jui123963

Page 1

YTD YOUNG TYPE DESIGN

ไทปดีไซน Thonburi

อักษรไทย ขอบเขตตัวอักษร ชื่อเร�ยกอนาโตมี่ การเขียนปากกาสปีดบอล




เนือ้ หา

YOUNG TYPE DESIGN

ฐ อักษรไทย

เสนซอน

เชิง

ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา ทำไมถึงเลือกทำภาษาไทยเเทนทีจ่ ะเปนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษมีคนทำแลว และโรคนี้ก็มีคนไทยที่เปน

๏ จก ภพผุดทามเว�้ง. วรรณศิลป จี้ แกนชาติหวาดถว�ล. เลาไว ร�้ ร�้สั่งสายสินธุ….. ครวญคร่ำ ไร แกนชีว�ตไร…. เรงรูพ�ทธธรรม ๚ะ ๛


สารบัญ

ประวัติศาสตรตัวอักษรไทย

4-5

อักษรไทย

6-15

แฟชั่น

16-21

สัมภาษณ คุณภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา

22-27

การเขียนปากกาสปีดบอล

28-29

โคมูตร ๛

3 0-31

สารบัญ


คอลัมน

ลอ

ประวัติศาสตรตัวอักษรไทย 1. “ลายสือไท”

คือตัวอักษรไทยในสมัย พอขุนรามคําแหงมหาราช และทรงเปนผูประดิษฐคิด คนขึ้นสําเร็จ ประมาณป พ.ศ. ๑๘๒๖ (ครองราช พ.ศ. ๑๘๒๐) กรุงสุโขทัยประกาศเอกราช ไมขึ้นตรงตอขอมเมื่อ พ.ศ.๑๘๐๐ในยุคของพอ ขุนศรีอินทราทิตยแตยังไมมีตัว อักษรไทยใชยังคงพึ่งตัวอักษร ขอมเมื่อถึงรัชกาลพอขุนราม คําแหง(พ.ศ.๑๘๒๐)พระองค ทรงเริ่มคิดคนจนเมื่อป พ.ศ.๑๘๒๖ ทรงจารึกลายสือไทยไวกับ หลักศิลา(พ.ศ.๑๘๓๕)เปน หลักฐานสําคัญชิ้นเอกของ โลกประเด็นสําคัญของ“ลายสือไท”คือ1.1ทรงเปลี่ยนรูปตัวอักษร (เดิมใชอักษรขอม)ใหงายและสะดวกตอการเขียนการเปลี่ยนนั้นถือเปนการ เปลี่ยนรูปอักษรแบบเดียวกันจึงทรงออกแบบใหมดวย1.5“ตัวเลขไทยทั้งหก ”ทรงประดิษฐเลขไทยตามที่ปรากฏเปนหลักฐานในหลักศิลาไกลจากเคา เดิมมากที่สุดเมื่อเทียบกับวิวัฒนาการการประดิษฐอักษรของชนชาติอื่นใน ดินแดนใกลเคียงกันซึ่งบางตัวไมอาจทราบที่มาได 1.2แกปญหาเรื่องหนาตาตัวอักษรที่มีทั้งแบบยอและแบบเต็ม (กรณีใชพยัญชนะ๒ตัวขึ้นตนขอมใชวิธีแบบอินเดียคือเอา๒ตัวซอนกันพอซ อนก็จะตองเปลี่ยนพยัญชนะเปนรูปยอปญหาคือรูปยอบางตัวแตกตางอยาง มากจากรูปเต็ม ทําใหยากพอขุนรามคําแหงมหาราชทรงยกเลิกระบบรูป ยอรูปเต็ม ใหคงไวเพียงรูปแบบเดียวและไมตองเขียนซอนกัน แตใหเขียน เรียงกันไป การเขียนแบบเรียงกันในบรรทัดเดียวกันนี้เอง ยังทรงนํามา ใชกับสระบน สระลาง เชน อิ อี อุ อู สิ่งที่เกิดขึ้นคือระบบการเขียนที่ แตกตางอยางสิ้นเชิงกับตัวอักษรของทุกๆชาติในแควนสุวรรณภูมิ เปนการเขียนแบบเดียวกับตัวอักษรฝรั่งทั้งปวงซึ่งเวลานั้นยังไมมีฝรั่งชาติใด เขามาแผอํานาจในดินแดนสุวรรณภูมิเลย 1.3 ทรงเปนผูคิดวรรณยุกตขึ้นเปนคนแรกของโลกเพราะไมมีชาติใดเลยที่ มีรูปวรรณยุกตกํากับเพื่อชวยใหการออกเสียงเหมือนกับเสียงพูดมากที่ สุดภาษาไทยมีเสียงสูงตํ่าการมีวรรณยุกตทําใหการเขียนหนังสือและอาน หนังสือเปลงเสียงออกมาไดเหมือนกันตรงกับเสียงพูดและเปนธรรมชาติ มากที่สุด รูปวรรณยุกตของพอขุนรามคําแหง มี ๒ รูปคือเอกเขียนดวย เครื่องหมายขีดหนึ่งขีด(|)และโทเขียนดวยเครื่องหมายกากบาทบวก(+)

