บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิชาการ เรื่อง CWIE สร้างสรรค์งาน พัฒนาสมรรถนะคนในยุค New Normal

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิชาการ เรื่อง CWIE สร้างสรรค์งาน พัฒนาสมรรถนะคนในยุค New Normal วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม 2564 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นฤศร มังกรศิลา หัวหน้างานจัดการ ความรู้ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ และ อาจารย์ประจำ สาขาวิชาอุตสาหกรรม การบริการอาหาร

รายละเอียดของเรื่อง จากที่กระผมได้ มีโ อกาสเข้า ร่ว มสั ม มนาออนไลน์ เครื อ ข่ า ยพั ฒ นาสหกิ จ ศึ ก ษา ภาคกลางตอนล่ า ง เรื ่ อ ง “พั ฒ นาหลั ก สู ต ร CWIE อย่ า งไรให้ ต อบโจทย์ น ั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย และสถานประกอบการ” วั น พุ ธ ที ่ 29 กันยายน ๒๕64 ณ ห้องประชุมออนไลน์ Zoom สามารถ สรุปประเด็นสำคัญ ดังนี้ หลั ก สู ต ร CWIE เกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ ปี พ.ศ. 2562 เป็ น แนวคิดที่ต้องการสร้าง และพัฒ นากำลังคนให้มีส มรรถนะ (Competency) และทักษะ (Skills) พร้อมที่จะเข้าทำงานใน ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมไปถึงท้องถิ่น และชุมชุนผ่านการเรียน การสอนในห้องเรียน และการสั่งสมประสบการณ์การทำงาน จริงในสถานประกอบการซึ่งสอดคล้องกับแนวโน้มการสรรหา บุคลากรเข้ามาทำงานได้ทันที โดยรูปแบบการจัดการเรียนการ สอน CWIE จะได้ ร ั บ การปรับ ปรุง รู ปแบบมาจาก WIL มี 9 รูปแบบ คือ 1. ประสบการณ์ก่อนการศึกษา ผู้เรียนเข้าไปสัมผัส ประสบการณ์ อ าชี พ ที ่ ส นใจก่ อ นเรี ย นเนื ้ อ หา กำหนดประเด็นให้ผู้เรียนสังเกต และนำข้อสังเกต มาสะท้อนคิดในชั้นเรียนนำเสนอ สรุปข้อค้นพบ ในรูปแบบผังความคิด/รายงาน 2. เรียนสลับกับทำงาน ให้ผ ู้เรียนนำความรู้จาก สถานศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน และนำ ประสบการณ์ทำงานมาเป็นประเด็นในชั้นเรียน ต้องมีอาจารย์ และพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ ดูแลอย่างใกล้ชิด ลักษณะงานซับซ้อนตามชั้นปี คณาจารย์และพี่เลี้ยงร่วมประเมิน 3. สหกิจศึกษา ต้องเตรียมความพร้อม 30 ชั่วโมง จัดหาตำแหน่งงาน และออกปฏิบัติงานไม่น้อย กว่า 16 สัปดาห์ มีคณาจารย์นิเทศ และพี่เลี้ยง คอยแนะนำ และติดตามความก้าวหน้า ผู้เรียน ต้ อ งเชื ่ อ มโยงความรู ้ ทฤษฎี และปฏิ บ ั ต ิ เ ข้ า ด้วยกัน และนำเสนอผลสะท้อนการปฏิบัติงานใน รูปแบบของโครงงาน เพื่อให้อาจารย์นิเทศ และพี่ เลี้ยงประเมินในสัดส่วน 50:50

