ ซึง่ อาจลุกลามไปยังประเทศอืน่ ๆในตะวันออก กลาง หรือ ส่งผลกระทบต่อการลําเลียงนํ้ามันผ่าน คลองสุเอซ และท่อส่งนํ้ามันซึง่ เป็ นแหล่งขนถ่าย นํ้ามันสําคัญจากทะเลแดงไปสูท่ ะเลเมดิเตอร์เรเนียน ชะงักงันได้ ...” ข่าวดังกล่าวเป็ นตัวอย่างหนึ่งของความ กังวลทีส่ ง่ ผลต่อปจั จัยราคานํ้ามัน แต่สจั ธรรมข้อหนึ่ง ก็คอื นับวันราคานํ้ามันในตลาดโลกมีแต่แนวโน้มทีจ่ ะ เพิม่ ขึน้ ซึง่ ก็ไปสอดคล้องกับหลักสัจธรรมอีกข้อหนึ่ง ของวิชาเศรษฐศาสตร์ นันคื ่ อ “หลักอุปสงค์อุปทาน (Demand& Supply Rule)” ทีว่ า่ “สิง่ ใดก็ตามทีเ่ ราจําเป็ นต้องใช้ หายาก และมีวนั หมด ย่อม ั ่ ว่ นใน มีมลู ค่ามากกว่าสิง่ อืน่ ทีเ่ ราไม่จาํ เป็ นต้องใช้ หาง่าย และไม่มวี นั หมด” ซึง่ บางคนก็ปลอบใจตัวเองว่าเป็ นเหตุการณ์ชวคราว ั่ หากความปนป โลกอาหรับสงบลง ราคานํ้ามันก็อาจมีแนวโน้มลดลงได้ แต่ขอ้ เท็จจริงคือ ราคานํ้ามันโดยเฉลีย่ จะไม่มวี นั ลดลงอีกแล้ว (ทัง้ นี้ สมัยก่อนอาจถูกลง ได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ นันเพราะว่ ่ า supply ในโลกยังมีอยูเ่ หลือเฟือ) เนื่องจากนํ้ามันเป็ นสิง่ จําเป็ นในระบบเศรษฐกิจ โดยในช่วง 2 ศตวรรษทีผ่ า่ น มา เศรษฐกิจถูกขับเคลือ่ นด้วยนํ้ามันดิบราคาถูก ซึง่ สารทีก่ ลันจากซาก ่ Fossils ล้านปีชนิดนี้ไม่ได้เป็ นแค่เชือ้ เพลิงหลักทีเ่ ราใช้ แต่ยงั เป็ น วัตถุดบิ ในเม็ด plastic สารหล่อลืน่ ปุ๋ย และผลิตภัณฑ์อน่ื ๆอีกหลายพันรายการทีใ่ ช้ในชีวติ ประจําวัน อย่างไรก็ด ี ประเทศผูส้ ง่ ออกนํ้ามันรายใหญ่เดิม (เช่นกลุ่ม OPEC) ก็มไิ ด้มอี ตั ราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP Growth) สูงกว่า ประเทศอืน่ ๆ โดยในข้อเท็จจริง ประเทศเหล่านี้กบั ต้อง “คําสาปทรัพยากร (resource curse) คือ ยิ่ งประเทศได้เงิ นง่ายเพียงใด รัฐบาลของ ประเทศนัน้ ๆ ก็ยิ่งมีแนวโน้ มเคยตัว ขาดประสิ ทธิ ภาพ และขาดความโปร่งใสในการจัดสรรทรัพยากร ตลอดจนขาดความสนใจที่จะ ลงทุนเพื่อพัฒนาประเทศอย่างยังยื ่ น ซึง่ ส่งผลให้น้ํามันปิโตรเลียมประเภท conventional oil 1 ถูกนําไปอุปโภคในอัตรามหาศาล ส่งผลให้ ราคาสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทัง้ นี้ มีการคาดการณ์วา่ ถ้าอัตราการใช้น้ํามันทัวโลกยั ่ งคงอยูใ่ นระดับปจั จุบนั และไม่มกี ารค้นพบแหล่งนํ้ามันดิบใหม่ ๆ บ่อนํ้ามันดิบคงจะเหือดแห้งไปจากโลกนี้ภายในระยะเวลาไม่เกินครึง่ ศตวรรษ ทําให้เกิดความวิตกกังวลว่า ถ้านํ้ามันใต้พภิ พหมดไปจากโลกนี้ แล้ว จะหานํ้ามันดิบได้จากทีไ่ หนมาทดแทน??? ทัง้ นี้ โลกก็ได้ส่องประกายแห่งความหวังด้านพลังงาน เมือ่ มีการสํารวจพบแหล่งปิ โตรเลียมทดแทนแหล่งอื่น(Unconventional Hydrocarbon) ที่มีปริมาณมหาศาล โดยแหล่งดังกล่าวนี้ คือนํ้ามันปิ โตรเลียมจาก “ทรายนํ้ามัน (Tar Sand หรือ

1

Conventional crude oil is normally extracted from the ground by drilling oil wells into a petroleum reservoir, allowing oil to flow into them under natural reservoir pressures, although artificial lift and techniques such as water flooding and gas injection are usually required to maintain production as reservoir pressure drops toward the end of a field's life. Because bitumen flows very slowly, if at all, toward producing wells under normal reservoir conditions, the sands must be extracted by strip mining or the oil made to flow into wells by in-situ techniques, which reduce the viscosity by injecting steam, solvents, and/or hot air into the sands. These processes can use more water and require larger amounts of energy than conventional oil extraction, although many conventional oil fields also require large amounts of water and energy to achieve good rates of production. Source: KT-Zemico : PTTEP Company Update, Globalresearch “The third carbon age” : 27 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau ฉบับที่ 25 ประจําวันที่ 27สิ งหาคม พ.ศ. 2556 GLOBAL RESEARCH : ทรายนํ้ามัน : ประกายความหวัง พลังงานโลกและไทย

