บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิจัย เรื่อง การเขียนข้อเสนอวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า
รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที่กระผมได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับการเขียน หัวหน้างานจัดการความรู้ ข้อเสนอวิจัย นักวิจัยจะต้องมีวิธีการเขียนในหัวข้อต่างๆ คณะเทคโนโลยึคหกรรม อย่างไรให้ได้รับทุนวิจัย สามารถสรุปได้ ดังนี้ ศาสตร์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.นวดล เพ็ ช รวั ฒ นา สาขา อาจารย์ประจำสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ นวั ต กรรมพอลิ เ มอร์ แ ละการจั ด การ คณะเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยศรีน ครินทร อาหาร วิโรฒ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการประเมินข้อเสนอการ วิจัย โดยทั่วไปหลักเกณฑ์การพิจารณาเบื้องต้น มีดังนี้ 1. ความเหมาะสมที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่อง การทบทวน วรรณกรรม และความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย 2. คุณภาพทางวิชาการของผู้ว ิจัย โดยพิจารณาจาก ความเชี่ยวชาญในด้านที่ต้องการทำวิจัย รวมไปถึงต้องค้นหา ทีมงานวิจัยที่มีความรอบรู้ทางทฤษฎีและการควบคุมการได้มา ซึ่งผลของการวิจัย 3. ความเหมาะสมของระเบียบวิ ธีวิจัย ต้องพิจารณา จากวิธีวิจัยจะต้องสอดคล้องกับวั ตถุประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ วิธีการเลือกตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล วิธีการทดลอง และสถิติ ที่ใช้ โดยปัญหาหลักของนักวิจัยที่ขอทุนวิจัยไม่ได้ เกิดจาก การไม่คิดนอกกรอบในศาสตร์ของตนเอง ซึ่งพบว่าใช้เทคนิค และวิธีการเดิม ในขณะที่แหล่งทุนเปลี่ยนไป สิ่งสำคัญ อี ก อย่า งหนึ ่ งคื อ การเลือ ก Platform หรื อ Program ไม่ถูกต้อง หรือเลือก OKR ไม่ตรง ใช้แบบฟอร์มผิด ส่งข้อเสนอในระบบ NRIIS ไม่ทัน คำแนะนำที่อยากให้นักวิจัย ควรปฏิบัติ คือ การศึกษา โครงการวิจั ยที่ได้ทุนในปีก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเขียน ข้อเสนองานวิจัย โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาการให้คะแนนข้อเสนอวิจัย จะต้องพิจารณา 3 ด้าน คือ 1. คุณค่าทางปัญญา (60 เปอร์เซ็นต์) 2. ผลกระทบ (30 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ) โดยพิ จ ารณาจาก งานวิจัยที่ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม พัฒนา สิ่งแวดล้อม และมีการระบุมูลค่าหรือตัวเลขประมาณการถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากงานวิจัย
สรุปความรู้ที่ได้ การเขียนข้อเสนอวิจัย อย่างไรให้ได้ รั บ ทุน สรุปได้ ดังนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.