สรุปความรู้ที่ได้ CWIE สร้างสรรค์งาน พัฒนาสมรรถนะ คนในยุค New Normal สรุปได้ ดังนี้ หลั ก สู ต ร CWIE เกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ ปี พ.ศ. 2562 เป็นแนวคิดที่ต้องการสร้าง และพัฒนา กำลังคนให้มีสมรรถนะ (Competency) และ ทักษะ (Skills) พร้อมที่จะเข้าทำงานในภาครัฐ ภาคเอกชน รวมไปถึงท้องถิ่น และชุมชุนผ่าน การเรียนการสอนในห้องเรียน และการสั่งสม ป ระ สบ ก า รณ์ ก า รทำ งา นจ ริ ง ใน ส ถ า น ประกอบการซึ่งสอดคล้องกับแนวโน้มการสรร หาบุคลากรเข้ามาทำงานได้ทันที โดยรูปแบบ การจัดการเรียนการสอน CWIE จะได้รับการ ปรับปรุงรูปแบบมาจาก WIL มี 9 รูปแบบ คือ 1. ประสบการณ์ก่อนการศึกษา เรียน เข้าไปสัมผัสประสบการณ์อาชีพ ที่ สนใจก่ อ นเรี ย นเนื ้ อ หากำหนด ประเด็นให้ผู ้ เรีย นสั ง เกต และนำ ข้อสังเกตมาสะท้อนคิดในชั้นเรียน นำเสนอ สรุปข้อค้นพบในรูป แบบ ผังความคิด/รายงาน 2. เรีย นสลับ กับ ทำงาน ให้ผู้เรีย นนำ ความรู้จากสถานศึกษาไป ประยุก ต์ใช้ในการทำงาน และนำ ประสบการณ์ทำงานมาเป็นประเด็น ในชั ้ น เรี ย นต้ อ งมี อ าจารย์ และพี่ เลี ้ ย งในสถานประกอบการดู แ ล อย่า งใกล้ชิด ลัก ษณะงานซับซ้อน ตามชั้นปี คณาจารย์และพี่เลี้ยงร่วม ประเมิน 3. สหกิจศึกษา ต้องเตรียมความพร้อม 30 ชั่วโมง จัดหาตำแหน่งงาน และ ออกปฏิ บ ั ต ิ ง านไม่ น ้ อ ยกว่ า 16 สัป ดาห์ มีคณาจารย์นิเทศ และพี่ เลี ้ ย งคอยแนะนำ และติ ด ตาม ความก้าวหน้า ผู้เรียนต้องเชื่อมโยง ความรู ้ ทฤษฎี และปฏิ บ ั ต ิ เ ข้ า ด้วยกัน และนำเสนอผลสะท้อนการ ปฏิบัติงานในรูปแบบของโครงงาน เพื่อ ให้อ าจารย์นิเทศ และพี่เลี้ย ง ประเมินในสัดส่วน 50:50 4. การฝึ ก งานที ่ เ น้ น เรี ย นรู ้ ติ ด ตาม พฤติ ก รรมบุ ค คลต้ น แบบ มี ก าร กำหนดผู้ถ ูก ติดตาม และวางแผน การติดตามกิจกรรมที่ต้อ งทำ โดย การสั ง เกตพู ด คุ ย และทำงาน


