การยกร่างคำขอสิทธิบัตรอย่างไรให้รอบเดียวผ่าน

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิจัย เรื่อง การยกร่างคาขอสิทธิบัตรอย่างไรให้รอบเดียวผ่าน วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า

รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที่ ก ระผมได้ มี โ อกาสเข้ า ร่ ว ม โครงการพี่ เ ลี้ ย ง หัวหน้างานจัดการความรู้ (Mentoring Program) จากหน่ ว ยจั ด การทรั พ ย์ สิ น ทาง คณะเทคโนโลยีคหกรรม ปัญญา และถ่ายทอดเทคโนโลยีในสถาบันอุดมศึกษา (TLO) ศาสตร์ และ โดยศูน ย์ทรั พย์สิน ทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทา อาจารย์ประจาสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับมหาวิทยาลัย กิจกรรมที่ 2 จัดอบรม เรื่อง "การยกร่างคาขอสิทธิ บัตร และการจัดเตรี ยมค าขอ อาหาร สิ ท ธิ บั ต ร" ในวั น พฤหั ส บดี ที่ 26 พ.ย. 2563 ณ ห้ อ ง ประชุมชั้น 4 อาคารเรือนปัญญา คณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พี่เลี้ยง โดยคุ ณ จิ ร าภรณ์ เหลื อ งไพริ น ทร์ ผู้ อ านวยการศู น ย์ ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น สามารถสรุ ป ประเด็นสาคัญ และมีขั้นตอนดังนี้ การยกร่ า งค าขอสิ ท ธิ บั ต ร และอนุ สิ ท ธิ บั ต ร เป็ น การ กาหนดคาขอรับสิทธบัตร อนุสิทธิบัตร (การประดิษฐ์) มีวิธีการ ยกร่างที่คล้ายกัน แต่สิทธิบัตร (การออกแบบผลิตภัณฑ์ ) ใช้ ภาพถ่ายเพียงอย่างเดียว ไม่ต้องมีคาอธิบายส่วนประกอบต่างๆ หรือจะใช้เป็นรูปภาพที่ออกแบบโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็ได้ เอกสารในการยื่นคาขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ได้แก่ 1. แบบพิมพ์คาขอรับสิทธิบัตร 2. รายละเอียดการประดิษฐ์ 3. ข้อถือสิทธิ 4. รูปเขียน 5. บทสรุปการประดิษฐ์ 6. เอกสารประกอบคาขอ (ใบโอนสิทธิ ใบมอบอานาจ สาเนาบัตรประจาตัว ฯลฯ) โดยจะข้อกล่าวถึงเอกสารในแต่ละรูปแบบเป็นข้อๆ ไป เริ่มต้นจากเรื่องของรายละเอียดการประดิษฐ์ มีองค์ประกอบ ดังนี้ 2.1 ชื่อที่แสดงถือการประดิษฐ์ เป็นชื่อที่แสดงให้ทราบ ว่าการประดิษฐ์นี้เป็นการประดิษฐ์เกี่ยวกับอะไร มีลักษณะของ การประดิษฐ์อย่างชัดเจน จะต้องไม่ใช้ชื่อที่ตั้งขึ้นเอง หรือ เป็น การอวดอ้างสรรพคุณ โดยใช้ชื่อเหมือนกับงานประดิษฐ์ อื่นๆ ได้ แต่แตกต่างที่รายละเอียดข้างในร่าง ตัวอย่างการตั้งชื่อการ ประดิษฐ์ที่ดี เช่น หมอนรองหลัง กรรไกรขอนแก่น กรรมวิธี