นวดล เพ็ ช ร วั ฒ นา สาขานวั ต กรรมพอลิ เ มอร์ แ ละการ จั ด การ คณะเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ผลิต ภัณ ฑ์การเกษตร มหาวิท ยาลัยศรีนคริ นทร วิโรฒ ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการ ประเมินข้อเสนอการวิจั ย โดยทั่วไปหลักเกณฑ์ การพิจารณาเบื้องต้น มีดังนี้ 1. ความเหมาะสมที่เกี่ย วข้อ งกั บ ชื่ อ เรื่อง การทบทวนวรรณกรรม และความสำคัญ และที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย 2. คุณภาพทางวิชาการของผู้วิจัย โดย พิจารณาจากความเชี่ยวชาญในด้านที่ต้อ งการ ทำวิจ ัย รวมไปถึง ต้อ งค้ นหาทีม งานวิจ ัย ที ่ มี ความรอบรู้ทางทฤษฎีและการควบคุมการได้มา ซึ่งผลของการวิจัย 3. ความเหมาะสมของระเบียบวิธ ีวิจัย ต้องพิจารณาจากวิธีวิจัยจะต้องสอดคล้องกับ วั ต ถุ ป ระสงค์ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช้ วิ ธ ี ก ารเลื อ ก ตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล วิธีการทดลอง และ สถิติที่ใช้ โดยปั ญ หาหลั ก ของนั ก วิจ ัย ที่ข อทุ น วิ จ ั ย ไม่ ไ ด้ เกิ ด จากการไม่ ค ิ ด นอกกรอบใน ศาสตร์ ข องตนเอง ซึ ่ ง พบว่ า ใช้ เ ทคนิ ค และ วิธีการเดิม ในขณะที่แหล่งทุนเปลี่ยนไป สิ่งสำคัญ อีก อย่า งหนึ่งคือ การเลือก Platform หรือ Program ไม่ถูกต้อง หรือเลือก OKR ไม่ต รง ใช้แ บบฟอร์มผิด ส่งข้อ เสนอใน ระบบ NRIIS ไม่ทัน คำแนะนำที่อยากให้นักวิจัยควรปฏิบัติ คือ การศึก ษาโครงการวิจัย ที่ได้ทุนในปีก่อน เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนข้อเสนองานวิจัย โดยหลั ก เกณฑ์ ก ารพิ จ ารณาการให้ คะแนนข้อเสนอวิจัย จะต้อ งพิจารณา 3 ด้าน คือ 1. คุณค่าทางปัญญา (60 เปอร์เซ็นต์) 2. ผลกระทบ (30 เปอร์เซ็ นต์ ) โดย พิ จ ารณาจากงานวิ จั ย ที ่ก ่อ ให้ เ กิด มูล ค่า ทาง เศรษฐกิจ พัฒนาสังคม พัฒนาสิ่งแวดล้อม และ มี ก ารระบุ ม ู ล ค่ า หรื อ ตั ว เลขประมาณการถึ ง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากงานวิจัย 3. ความสอดคล้อ งของข้อ เสนอการ วิจ ัย (10 เปอร์เซ็ นต์) โดยพิจ ารณาจากแผน ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แผนบูรณาการวิจัย
3. ความสอดคล้ อ งของข้ อ เสนอก ารวิ จ ั ย (10 เปอร์เซ็นต์) โดยพิจารณาจากแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรมของชาติ (กรอบวิจัย) และ กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายที่สามารถทำวิจัยให้เกิดผลลัพทธ์ การประเมินข้อเสนอการวิจัยที่เน้นความเป็นนวัตกรรม ทางสั ง คม จะพิ จ ารณาจากความใหม่ ความเป็ น ไปได้ ข อง โครงการ และคุณค่าของโครงการ โดยผลการวิจัย ที่เป็นองค์ ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมจะต้องถูกถ่ายทอดและใช้ประโยชน์ ให้ได้มากที่สุด (ไม่ขึ้นหิ้ง) การเขียนโครงร่างวิจัย เพียง 20-30 หน้า เพื่อแลกกับ เงิน ทุน หลักแสน หลักล้าน จึงจะต้องเขียนให้ดีมีเหตุผลที่ เหมาะสมในทุกหัวข้อที่แหล่งทุนต้องการทราบอย่างประณีตทุก ขั้นตอนการเขียน ส่ว นปลายน้ำ การใช้ประโยชน์ งานวิจัย ด้านนโยบาย เป็นการนำองค์ความรู้ จากผลงานวิจัย ไปใช้ในกระบวนการ กำหนดนโยบายทุกระดับ เพื่อให้ตรงกับหลักการ แนวทาง กล ยุทธ์ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นโยบายที่ดี ประกอบด้ ว ย วั ต ถุ ป ระสงค์ แนวทาง และกลไกในการ ดำเนิน งาน ที่ส องคล้องกับปัญหาและความต้องการการใช้ ประโยชน์ด้านนโยบาย รวมถึง การประยุกต์ไปใช้เป็นนโยบาย หรื อ ทางเลื อ กเชิ ง นโยบาย แล้ ว นำนโยบายนั้ น ไปสู่ ผ ู ้ ใ ช้ ประโยชน์ โดยมีตัวอย่าง ดังนี้ 1. ชื่อโครงการ การประยุกต์ใช้บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ จากพลาสติกชีวภาพในแหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด 2. ลักษณะการใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย เทศบาลเมือง แสนสุข จ.