4

2.“ตัวพ�มพ ไทย”

2.1 จัดทําขึ้นครั้งแรกที่พมา โดย Ann Hazeltine Judson มิชชันนารีอเมริกัน(เขาไปพมาเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๖)แหมมจัดสันศึกษาอักษร ไทย ภาษาไทยจากเชลยศึกไทยที่ถูก กวาดตอนไปตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาแตก 2.2 พ.ศ.๒๓๕๙ นาย George H. Hough ชางพิมพที่ถูกสงไปที่พมาเพื่อ จัดพิมพคําสอนศาสนาแหมมจัดสันจึงออกแบบตัวพิมพไทยโดยสัญนิษฐาน วาเอาแบบมาจากลายมือเชลยศึกไทยที่มีลายมือสวยที่สุดเทาที่หาไดเปน ตนแบบหนังสือ To the Golden Shore, the Life of Adoniram พิมพที่ Boston, USA ป ค.ศ. 1956 ระบุวา พ.ศ. ๒๓๖๐ นาย Hougไดทําการพิมพ หนังสือจากตัวพิมพที่ออกแบบโดย Nancy Judson 2.3 หนังสือ A Grammar of the Thai ของ Capt. James Low พิมพที่เมืองกัลกัตตา อินเดีย พ.ศ. ๒๓๗๑ พบหนาที่พิมพดวยตัวอักษรไทย แตเปนลักษณะลายมือเขาใจวาตอนจัดสรางตัวพิมพแบบนี้แหมมจัดสันเอา ลายมือเชลยศึกไทยมาทําเปนบล็อกเพื่อ 2.4 ประกาศหามสูบฝนของรัชกาลที่ ๓ พิมพเมื่อวันที่ ๒๙เมษายนพ.ศ.๒๓๘๒เปนตัวพิมพหลอเปนตัวๆแบบแรก(ซื้อตัวพิมพจาก สิงคโปร)และพบตัวพิมพนี้อีกในหนังสือคําภิรครรภทรักษา แหง แพทยหมออะเมริกา (พิมพเมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ :- มีบันทึกวาหมอบรัดเลย

3“อักษรอร�ยกะ”

3.1พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ เปนคนไทยคนแรก ที่ดําเนินกิจการการพิมพ(ตั้งโรงพิมพกอนขึ้นครองราชย)โปรดใหสราง โรงพิมพหลวงในสํานักพระราชวังเพื่อพิมพหนังสือราชกิจจานุเบกษาเปน วารสารทางราชการฉบับแรกที่จัดพิมพในประเทศไทย (เลมแรกพ.ศ.๒๔๐๑) 3.พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่๔ทรงเขาใจปญหาดาน การเรียงพิมพเปนอยางดีจึงทรงมีพระราชดําริดัดแปลงอักษรไทยและวิธี การเขียนหนังสือไทยใหมเพื่อแกปญหาและเพื่อความสะดวกตอการ เขียน-การพิมพในอนาคต 3.3 พ.ศ. ๒๓๙๐ เกิด“อักษรอริยกะ”ตัวอักษร พยัญชนะและสระเรียงอยู บรรทัดเดียวกันมีทั้งแบบหวัด และแบบบรรจง


คอลัมน ประวัติศาสตรตัวอักษรไทย

5


สกปู

ก อักษรไทย

การศึกษาว�เคราะหเกีย่ วกับตัวอักษรไทย รูปแบบตัวอักษรไทยมีลักษณะเฉพาะ ที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณของ ภาษาไทยซึ่งมีความโดดเดนและแตก ตางไปจากภาษาอื่นๆการศึกษาเกี่ยว กับการประดิษฐตัวอักษรจำเปนตอง เรียนรูถึงโครงสรางของตัวอักษรเปน อันดับแรกทั้งนี้เพื่อใหรูป แบบอักษรที่ออกแบบขึ้นใหมยังคงไวซึ่งความถูกตองของรากเงา ทางภาษาที่นักออกแบบวรพึงระลึกไวนอกจากการศึกษาเกี่ยวกั บโครงสรางตัวอักษรแลวยังตองศึกษาเรื่องการวางตำแหนงตาง ๆของพยัญชนะสระวรรณยุกต และเครื่องหมายตางๆดวยในการผสมเปนคำซึ่งมีหลายชั้นและมี ขอกำหนดใหเปนไปตามแบบแผนของภาษาดวย