4. การฝึ ก งานที ่ เ น้ น เรี ย นรู ้ ติ ด ตามพฤติ ก รรม บุคคลต้นแบบ มีการกำหนดผู้ถูกติดตาม และ วางแผนการติดตามกิจกรรมที่ต้องทำ โดยการ สังเกตพูดคุย และทำงานร่วมกันกับผู้ถูกติดตาม ประเมินผล การสะท้อนคิดร่วมกันในการสนทนา กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 5. ปฏิบัต ิงานภาคสนาม เป็นกิจกรรมที่เน้น การ ทำงานในชุ ม ชนสลั บ กั บ ชั ้ น เรี ย น โดยปฏิ บ ั ติ ต่อเนื่องจากง่ายไปยากตามชั้นปี เนื้อหา การ ปฏิบัติต้องสอดคล้องกับรายวิชาที่เรียนเพื่อให้ ผู้เรียนได้ประยุกต์ความรู้ภายใต้สภาพจริง อาจ บูรณาการกับการสอนแบบโครงงาน หรือการฝึก เฉพาะตำแหน่ง 6. พนักงานฝึกหัดใหม่ /พนักงานฝึกงาน เตรียม ผู้เรียนให้มีทักษะวิชาชีพที่พร้อมทำงานที่สนใจได้ ทั น ที เนื ้ อ หารายวิ ช าต้ อ งตรงกั บ สถาน ประกอบการต้ อ งการ และมี ก ารประสานกั น ระหว่างการเรียนรู้ และการทำงาน ทั้งงานประจำ การวิจัย หรือการพัฒนาโครงงาน นำเสนองาน หรือสถานประกอบการรองรับเมื่อสิ้นสุดการเรียน 7. การบรรจุให้ทำงาน หรือฝึกเฉพาะตำแหน่ง เมื่อ เรี ย นรู้ ท ฤษฎี ไ ปได้ ร ะยะหนึ ่ ง ผู ้ เ รี ย นจะออก ปฏิบัติงานฝึกเฉพาะตำแหน่ง หรือบรรจุให้ทำงาน ในสถานประกอบการ เป็นระยะเวลานานพอที่จะ เรียนรู้ เกิดทักษะ และสมรรถนะวิชาชีพ มีการ สะท้ อ นคิ ด และประเมิ น ผู ้ เ รี ย นโดยอาจารย์ ประจำวิชา กับ พี่เลี้ยงสถานประกอบการอย่าง ต่อเนื่องง 8. หลักสูตรร่วมมหาวิ ทยาลัย และอุตสาหกรรม เป็ น ระบบการจั ดการเรีย นที ่อ อกแบบร่ ว มกับ สถานประกอบการ เน้นการเรียนเพื่อแก้ไขโจทย์ ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสถานประกอบการ โดยเอา ความรู ้ ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ จ ั ด ทำโครงงานวิ จ ั ย มี คณาจารย์ ท ี ่ ดู แ ลใกล้ ช ิ ด และมี ก ารนำเสนอ ผลงานที่สถานศึกษาหลังเสร็จสิ้นการทำงาน 9. การฝึกปฏิบัติงานจริง ภายหลังสำเร็จการเรียน ทฤษฎี เป็นช่วงสุดท้ายก่อนการสำเร็จการศึกษา เพื่อให้ผ ู ้เรีย นเติ มเต็ ม ความรู้ เน้นการทำงาน ประจำ หรือพัฒนาโครงงานที่ตรงวิชาชีพ มีการ สะท้อนคิดระหว่างการทำงาน หรือทำโครงงาน

5.

6.

7.

8.

9.

ร่วมกันกับผู้ถูกติดตามประเมินผล การสะท้ อ นคิ ด ร่ ว มกั น ในการ สนทนากลุ ่ ม เพื ่ อ แลกเปลี ่ ย น ประสบการณ์ ปฏิบัติงานภาคสนาม เป็นกิจกรรมที่ เน้นการทำงานในชุมชนสลับกับชั้น เรียน โดยปฏิบัติต่อเนื่องจากง่ายไป ยากตามชั้นปี เนื้อ หา การปฏิบ ัติ ต้อ งสอดคล้อ งกับ รายวิชาที่เรี ย น เพื ่ อ ให้ผ ู ้เ รีย นได้ป ระยุก ต์ความรู้ ภายใต้สภาพจริง อาจบูรณาการกับ การสอนแบบโครงงาน หรือการฝึก เฉพาะตำแหน่ง พนั ก งานฝึ ก หั ด ใหม่ /พนั ก งาน ฝึ ก งาน เตรีย มผู้ เรี ย นให้ มี ทั ก ษะ วิ ช าชี พ ที ่ พ ร้ อ มทำงานที ่ ส นใจได้ ทั น ที เนื ้ อ หารายวิ ชาต้ อ งตรงกับ สถานประกอบการต้องการ และมี การประสานกันระหว่างการเรียนรู้ และการทำงาน ทั้งงานประจำ การ วิ จ ั ย หรื อ การพั ฒ นาโครงงาน นำเสนองาน หรือสถาน ประกอบการรองรับเมื่อสิ้นสุ ดการ เรียน การบรรจุให้ทำงาน หรือฝึ กเฉพาะ ตำแหน่ ง เมื ่ อ เรี ย นรู้ ท ฤษฎี ไ ปได้ ระยะหนึ่ง ผู้เรียนจะออกปฏิบัติงาน ฝึ ก เฉพาะตำแหน่ ง หรื อ บรรจุ ให้ ทำงานในสถานประกอบการ เป็ น ระยะเวลานานพอที่จะเรียนรู้ เกิด ทักษะ และสมรรถนะวิชาชีพ มีการ สะท้อนคิด และประเมินผู้เรียนโดย อาจารย์ประจำวิชา กับพี่เลี้ยงสถาน ประกอบการอย่างต่อเนื่องง หลั ก สู ต รร่ ว มมหาวิ ท ยาลั ย และ อุตสาหกรรม เป็นระบบการจัดการ เรี ย นที ่ อ อกแบบร่ ว มกั บ สถาน ประกอบการ เน้ น การเรี ย นเพื่ อ แก้ไขโจทย์ปัญ หาที่เกิดขึ้น จริงใน สถานประกอบการ โดยเอาความรู้ มาประยุกต์ใช้จัดทำโครงงานวิจัย มี คณาจารย์ที่ดู แลใกล้ชิด และมีการ นำเสนอผลงานที่สถานศึก ษาหลัง เสร็จสิ้นการทำงาน การฝึ ก ปฏิ บ ั ต ิ ง านจริ ง ภายหลั ง สำเร็ จ การเรี ย นทฤษฎี เป็ น ช่ ว ง สุ ด ท้ า ยก่ อ นการสำเร็ จ การศึก ษา เพื่อให้ผู้เรียนเติมเต็มความรู้ เน้น การทำงานประจำ หรื อ พั ฒ นา โครงงานที่ตรงวิชาชีพ มีการสะท้อน คิ ด ระหว่ า งการทำงาน หรื อ ทำ โครงงาน ทั ้ ง ระหว่ า งการทำงาน และสิ้นสุดการทำ โครงงาน ประเมินผลด้วย