Page 3/3

Oil Sand)”2 นัน่ เอง รวมทัง้ นํ้ามันจากหิ นนํ้ามัน (Oil Shale) ที่มีลกั ษณะคล้ายกับทรายนํ้ามัน แต่กรรมวิ ธีการสกัดนํ้ามันดิบจากเนื่ องจากมีการประเมิ นว่านํ้ามันในทรายนํ้ามันทัง้ หมด รวมกันมีปริมาณถึง 3 ล้านล้านบาร์เรล (หรือ 2/3 ของแหล่งนํ้ามันทัง้ โลกที่สาํ รวจพบ) ทัง้ นี้ แม้ว่าทรายนํ้ามันสามารถพบได้ในหลายๆที่ทวโลก ั่ อย่างเช่น ประเทศเวเน ซูเอล่า และสหรัฐฯ แต่แหล่งทรัพยากรที่ใหญ่ที่สดุ และมีพฒ ั นาการมากที่สดุ อยูท่ ี่มณฑล Alberta ประเทศแคนาดา โดยมีแหล่งผลิ ตปิ โตรเคมีอยู่ที่เมือง Athabasca3 โดยในช่วง 30 ปีท่ี ผ่านมา การผลิตนํ้ามันของแคนาดา ได้รบั แรงขับเคลือ่ นหลักๆ มาจากการผลิต Oil Sands ทีเ่ ติบโต ในอัตราสูงถึง 1.8 ล้านบาร์เรล/วัน ในปี 55 (เทียบกับ 0.1 ล้านบาร์เรลต่อวันในปี 23) ซึง่ คิดเป็ นร้อย ละ 60 ของการผลิตนํ้ามันดิบรวมทัง้ ประเทศ และคาดว่าปริมาณการผลิต Oil Sands จะเพิม่ เป็ น 5.2 ล้านบาร์เรล/วัน ภายในปี 73 หรือคิดเป็ น การเติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 6 ต่อปี ในช่วง 18 ปีขา้ งหน้า และคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 78 ของการผลิตนํ้ามันทัง้ ประเทศ ตามความต้องการนํ้ามัน ประเภท unconventional ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ หลังจากทีป่ ริมาณนํ้ามันแบบ conventional มีแนวโน้มถดถอย ดังกล่าว ทัง้ นี้ บริ ษทั ปตท.สผ.ของประเทศไทยก็ได้เข้า ร่วมลงทุนในแหล่งทรายนํ้ามันแหล่งนี้ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2553 โดยได้ร่วมลงทุนในแหล่ง Oil Sand KKD (ปัจจุบนั บ.Oil Sand KKD มีส่วนแบ่งตลาดประมาณ ร้อยละ 5 -10 ของปริ มาณการการผลิ ต Oil Sands ทัง้ แคนาดา) โดยตัง้ บริษทั ขึน้ ใหม่ชื่อ PTTEP Canada จํากัด (PTTEP CA) เมื่อปี พ.ศ.2554 ภายใต้กฎหมาย ของรัฐ Alberta ตัง้ อยู่ที่เมือง Calgary โดยปัจจุบนั PTTEP ถือหุ้นร้อยละ 40 (อีกร้อยละ 60 ถือหุ้นโดย Stat Oil) ทัง้ นี้ Oil Sand KKD มีแผนขยายกําลังกําลังการ ผลิ ตให้ได้ 40,000 บาร์เรลต่อวัน (จากปัจจุบนั ที่ผลิ ตได้ ณ 20,000 บาร์เรลต่อวัน) ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาด้านวิ ศวกรรมและหากมี ความเป็ นไปได้ในอนาคต ประเทศไทยก็จะสามารถลดการสังซื ่ ้อนํ้ามันจากต่างประเทศ และมีศกั ยภาพที่เพิ่มขึน้ ในการหาแหล่ง พลังงานใหม่ๆ มาทดแทน ตลอดจนมีเสถียรภาพด้านพลังงานมากขึน้ 2

ทรายนํ้ามัน คือทรายทีร่ วมตัวกับดินเหนียวหรือนํ้าและนํ้ามันดิบทีม่ คี วามหนืดมากเป็ นพิเศษ เรียกว่า “นํ้ามันดิ น (Bitumen)” นํ้ามันดิบทีอ่ ยู่กบั ทราย ั บนั แต่มคี วามหนืดเหนียวและหนักกว่ามาก เนื่องจาก นํ้ามันนี้เป็นนํ้ามันปิโตรเลียมแบบเดียวกับนํ้ามันดิบใต้พน้ื พิภพทีส่ บู ขึน้ มาจากบ่อนํ้ามันตามปกติในปจจุ นํ้ามันดิบชนิดใสทีเ่ บากว่า ได้ระเหยหมดสิน้ ไปเมือ่ หลายล้านปีก่อน คงเหลือแต่สว่ นทีเ่ ป็ นนํ้ามันดิบทีเ่ หนียวข้นและระเหยยากมากทีจ่ บั ตัวปนอยู่กบั ทราย (ส่วน หินนํ้ามันก็มลี กั ษณะคล้ายคลึงกับทรายนํ้ามัน เพียงแต่น้ํามันดิบทีเ่ กิดขึน้ แทรกตัวอยู่ในซอกของชัน้ หินแทนทีจ่ ะเป็ นทรายเท่านัน้ ) 3

นักวิเคราะห์เชือ่ ว่า Alberta มี oil sands อยู่มากถึง 170 พันล้านบาร์เรล และอาจจะสามารถเพิม่ การผลิตได้มากขึน้ ถึง 315 พันล้านบาร์เรล ถ้าหากมี เทคโนโลยีทท่ี นั สมัยและมีสภาพเศรษฐกิจ ทีด่ กี ว่าในปจั จุบนั ซึง่ ปจั จุบนั ร้อยละ 80 ของผลผลิตจาก oil sands ใน Alberta มาจากเทคนิคแบบขุดเจาะ (in-situ techniques) ในขณะทีอ่ กี ร้อยละ 20 มาจากแบบการทําเหมืองแร่เปิดปากหลุม (open-pit mining) สําหรับ Oil Sands ในแคนาดานัน้ มีปริมาณสํารองนํ้ามันดิบ มากเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากซาอุดอี าระเบีย และเวเนซุเอลา โดยมีปริมาณสํารองทัง้ หมด 174 พันล้านบาร์เรล ส่วน Oil Sands คิดเป็ นประมาณ 169 พันล้านบาร์เรล (97% ) โดยระดับการผลิต Oil Sands ในปี ค.ศ. 2011 แคนาดาผลิต Crude oil ได้ทงั ้ หมด 3.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน ผลิตมาจาก Oil sands ประมาณ 1.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน (53%) ซึง่ นับว่าการผลิต Oil Sands นี้จะสูงขึน้ เรือ่ ยๆ และมีความสําคัญในอนาคต โดยคาดว่าใน ค.ศ. 2030 จะมีการผลิตได้ ถึง 5.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากการผลิต Crude oil ทัง้ ประเทศ 602 ล้านบาร์เรลต่อวัน Source: KT-Zemico : PTTEP Company Update, Globalresearch “The third carbon age” : 27 August 2013 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 28 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค

ื่ มน ้ สู่ 81.5 และเงินบำทอ่อนค่ำสุดในรอบ 3 ปี ที่ 32.18 HighLight : ด ัชนีควำมเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐส.ค.เพิม ่ ขึน