นอกจากจะแบงเปนกลุม ตามลักษณะตำแหนงของหัวและหลังคาแลว ยังสามารถแบงเปนกลุม ตามลักษณะโครงสรางทางทัศนธาตุทค่ี ลาย กัน ไดดงั นี้ กลุมอักษร ก ถ ภ ฎ ฏ ฌ ณ ญ ฤ ฦ (ฤ ฦ เปนสระแตมีรูปแบบคลาย พยัญชนะ) กลุมอักษร ข ช ซ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกัน เฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร จ ว (โครงสรางตัวอักษรโดยรวมเหมือนกัน) กลุมอักษร ค ศ ด (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร ฅ ต ฒ (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร บ ป ษ (โครงสรางตัวอักษรโดยรวมเหมือนกัน) กลุมอักษร ฃ ซ ฆ ฑ (มีลักษณะเหมือนกันที่หัว) กลุมอักษร ร ธ ฐ (มีลักษณะเหมือนกันที่หลังคา) กลุมอักษร พ ฟ ฬ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกันเฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร ผ ฝ (โครงสรางตัวอักษรเหมือนกันตางกันเฉพาะสวนหาง) กลุมอักษร ฉ น ณ (เหมือนกันสวนลาง) กลุมอักษร ฌ ณ ญ ฒ (มีลักษณะสองสวน) กลุมอักษร ง ห ย (ลักษณะพิเศษไมเหมือนอักษรกลุมใด)

6

โครงสรางตัวอักษรไทย ตัวอักษรไทยประกอบดวยลักษณะพิเศษ ตางๆ ซึ่งพอจะแยก เปนกลุมๆ ไดดังนี้ 1.หัวตัวอักษรตัวอักษรไทยมีโครงสราง สวนหนึ่งเรียกวาหัวเหมือนกันทุกตัวมี ยกเวนอยู 2 ตัว คือ ก ธและสวนหัวของตัวอักษร จะอยูในตำแหนงที่แตกตางกันซึ่งพอจะ แยกเปนกลุม ไดดังตอไปนี้ 1.1 หัวอยูสวนบนแตหันหัวออก ไดแก ข ฃ ฆ ง ช ซ ท ฑ น บ ป พ ฟ ม ษ ห ฬ 1.2 หัวอยูดานบนแตหันเขา ไดแก ย ผ ฝ 1.3 หัวอยูดานลางหันออก ไดแก ภ ฎ ฏ ร ว 1.4 หัวอยูดานลางหันเขา ไดแก ถ ฌ ล ส ญ ณ 1.5 หัวอยูสวนกลางหันหัวออก ไดแก จ ฐ ฉ ด ต ฒ 1.6 หัวอยูสวนกลางหันเขา ไดแก ค ศ ต อ ฮ

หลังคาของตัวอักษรตัว อักษรไทยจำนวนหนึ่งจะ มีสวนขางบนที่เรียกได วาเปน“หลังคา”แตอีก กลุมหนึ่งไมมีพอจะแยก ไดดังนี้

2.1 ตัวอักษรกลุมมีหลังคา ประกอบดวยตัว ก ค ฅ จ ฉ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฒ ณ ด ต ถ ธ ภ ร ว ศ ส อ ฮ 2.2 ตัวอักษรกลุมไมมีหลังคา ประกอบดวย ข ฃ ฆ ง ช ซ ฑ ท น บ ป ผ ฝ พ ฟ ม ย ษ ห ฬ


อักษรไทย

เมื่อไดศึกษาวิเคราะหถึงโครงสรางของตัว อักษรแลวก็สามารถที่จะออกแบบหรือประดิษฐ ใหเกิดรูปแบบตัวอักษรใหมและทำใหงายตอการ ออกแบบเพื่อใหตัวอักษรมีรูปแบบที่เขาชุดกันมี สัดสวนที่สัมพันธกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งการ ประดิษฐตนแบบตัวอักษรสำหรับใชในเครื่องพิมพ ดีดซึ่งจะตองมีความประณีตเปนพิเศษการแบงกลุมตัวอักษรในภาษาไทย นอกจากจะแบงตามที่กลาวแลวอาจแบงไดเปนลักษณะตางๆโดยอาศัยหัว ตัวอักษรทางเดินของเสนขนาดความกวางของตัวอักษรและขนาดความสูง เปนเกณฑเพื่อความสะดวกในการออกแบบก็สามารถกระทำไดไมวาจะแบง ในลักษณะใดก็มีจุดประสงคเพื่อความสะดวกในการออกแบบตัวอักษรใหมี ความประสานกลมกลืนกันทั้งชุดทั้งสิ้น ดังตัวอยาง