ทั้งระหว่างการทำงาน และสิ้นสุดการทำโครงงาน ประเมินผลด้วย อาจารย์สารัลย์ กระจง ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนา คุณภาพการศึกษา บูรณาการกับการทำงาน มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์ เป็นวิทยากรที่ 1 ในการบรรยายเกี่ยวกับ เรื่อง การพัฒนาหลักสูตร CWIE อย่างไรให้ตอบโจทย์ โดยมี รายละเอียด ดังนี้

มหาวิทยาลัย ราชภัฏ อุ ตรดิ ตถ์เ ป็ นสถานศึ ก ษาที ่ มี นโยบายให้ความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ สหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน(CWIE) เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึก ษาและผลิต บัณ ฑิต ที่ส ามารถ ทำงานได้ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์เริ่ม ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มีรายวิช า สหกิจ ศึกษาเป็ น หลั กสูต รแรก พ.ศ. 2555 ได้ด ำเนิ น การ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีรายวิชาสหกิจศึกษาครบทุก หลักสูตรในมหาวิทยาลัยตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ได้มีการออกข้ อบังคับว่าด้วย การจัดการระบบสหกิจศึกษา พ.ศ.2555ผ่านการเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยเพื่อใช้ใน การจัดการระบบสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยตามมาตรฐาน ของสหกิจศึกษา ปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ได้จัดตั้ง ศูนย์สหกิจศึกษาเพื่อเป็นหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัยใน การกำกั บ ดู แ ลและพั ฒ นาระบบงานสหกิ จ ศึ ก ษาของ มหาวิ ท ยาลั ย การเตรี ย มความพร้ อ มให้ ก ั บ นั ก ศึ ก ษาและ อาจารย์นิเทศตามมาตรฐานของสหกิจศึกษาและสำนั กงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ปี พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัย ราชภัฏ อุต รดิต ถ์ ไ ด้ ยกระดั บ ศู น ย์ ส หกิ จ ศึ ก ษาจั ด ตั ้ ง เป็ น ศู น ย์ พ ั ฒ นาคุ ณ ภาพ การศึกษาบูรณาการกับการทำงานให้มีพันธกิจการขับเคลื่อน การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ในด้านการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการ ทำงาน(CWIE) ตรงกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ท ี ่ 3 "ยกระดั บ คุ ณ ภาพ