Global : ■ สหรัฐ: Conference Board รายงาน ดัชนีความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคส.ค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 81.5 จากระดับ 81 ในก.ค.ตรงข้ามกับทีค่ าดว่าจะลดลงสู่ ั ระดับ 79 สาหรับดัชนีสถานการณ์ปจจุบนั ซึง่ เป็ นมาตรวัดการประเมินสภาพเศรษฐกิจของผูบ้ ริโภคลดลงสูร่ ะดับ 70.7 จากระดับ 73.6 ในเดือนก่อน : รัฐมนตรีคลัง ระบุ หนี้สนิ ของรัฐบาลกลางสหรัฐจะเพิม่ ขึน้ แตะเพดานสูงสุดที่ 16.7 ล้านล้านดอลลาร์ภายในกลางต.ค.นี้ พร้อมกับเรียกร้องให้ รัฐสภาเพิม่ อานาจการกูย้ มื เงินของรัฐบาลในช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม : ดัชนีราคาบ้านในเดือนมิ.ย.เพิม่ ขึน้ 12.1% (y-o-y) ชะลอตัวลงจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 12.2% ในเดือนพ.ค. และเมือ่ เทียบรายเดือน ราคาบ้านเพิม่ ขึน้ 0.9% (m-o-m) หลังจากเพิม่ ขึน้ 1% ในเดือนก่อนหน้า ทัง้ นี้ ราคาบ้านปรับตัวขึน้ แต่ในอัตราทีช่ า้ ลง เนื่องจากอัตราดอกเบีย้ เงินกูซ้ อ้ื บ้านทีป่ รับตัวสูงขึน้ โดยอัตราดอกเบีย้ คงที่ ระยะเวลา 30 ปี อยูท่ ่ี 4.58% ในสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 22 ส.ค0 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี ■ อังกฤษ : ผูว้ า่ การธนาคารกลางมีแนวโน้มทีจ่ ะให้สญ ั ญาต่อนักลงทุนว่าจะคงอัตราดอกเบีย้ ต่าไปอีกกว่า 3 ปีจนกว่าอัตราการว่างงานจะลดลงมา อยูท่ ร่ี ะดับ 7% ซึง่ จะช่วยกระตุน้ การใช้จ่ายและการลงทุน และสนับสนุนให้เศรษฐกิจอังกฤษฟื้นตัวได้ ■ เยอรมนี : สถาบันวิจยั เศรษฐกิจ ระบุ ดัชนีความเชือ่ มันทางธุ ่ รกิจเพิม่ ขึน้ ที่ 107.5 ในเดือน ส.ค. จากระดับ 106.2 ในเดือน ก.ค. แสดงให้เห็นว่า เศรษฐกิจยังคงมีความแข็งแกร่งต่อเนื่อง ทัง้ นี้ ดัชนีความเชือ่ มันต่ ่ อภาวะทางธุรกิจในปจั จุบนั ปรับขึน้ สูร่ ะดับ 112.0 ในเดือน ส.ค. จาก 110.1 ใน เดือนทีแ่ ล้ว ส่วนการคาดการณ์เกีย่ วกับแนวโน้มทางธุรกิจเพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 103.3 จาก 102.4 ในเดือน ก.ค. ■ จีน : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (NBS) เผย บริษทั อุตสาหกรรมรายใหญ่มผี ลกาไรรวมในเดือน ก.ค. ปรับตัวขึน้ 11.6% เมือ่ เทียบรายปี ซึง่ ขยายตัวเพิม่ ขึน้ จากอัตรา 6.3% ในเดือน มิ.ย. นับเป็ นสัญญาณบ่งชีท้ ช่ี ดั เจนมากขึน้ ถึงเศรษฐกิจจีนทีแ่ ข็งแกร่ง ■ อิ นเดีย: ดัชนีตลาดหุน้ ดิง่ ลงในวันอังคาร ขณะทีห่ ุน้ บลูชพิ ร่วงลงจากความวิตกทีว่ า่ การที่รฐั สภาเห็นชอบร่างกฎหมายความมันคงด้ ่ านอาหาร จะ กดดันยอดขาดดุลการคลัง และยอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของอินเดีย ซึง่ ทาให้เกิดความวิตกเกีย่ วกับการปรับลดอันดับความน่าเชือ่ ถือ โดยเมื่อวัน จันทร์สภาผูแ้ ทนราษฎรของอินเดียได้เห็นชอบแผนมูลค่าเกือบ 2 หมืน่ ล้านดอลลาร์สหรัฐฯเพือ่ จัดหาธัญญพืชราคาถูกให้แก่คนยากจน

Thailand : ■ ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) มีมติขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลออกไปอีก 1 เดือน จากเดิมทีจ่ ะสิน้ สุดในวันที่ 31 ส.ค.นี้ ออกไปเป็ นสิน้ สุดวันที่ 30 ก.ย. 56 ทัง้ นี้การปรับลดเก็บภาษีน้ามันดีเซลจากเดิมทีม่ กี ารจัดเก็บในอัตรา 5.31 บาท/ลิตร ลงมาเหลือ 0.005 บาท/ลิตร เริม่ มาตัง้ แต่วนั ที่ 21 เม.ย. 54 เพือ่ ให้ราคาขายปลีกน้ามันดีเซลไม่สงู เกิน 30 บาท/ลิตร ■ เงินบาทปิดตลาด (27 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 32.17-32.18 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าสุดในรอบ 3 ปี เคลือ่ นไหวในทิศทางเดียวกับค่าเงินในภูมภิ าคหลัง ดอลลาร์แข็งค่า

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (27 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 130.16 จุด หรือ -1.14% ปิดที่ 14,816.30 จุด เนื่องจากนักลงทุนกังวลถึงความเป็ นไปได้ท่ี สถานการณ์ความขัดแข้งจะลุกลามบานปลายไปทัวภู ่ มภิ าค ดัชนี NASDAQ ลดลง 79.05 จุด หรือ -2.16% ปิดที่ 3,578.52 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 26.30 จุด หรือ -1.59% ปิดที่ 1,630.48 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (27 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 93.91 จุด หรือ -0.69% ปิดที่ 13,542.37 จุด จากความวิตกกังวลเกีย่ วกับความขัดแย้งในซีเรีย ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 7.09 จุด หรือ 0.34% ปิดที่ 2,103.57 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 130.55 จุด หรือ -0.59% ปิดที่ 21,874.77 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง -35.21 จุด หรือ -2.65 % ปิดที่ 1,293.97 จุด จากแรงขายของนักลงทุนต่างชาติทย่ี งั คงดาเนินอย่างต่อเนื่อง ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS

จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com


Macroeconomic Policy Bureau

ประจําว ันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : ปัญหาขาดดุลบ ัญชเี ดินสะพ ัด (ไทย มาเลย์) HighLight : ยอดขายบ้านสหร ัฐเดือนก.ค. ลดลง 1.3% (m-o-m) และค่าเงินรูปีอินเดียอ่อนค่าตํา่ สุดในรอบ 20 ปี ที่ 68.8450 รูปี/ดอลลาร์

Global:

■ สหรัฐ: ยอดขายบ้านเดือนก.ค. ลดลง 1.3% (m-o-m) ตํ่ากว่าทีค่ าด -1.0% (m-o-m) และเดือนก่อนหน้า -0.4% (m-o-m) จากราคาบ้านที่ สูงในเขตตะวันตกเฉียงเหนือ และตะวันตก : รมว.คลังยืนยันไม่มกี ารต่อรองสภาคองเกรสฯ ถึงการขยายเพดานก่อหนี้สาธารณะ ภายใต้ภาพรวมเศรษฐกิจขยายตัว 2.0% ■ ยุโรป: EU ประเมินว่าเร็วเกินไปทีจ่ ะพิจารณาว่ากรีซต้องการเงินช่วยเหลือเพิม่ ขึน้ จากวงเงินที่ Troika กําหนด 2.40 แสนล้านยูโร : ประธาน BoE ยืนยันพร้อมลดอัตราดอกเบีย้ อีก หากนักลงทุนเชื่อว่าต้นทุนทางการเงินทีส่ งู ขึน้ จะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ และจะไม่เปลีย่ นนโยบายการเงินกลับมาเข้มงวด จนกว่าเศรษฐกิจฟื้นตัวอย่าง ■ ฝรังเศส: ่ จํานวนผูว้ ่างงานเดือน ก.ค. เพิม่ ขึน้ 6,300 รายหรือว่างงานมากขึน้ 0.2% จากเดือน มิ.ย. ทําให้ยอดผูข้ อรับสวัสดิการมีจาํ นวน กว่า 3.28 ล้านคน ทัง้ นี้ รัฐบาลกําลังจะกระตุน้ การสร้างงานผ่านภาครัฐ โดยตัง้ เป้าจะจ้างงานคนหนุ่มสาว 150,000 ตําแหน่งในองค์กร ภาครัฐ ■ จีน: จีนเตรียมขึน้ ภาษีสนิ ค้าฟุ่มเฟือย ทัง้ นี้ทางการจะเร่งไปในกลุ่มอุตฯ ทีก่ ่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ และมีกาํ ลังการผลิตทีเ่ กินความ ต้องการ จะต้องเผชิญกับภาษีขายทีส่ งู ขึน้ ■ ญี่ปน: ุ่ สํานักงานควบคุมกด้านนิวเคลียร์ของญีป่ ุน่ (NRA) ได้ประกาศยกระดับการเตือนภัยความรุนแรงจากการรัวไหลของนํ ่ ้าปนเปื้ อน สารกัมมันตรังสีทโ่ี รงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกชู มิ า ขึน้ สูร่ ะดับ 3 หรือ "เหตุการณ์รา้ ยแรง" : บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ 3 แห่งในญีป่ ุน่ มียอดการผลิตรถยนต์ทวโลกลดลงในเดื ั่ อนก.ค. เมื่อเทียบเป็ นรายปีโดยโตโยต้ามอเตอร์ลดลง 1.8% นิสสันมอเตอร์ลดลง 8.1% ฮอนดามอเตอร์ลดลง 1.8% เนื่องจากความต้องการทีอ่ ่อนแอในจีน ละตินอเมริกาและญีป่ ุน่ ■ อิ นเดีย: ค่าเงินรูปีอนิ เดีย อ่อนค่า 3.9% ที่ 68.8450 รูปี/ดอลลาร์ ตํ่าสุดในรอบ 20 ปี อ่อนค่ามากกว่า 20% YTD จากการ เกิดTwin Deficit คือ ขาดดุลงบประมาณ และขาดดุลบัญชีเดินสะพัด ผนวกกับราคานํ้ามันดิบในตลาดโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ซึง่ จะเป็ นตัวเร่งอัตราเงินเฟ้อให้แก่อนิ เดีย และกดดันภาพรวมเศรษฐกิจเช่นกัน

Thailand updates :

■ ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน ก.ค.ของไทยหดตัวรุนแรงกว่าคาด -4.5% (y-o-y) จากเดือน มิ.ย. -3.5% (y-o-y) เทียบกับ Bloomberg Consensus คาด -1.9% เป็ นผลจากการผลิตฮาร์ดดิสก์, อาหารกระป๋อง, รถยนต์, ผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปและเครื่องใช้ไฟฟ้า ■ เงินบาทปิ ดตลาด (28 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 32.24-32.25 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากความกังวลสหรัฐ-ซีเรีย และชะลอ QE

US & Asian markets :

■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 48.38 จุด หรือ 0.33% ปิ ดที่ 14,824.51 จุด เนื่องจากนักลงทุนเข้ามาซือ้ เก็งกําไร หลังจากดัชนีดาวโจนส์ร่วงลงติดต่อกัน 2 วันทีผ่ ่านมา ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขีน้ 14.83 จุด หรือ 0.41% ปิ ดที่ 3,593.35 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 4.48 จุด หรือ 0.27% ปิ ดที่ 1,634.96 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (28 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิลดลง 203.91 จุด หรือ -1.51% ปิ ดที่ 13,338.46 จุด เนื่องจากความวิตกกังวลเกีย่ วกับความตึง เครียดทีร่ ุนแรงขึน้ ในซีเรีย ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 2.27 จุด หรือ -0.11% ปิ ดที่ 2,101.30 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 350.12 จุด หรือ -1.60% ปิ ดที่ 21,524.65 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ลดลง 18.21 จุด หรือ -1.41 % ปิ ดที่ 1,275.76 จุด จากค่าเงินบาททีอ่ ่อนค่า และความ กังวลต่อเหตุการณ์ในซีเรีย จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 26 ประจําว ันที่ 29 มิถน ุ ายนพ.ศ. 2556

Page 2/3

ี่ ง (ไทย มาเลย์) GLOBAL RESEARCH : ปัญหาขาดดุลบ ัญชเี ดินสะพ ัด : จ ับตา 2 ประเทศเสย

หลังจากที่ FITCH rating ได้สง่ สัญญาณเตือนว่าอาจมีการปรับลด Credit Rating จากปจั จุบนั BBB- และ Stable Outlook ของสอง ประเทศในเอเซีย ได้แก่อนิ เดียและอินโดนีเซีย หลังจากทีท่ งั ้ สองประเทศดังกล่าวเกิดปญั หา ด้านการขาดเสถียรภาพทางการเงินทีส่ ง่ ผล กระทบต่อความความเชื่อมั ่นของนักลงทุน เนื่องจากกระแสเงินทุนของ QE ทีอ่ าจไหลออก (จากความกังวลว่า Fed อาจปรับลดขนาด มาตรการเข้าซือ้ ตราสารหนี้ ลงจากระดับ 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือนในปจั จุบนั ) และการเป็ นประเทศทีม่ กี ารขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูง ทัง้ นี้ ความกังวลในด้านเสถียรภาพเศรษฐกิ จของทัง้ 2 ประเทศ ดังกล่าว (โดยเฉพาะในประเด็นด้านการขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดที่อยู่ในระดับสูง) ส่งผลให้เกิ ดข้อสงสัยว่าแล้วประเทศใดจะเป็ น ประเทศต่อไปที่จะตกอยู่ในชะตากรรมเดียวกับอิ นเดียและอิ นโดฯ ?? ซึง่ ณ ขณะนี้ นักลงทุนหลายสํานักกําลังเฝ้ามองมาว่าประเทศทีม่ แี นวโน้มได้รบั ความเสียหายรายต่อไป จะต้องมีคณ ุ สมบัติ 3 ประการ สําคัญ ได้แก่ 1) มียอดขาดดุลงบประมาณสูง 2) มีเศรษฐกิ จชะลอตัว และ 3) ต่างชาติ ครองสัดส่วนสูงในการถือครองพันธบัตรรัฐบาลของ ประเทศนัน้ ๆ ซึ่งไทยกับมาเลเซียต่างมีคณ ุ สมบัติตรงทัง้ 3 ดังกล่าว สอดคล้องกับบทวิเคราะห์ของ Credit Suisse (วาณิชธนกิจชัน้ นําจาก