ไทย

การแบงโดยอาศัยทางเดินของเสนเปนเกณฑ เสนนอน ไดแก เสนนอนบนและเสนนอนลาง เสนตั้ง ไดแก เสนที่ลากขึ้นหรือลากลงในแนวดิ่ง พยัญชนะจะมีเสนตั้งหลักอยางนอย 1 เสน ยกเวนสระ และตัวเลขบางตัวจ ม เสนทแยง ไดแก เสนทแยงซายหรือทแยงขวา หรือ ทแยงทั้งซายและขวา ง พ ฟ ฅ ต ฒห ฬ

การแบงโดยอาศัยหัวตัวอักษรเปนเกณฑ

ไมมีหัวกลม มีหัวกลมสองชั้น จากเสนนอนบนและหันหัวออก มีหัวสองหยัก มีหัวกลมเริ่มจากเสนนอนบนและหันหัวออก ฟ ท ห ฬ ษ ม มีหัวกลมเริ่มจากเสนนอนบนและหันหัวเขา มีหัวกลมเริ่มจากกึ่งกลางบรรทัดและหันหัวไปทางขวามือ ฮ มีหัวกลมเริ่มจากกึ่งกลางบรรทัดและหันหัวไปทางซายมือ มีหัวกลมเริ่มจากดานลางบรรทัดและหันหัวเขา ถ ล ส ฤ มีหัวกลมเริ่มจากดานลางบรรทัดและหันหัวออก ว ฦ

ก ข ซ ง

ธ ฃ ช ฆ ฑ บ ป พ

ผ ฝ ย ค ฅ ศ อ จฉฐดต ฌ ญ ณ ภ ร ฎ ฏ

ก ข ญ ย

ธ น บ ป

ง ฉ ท ฑ

7


อักษรไทย

ออก

หลักการออกแบบตัวอักษร

การประดิษฐตัวอักษรมีวัตถุ ประสงคเพื่อใหเกิดมีรูป ลักษณของแบบอักษรแบบใหม ใหสอดคลองกับลักษณะ การนำไปใชงานในโอกาสตางๆ ใหมีความแปลกใหม มีความนาสนใจ การประดิษฐตัวอักษรใหเปนไปไดตามความตองการผูออกแบบประดิษฐ อักษรจะตองมีความเขาใจถึงพื้นฐานการออกแบบและหลักเบื้องตนของวิธี ประดิษฐแบบตัวอักษรแตละแบบมีลักษณะเฉพาะแตกตางกันหากผูออกแบบ ทำความเขาใจเกี่ยวกับรูปแบบอักษรการใชเครื่องมือและอุปกรณประกอบ การประดิษฐก็จะชวยใหความคลองตัวในการออกแบบทำใหงานมีความ ประณีตมากขึ้นการฝกฝนใหเปนไปตามขั้นตอนจนเกิดความชำนาญ จะทำใหสามารถสรางสรรครูปแบบอักษรไดอยางมั่นใจและไมมีขีดจำกัดใน การออกแบบ หลักในการออกแบบตัวอักษรแตละชนิดแตละประเภท นั้นมีหลักเฉพาะที่จะตองเกี่ยวของกับปจจัยตางๆอีกหลายประเด็นไดแก เรื่องของระบบความจำกัดในระบบกลไกของเครื่องพิมพดีดการออกแบบ สำหรับใชเปนตัวอักษรสำเร็จรูปบนแผนอักษรลอก และอื่นๆ

แบบ หลักการเบื้องตนในการออกแบบตัวอักษรมีหลักสำคัญยิ่งที่นักออกแบบจะ ตองจดจำไวอยูเสมอ ไดแก การรักษาไวซึ่งโครงสรางเดิมของตัวอักษร หากจะออกแบบประดิษฐใหเปนรูปลักษณอยางใด มีรายละเอียดอยางไร มีการตกแตงใหเปนแบบใดแตตองคงไวถึงโครงสรางเสมอการพัฒนารูป แบบใหมีเอกลักษณใหมจึงจะทำใหไมแปรเปลี่ยนความหมายและการสื่อ ความนักออกแบบจะตองมีความเขาใจในหลักการของภาษาที่กำหนดและ ดำเนินการออกแบบใหเปนไปตามกฏกติกาที่กำหนดนั้นดวย

8


แ บ การแบงโดยอาศัยขนาดความกวางของตัว อักษรเปนเกณฑ

ขนาดตัว ข ฃ ง จ ช ซ ร ธ ะ เ ขนาดตัวกวางปานกลาง ก ค ด ต ถ บ ผ อ น ม ขนาดตัวกวางมาก ฌ ญ ณ ฒ

