Total กฎหมาย 2

Page 1

กฎหมายน่ารู้ 2


¡®ËÁÒ¹‹ÒÃÙŒ

MONTHLY JOURNAL

Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ

MAY 2012 : VOL. 1

“ระยะเวลาในการปฏิบัติงานนั้นสําคัญไฉน” กฎหมายตางๆ นอกจากจะกําหนดอํานาจและหนาที่ของหนวยงานทาง ปกครองหรื อ เจ า หน า ที ่ข องรั ฐ ไว แ ล ว กฎหมายยั ง กํ า หนดกรอบ “ระยะเวลา” ให ห น ว ยงานทางปกครองหรื อ เจ า หน า ที ่ข องรั ฐ จะต อ ง ดํ า เนิ น การในเรื ่อ งต า งๆ ไว ด ว ย ทั ้ง นี ้ เพราะการปฏิ บั ติ ร าชการของ หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐจะตองรีบดําเนินการโดยทันที หากมีกฎหมายกําหนดระยะเวลาไวเทาใดก็ตองดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในระยะเวลานั้น แตการที่จะกําหนดระยะเวลาการดําเนินการในเรื่อง ตางๆ ไวทุกเรื่องทุกขั้นตอนก็ไมใชเรื่องง ายนัก กฎหมายจึงมักกําหนด ระยะเวลาไวเฉพาะในเรื่องที่สําคัญๆ เทานั้น สวนการดําเนินการในเรือ่ ง อื น่ นอกจากนั น้ ย อ มเป น ที เ่ ข า ใจได ว า หน ว ยงานทางปกครองหรื อ เจาหนาทีข่ องรัฐจะตองรีบดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน “ระยะเวลาอัน สมควร” ระยะเวลาอันสมควรนี้เปนหลักทั่วไปของการปฏิบัติราชการ กฎหมาย เกี่ยวกั บหลักของการปฏิบัติ ราชการโดยทั่วไปก็ คือ พระราชบั ญญัติวิ ธี ปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เปนหลักเทียบเคียง ในกรณีที่ไมมี กฎหมายกําหนดระยะเวลาในการพิจารณาคําขอหรือการกระทําใดๆของ หน ว ยงานปกครองหรื อ เจ าหน า ที ่ข องรั ฐ สํ า หรั บ เรื ่อ งนั ้น ๆ ไวเ ป น การ เฉพาะ หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐควรดําเนินการใหแลว เสร็จภายใน 90 วันนับแตวันทีไ่ ดรับเรือ่ ง (คําสั่งของศาลปกครองสูงสุดที่ 260/2546 ประชุมใหญ) การที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐไมรีบดําเนินการในเรื่อง ตางๆ ใหแลวเสร็จดังกลาวนี้ ผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจากความ ล า ช า อาจนํ า คดี ฟ อ งต อ ศาลปกครอง เพื ่อ ให ศ าลปกครองมี คํ า สั ่ง ให หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐดําเนินการในเรื่องนั้นๆ ให แลวเสร็จภายในปฏิบัติ ผูเสียหายอาจะเรียกรองคาเสียหายจากหนวยงาน ตนสังกัดไดอีกเชนกัน

ศัพทกฎหมาย Preferential right

บุริมสิทธิ

General preferential right

บุริมสิทธิสามัญ

Special preferential right

บุริมสิทธิพิเศษ

Void act

โมฆะกรรม

Voidable act

โมฆียะกรรม

Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ ¡ÃзÃǧ¡ÒäÅѧ | â·Ã. 0-2273-9020 # 3262-3269 | á¿¡« 0-2618-3371


¡®ËÁÒ¹‹ÒÃÙŒ

MONTHLY JOURNAL

Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ

MAY 2012 VOL.1

กฎหมายที่อยูในความรับผิดชอบของ สศค. ขัดรัฐธรรมนูญ??