ยุโรป) ทีม่ มี มุ มองว่ามาเลย์ฯและไทยจะเป็ นสองประเทศทีจ่ อ่ คิวเผชิญแรงกดดันด้านค่าเงิน (ทีม่ แี นวโน้มอ่อนลงต่อเนื่อง) และดุลบัญชีเดินสะพัด เช่นเดียวกับมุมมองของ Goldman Sachs (อีกหนึ่งวาณิชธนกิจชื่อดัง) ทีป่ ระเมินว่าทัง้ มาเลย์ฯ และไทย กําลังเผชิญปญั หาคล้ายคลึงกับอินเดีย และ อินโดฯ โดยออกรายงานเมื่อวันศุกร์ท่ี 23 ส.ค.56 ว่าพร้อมปรับประมาณการค่าเงินสกุล บาท รูเปี ยห์ และ ริงกิต เมื่อเทียบดอลล์สหรัฐฯ ช่วง 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือนข้างหน้า ให้อยูใ่ นทิศทางทีอ่ ่อนค่าลงทัง้ หมด 1 เมื่อพิจารณามาเลเซีย ถึงแม้วา่ GDP Growth ล่าสุดในไตรมาส 2 อยูท่ ่ี 4.3% ซึง่ ขยายตัวต่อเนื่องจากไตรมาส 1 ที่ 4.1 % แต่อย่างไรก็ ดี นักลงทุนยังมองว่ามาเลเซียเผชิญความเสีย่ งจากการทีช่ าวต่างชาติถอื ครองตราสารหนี้ถงึ เกือบกึง่ หนึ่งของประเทศ (สัดส่วนการถือครองของนัก ลงทุนต่างชาติในตลาดพันธบัตรรัฐบาลของมาเลย์ มีสงู เป็ นอันดับ 2 ของประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก โดยมีสดั ส่วน 31.2% รองจากอินโดฯ ทีม่ สี ดั ส่วน 32.6% ของพันธบัตรทัง้ ประเทศ) นอกจากนี้ มาเลย์ยงั ประสบปญั หาค่าเงินทีอ่ ่อนค่าอย่างรวดเร็ว โดยสกุลเงินริงกิตดิง่ ลงแตะจุดตํ่าสุด ในรอบ 3 ปี ท่ี 3.3 ริงกิต ต่อดอลลาร์สหรัฐ เมื่อ 27 ส.ค.นี้ (โดยเฉลี่ยแล้วลดลงมาแล้วกว่า 7 % นับจากช่วงต้นปี น้ี) ซึง่ ธนาคารกลางมาเลเซีย พยายามแก้ปญั หาการอ่อนค่า โดยได้ใช้เงินไปแล้วกว่า 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในการปกป้องค่าเงินริงกิตในช่วงไม่กว่ี นั ทีผ่ า่ นมา ส่งผลกระทบ ให้ Fitch Rating ปรับลดแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของหนี้มาเลเซียในเดือน ก.ค. ทีผ่ า่ นมา โดยให้เหตุผลว่าเป็ นเพราะมาตรการปฏิรูปทางการ คลังของมาเลเซียมีแนวโน้มทีย่ ่าํ แย่ลง โดยมาตรการเหล่านี้รวมถึงการปรับลดเงินอุดหนุนจํานวนมากของรัฐบาล และปรับเพิม่ การจัดเก็บ VAT เพื่อ 0

1

โดยคาดการณ์เงินบาทอยู่ท่ี 33 บาท 32.5 บาท และ 32 บาท (จากเดิมที่ 31.30 31.0 และ30 บาท ตามลําดับ) เงินรูเปียะห์ เป็ น 12,000 / 12,000/ 11,800 (จากเดิม 10.000/ 10,200/ 10,500 รูเปียะห์ ตามลําดับ) เงินริงกิต เป็ น 3.48 ริงกิต 3.30 ริงกิต 3.20 ริงกิต (จากเดิม 3.20 ริงกิต 3.15 ริงกิต และ 3.10 ริงกิต ตามลําดับ) โดยเหตุผลของการปรับค่าเงินอ่อนค่าลง จากการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจะส่งผลให้เกิดกระแสเงินทุนไหลออกไป Source : Natixis: Asia in a Nutshell - Aug 27 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 26 ประจําว ันที่ 29 มิถน ุ ายนพ.ศ. 2556

Page 3/3

ี่ ง (ไทย มาเลย์) GLOBAL RESEARCH : ปัญหาขาดดุลบ ัญชเี ดินสะพ ัด : จ ับตา 2 ประเทศเสย

ลดการพึง่ พารายได้จากนํ้ามัน นอกจากนี้ มาเลย์ฯ กําลังเผชิญการส่งออกทีช่ ะลอตัวลง ส่งผลให้ยอดดุลบัญชีเดินสะพัดลดลงอย่างต่อเนื่อง (ยอด เกินดุลบัญชีเดินสะพัดดิง่ ลงอย่างรุนแรงสู่ 8.7 พันล้านริงกิตในไตรมาสแรกของปี 56 จาก 2.28 หมื่นล้านริงกิตในไตรมาสสุดท้ายปี 55) ซึง่ จะเป็ น การเพิม่ แรงกดดันต่อผูก้ ําหนดนโยบายของมาเลย์ให้คมุ เข้มนโยบายการเงิน (อัตราดอกเบีย้ นโยบายมีทศิ ทางทีถ่ ูกตรึงหรือลดลง) ปฏิกริยาเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่ามาเลย์ได้รบั ผลกระทบเป็ นอย่างมากจากการไหลออกของเงินทุน สะท้อนจากการทีต่ ่างชาติเทขายตราสารหนี้มาเลย์ฯ ในช่วงทีผ่ า่ น มา โดยปรับลดมูลค่าการถือครองลงสู่ 1.38 แสนล้านริงกิตในเดือน มิ.ย. (จาก 1.45 แสนล้านริงกิตในเดือน พ.ค.) สรุปแล้ว มาเลย์ฯ มีความเสี่ยงสูงที่จะประสบปัญหาตามรอยอิ นเดียและอิ นโดฯ เนื่ องจากต่างชาติ ถือครองพันธบัตรอยู่เกือบครึ่งหนึ่ งซึ่ง มีความเสี่ยงต่อเสถียรภาพมาก หากต่างชาติ พากันถอนเงินลงทุนออก อีกทัง้ นโยบายการเงินและการคลังที่เป็ นไปในทิ ศทางไม่จงู ใจนัก ลงทุนจากต่างประเทศอีกด้วย ขณะเดียวกัน เมื่อหันมามอง ไทย เนื่องจากหากพิจารณาพฤติกรรมการ ลงทุนของต่างชาติเปลีย่ นไปจากเดิมที่ ลงทุนในตราสารหนี้ระยะสัน้ และทํากําไร จากค่าเงินบาท หันมาลงทุนในตราสาร หนี้ระยะยาวอายุมากกว่า 10 ปี เพิม่ มาก ขึน้ สะท้อนว่าเงินที่เข้ามาลงทุนใน ตลาดตราสารหนี้ ไทยปัจจุบนั มีสดั ส่วน ที่เป็ นเม็ดเงินลงทุนจริงๆเพิ่มขึ้น