การแบงโดยอาศัยความสูงของเสน บรรทัดอักษรเปนเกณฑ

ขนาดสูงเกินระดับเสนบรรทัดอักษร ป ฝ ฟ ศ ส โ ไ ใ ขนาดสูงระดับเสนบรรทัดอักษรก ค ด ต ถ บ ผ อ น ม ร ขนาดหอยต่ำกวาระดับเสนบรรทัดอักษร ฐ ญ ฎ ฏ ฤ ฦ ๆ

อักษรไทย

กรอบของตัวอักษร

1. ตัวอักษรไทยแตละตัว มีรูปแบบโครงสรางอยูในกรอบสี่เหลี่ยมภายในเสนที่ สมมุติขึ้นเรียกวา เสนกรอบ ไดแก เสนกรอบบน เสนกรอบลาง เสนกรอบหนา และเสนกรอบหลัง 2. ตัวอักษรไทยแตละตัวมีดาน 4 ดาน คือ ดานบน ดานลาง ดานหนา และดานหลัง 3. แนวที่ทอดไปตามสวนสูง เรียกวา แนวดิ่ง 4.ระยะที่ทอดไปตามเสนกรอบหนาและเสนกรอบหลัง ตามแนวดิ่ง เรียกวา สวนสูง ระยะที่ทอดไปตามเสน กรอบบนและเสนกรอบลางตามแนวระดับ เรียกวา สวนกวาง

เสนกำหนดสวนกวางของตัวอักษร

เรียงลำดับจากดานหนาไปดานหลัง ดังนี้ 1. เสนกรอบหนา 2. เสนชานหนา 3. เสนแบงครึ่งสวนกวาง 4. เสนชานหลัง 5. เสนกรอบหลัง

ความกวางของตัวอักษร

แบงออกเปนชวงตางๆเรียงลำดับจากดานหนาไปดาน หลัง 1. ชวงชานหนา 2. ชวงครึ่งหนา 3. ชวงครึ่งหลัง 4. ชวงชานหลัง

9


อักษรไทย ขอบเขตตัวอักษร

ขอบบน เสนฐานบน

ผูดีไซน

เสนวรรณยุกต เสนสระบน เสนบนฐาน

เสนฐานลาง เสนสระลาง เสนชานลาง ขอบลาง

10

ชานบน ระดับวรรณ ยุกตบน ระดับสระบน ชองวางสระบน ตัวอักษร ชองวางสระลาง ระดับสระลาง ชานลาง


อักษรไทย ชื่อเร�ยกอนาโตมี่

จะงอย

หัวออก

ระนาบขึ้น

ต�น

กิ่ง

ปลาย

ขมวดหลัง 11


ฦฤ อักษรไทย

ชื่อเร�ยกอนาโตมี่

หางลาง

12


หัวขมวด

อักษรไทย ชื่อเร�ยกอนาโตมี่

ค หัวควํ่าขวา

13


อักษรไทย

ชื่อเร�ยกอนาโตมี่

14

พ ทเเยงหนา

เสนซอน

ญ เชิง

หลัง

ทเเยงหลง

เสนกลาง

เชิง


อักษรไทย ชื่อเร�ยกอนาโตมี่

ขมวดหางบน

ต หลังหยัก

15


แฟชัน่

16


แฟชัน่

17


แฟชัน่

18


แฟชัน่

19


แฟชัน่

20


แฟชัน่

21


สัมภาษณ ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา เร�น่ สนใจ Typography ตัง้ เเตเมือไหร เพราะอะไร ?