ภาษากฎหมายไทย บุริมสิทธิ คือ เจาหนี้มีสิทธิทีจ่ ะไดรับชําระหนีจ้ ากทรัพยสินของ ลูกหนี้กอนเจาหนี้คนอื่นๆ บุริมสิทธิสามัญ คือ เจาหนีม้ ีสิทธิเหนือเจาหนี้อ่ืนทีจ่ ะไดรับชําระ หนี้ในมูลหนี้ เชน คาภาษีอากร คาปลงศพ เปนตน บุริมสิทธิพิเศษ คือ เจาหนีม้ ีสิทธิเหนือเจาหนื้อื่นที่จะไดรับชําระ หนี้ ในมูล หนี้ ที่มีอ ยูเ หนือ อสั งหาริ มทธัพ ย หรือ สัง หาริม ทรั พ ย ตามที่มีกฎหมายกําหนด โมฆะกรรม คือ นิติกรรมที่เมื่อทําขึ้นแลว ไมมผี ลผูกพันกันในทาง กฎหมาย สูญเปลา เสียเปลาไป ไมอาจตกลงใหมีผลขึ้นมาได โมฆี ย ะกรรม คื อ นิ ติ ก รรมนั ้น ยั ง มี ผ ลบั ง คั บ ได โ ดยชอบด ว ย กฎหมาย แตอาจถูกบอกลาง ทําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะมาแต เริ ่ม แรก หรื อ อาจมี ก ารยอมรั บ ว า นิ ติ ก รรมนั ้น มี ผ ลสมบู ร ณ ใ ช บังคับได

พรบ.ขายตรงและตลาดแบบตรง มาตรา 54 บั ญ ญั ติ ว า “ในกรณี ที่ ผูก ระทําความผิดซึ่งตองรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้เปนนิติบุคคล ให กรรมการผูจัดการ ผูจัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงาน ของนิติบุคคลนัน้ ตองรับโทษตามที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิด นั้นๆ ดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนมิไดมีสวนในการกระทําความผิดของ นิติบุคคลนั้น” เปนขอสันนิษฐานตามกฎหมายที่มีผลเปนการสันนิษฐาน ความผิดของจําเลย โดยโจทกไมจําตองพิสูจนใหเห็นถึงการกระทําหรือ เจตนาอย างใดอย างหนึ่ งของจํ าเลยก อน นั ้น ศาลรั ฐธรรมนู ญได มี คํ า วินิจฉัยที่ 12/2555 วาการนําการกระทําความผิดของบุคคลอื่นมาเปน เงื่อนไขของการสันนิษฐานใหจําเลยมีความผิดและตองรับโทษทางอาญา และเปนการผลักภาระในการพิสูจนวาหากนิติบุคคลกระทําความผิด ให ถือวาบุคคลที่รับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้นตองรับโทษ ตามที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้นดวย เปนการสันนิษฐาน ความผิดของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญาโดยอาศัยสถานะของบุคคล เปนเงื่อนไข โดยไมปรากฏวาผูตองหาหรือจําเลยไดกระทําการหรือมี เจตนาประการใดเกีย่ วกั บความผิ ดนัน้ เลย จึงเปน การขัดต อหลักนิ ติ ธรรมและขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ มาตรา 39 วรรคสอง (ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยไมมีความผิด) จากคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญดังกลาว ปรากฎวากฎหมายทีอ่ ยูใ น ความรับผิดชอบของ สศค. มีบทบัญญัติในลักษณะเชนเดียวกับมาตรา 54 ของ พรบ.ขายตรงและตลาดแบบตรงฯ อยูหลายฉบับเชน มาตรา 132 ของกฎหมายว า ด ว ยธุ ร กิ จ สถาบั น การเงิ น ฯ มาตรา 283 ของ กฎหมายวาดวยหลักทรัพยฯ หรือมาตรา 64 ของกฎหมายวาดวยการ ประกอบธุรกิจขอมูลเครดิตฯ ซึง่ ผลหลังจากนี้ภาระการพิสูจนความผิด หนวยงานที่กํากับดูแลจะตองพิสูจนใหไดดวยวา กรรมการ ผูจัดการ เปนผูกระทําความผิดดวย มิอาจอาศัยบทสันนิษฐานของกฎหมายไดอีก แล ว รวมทั ้ง ร า งกฎหมายที ่อ ยู ร ะหว า งดํ า เนิ น การก็ ค งไม ส ามารถมี บทบัญญัติในลักษณะดังกลาวไดอีกเชนกัน

Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ ¡ÃзÃǧ¡ÒäÅѧ | â·Ã. 0-2273-9020 # 3262-3269 | á¿¡« . 0-2618-3371


¡®ËÁÒ¹‹ÒÃÙŒ Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ

MONTHLY JOURNAL MAY 2012 VOL.1

ระบบการเงินและการธนาคารในประเทศพมา หลังจากที่นางฮิลแลรี คลินตัน ไดเดินทางไปเยือนพมาอยางเปนทางการ ในชวงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ถึง 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และ เหตุการณที่นางอองซาน ซู จี ไดชนะการเลือกตั้งเปน ส.ส เมื่อ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 อาจถื อ ว า เป น เป น สั ญ ญาณบ ง บอกว า พม า จะเป ด ประเทศ หลังจากปดประเทศมานานกวา 20 ป ยามนี้พมามีประชากรประมาณ 60 ลานคน มีเขตแดนติดตอ 5 ประเทศ โดยเฉพาะประเทศจีนทีม่ ีประชากรกวา 1,300 ลานคนรวมกับเพือ่ นบาน อาเซียนอีกประมาณ 550 ลานคน รวมแลวประมาณ 2,000 ลานคนซึ่ง ถือ วาเปนตลาดที่มีจํานวนผูบริโภคหนาแนนที่สุดในโลกแหงหนึ่ง ระบบธนาคาร ของพม า แบ ง เป น 2 ภาค คื อ ภาคเอกชนกั บ ภาครั ฐ โดยภาคเอกชนมี ธนาคารพาณิชย 19 แหง และภาครัฐ 4 แหงโดยมีธนาคารกลาง (Central Bank of Myanmar) เปนผูดูแลระบบธนาคารทั้งหมด รัฐบาลพมามีความตองการเงินตราตางประเทศเปนอยางมากเพือ่ จะนําเขา คลังของประเทศ โดยรัฐบาลพมาจะออก Foreign Exchange Certificate หรื อเรีย กย อ ๆ ว า บั ตร FEC โดยราคาของบั ตร FEC จะถูก ตั้ง ให อ ยู ใกลเคียงกับเงินสกุลดอลลารสหรัฐ และสําหรับบัตรเครดิตนัน้ ยังไมนิยมใช แพรหลายในแหลงทองเทีย่ ว เนือ่ งจากในหลายทศวรรษที่ผานมาอเมริกาได คว่ําบาตรการคาขาย และดําเนินธุรกรรมการคากับประเทศพมาสงผลใหเกิด ความไม ส ะดวกต อ นั ก ธุ ร กิ จ ชาวพม า และนั ก ธุ ร กิ จ ชาวต า งชาติ ป จ จุ บั น ประเทศพมายังไมมีกฎหมายในการควบคุมการใหบัตรเครดิตเปนการเฉพาะ และหากเปรียบเทียบกับประเทศไทยแลวประเทศไทยมีกฎหมายที่ควบคุม การประกอบธุ ร กิ จ บั ต รเครดิ ต แต ก ฎหมายดั ง กล า วยั ง ไม เ ป น มาตรฐาน เดียวกัน กลาวคือ ผูประกอบธุรกิจบัตรเครดิตที่เปนสถาบันการเงินจะถูก กํากับดูแลโดยพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินฯ ในขณะที่ผูประกอบ ธุ ร กิ จ บั ต รเครดิ ต ที ่ไ ม ใ ช ส ถาบั น การเงิ น จะถู ก กํ า กั บ ดู แ ลโดยประกาศ กระทรวงการคลังทีอ่ อกตามขอ 5 ของ ป.ว. 58 และปจจุบันไดมีการยกราง กฎหมายบัตรเครดิตขึน้ มา ผานการพิจารณาของกฤษฎีกาแลวและอยูใน ระหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี

Êíҹѡ¡®ËÁÒ Êíҹѡ§Ò¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ÒäÅѧ ¡ÃзÃǧ¡ÒäÅѧ | â·Ã. 0-2273-9020 # 3262-3269 | á¿¡« . 0-2618-3371


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

JULY 2013 : 3

ลงชื่อในเช็คแต่ไม่ต้องรับผิด

*

เช็คเป็นตั๋วเงินประเภทหนึ่งซึ่งเป็นสื่อกลำงในกำรชำระหนี้ ในทำงธุรกิจที่ต้องกำรควำมรวดเร็วและควำมเชื่อใจระหว่ำง คู่สัญญำเพื่อให้กำรดำเนินธุรกิจมีควำมคล่องตัวมำกที่สุด โดยหลักแล้วเมื่อผู้ใดลงลำยมือชื่อ ในเช็คแล้วย่อมจะต้องผูกพันตน ที่จะชำระหนี้ตำมเนื้อควำมในเช็คนั้น และส่งมอบชำระหนี้แก่เจ้ำหนี้ ซึ่งผู้ที่ลงลำยมือชื่อย่อมต้องรับผิดต่อผู้ทรงเช็คคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม มีข้อยกเว้นในกรณีผู้ที่ลงลำยมือชื่อในเช็คไม่ต้องรับผิด 4 กรณีดังนี้ ประการแรก ผู้ที่ลงลำยมือชื่อแทน ผู้อื่นในลักษณะตัว แทน ซึ่งผู้ที่ต้องผูกพัน ตำมเช็คที่แท้จริง คือ ตัว กำร ประการที่สอง ผู้ที่ล งนำมในฐำนะผู้ แทนนิติบุคคล โดยมีกำรประทับตรำนิติบุคคลอย่ำงถูกต้องตำมที่ระบุในหนังสือบริคณห์สนธิ จะไม่ต้องรับผิดเป็นกำรส่วนตัว เนื่องจำกถือว่ำ เป็นกำรลงนำมผูกพันโดยนิติบุ คคลซึ่งมีสภำพบุคคลต่ำงหำกจำกผู้แทนนิติบุคคล ประการที่สาม ผู้ ที่ถูกปลอมลำยมือชื่อ เมื่อผู้ใดมิได้เป็นผู้ลงลำยมือชื่อในเช็ค แม้ในเช็คจะปรำกฏชื่อบุคคลดังกล่ำวก็ไม่ต้องรับผิดตำมเช็คนั้น แต่ทั้งนี้ บุคคลที่ถูกปลอม ลำยมือชื่อนั้น จะต้องมิได้มีส่ ว นรู้ เห็ น ในกำรปลอมลำยมือชื่อ ตนลงในเช็คด้ว ย ประการสุดท้าย ผู้ ที่แสดงเจตนำโดยวิปริต ได้แก่ ลงลำยมือชื่อโดยถูกกลฉ้อฉล ข่มขู่ หรือหลอกลวง ซึ่งผู้นั้นได้บอกล้ำงกำรแสดงเจตนำแล้ว เนื่องจำกกำรแสดงเจตนำ ดังกล่ำวมิได้เกิดจำกเจตนำที่จะผูกพันตำมเช็คอย่ำงแท้จริง แต่เกิดจำกปัจจัยอันมิชอบด้วยกฎหมำย ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ำรณำจำกข้ อ ยกเว้ น กรณี ต่ ำ งๆ ดั ง ที่ ก ล่ ำ วมำแล้ ว ผู้ ที่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ตำมเช็ ค กฎหมำยจะพิ จ ำรณำ จำกเจตนำรมณ์ที่แท้จริงของผู้ลงลำยมือชื่อในเช็ค และกฎหมำยเป็นกลไกทำหน้ำที่ให้ควำมคุ้มครองกับบุคคลต่ำง ๆ ซึ่งเป็น ผู้เกี่ยวข้องในกำรดำเนินธุรกิจ อันจะทำให้กำรดำเนินธุรกิจ เป็นไปอย่ำงสะดวก รวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็รักษำควำมยุติธรรม เช่นกัน