อินโดนีเซีย

มาเลเซีย

อินเดีย

ไทย

ปี 55

Q1/56

Q2/56

พ.ค.56

มิ.ย. 56

ก.ค.56

YTD

- Real GDP (%yoy) - มูลค่าการส่งออกสินค ้า (%yoy) - มูลค่าการนํ าเข ้าสินค ้า (%yoy) - อัตราเงินเฟ้ อทั�วไป (CPI) (%yoy) - อัตราดอกเบีย� นโยบาย (BI) - Real GDP (%yoy) - มูลค่าการส่งออกสินค ้า (MYR) (%yoy) - มูลค่าการนํ าเข ้าสินค ้า (MYR) (%yoy) - อัตราเงินเฟ้ อทั�วไป (CPI) (%yoy) - อัตราดอกเบีย� นโยบาย (Overnight) - Real GDP (%yoy) - มูลค่าการส่งออกสินค ้า (%yoy) - มูลค่าการนํ าเข ้าสินค ้า (%yoy) - อัตราเงินเฟ้ อทั�วไป (CPI) (%yoy) - อัตราดอกเบีย� นโยบาย - Real GDP (%yoy)

6.2 -6.6 8.0 4.3 5.75 5.6 0.6 5.9 1.7 3.00 5.1 -2.0 5.4 7.5 8.00 6.5

6.0 -6.4 -0.2 5.3 5.75 4.1 -2.4 6.4 1.5 3.00 4.8 3.5 1.6 6.7 7.50 5.4

5.8 -5.8 -3.9 5.6 6.00 4.3 -5.1 2.5 1.8 3.00 -2.1 6.0 4.7 7.25 2.8

-4.1 -2.2 5.5 5.75 -5.1 -2.3 1.8 3.00 -1.1 7.0 4.6 7.25

-4.5 -6.8 5.9 6.00 -6.9 1.3 1.8 3.00 -4.6 -0.4 4.9 7.25

8.6 6.50 2.0 3.00 11.6 -6.2 5.8 7.25

5.9 -6.1 -2.2 5.9 6.50 4.2 -3.8 4.4 1.7 3.00 4.8 2.0 2.3 5.7 7.25

- มูลค่าการส่งออกสินค ้า (%yoy)

22.1 8.2

3.8 6.7

-1.5

3.0 2.75

3.1 2.75

2.3 2.50

-1.9 -3.5 2.3 2.50

-4.9 3.0 2.3 2.50

2.0 2.50

4.1 1.3 4.3 2.6 2.50

- มูลค่าการนํ าเข ้าสินค ้า (%yoy) - อัตราเงินเฟ้ อทั�วไป (CPI) (%yoy) - อัตราดอกเบีย� นโยบาย (Cash rate)

2.0

ถึงแม้วา่ สถานการณ์การส่งออกทีช่ ะลอตัวต่อเนื่องจะส่งผลให้ไทยเริม่ มียอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในไตรมาสทีส่ องปี น้ี (ที่ -5.1 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ จากไตรมาสแรกทีย่ งั คงเกินดุล 1.3 พันล้านดอลาร์สหรัฐ) แต่อย่างไรก็ดี ไทยยังคงได้รบั อานิ สงส์จากเม็ดเงินภาคบริการการท่องเที่ยว ที่คาดว่าจะสร้างรายได้เข้ามาในปี นี้ ถึง 1.1 ล้านล้านบาท จะช่วยให้สถานการณ์ดลุ บัญชีเดิ นสะพัดของไทยมีแนวโน้ มที่ ดีขึน้ (จากการ เพิ่มขึน้ ของดุลบริการ) อีกทัง้ สถานการณ์ทุนสํารองสกุลต่างประเทศยังอยู่ในระดับแข็งแกร่งที่ระดับ 172.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (หรือ คิ ดเป็ น 2.6 เท่าของหนี้ ต่างประเทศระยะสัน้ ) ซึ่งจะช่วยบรรเทาผลกระทบจากเงินทุนที่ไหลออก และสถานการณ์หนี้ สาธารณะที่ยงั คงอยู่ ในกรอบความยั ่งยืนทางการคลัง ตลอดจนการที่รฐั บาลมีนโยบายชัดเจนในแผนการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน 2 ล้านล้านบาท ที่จะช่วย เรียกความเชื่อมั ่นของนักลงทุนต่างชาติ ไม่ให้ดีงเงินออกไป จึงคาดว่าความเสียหายจากปัญหา QE ไหลออกและปัญหาการขาดดุล บัญชีเดิ นสะพัดของไทยจะถูกบรรเทาลงได้

Source : Natixis: Asia in a Nutshell - Aug 27 รายงานฉบับนี้จดั ทําเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทําไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Macroeconomic Policy Bureau

ประจำว ันที่ 30 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 1

MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL REVIEW : ทำงออกเศรษฐกิจอินเดีย ฝันทีเ่ ลวร้ำยทีส ่ ด ุ ี ขึน ้ อ ัตรำดอกเบีย ้ เป็น 7% สก ัดเงินไหลออก HighLight : GDPสหร ัฐ Q2/56 ขยำยต ัว 2.5% และอินโดนิเซย