บ 22

ขอแบงเปน 2 สวนกอนนะ จะไดครอบคลุมคำถาม คือ เริ่มรูจัก กับ เริ่มสนใจอยาง แรกเลย คือเริ่มรูจัก Typography ก็ตอนที่มีเรียนคลาสนี้ตอนป 2คือกอนหนานี้ไมเคยรูมากอนวา มีวิชาแบบนี้ดวย ตอนเห็น Description ของวิชาครั้งแรกยังนึก วาเปนวิชาที่สอนออกแบบตัวหนังสือไมไดรูเลยวาจริงๆแลวคือ วิชาที่สอนการใช การจัดวางตัวอักษรในการสื่อสาร หรืองานกราฟกดีไซน รวมถึงเปนวิชาสอนใหเราเขาใจ ถึงความสำคัญของตัวอักษรในงานกราฟกคือเอางายๆถา พื้นฐานทางดาน Typographไมดีก็ยากที่จะเปนกราฟกดีไซนเนอร ที่ดีไดทีนี้พอเริ่มรูแลววาจะเรียนเกี่ยวกับอะไรตอนนั้นก็ยังไมได สนใจอะไรมากนะ ก็เรียนๆเลนๆไปเรื่อย ผานไปซักพักนึงเริ่ม สนใจในการเรียนมากขึ้น เริ่มอยากมีอะไรที่ถนัดเปนเรื่องเปนราว เพราะเพื่อนๆทุกคนก็มีสิ่งที่ตัวเองสนใจกันทั้งนั้นก็เลยลองตั้ง คำถามกับตัวเองวาสิ่งที่เรียนๆอยูมีอะไรบางที่เราพอจะหยิบ จับมันแลวมาเรียนรูใหเปนเรื่องเปนราว อะไรที่เราจะอยูกับมันได โดยเบื่อนอยที่สุดประกอบกับตอนนั้นบรรยากาศในชั้นเรียนไทโป กราฟ 1 กำลังคึกคัก(ตอนนั้นเรียนกับ อ.เอก แลวก็ อ.วีร) กำลังสนุก คือไมรูนะวาคนอื่นสนุกไหม แตตัวเราเองสนุกมาก ชอบมากเวลาไดเรียนวิชานี้ คือรูสึกวามันมีอะไรใหเรียนรูเยอะ มีอะไรที่ลึกซึ้งหลายอยางที่เราควรจะเขาใจนั่นคือจุดเริ่มตนที่ทำ ใหเริ่มสนใจ Typography ตอเนื่องมาจนถึง Typography 2 ก็ยังสนุกเหมือนเดิมคือตอนนี้เริ่มเห็นแลววาเพื่อนหลายๆคน เริ่มบนกันแตตัวเราเองยังรูสึกอยากเรียนอีกเยอะๆเลยสังเกตุได วานี่แหละ ชอบอันนี้แหละจร�งๆ หลังจากนั้นชวงปดเทอมใหญตอนปสองไดมีโอกาสไปฝกงาน กับ concious ซึ่งเปนสตูดิโอของอ.วีร คนที่สอนใหเรารูจัก Typography นั่นแหละตอนนั้นไดรับมอบหมายใหออกแบบฟอนต ประจำบริษัท ซึ่งถือเปนครั้งแรกที่ไดลองออกแบบฟอนต คือกอนหนานี้ก็สนใจพวกตัวอักษรรอบๆตัว สนใจฟอนต แตก็ไมเคยคิดจะออกแบบจนมามีโอกาสในครั้งนี้ มันยิ�งเปนการตอกย้ำเลยวาเราสนุกจร�งๆ ตลอดระยะเวลา ของโปรเจคตนี้สนุกและไดเรียนรูอะไรใหมๆ เยอะมาก หลังจากนั้นก็ตั้งมั่นเลยวาจะพยายามเอาดีทางดานนี้แหละ เปดเทอมมาขึ้นปสาม ชวงนั้นก็บาไปเลย บาฟอนต ชอบดู ชอบสังเกตุ มีไดลองทำ เพิ่มบางตามโอกาสอำนวย แตไมเยอะเทาไหร แลวก็ชวงฝกงานครั้งที่สองตอนกอนขึ้นปสี่ มีสงประกวดตัวนึง ก็ไดรางวัล ไดไปเขาแคมป ก็ เจอ อ.เอก ก็คนที่สอนใหเรารูจัก Typography อีกนั่นแหละ


สัมภาษณ ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา

มีวธ� หี าเเรงบันดาลใจอยางไร

ถาแรงบันดาลใจหมายถึงความรูสึกที่ทำใหอยากลุกขึ้นมาทำ อะไรบางอยาง คิดวาคงเปนการสังเกตุการไดเห็นอะไรเยอะๆ พยายามตั้งคำถามกับตัวเองแลวหาคำตอบใหไดการสนใจสิ่ง รอบตัวไมใชเฉพาะแคเรื่องตัวอักษร หรือเรื่องออกแบบ แตรวมไปถึงเรื่องชีวิตวัฒนธรรมเรื่องคนฯลฯคือพยายามพา ตัวเองไปอยูในจุดที่ทำใหไดเห็นอะไรเยอะๆพอเห็นเยอะๆแลวก็ พยายามทำความเขาใจมันใหได ไมใชเห็นแลวจำ

วศ ถาเราเขาใจเร�อ่ งราวรอบตัวเราจะไมตอ งอาศัยสมอ งในสวนของการจดจำเลย

คือพอเขาใจปุปความรูก็อยูในอากาศแลวเราสามารถเชื่อมโยง ทุกอยางไดโดยที่ไมตองมีอะไรอยูในหัวเลยสรุปคือแรงบันดาลใจ ของเรามาจากการไดเห็นเยอะๆ