ชลบุรี นำเอาผลการศึกษาจากโครงการวิจัยไปใช้ กำหนดนโยบายการจัดการขยะและกำหนดประเภทของบรรจุ ภัณฑ์ที่ใช้ในเขตพื้นที่ชายหาดบางแสน การใช้ประโยชน์ด้านชุมชนและสังคม (สาธารณะ) การ ดำเนินงานเพื่อนำผลงานวิจัยและนวัตกรรม ไปใช้ในวงกว้าง เพื่อประโยชน์ของสังคมและประชาชนทั่ วไป ให้มีความรู้ความ เข้าใจ เกิดความตระหนัก รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงซึ่งนำไปสู่ การเปลี ่ ย นวิ ธ ี ค ิ ด พฤติ ก รรม เพื ่ อ เพิ ่ ม คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของ ประชาชน สร้างสังคมคุณภาพและส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือการนำกระบวนการ วิธีการ องค์ความรู้ การเปลี่ยนแปลง การเสริมพลัง อันเป็นผลกระทบที่เกิดจากการวิจัยและพัฒนา ชุมชน ท้องถิ่น พื้นที่ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์การขยายผลต่อ ชุมชน ท้องถิ่น และสังคมอื่น ดังนั้น การใช้ประโยชน์ พิจารณาจากการมีหลักฐาน ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยในชุมชน การได้รับหนังสือ
และนวัตกรรมของชาติ (กรอบวิจัย ) และกลุ่ม อุ ต สาหกรรมเป้ า หมายที่ ส ามารถทำวิ จ ั ย ให้ เกิดผลลัพทธ์ การประเมินข้อเสนอการวิจัยที่เน้นความ เป็นนวัตกรรมทางสังคม จะพิจารณาจากความ ใหม่ ความเป็นไปได้ของโครงการ และคุณค่า ของโครงการ โดยผลการวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ ใหม่ หรือนวัตกรรมจะต้องถูกถ่ายทอดและใช้ ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด (ไม่ขึ้นหิ้ง) การเขีย นโครงร่า งวิจ ัย เพีย ง 20-30 หน้า เพื่อแลกกับเงินทุน หลักแสน หลักล้าน จึง จะต้ อ งเขี ย นให้ด ี ม ี เ หตุ ผ ลที่ เ หมาะสมในทุก หัวข้อที่แหล่งทุนต้องการทราบอย่างประณีตทุก ขั้นตอนการเขียน ส่วนปลายน้ำ การใช้ประโยชน์ งานวิจัย ด้ า นนโยบาย เป็ น การนำองค์ ค วามรู้ จ าก ผลงานวิ จ ั ย ไปใช้ ใ นกระบวนการกำหนด นโยบายทุ ก ระดั บ เพื ่ อ ให้ ต รงกั บ หลั ก การ แนวทาง กลยุทธ์ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ น โยบายที ่ ด ี ป ระกอบด้ ว ย วั ต ถุ ป ระสงค์ แนวทาง และกลไกในการ ดำเนินงาน ที่สองคล้อ งกับ ปั ญ หาและความ ต้องการการใช้ประโยชน์ด้านนโยบาย รวมถึง การประยุกต์ไปใช้เป็นนโยบาย หรือทางเลือก เชิ ง นโยบาย แล้ ว นำนโยบายนั้ น ไปสู่ ผ ู ้ ใ ช้ ประโยชน์ โดยมีตัวอย่าง ดังนี้ 1. ชื่อโครงการ การประยุ กต์ใช้บรรจุ ภัณฑ์ย่อยสลายได้จากพลาสติกชีวภาพในแหล่ง ท่องเที่ยวประเภทชายหาด 2. ลั ก ษณะการใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง นโยบาย เทศบาลเมืองแสนสุข จ.