Global: ■ สหรัฐ: GDP ใน Q2/56 รอบสุดท้าย ขยายตัว 2.5% (q-o-q) เทียบกับ คาด 2.2% (q-o-q) และ Q1/56 เพิม่ ขึน้ 1.7% (q-o-q) ทัง้ นี้ยอดขาย ภายในประเทศปรับขึน้ เป็ น 1.9% (q-o-q) สูงกว่าทีต่ ลาดคาด 1.3% (q-o-q) รวมถึงการส่งออกสุทธิทข่ี ยายตัวได้ดกี ว่าคาด : ยอดขอสวัสดิการว่างงานใหม่อยูท่ ่ี 3.31 แสนตาแหน่ง เทียบกับคาด 3.32 แสนตาแหน่ง ทัง้ นี้เป็ นการส่งสัญญาณเชิงบวกต่อภาพรวมการจ้าง งาน มากกว่าการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ ■ อังกฤษ: สภาอังกฤษปฎิเสธแผนการบุกซีเรียทีเ่ สนอต่อสภา โดยนายกรัฐมนตรี เพือ่ ขออนุมตั แิ ผนการจัดส่งทหารเข้าบุกยึดซีเรีย หลังมี หลักฐานถึงการใช้อาวุธเคมี ทัง้ นี้สภาล่างได้ปฎิเสธแผนดังกล่าวด้วยเสียง 285 : 272 : ดัชนีความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคเดือนส.ค.อยูท่ ่ี -13.0 จุด ทาระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนต.ค. 51 ในรอบ 4 ปี จากเดือนก่อนหน้า -16.0 จุด และดีกว่าที่ คาด -14.0 จุด เป็ นการส่งสัญญาณภาคการบริโภคพร้อมทีจ่ ะเพิม่ การใช้จ่ายมากขึน้ และมีมมุ มองเป็ นบวกต่อแนวโน้มเศรษฐกิจ เพิม่ ขึน้ 8.0 จุด ปิดที่ -1.0 จุด เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนเม.ย. 53 : สมาคมการค้าของอังกฤษเพิม่ มุมมองต่อเศรษฐกิจอังกฤษ ปรับ GDP ในปีน้ขี น้ึ เป็ น 1.3% จากประมาณการก่อนหน้าที่ 0.9% และปี 57 คาด ขยายตัว 2.2% จากเดิม 1.9% และปี 2558 ที่ 2.5% จากเดิม 2.4% ■ เยอรมัน: อัตราการว่างงงานเดือนส.ค.เพิม่ ขึน้ 7 พันตาแหน่งเป็ น 2.95 ล้านตาแหน่ง เป็ นการเพิม่ ขึน้ ครัง้ แรกในรอบ 3 เดือน สวนทางกับที่ ตลาดคาดจะลดลง 5 พันตาแหน่ง ขณะทีอ่ ตั ราการว่างงานยังคงทีอ่ ยูใ่ นระดับ 6.8% ซึง่ คาดว่า จานวนผูว้ า่ งงานทีเ่ พิม่ ขึน้ เกินกว่าคาดอาจจะเป็ น ผลมาจากปจั จัยฤดูกาล ■ ญี่ปน: ุ่ อัตราเงินเฟ้อเดือนก.ค.เพิม่ ขึน้ 0.7% (y-o-y) เพิม่ ขึน้ มากสุดนับตัง้ แต่เดือนก.ค.51 และดีกว่าคาด 0.6% (y-o-y) เนื่องจากราคาพลังงาน และราคาสินค้านาเข้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ผลักดันให้ Core Inflation ในเดือนก.ค. -0.1% (y-o-y) : ผลผลิตภาคอุตฯ เดือนก.ค. เพิม่ ขึน้ 1.6% (y-o-y) จากเดือนมิ.ย. -4.6% (y-o-y) แม้วา่ จะต่ากว่าทีค่ าด 1.8% (y-o-y) ก็ตาม ■ อิ นโดนี เซีย: ธนาคารกลางขึน้ อัตราดอกเบีย้ เป็ น 7.00% จาก 6.5% ซึง่ เป็ นการประชุมวาระพิเศษ และเพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินฝาก 50bps เป็ น 5.25% เช่นกัน เพือ่ เป็ นการควบคุมอัตราเงินเฟ้อทีท่ าระดับสูงสุดในรอบ 4 ปี และช่วยด้านค่าเงินรูเปียให้ทรงตัวถึงฟื้นตัวได้

Thailand updates : ■ ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของไทยในเดือน ก.ค. หดตัวลง 4.5% จาก -3.2% ในเดือนก่อน ด้วยอัตราการใช้กาลังการผลิต 63.5% จาก 64.8% ในเดือนก่อน โดยเป็ นผลผลิตทีล่ ดลงในอุตสาหกรรมกลุ่มอาหารและเครือ่ งดืม่ ยานยนต์ และแผงวงจรไฟฟ้า ■ เงินบาทปิดตลาด (29 ส.ค.) ทีร่ ะดับ 32.18/19 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อย จากการคลายความกังวลเรือ่ งซีเรียของนักลงทุน

US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (29 ส.ค.) ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 16.44 จุด หรือ 0.11% ปิดที่ 14,840.95 จุด เนื่องจากนักลงทุนคลายความวิตกกังวล เกีย่ วกับการคาดการณ์สหรัฐและซีเรีย ผนวกกับได้รบั แรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจสหรัฐทีแ่ ข็งแกร่ง ดัชนี NASDAQ เพิม่ ขึน้ 26.95 จุด หรือ 0.75% ปิดที่ 3,620.30 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 3.21 จุด หรือ 0.20% ปิดที่ 1,638.17 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (29 ส.ค.) ดัชนีนิกเกอิกเพิม่ ขึน้ 121.25 จุด หรือ 0.91% ปิดที่ 13,459.71 จุด โดนได้รบั แรงหนุนจากการอ่อนค่าของสกุลเงิน เยน และตลาดหุน้ ในเอเชียทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็ นส่วนใหญ่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 4.07 จุด หรือ -0.19% ปิดที่ 2,097.23 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 180.13 จุด หรือ 0.84% ปิดที่ 21,704.78 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET เพิม่ ขึน้ 16.77 จุด หรือ 1.32% ปิดที่ 1,292.53 จุด ปรับตัวขึน้ สอดคล้องกับ ตลาดในภูมภิ าค จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS


Macroeconomic Policy Bureau

ฉบ ับที่ 20 ประจำว ันที่ 30 สิงหำคม พ.ศ. 2556

Page 2/2

GLOBAL REVIEW : ทำงออกเศรษฐกิจอินเดีย ฝันทีเ่ ลวร้ำยทีส ่ ด ุ

ในช่วงหลายวันที่ผ่านมา “อิ นเดีย” ได้กลายเป็ น ประเทศที่ทุกคนต้องจับตามอง ด้วยปัญหาทางเศรษฐกิ จที่ใคร หลายคนมองว่าเลวร้ายที่สดุ ในรอบศตวรรษ แม้วา่ เดิมทีแ่ ดน ภารตะแห่งนี้จะเคยถูกกล่าวขานว่า เป็ นประเทศทีจ่ ะก้าวขึน้ เป็ น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจใหม่ของโลกแทนทีจ่ นี ก็ตาม ด้วยขนาด เศรษฐกิจทีใ่ หญ่เป็ นอันดับ 3 ในเอเชีย และ GDP ทีส่ ามารถขยายตัว ได้สงู ถึง 9 - 10% เมื่อ 6 - 7 ปี ทผ่ี ่านมา แต่ในปจั จุบนั เศรษฐกิจแดน ภารตะแห่งนี้กบั ชะลอลงอย่างต่อเนื่อง โดยเติ บโตได้เพียง 4.8% (ม.ค.-มี.ค.56) หรือประมาณครึง่ หนึ่งของในอดีต และภาคการผลิตของประเทศไตรมาสแรกของปี เติบโตได้เพียง 2.6% นอกจากนี้อนิ เดียยังต้องเผชิญกับปญั หารุมเร้าต่างๆ อีกมากมายไม่วา่ จะเป็ นปัญหาค่าเงิ นรูปีซึ่งเป็ นสกุลเงินหลักของเอเชียทีอ่ ่อนค่าลง อย่างรวดเร็วกว่า 13% นับแต่ช่วงต้นปี จากการไหลออกของสกุลเงินต่างประเทศ มาอยูท่ ่ี 61.45 รูปีต่อดอลลาร์ (14 ส.ค.) ทาให้อนิ เดียกลายเป็ น ประเทศทีม่ คี า่ เงินอ่อนลงสูงสุดอันดับสองของโลก รองจากบราซิล ผนวกกับปัญหาเงินเฟ้ อทีม่ แี นวโน้มเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง ซึง่ อัตราเงินเฟ้อ ทั ่วไปในปัจจุบนั เพิ่ มขึน้ เป็ น 5.79% ต่อปี ในเดือนก.ค. จาก 4.86% ในเดือนมิ.ย. ในขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อเป้าหมายอยูท่ ่ี 4 - 5% เท่านัน้ ซึง่ ผล พวงจากปญั หาเงินเฟ้อทีส่ งู กว่าประเทศอื่นๆ คือ ต้นทุนการผลิตในอินเดียทีป่ รับสูงขึน้ เทียบกับคู่แข่ง ส่งผลให้ผผู้ ลิตของอินเดียแข่งขันในตลาดโลก ได้ลาบากยากยิง่ ขึน้ นาไปสู่ปัญหาการขาดดุลการค้าและดุลบัญชีเดิ นสะพัด โดยปญั หานี้เริม่ ขึน้ นับแต่ปี 48 เป็ นต้นมา ล่าสุดอินเดียขาดดุล บัญชีเดิ นสะพัดอยู่ที่ประมาณร้อยละ 4.8% ของGDP สูงทีส่ ดุ ในรอบหลายๆ ปี ทผ่ี ่านมา ซึง่ เป็ นการเพิม่ แรงกดดันให้ค่าเงินรูปีอ่อนลงไปอีก ในขณะทีผ่ ลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี พุง่ เป็ นกว่า 9% ซึง่ สูงทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนพ.ย. 54 สะท้อนถึงความสนใจนักลงทุนทีล่ ดลง เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวทัง้ รัฐบาลอิ นเดียและธนาคารกลางอิ นเดียจึงได้ออกมาตรการต่างๆ หลายมาตรการ ไม่วา่ จะเป็ นการ จากัดการนาเข้าทอง ขึน้ ภาษีนาเข้าทอง และสั ่งห้ามการนาเข้าเหรียญทองและทองแท่ง เพื่อแก้ไขปญั หาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เนื่องจากอินเดียถือเป็ นผูซ้ อ้ื ทองรายใหญ่สุดของโลก เพิ่ มข้อจากัดการลงทุนในต่างประเทศ พร้อมปรับลดวงเงินการโอนเงินไปต่างประเทศ (FDI) หลังปริมาณเงินลงทุนในต่างประเทศเพิม่ สูงขึน้ ถึง 3.2 พันล้านดอลลาร์ ในเดือนก.ค. โดยประกาศลดวงเงินลงทุนโดยตรงในต่างประเทศของ บริษทั อินเดียลงจาก 4 เท่าของมูลค่าสุทธิของบริษทั เหลือเพียง 1 เท่าตัว และประกาศลดวงเงินลงทุนในต่างประเทศ ทีบ่ ุคคลทั ่วไปในอินเดีย สามารถส่งออกไปได้ จากคนละ 2 แสนดอลลาร์ เหลือเพียง 7.5 หมื่นดอลลาร์ เพื่อลดการไหลออกของเงินและพยุงรูปี นอกจากนี้ในวันที่ 28 ส.ค.ที่ ผ่านมา รัฐบาลยังได้อนุมตั ิ แผนฟื้ นโครงสร้างสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน 36 โครงการ ในภาคน้ ามัน ก๊าซธรรมชาติ พลังงาน ถนน และเส้นทาง รถไฟ รวมเป็ นมูลค่า 2.84 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 8.52 แสนล้านบาท) เพื่อหวังใช้เป็ นแนวทางฟื้ นเศรษฐกิจของประเทศทีก่ าลังย่าแย่ และ กระตุน้ ค่าเงินทีอ่ ่อนค่าลงอย่างมาก โดยล่าสุดเมื่อวานนี้ ธนาคารกลางอินเดียยังได้ออกมาประกาศเตรียมขายเงินดอลลาร์ในรัฐ 3 รัฐ เพื่อ สนับสนุนเศรษฐกิจของประเทศ โดยผลจากมาตรการที่ได้ประกาศออกมาในเบือ้ งต้นนัน้ ได้ส่งผลให้ตลาดการเงินในประเทศอิ นเดียและในภูมิภาคได้รบั ความ ปัน่ ป่ วนไปด้วย โดยนักลงทุนต่างชาติเริม่ มามองหาโอกาสเก็งกาไรในค่าเงินของประเทศต่าง ๆ จากการอ่อนค่ารวมไปถึงเริม่ มองถึงความเสีย่ งที่ ทางการในภูมภิ าคอาจออกมาตรการเพื่อสกัดการไหลออกของเงินทุน นับเป็ นความผันผวนในระยะสัน้ ในระบบการเงินของภูมภิ าค ซึง่ เราก็ได้เห็น ผลบางส่วนทีส่ ง่ มาถึงอินโดนีเซีย และไทยไปบ้างแล้ว เมื่อช่วงต้นสัปดาห์ ทีผ่ า่ นมา ทัง้ ด้านค่าเงินและตลาดหุน้ แต่อย่างไรก็ตาม นายเคาชิก บาซู หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ ประจาธนาคารโลก ยังคงเชื่อว่าปญั หาเศรษฐกิจอินเดียทีต่ กต่าอยู่ในขณะนี้ ยังไม่ถงึ ขัน้ วิกฤติเหมือนในปี 34 (อินเดียต้องขอความช่วยเหลือจาก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ) เนื่องจากการลดลงของตัวเลข GDP อาจ ยังไม่ถงึ จุดต่าสุด ซึง่ พวกเรายังคงต้องจับตาดูเศรษฐกิจแดนภารตะแห่งนี้ อย่างใกล้ชดิ ต่อไป... Source : Why India is particularly vulnerable to the turbulence rattling emerging markets : The Economist Newspaper Limited 2013 (24 Aug 2013) รายงานฉบับนี้จดั ทาเพื่อเผยแพร่ทวไป ั ่ ทางผูจ้ ดั ทาไม่สามารถรับผิดชอบหรือมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ขอ้ มูล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.