ศิลปนทีเ่ ปนเเรงบันดาลใจ

ศิลปนนี่หมายถึงแขนงไหน ถาบันเทิงก็ตอง beirut เลย ชอบมากตอนนี้ ถาถามถึง ไทป ดีไซเนอร ก็มีเยอะเลยนะ เอาใกลๆตัวก็ อ.เอก อ.นุ ถาพวกฝรั่งก็ Eric Spieker-

mann, Adrian Frutiger, Matthew Carter

พวกนี้จะเปนพวกคลาสสิก ขึ้นหิ้งไปแลว ถาพวกที่ยังหนุมๆก็ชอบ Christian Schwartz

23


สัมภาษณ ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา

ภO

ในความคิดพ�ค่ วามแตกตางระหวางฟอนต ไทยกับ อังกฤษคืออะไร เขาใจวาถามในแงการออกแบบใชไหมเราวาตัวละตินมันผาน เวลามายาวนานกวาถูกคลี่คลายฟอรมมาเยอะจนตอนนี้แทบ จะหาโครงสรางใหมๆไมไดแลวตองไปดูกันตรงเทกซเจอรมาก กวาสวนภาษาไทยมันยังมีพื้นที่ใหดิ้นไดอีกเยอะมีทางอีกหลาย ทางใหลอง

24


สัมภาษณ ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา ทำไมถึงเลือกทำศิลปนิพนธเกีย่ วกับ อาการดิสเลคเซีย

บังเอิญไดอานบทความเกี่ยวกับอาการ Dyslexia ในชวงที่กำลัง หาหัวขอทีสิสอยูพอดีเลยลองตั้งคำถามวาถาออกแบบฟอนต เฉพาะสำหรับคนที่มาอาการ ดิสเลคเซีย จะสามารถชวย บรรเทาความยากลำบากในการอานของคนพวก นี้ไดไหม โดยตอนนั้นเราก็ตั้งสมมติฐานวามันมีความเปนไปได เพราะเราเอาเงื่อนไขของอาการเปนที่ตั้งเลยคือพยายาม จะแกปญหานี้ซึ่งตอนนั้นเราคิดวาถาสุดทายงานออกมา แลวมันแกปญหาไมได เราก็ไมไดเสียหายอะไร คือ เรามีความเชื่อวาการทำทีสิสไมใชแคการแสดงทักษะทางการ ออกแบบที่ไดเรียนมาตลอดสี่ป มันควรจะมากกวานั้น มันควรมีการทดลองอะไรสิ่งใหมๆความสำคัญของทีสิส มันอยูที่กระบวนการที่ทำใหเราไดเรียนรูอะไรใหมๆขยาย ขอบเขตความรูทางดานการออกแบบของตัวเราเอง มันไมใชแคการโชวทักษะทางการออกแบบอยางเดียว

ด 25


ป ท

สัมภาษณ

ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา

ทำไมถึงเลือกทำภาษาไทยเเทนทีจ่ ะเปนภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษมีคนทำแลว และโรคนี้ก็มีคนไทยที่เปน

คิดวาการใชภาษาไทยของคนทัว่ ไปควรปรับปรุง อะไรบาง ในความเห็นของเราเราวาควรเขาใจเรื่องกาลเทศะฉลาดใน การเลือกใชภาษาใหเหมาะสมกับเหตุการณนั้นๆ

คิดอยางไรกับการทีค่ นไมกลาใชภาษาไทยในการทำ งานออกแบบ

เสียดาย เขาใจวาไมกลาใชภาษาไทยเพราะคิดไปเองวามันเชย แตก็โทษไมไดเราอยูในยุคที่ทุกอยางที่ถูกปอนใหเราบอกกับเราวา ความเปนฝรั่งคือความเท แตเรื่องแบบนี้มันอยูที่ทัศนคติ ซึ่งก็เปลี่ยนแปลงได และก็ควรเปลี่ยน

26


สัมภาษณ ภาณุวัฒน อูสกุลวัฒนา พ�ค่ ดิ อยางไรกับการเปลียนเเปลงของภาษาไทย ก็พยายามตามวาขยับเขยื้อนไปทางไหน เราเชื่อวาทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลง เสมอไมเวนแมแตเรื่องของภาษา

คิดวาอนาคตของฟอนต ไทยวาจะเปนอยางไร ในแงการออกแบบก็คงสนุกขึ้น มีคนสนใจเยอะขึ้น คงไดเห็นแบบใหมๆเยอะ ตามไปดวย แตเรื่องคุณภาพก็บอกไมไดเหมือนกัน เพราะสวนตัวเราเองก็ไมได เปนผูเชียวชาญขนาดนั้น อยูในชวงฝกหัดเหมือนกัน