*เรียบเรียงโดย นางสาววรปรานี สิทธิสรวง นิติกรชานาญการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

JULY 2013 : 5 ดอกเบี้ยผิดนัด ไม่จบง่ำยๆ*

ในสังคมปัจจุบันที่มีความต้องการในการบริโภคตามค่านิยม แต่เมื่อรายจ่ายนั้นสวนทางกับรายได้ที่เข้ามาอย่างสิ้นเชิงแล้ว ทางเลือกหรือความหวังสุดท้ายที่คิดว่าช่วยให้รอดพ้นจากความอัตคัดทางการเงินได้ คือ การกู้ยืมเงิน ไม่ว่าจะเป็นการกู้ยืมเงิน กับสถาบั น ทางการเงิน ธนาคารพาณิช ย์ หรื อการกู้ยืมเงินนอกระบบซึ่งในกรณีสุ ดท้ายนั้นหลายครั้งที่มีเจ้าหนี้ห น้าเลื อด ที่ฉวยโอกาสจากความเดือดร้อนของลูกหนี้ของตนเรียกดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราที่สูงกว่าปกติควบคู่ไปกับการทวงหนี้แบบผิด กฎหมายจนเป็นข่าวตามที่ปรากฎในสื่อต่างๆ ทั้งนี้ในส่วนของกฎหมายกาหนดเพดานอัตราดอกเบี้ยไว้ไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มีความผิดทางอาญาหากเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกาหนดตามพระราชบัญญัติ ห้าม เรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2475 มาตรา 3 ที่บัญญัติให้มีบทลงโทษทางอาญาว่า “บุคคลใดให้บุคคลอื่นยืมเงินโดยคิด ดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกาหนดไว้มีความผิดฐานเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ” เว้นแต่ถ้าเป็นการทาสัญญากู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นแล้ว จะได้รับ ยกเว้นไม่ให้อยู่ภายใต้บังคับของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เพราะมี พ.ร.บ.ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน พ.