ชลบุรี นำเอา ผลการศึ ก ษาจากโครงการวิ จ ั ย ไปใช้ก ำหนด นโยบายการจัดการขยะและกำหนดประเภท ของบรรจุภ ัณฑ์ที่ใช้ในเขตพื้นที่ชายหาดบาง แสน การใช้ประโยชน์ด้านชุมชนและสังคม (สาธารณะ) การดำเนินงานเพื่อนำผลงานวิจัย และนวัตกรรม ไปใช้ในวงกว้างเพื่อประโยชน์ ของสังคมและประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้ความ เข้ า ใจ เกิ ด ความตระหนั ก รู้ เ ท่ า ทั น การ เปลี ่ ย นแปลงซึ ่ ง นำไปสู ่ ก ารเปลี ่ ย นวิ ธ ี คิ ด พฤติกรรม เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้ า งสั ง คมคุ ณ ภาพและส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อ ม หรือ การนำกระบวนการ วิธีการ องค์ความรู้ การเปลี่ยนแปลง การเสริมพลัง อัน เป็นผลกระทบที่เกิดจากการวิจ ัย และพัฒนา ชุมชน ท้องถิ่น พื้นที่ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์การ ขยายผลต่อชุมชน ท้องถิ่น และสังคมอื่น ดังนั้น การใช้ประโยชน์ พิจารณาจาก การมี ห ลั ก ฐานถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ท ี ่ ไ ด้จ าก งานวิจ ัย ในชุมชน การได้รับ หนังสือ เชิญ เป็ น วิ ท ยากรไปให้ ค วามรู้ เช่ น การสั ม มนา การ ฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นต้น
เชิญเป็นวิทยากรไปให้ความรู้ เช่น การสัมมนา การฝึกอบรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นต้น การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ จะเกิดขึ้นได้จากต้องเกิด การจับคู่กับผู้ใช้นวัตกรรมเสียก่ อน เช่น บริษัท ก ซื้อสิทธิ์ใน งานวิจัยไปผลิตและจำหน่ายเชิงพาณิชย์ หรือ บริษัท ข แบ่ง เปอร์ เ ซ็ น ต์ จ ากยอดขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี ่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ข อง มหาวิทยาลัย ค. เป็นต้น โดยช่องทางการจับคู่ นักวิจัยที่สร้างนวัตกรรมกับผู้ใช้ เป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากอีกต่อไป โดยมีช่องทางหลากหลายให้เข้า ไปติ ด ต่ อ กั บ ผู้ ใ ช้ น วั ต กรรมได้ ต ลอดเวลา เช่ น Tech2Biz, สวทช, สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, โปรแกรมสนับสนุนการ พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม (ITAP), เครื อ ข่ า ยวิ จั ย อุดมศึกษา และกรมทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น
การใช้ ป ระโยชน์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ จะ เกิดขึ้นได้จากต้องเกิดการจับคู่กับผู้ใช้นวัตกรรม เสียก่อน เช่น บริษั ท ก ซื้อสิทธิ์ในงานวิจัยไป ผลิตและจำหน่ายเชิงพาณิชย์ หรือ บริษ ัท ข แบ่ ง เปอร์ เ ซ็ น ต์ จ ากยอดขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี่ใช้ เทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย ค. เป็นต้น โดยช่องทางการจับ คู่ นักวิจัยที่สร้า ง นวัตกรรมกับผู้ใช้เป็น เรื่องที่ไม่ยุ่งยากอีกต่อไป โดยมีช่องทางหลากหลายให้เข้าไปติดต่อกับผู้ใช้ นวัตกรรมได้ตลอดเวลา เช่น Tech2Biz, สวทช , สำนั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ , โปรแกรม สนับสนุนการพั ฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP), เครื อ ข่ า ยวิ จ ั ย อุ ด มศึ ก ษา และกรม ทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น