อาจารย์สารัลย์ กระจง ผู้อำนวยการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษา บูรณาการกับ การทำงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ เป็น วิทยากรที่ 1 ในการบรรยายเกี่ยวกับเรื่อง การ พัฒนาหลัก สูตร CWIE อย่า งไรให้ตอบโจทย์ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ์ เ ป็ น สถานศึกษาที่มีนโยบายให้ความสำคัญต่อการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบสหกิจศึกษาและ การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน(CWIE) เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและผลิตบัณฑิต ที่สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของ สถานประกอบการ ปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุ ต รดิ ต ถ์ เ ริ ่ ม ดำเนิ น การพั ฒ นาหลั ก สู ต ร วิศวกรรมคอมพิวเตอร์มีรายวิชา สหกิจศึกษา เป็นหลักสูตรแรก พ.ศ. 2555 ได้ดำเนินการ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรให้มีรายวิชาสหกิจ ศึ ก ษาครบทุ ก หลั ก สู ต รในมหาวิ ท ยาลัย ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ ได้มีการออก ข้อบังคับว่าด้วย การจัดการระบบสหกิจศึกษา พ .ศ.2555ผ่ า นก า รเห ็ น ชอ บ จากสภา มหาวิทยาลัยเพื่อใช้ในการจัดการระบบสหกิจ ศึกษาของมหาวิทยาลัยตามมาตรฐานของสหกิจ ศึกษา ปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุ ต รดิ ต ถ์ ไ ด้ จ ั ดตั ้ง ศู น ย์ สหกิ จ ศึ ก ษาเพื ่อ เป็ น หน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัยในการกำกับ ดู แ ลและพั ฒ นาระบบงานสหกิ จ ศึ ก ษาของ มหาวิ ท ยาลั ย การเตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาและอาจารย์ น ิ เ ทศตามมาตรฐาน ของสหกิจศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา ปี พ.ศ. 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ได้ยกระดับศูนย์สหกิจศึกษาจัดตั้งเป็น ศูนย์พัฒนาคุณภาพการศึกษาบูรณาการกับการ ทำงานให้ ม ี พ ั น ธกิ จ การขั บ เคลื ่ อ นการ ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุ ต รดิ ต ถ์ ในด้ า นการจั ด สหกิ จ ศึ ก ษาและ การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน(CWIE) ตรงกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ท ี ่ 3 "ยกระดั บ คุ ณ ภาพ การศึกษา”ของยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20ปี(พ.ศ. 2560-2579) ปี พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ ได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการกับการทางาน ระยะ 4 ปีระหว่างปี การศึกษา พ.ศ. 2562-2565 เพื่อใช้ในการ ขับเคลื่อนพันธกิจการจัดการเรียนรู้แบบบูรณา การกั บ การทางาน ครอบคลุ ม พั น ธกิ จ ใน ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และ นโยบายการส่งเสริมการจัดสหกิจ ศึก ษาและ การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาการกั บ การทา งาน ( CWIE)ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร อ ุ ด ม ศ ึ ก ษ า วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม


การศึกษา”ของยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20ปี (พ.ศ. 2560-2579) ปี พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้จัด ทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทางาน ระยะ 4 ปีระหว่างปีการศึกษา พ.ศ. 2562-2565 เพื่อใช้ในการ ขับเคลื่อนพันธกิจการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทา งาน ครอบคลุมพัน ธกิจ ในยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ และ นโยบายการส่งเสริมการจัดสหกิจศึกษาและ การศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน (CWIE)ของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปี พ.ศ.2563 –ปั จ จุ บ ั น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ์ ได้ ม ี น โยบายให้ พ ั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รใน รูปแบบสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางาน (CWIE)ร่วมกับสถานประกอบการตลอดหลักสูตร ตามนโยบาย การส่งเสริมการจัดสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับ การทางาน (CWIE) ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้รับรางวัลจากการ ดำเนินงานทางด้านสหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ปี พ.ศ.2563 –ปัจจุบัน มหาวิทยาลัย ราชภัฏ อุตรดิตถ์ ได้มีนโยบายให้พ ัฒนาและ ปรับปรุงหลักสูตรในรูปแบบสหกิจ ศึกษาและ การศึ ก ษาเชิ ง บู ร ณาก ารกั บ การทา งาน (CWIE)ร่ ว มกั บ สถานประกอบการตลอด หลักสูตร ตามนโยบายการส่งเสริมการจัดสหกิจ ศึก ษาและการศึก ษาเชิงบูรณาการกับการทา งาน (CWIE) ของกระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ อุ ต รดิ ต ถ์ ได้รับรางวัลจากการดำเนินงานทางด้านสหกิจ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง รูป แบบการจัด หลัก สูตร CWIE มี 3 รูปแบบ คือ 1. แบบแยก คือ เรี ย นภาคทฤษฎีใน มหาวิ ท ยาลั ย จนครบตามกำหนด หลังจากนั้นจึงไปปฏิบัติงานในสถาน ประกอบการตามระยะเวลาที่ กำหนด เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น 2. แ บ บ ค ู ่ ข น า น ค ื อ เ ร ี ย น ใ น มหาวิ ท ยาลั ย สลั บ กั น กั บ การไป ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ตลอ ด ระ ยะ เวลา การเรี ย นใน หลักสูตรนั้นๆ 3. แบบผสม คือ เรีย นภาคทฤษฎีใน มหาวิทยาลัย ส่ว นหนึ่ง และเรีย น ทฤษฎีพร้อมกับการปฏิบัติงานจริง ในสถานประกอบการอีกส่วนหนึ่ง การสร้างความร่วมมือระหว่างหลักสูตร เป็ น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ ต่ อ การขั บ เคลื ่ อ น CWIE ให้ ประสบความสำเร็จ โดยที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถ์ ได้ร่วมกับกับหน่วยงานต่างๆ มาอย่าง ต่อเนือ่ ง ดังนี้ การเตรียมความพร้อมนัก ศึกษา CWIE เพื่อเข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง การเตรียมความพร้อมนัก ศึกษา CWIE เพื่อเข้าฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ในต่างประเทศ ก า ร น ิ เ ท ศ น ั ก ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า น ประกอบการที่ต้องการให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก สภาพการทำงานจริง และอาจารย์ นิเทศเป็นผู้ ควบคุมดูแลระหว่างการฝึก การนำเสนอผลงานการฝึกปฏิบัติงาน หรืองานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการอย่าง เป็นระบบ และรวมนักศึกษาทุกสาขาวิชาเข้า มาร่ว มรับ ฟังการนำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ดีเด่นระดับมหาวิทยาลัย การนำเสนอผลงานการฝึกปฏิบัติงาน หรืองานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการอย่าง เป็นระบบ และรวมนักศึกษาทุกสาขาวิชาเข้า มาร่วมรับฟังการนำเสนอผลงาน สหกิจศึกษา นานาชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาทิตย์ คูณศรี สุข ผู้อำนวยการศูนย์ สหกิจศึกษา และพัฒนา อาชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิทยากร


รูปแบบการจัดหลักสูตร CWIE มี 3 รูปแบบ คือ 1. แบบแยก คือ เรียนภาคทฤษฎีในมหาวิทยาลัยจน ครบตามกำหนด หลังจากนั้นจึงไปปฏิบัติงานใน สถานประกอบการตามระยะเวลาที่กำหนด เช่น สหกิจศึกษา เป็นต้น 2. แบบคู่ขนาน คือ เรียนในมหาวิทยาลัยสลับกัน กับการไปปฏิ บัติงานจริงในสถานประกอบการ ตลอดระยะเวลาการเรียนในหลักสูตรนั้นๆ 3. แบบผสม คือ เรียนภาคทฤษฎีในมหาวิทยาลัย ส่ ว นหนึ ่ ง และเรี ย นทฤษฎี พ ร้ อ มกั บ การ ปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอีกส่วนหนึ่ง การสร้ า งความร่ ว มมื อ ระหว่ า งหลั ก สู ต รเป็ น สิ ่ ง ที่ สำคัญต่อการขับเคลื่อน CWIE ให้ประสบความสำเร็ จ โดยที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ได้ร่วมกับกับหน่วยงานต่างๆ มา อย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ที ่ 2 ได้ บ รรยาย เรื ่ อ ง การพั ฒ นาหลั ก สูตร CWIE อ ย ่ า ง ไ ร ใ ห ้ ต อ บ โ จ ท ย ์ น ั ก ศ ึ ก ษ า มหาวิทยาลัย และสถานประกอบการ โดยมี รายละเอียด ดังนี้ พ.ศ. 2538 สหกิจศึกษาในประเทศ และสหกิจศึกษานานาชาติของประเทศไทยเริ่ม ทีม่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ. 2545 ทบวงมหาวิทยาลัยทำ โครงการพัฒนาสหกิจศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษา โดยให้ใช้สหกิจฯ ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็นต้นแบบ ปีการศึกษา 2562 นักศึกษาสหกิจ ฯ ได้รับค่าตอบแทนรวม 38.2 ล้านบาท ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาสหกิจ ฯ ได้รับค่าตอบแทนรวม 35.5 ล้านบาท รูปแบบสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี สุรนารี มีก ารพัฒนาอย่า งต่อ เนื ่ อ ง ตั้งแต่ปี 2538 ถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ รนารี มีการ พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง โดยสามารถกำหนด โมเดลสหกิจศึกษาต้นแบบ โดยได้ประโยชน์ทั้ง 3 ส่ ว น คื อ นั ก ศึ ก ษา สถาบั น และสถาน ประกอบการ การจัดระบบสหกิจศึกษาที่เหมาะสม ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และหลังฝึก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา เ พ ื ่ อ ค ว า ม ต ่ อ เ น ื ่ อ ง ใ น ก า รฝึ ก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี ได้จัด สหกิจศึกษาในรูปแบบ 8 เดือน ฝึกในสถานประกอบการ แ ละ ดำ เนิ นก า รติ ด ตามการฝึ ก ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในทุกสถานประกอบการ เพื่อ ให้ได้ข้อมูล ตอบกลับ เกี่ยวกับ การทำงาน ของผู้เรียน