ศ. 2523 ให้สามารถเรียก ดอกเบี้ยกู้ยืมเงินได้เกินกว่าร้อยละ 15 ต่อปี มีกรณีตัวอย่างที่เกิดขึ้นว่าประเภทของดอกเบี้ยที่เกิดจากสัญญากู้ยืมเงินอาจต้องแยกพิจารณาเป็น 2 กรณี คือ ดอกเบี้ย ที่เกิดจากการกู้ยืมเงินกับ ดอกเบี้ยผิดนัดชาระหนี้ กรณีถ้ามีการเรียกดอกเบี้ยกู้ยืม เงินเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด คือ ร้อยละ 15 ต่อปี ในส่วนของข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยจะเป็นโมฆะทั้งหมด ไม่ใช่แค่บางส่วน สมมุติว่าถ้ามีการเรียกดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 20 ต่อปี ข้อตกลงดังกล่าวจะตกเป็นโมฆะทั้งสิ้น คือลูกหนี้ไม่จาต้องจ่ายดอกเบี้ยกู้ยืมเงินทั้งหมดนั้น ไม่ใช่ว่า เป็นโมฆะเฉพาะ ส่ ว นที่เกิน ร้ อยละ 15 เท่านั้ น แต่ถึงอย่ างไรก็ตาม ถ้าลู ก หนี้กระทาการผิ ดนัดช าระหนี้ต ามสั ญญากู้ยืมเงินทั้งที่มีกาหนด ระยะเวลาและไม่มีกาหนดระยะเวลาถึงแม้ว่าในส่วนของข้อตกลงที่เป็นอัตราดอกเบี้ยกู้ยืมเงินนั้นจะเกินอัตราที่กฎหมายกาหนด ส่งผลให้ดอกเบี้ยส่วนนั้นตกเป็นโมฆะทั้งสิ้นไปแล้วก็ตาม แต่ในส่วนของดอกเบี้ยผิดนัดการชาระหนี้ยังคงมีอยู่ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียก ดอกเบี้ย ในระหว่างเวลาที่ลู กหนี้ ผิดนัดร้ อยละเจ็ดครึ่งต่อปีตามมาตรา 224 วรรคหนึ่ง (คาพิพากษาฎีกาที่ 2577/2535) และสามารถคิ ด ดอกเบี้ ย ผิ ด นั ด ได้ เ สมอ ไม่ ว่ า จะมี ข้ อ ตกลงให้ ด อกเบี้ ย กั น หรื อ ไม่ ก็ ต าม เพราะเป็ น การก าหนดอั ต รา โดยผลของกฎหมาย (คาพิพากษาฎีกาที่ 460/2550) จึ งจะเห็ น ได้ว่า ถึง แม้จ ะมี บ ทกฎหมายออกมาคุ้มครองลู ก หนี้ เพีย งไร แต่อย่างน้อยที่สุดแล้วก็ย่อมต้องคุ้มครองเจ้าหนี้ หากลูกหนี้ผิดนัดชาระหนี้ด้วย เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายเคารพในสิทธิและหน้าที่ซึ่งกันและกัน แม้ลูกหนี้จะถูกกระทา จากเจ้าหนี้ในเรื่องของการชาระดอกเบี้ยเกินอัตราตามที่กฎหมายกาหนดและ ได้รับความคุ้มครองไปแล้วก็ตาม แต่ถ้าหากไม่ปฏิบัติตนเป็นลูกหนี้ที่ดี ไม่รู้จัก หน้าที่ของตนเองแล้วก็ ... ดอกเบี้ยผิดนัด ก็ยังต้องเสียอยู่ดี