27


สอนออกเเบบ การเขียนปากกาสปีดบอล

ตัด

การเขียนอักษรหัวตัดด้วยปากกาหัวตัดซึ่งได้พัฒนามาจาก การเขียนด้วยปากกาสปีดบอลล์ซึ่งการเขียนด้วยปากกาส ปีดบอลล์จะมีความยุ่งยากในส่วนของการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ ในการปฏิบัติงานและถ้าใช้กระดาษเขียนที่ไม่ดีก็จะทำให้น้ำ หมึกซึมหรือเลอะกระดาษได้แต่ในปัจจุบันได้หันมานิยมใช้ ปากกาหัวตัดซึ่งจะมีขนาดต่าง ๆ ให้เลือกที่จะใช้ในการเขียน จะทำให้มีความสะดวกมากยิ่งขึ้น

การเตรียมอุปกรณ์ก็ง่ายและสามารถนำมาใช้งานได้ทันทีซึ่งวิธีการเขียนตัวอักษรแบบหัวตัดก็ไม่ได้ยุ่งยากซ้ำยังมีวิธีการเขียนที่ อาจจะพูดได้ว่าเหมือนกับการเขียนด้วยปากกาสปีดบอลล์เลยก็ว่าได้ ก่อนอื่นนักเรียนต้องฝึกเขียนเส้นทั้ง 4เส้นนี้ให้คล่องก่อน จนเกิดความชำนาญโดยที่ปลายของทุกเส้น ทั้งเมื่อเริ่มต้นและสิ้นสุดควรทำมุม 45 องศา และควรยึดหลักการลากเส้นจาก ซ้ายไปขวา หรือ บนมาล่าง ดังตัวอย่างรูปข้างล่างนี้ขั้นตอนต่อไป ควรเริ่มจากตัวที่มีรูปแบบง่าย ๆ ก่อน เช่น เ า ข หรือ บ และหลังจากนั้นเมื่อคล่องแล้วให้เริ่มเขียนตั้งแต่ตัว ก เป็นตัวเริ่มต้นโดยลากปากกาตามหัวลูกศรดังรูปตัวอย่างข้างล่างนี้

28


สอนออกเเบบ การเขียนปากกาสปีดบอล

กขฃคฅฆงจฉชซ ฌญฎฏฐฑฒณดตถ ทธนบปผฝพฟภม ยรลวศษสหฬอฮ

29


คอลัมน โคมูตร

๛ ๏ จก ภพผุดทามเว�้ง. วรรณศิลป จี้ แกนชาติหวาดถว�ล. เลาไว ร�้ ร�้สั่งสายสินธุ….. ครวญคร่ำ ไร แกนชีว�ตไร…. เรงรูพ�ทธธรรม ๚ะ ๛

โคมูตร (โค-มูด) หรือ เยี่ยววัว(๛)เปนเครื่อง หมายวรรคตอนไทย โบราณใชเมื่อเติมทาย เมื่อจบบทหรือจบเลม พบไดในหนังสือหรือ บทกลอนรุนเกาถาใชคู กับอังคั่นคูและ วิสรรชนีย จะเปน อังคั่นวิสรรชนีย โคมูตร (๚ะ๛) ซึ่งหมายถึงจบบริบูรณ โคมูตรมีความหมายวาเยี่ยววัวไมปรากฏที่มาที่ชัดเจนแตปรากฏในหนังสือรุนเกาๆจำพวกรอยกรอง อยางไรก็ตาม ในภาษาสันสกฤต มีคำวาโคมูตฺรกมีความหมายวาคลายรอยเยี่ยววัวลักษณะของเสนที่คดไปมาหรือเสนฟนปลาจึงเปนไปไดวาเรานาจะเรียกเครื่องหมายนี้ ตามอยางหนังสือสันสกฤตมาตั้งแตครั้งโบราณในประชุมลำนำของหลวงธรรมามณฑ(ถึกจิตรถึก)เรียกเครื่องหมายนี้วาสูตรนารายณระบุ การใชวาใชหลังวิสรรชนีย(ที่ปดทายสุด)ในปจจุบันไมคอยมีผูใชเครื่องหมายโคมูตรอาจพบไดในงานของกวีบางทานเชนอังคารกัลยาณ พงศเปนตนอนึ่งโคมูตรยังหมายถึงกลุมดาวในวิชาดาราศาสตรไทยเรียกวาดาวฤกษมฆา ประกอบดวยดาว 5 ดวง คือ ดาววานร ดาวงอน ดาวไถ ดาวงูผู และดาวมฆหรือดาวมาฆะ (การเรียกกลุมดาวฤกษของไทยนั้นนิยมเรียกเพียงแตดาวแลวตามดวยชื่อ ไมเรียกวา กลุมดาว อยางวิชาดาราศาสตรในปจจุบัน)

30


๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛ ๛๛ คอลัมน

โคมูตร

31




DB Helvethaica X

การเปลี ่ ย นเเปลงของตั ว อั ก ษรไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.