การเตรียมความพร้อมนักศึกษา CWIE เพื่อเข้าฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง


การเตรียมความพร้อมนักศึกษา CWIE เพื่อเข้าฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริงในต่างประเทศ

การนิเทศนักศึกษาในสถานประกอบการที่ต้องการให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสภาพการทำงานจริง และอาจารย์นเิ ทศ เป็นผู้ควบคุมดูแลระหว่างการฝึก


การนำเสนอผลงานการฝึกปฏิบัติงาน หรืองานสหกิจ ศึกษาในสถานประกอบการอย่างเป็นระบบ และรวมนักศึกษา ทุกสาขาวิชาเข้ามาร่วมรับฟังการนำเสนอผลงานสหกิจศึกษา ดีเด่นระดับมหาวิทยาลัย

การนำเสนอผลงานการฝึกปฏิบัติงาน หรืองานสห กิ จ ศึ ก ษาในสถานประกอบการอย่ า งเป็ น ระบบ และรวม นักศึกษาทุ กสาขาวิช าเข้ามาร่ว มรับ ฟังการนำเสนอผลงาน สหกิจศึกษานานาชาติ


ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.อาทิ ต ย์ คู ณ ศรี สุ ข ผู้อำนวยการศูนย์สหกิจศึกษา และพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี วิทยากรที่ 2 ได้บรรยาย เรื่อง การพัฒนา หลักสูตร CWIE อย่างไรให้ตอบโจทย์นักศึกษา มหาวิทยาลัย และสถานประกอบการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พ.ศ. 2538 สหกิ จ ศึ ก ษาในประเทศและสหกิ จ ศึกษานานาชาติของประเทศไทยเริ่มที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี พ.ศ. 2545 ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย ทำโครงการ พัฒนาสหกิจศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา โดยให้ใช้สหกิจฯ ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็นต้นแบบ ปี ก ารศึ ก ษา 2562 นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ฯ ได้ รั บ ค่าตอบแทนรวม 38.2 ล้านบาท ปี ก ารศึ ก ษา 2563 นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ฯ ได้ รั บ ค่าตอบแทนรวม 35.5 ล้านบาท รู ป แบบสหกิจ ศึก ษาของมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี สุรนารีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตัง้ แต่ปี 2538 ถึงปัจจุบัน


มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ม ี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง ต่อเนื่อง โดยสามารถกำหนดโมเดลสหกิจศึกษาต้นแบบ โดยได้ ประโยชน์ ท ั ้ ง 3 ส่ ว น คื อ นั ก ศึ ก ษา สถาบั น และสถาน ประกอบการ


การจัดระบบสหกิจศึกษาที่เหมาะสมในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และหลังฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

เพื่อความต่อเนื่องในการฝึกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้จัดสหกิจศึกษาในรูปแบบ 8 เดือน ฝึกในสถานประกอบการ


และดำเนิ น การติ ดตามการฝึ ก ปฏิบ ั ติ งานสหกิ จ ศึ ก ษาในทุ ก สถานประกอบการ เพื ่ อ ให้ ไ ด้ ข ้ อ มู ล ตอบกลั บ เกี่ยวกับการทำงานของผู้เรียน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.