*เรียบเรียงโดย นางสาวนภภัสสร สอนคม นิติกร สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

August 2013 : 3

กำรจัดกำรทรัพย์สินของรัฐ “ร่วมทุนกับเอกชน” กระทรวงการคลัง ได้ให้ความสาคั ญกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การจัดเก็บรายได้ และสถานการณ์ทางการคลัง การบริหารทรัพย์สินของประเทศ ภายใต้การดาเนินงานของกรมธนารักษ์ในการบริหารจัดการทรัพย์สินโดยเฉพาะที่ราชพัสดุ ให้ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั บ ประเทศมากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง การประสานความร่ ว มมื อ ในการบริ ห ารจั ด การ จากภาคเอกชน ภาครั ฐ และหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ในการใช้ ที่ ราชพั ส ดุ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ม ากขึ้ น โดยด าเนิ น การ ผ่านพระราชบัญญัติ การให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 (พรบ.ร่วมทุนฯ) ซึ่งมีผลบังคับใช้แล้วเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 ดังนั้น ก่อนอื่นก็ต้องทาความเข้าใจก่อนว่าพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวมีสาระสาคัญอย่างไร และจะมีผลบังคับ ใช้กับกิจการใดบ้างนั้น ต้องพิจารณาก่อนว่า 1) เป็นการดาเนินงานของเอกชนโดยการร่วมทุนกับรัฐ 2) ในกิจการของรัฐที่มี มูลค่าตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป หรือไม่ และเมื่อพิจารณาองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นแล้วหลายท่านอาจเกิดความสงสัยว่า การให้เอกชน “ร่วมงานหรือดาเนินการ” ในกิจการของรัฐนั้นหมายถึงกิจการใดบ้าง เพื่อให้ทุกท่านเข้าใจมากยิ่งขึ้นผู้เขียน จึงขอยกตัวอย่างบางกรณีจากการตีความขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาที่ได้ตีความเกี่ยวกับการบังคับใช้ พระราชบัญญัติฉบับ ดังกล่าว 1. โครงการที่จะอยู่ภายใต้บังคับของ พรบ.ร่วมทุนฯ นั้นจะต้องเป็นโครงการที่ หน่วยงานของรัฐ ประสงค์ให้เอกชน เข้าร่วมงานหรือดาเนินการในกิจการของรัฐ แต่กรณีที่การดาเนินการตามโครงการนั้นเป็นเรื่องที่เอกชนจะต้องรับผิดชอบ ในผลกาไรหรือขาดทุนเองโดยลาพัง โดยที่หน่วยงานราชการไม่ได้มีส่วนร่วมเกี่ยวกับการดาเนินกิจการ หรือมีส่วนได้เสียใน ผลก าไรหรื อ ขาดทุ น แต่ อ ย่ า งใด จึ ง ไม่ ใ ช่ เ ป็ น การให้ สิ ท ธิ แ ก่ เ อกชนในการใช้ ท รั พ ยากรของรั ฐ แต่ อ ย่ า งใด (ความเห็ น คณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จที่ 725/2537) 2. การซื้ อ ขายหุ้ น ที่ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ถื อ ในรั ฐ วิ ส าหกิ จ ให้ แ ก่ เ อกชนจะถื อ ว่ า เป็ น การร่ ว มทุ น หรื อ ไม่ นั้ น กรณี ที่กระทรวงการคลังขายหุ้นในบริ ษัทการบินไทยให้แก่เอกชน ทาให้เอกชนได้สิทธิในการเข้าร่วมบริหารกิจการของบริ ษัท การบินไทย และหากการซื้อขายหุ้นดังกล่าวมีมูลค่าตั้งแต่ 1,000 ล้านบาทขึ้นไป ก็ย่ อมถือได้ว่ามีการให้เอกชนเข้าร่วมทุนใน กิจการของรัฐ (ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาเรื่องเสร็จที่ 130/2543) แนวทางการตีความของคณะกรรมการกฤษฎีกา ดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่า คณะกรรมการกฤษฎีกาตีความคาว่า “ร่วมงานหรือดาเนินการ” ว่ารัฐ กับเอกชนจะต้องมี ส่ว นได้ส่ วนเสี ย ด้ว ยกัน ทั้งสองฝ่ ายในโครงการ ที่ลงทุนร่วมกัน รวมถึงเอกชนที่เข้าร่วมลงทุนนั้นจะต้องได้สิทธิในการเข้า ร่วมบริหารกิจการของโครงการที่เข้าร่วมลงทุนด้วย ซึ่งหากเข้าลักษณะ ดั ง กล่ า วแล้ ว จะต้ อ งด าเนิ น กระบวนการตามที่ ก าหนดไว้ ต าม พระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ.2542 *เรียบเรียงโดย นายพุฒพิ งศ์ นิลสุ่ม นิติกรปฎิบัติการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


กฎหมำยน่ำรู้ MONTHLY JOURNAL

September 2013 : 3 แค่ไหนถือว่ำเป็นควำมผิดสำเร็จ*

ท่านที่เป็นนักกฎหมายอาจจคุ้นเคยกับคาว่า “การพยายามกระทาความผิด ” หรือ “การกระทาที่เป็นความผิดสาเร็จแล้ว ” แต่การที่จ ะชี้ ชัดลงไปว่า กรณีใ ดแค่อยู่ ในขั้น พยายามกระทาผิ ด และขั้นใดถือว่า ความผิ ดส าเร็จคงต้องพิ จารณาข้อเท็จจริ ง เป็นรายกรณี เพราะมีผลต่อการลงโทษผู้กระทาความผิดอยู่พอสมควร จะขอยกตัวอย่างกรณีความผิดฐานลักทรัพย์ ที่มีข้อเท็จจริง เกิดขึ้นในปัจจุบัน คือ มอเตอร์ไซค์หาย ถ้าใครที่เคยมีประสบการณ์แบบนี้คงรู้ซึ้งดีว่ามัน ทั้งเจ็บใจ เสียใจขนาดไหนและถ้ายังติด สัญญาลิสซิ่ง เพราะเงินก็ต้องจ่ายรถก็ไม่ได้ใช้ ความผิดฐานลักทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญาตามมาตรา 334 บัญญัติไว้ว่าผู้ใด เอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้นกระทาความผิดฐานลักทรัพย์ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน สามปีและปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท ซึ่งคาว่า “เอำไป” ก็คือการเอาทรัพย์เคลื่อนที่ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาทรัพย์ นั้นไปได้ และทรัพย์นั้นเข้ามาอยู่ในความยึดถือครอบครองเพื่อตนแล้ว แม้ทรัพย์นั้นเคลื่อนที่เพียงเล็กน้อยก็ถือว่าเป็นการเอาไปแล้ว ถึงแม้ ผู้กระทาจะยังไม่ได้เอาทรัพย์นั้นไปหรือถูกขัดขวางในภายหลังและเอาทรัพย์นั้นไปไม่ได้ก็ตามต้องถือว่าเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ สาเร็จ แล้วถ้าหากเป็นการขโมยจักรยานยนต์ล่ะ อย่างไรจึงจะถือได้ว่ามีความผิดฐานลักทรัพย์แล้ว คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3011/2551 เกี่ยวกับการลักจักรยานยนต์วางหลักไว้ ว่า จาเลยขึ้นนั่งคร่อมและเข็นรถจักรยานยนต์ ของผู้เสียหายมาจากจุดที่จอดเดิมประมาณ 1 เมตร แต่จาเลยยังไม่ทันติดเครื่องรถขับเอาไป เพราะผู้เสียหายมาพบเห็นเสียก่อน จาเลยจึงทิ้งรถวิ่งหนีไป ถือได้ว่าจาเลยเข้ายึดถือครอบครองและเอาทรัพย์เคลื่อนไปในลักษณะที่พาเอาไปได้เป็นการลักทรัพย์ สาเร็จแล้ว และยังมีคาพิพากษาศาลฎีกาที่ 121/2537 วางหลักไว้ว่า จาเลยเพียงแต่นั่งคร่อมรถจักรยานยนต์ยังไม่ได้เอารถ ออกเป็นการลงมือลักทรัพย์แล้ว เมื่อกระทาไปไม่ตลอดเพราะผู้เสียหายเข้ามากอดเอาไว้ทาให้จาเลยเอารถจักรยานยนต์ของ ผู้เสียหายไปไม่ได้เป็นความผิดฐานพยายามลักทรัพย์ จึงจะเห็นได้ว่าการนั่งคร่อมรถจักรยานยนต์และเข็นออกจากจุดที่จอดเดิม เป็นการเข้ายึดถือครอบครองแล้ว แม้ยังไม่ทันติดเครื่องก็เป็นความผิดสาเร็จ แต่ถ้ายังไม่ได้เคลื่อนที่จะเป็นการพยายามลักทรัพย์ ดังนั้น เจ้าของจักรยานยนต์จึงต้องใช้ความระมัดระวังที่จะต้องหาที่จอดที่ปลอดภัยและป้องกันด้วยตนเอง เพราะคนร้าย สมัยนี้เก่งกันเหลือเกินใช้เวลาเพียงไม่กี่วินาทีก็สามารถลักจักรยานยนต์ได้แล้ว

*เรียบเรียงโดย นางสาวรินทร์ธยิ า เธียรธิติกุล นิติกรชานาญการ สำนักกฎหมำย สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง กระทรวงกำรคลัง | โทร. 0-2273-9020 # 3262-3269 | แฟกซ์ 0-2618-3371 https://www.facebook.com/pages/สำนักกฎหมำย-สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.