สรุปความรู้ที่ได้ การยกร่างคาขอสิทธิบัตร และการจัดเตรียมคาขอ สิทธิบัตร สรุปได้ดังนี้ การยกร่างคาขอสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร เป็นการ กาหนดคาขอรับสิทธบัตร อนุสิทธิบัตร (การประดิษฐ์) มี วิ ธี ก ารยกร่ า งที่ ค ล้ า ยกั น แต่ สิ ท ธิ บั ต ร (การออกแบบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ) ใช้ ภ าพถ่ า ยเพี ย งอย่ า งเดี ย ว ไม่ ต้ อ งมี คาอธิบายส่วนประกอบต่างๆ หรือจะใช้เป็นรูปภาพที่ ออกแบบโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็ได้ เอกสารในการยื่นคาขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบั ต ร ได้แก่ 1. แบบพิมพ์คาขอรับสิทธิบัตร 2. รายละเอียดการประดิษฐ์ 3. ข้อถือสิทธิ 4. รูปเขียน 5. บทสรุปการประดิษฐ์ 6. เอกสารประกอบคาขอ (ใบโอนสิทธิ ใบมอบ อานาจ สาเนาบัตรประจาตัว ฯลฯ) โดยจะข้อกล่าวถึงเอกสารในแต่ละรูปแบบเป็นข้อๆ ไป เริ่ ม ต้ น จากเรื่ อ งของรายละเอี ย ดการประดิ ษ ฐ์ มี องค์ประกอบ ดังนี้ 2.1 ชื่อที่แสดงถือการประดิษฐ์ เป็นชื่อที่แสดง ให้ทราบว่าการประดิษฐ์นี้เป็นการประดิษฐ์เกี่ยวกับอะไร มีลักษณะของการประดิษฐ์อย่างชัดเจน จะต้องไม่ใช้ชื่อที่ ตั้ ง ขึ้ น เอง หรื อ เป็ น การอวดอ้ า งสรรพคุ ณ โดยใช้ ชื่ อ เหมื อ นกั บ งานป ระดิ ษ ฐ์ อื่ น ๆ ได้ แต่ แ ตกต่ า ง ที่ รายละเอียดข้างในร่าง ตัวอย่างการตั้งชื่อการประดิษฐ์ที่ ดี เช่น หมอนรองหลั ง กรรไกรขอนแก่ น กรรมวิธี ก าร ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ก บ ครี ม สารพั ด ประโยชน์ ครี ม บ ารุ ง ผิว น้าพริกมะขาม น้าพริกที่มีขมิ้นเป็ นส่วนประกอบ ยาแก้ ปวด ยาแก้ปวดที่มีส่วนผสมของวิตามินอี และ การทาชา จากมะม่วงหิมพานต์ เป็นต้น 2.2 สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ แสดงสาขาวิทยาการที่เหมาะสมกับการประดิษ ฐ์ ระบุ สาขาวิทยาการของการประดิษฐ์อยู่ในเทคโนโลยี หรือ สาขาวิชาการใด เช่น เคมี เภสัช วิศวกรรมเครื่องกล โดย เคมี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ น้าผลไม้ หรือ เคมี ในส่วนที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ น้ ามั น นวดไมโครอิ มั ล ชั น หรื อ สาขา วิทยาการด้านวิศวกรรม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องตัด หญ้า โดยดูที่ผลิตภัณฑ์หรือสิ่งประดิษฐ์สามารถนาไปใช้ งานได้จริงหรือไม่ 2.3 ภู มิ ห ลั ง ของศิ ล ปะ หรื อ วิ ท ยาการที่ เกี่ยวข้อง ลักษณะทั่วไปของสาขาวิทยาการน้า โดยเขย นออกมาให้ดูใหม่ สิ่งประดิษฐ์ของเราคืออะไร โดยขึ้นให้ ครอบคลุมภูมิห ลั งทั้ ง ภายในประเทศและต่ า งประเทศ สาหรับปัญหาที่เกิดขึ้นกับสาขาวิทยาการนั้น (ถ้ามี) ให้ใส่ ที่มาเพื่อให้เ ห็น ถึ งความส าคั ญ ของสิ่ งประดิ ษ ฐ์ ของเรา จากนั้นกล่าวถึงการประดิษฐ์ที่แก้ไขปัญหาเดียวกั น ที่ มี ก่อนหน้าโดยสรุป (สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรที่ยื่นจดก่อนทั้ง ภายในประเทศและต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์ที่มีจาหน่ าย งานที่มีการตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ ) และแสดงข้อจากัดของ การประดิษฐ์ที่มีก่อนหน้ า และแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งสามารถผ่านข้อจากัดของการประดิษฐ์ก่อนหน้า จน ก่อให้เกิดการประดิษฐ์นี้ และต้องนาไปใช้ประโยชน์ได้ จริง


การปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ก บ ครี ม สารพั ด ประโยชน์ ครี ม บ ารุ ง ผิ ว น้าพริกมะขาม น้าพริกที่มีขมิ้นเป็นส่วนประกอบ ยาแก้ปวด ยาแก้ปวดที่มีส่วนผสมของวิตามินอี และ การทาชาจากมะม่วง หิมพานต์ เป็นต้น 2.2 สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ แสดง สาขาวิ ท ยาการที่ เ หมาะสมกั บ การประดิ ษ ฐ์ ระบุ ส าขา วิทยาการของการประดิษฐ์อยู่ในเทคโนโลยี หรือ สาขาวิชาการ ใด เช่ น เคมี เภสั ช วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล โดยเคมี ในส่ ว นที่ เกี่ยวข้องกับ น้าผลไม้ หรือ เคมี ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ น้ามัน นวดไมโครอิมัลชัน หรือ สาขาวิทยาการด้านวิศวกรรม ในส่วน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่ อ งตั ด หญ้ า โดยดู ที่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ สิ่งประดิษฐ์สามารถนาไปใช้งานได้จริงหรือไม่ 2.3 ภู มิ ห ลั ง ของศิ ล ปะ หรื อ วิ ท ยาการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ลักษณะทั่วไปของสาขาวิทยาการน้า โดยเขยนออกมาให้ดูใหม่ สิ่งประดิษฐ์ของเราคืออะไร โดยขึ้นให้ครอบคลุ มภูมิ ห ลั ง ทั้ง ภายในประเทศและต่างประเทศ ส าหรับปัญหาที่เกิดขึ้นกับ สาขาวิทยาการนั้น (ถ้ามี) ให้ใส่ที่มาเพื่อให้เห็นถึงความสาคัญ ของสิ่งประดิษฐ์ของเรา จากนั้นกล่าวถึงการประดิษฐ์ ที่แก้ไข ปัญหาเดียวกันที่มีก่อนหน้าโดยสรุป (สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรที่ ยื่นจดก่อนทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์ที่มี จาหน่าย งานที่มีการตีพิมพ์ หรือเผยแพร่ ) และแสดงข้อจากัด ของการประดิษฐ์ที่มีก่อนหน้า และแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่ง สามารถผ่านข้อจากัดของการประดิษฐ์ก่อนหน้า จนก่อให้เกิด การประดิษฐ์นี้ และต้องนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 2.4 ลักษณะ และความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ ควร ระบุถึงลักษณะทางเทคนิคของการประดิษฐ์ ที่ได้คิดขึ้นโดยย่อ ต้องเป็นการเขียนแบบย่อจริงๆ ไม่อธิบายมากจนเกินไป และ ควรมีวัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์ โดยแบ่งออกเป็น 2 ย่อ หน้าอย่างชัดเจน คือ ลักษณะของการประดิษฐ์โดยย่อ และ การประดิษฐ์นี้มีความมุ่งหมาย (วัตถุประสงค์) คืออะไร ยิ่งถ้า ใส่ผลการวิจัยของงานประดิษฐ์ของเรา และเปรียบเทียบกับ งานวิจั ย ที่ผ่ านมาของสิ่ งประดิษฐ์ อื่นๆ ในวัตถุประสงค์ด้ว ย โดยไม่ต้องใส่รูปสิ่งประดิษฐ์ลงไป 2.5 คาอธิบายรูปเขียนโดยย่อ (ถ้ามี) ให้เขียนคาอธิบาย รูป โดยไม่ต้องใส่รูป เช่น รูปที่ 1 แสดงถึงกราฟเปรียบเทียบ ผลทดลองก่อนใช้สาร... กับหลังใช้สาร... หรือ รูปที่ 1 แสดงถึง เครืองจัดเรียงใยมะพร้าวตามการประดิษฐ์นี้ เป็นต้น 2.6 การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ มีผลวิจัยเพื่อ แสดงให้ขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น เป็นผลวิจัยของตัวผลิตภัณฑ์ ไม่ใช่ผลวิจัยองค์ประกอบแต่ละส่วนของผลิตภัณฑ์ ไม่น้าหลัก เพียงพอ เป็นการบรรยายถึงรายละเอียดของการประดิษฐ์ที่

2.4 ลั ก ษณะ และความมุ่ ง หมายของการ ประดิ ษ ฐ์ ควรระบุ ถึ ง ลั ก ษณะทางเทคนิ ค ของการ ประดิ ษ ฐ์ ที่ ไ ด้ คิ ด ขึ้ น โดยย่ อ ต้ อ งเป็ น การเขี ย นแบบย่อ จริงๆ ไม่ อธิบายมากจนเกินไป และควรมีวัตถุประสงค์ ของการประดิ ษ ฐ์ โดยแบ่ ง ออกเป็ น 2 ย่ อ หน้ า อย่ า ง ชัดเจน คือ ลักษณะของการประดิ ษฐ์ โดยย่ อ และการ ประดิษฐ์นี้มีความมุ่งหมาย (วัตถุประสงค์) คืออะไร ยิ่งถ้า ใส่ผลการวิจัยของงานประดิษฐ์ของเรา และเปรียบเทียบ กับงานวิจัยที่ผ่านมาของสิ่งประดิษฐ์อื่นๆ ในวัตถุประสงค์ ด้วย โดยไม่ต้องใส่รูปสิ่งประดิษฐ์ลงไป 2.5 คาอธิบายรูปเขียนโดยย่อ (ถ้ามี) ให้เขียน ค าอธิ บ ายรู ป โดยไม่ ต้อ งใส่ รู ป เช่ น รู ป ที่ 1 แสดงถึ ง กราฟเปรียบเทียบผลทดลองก่อนใช้สาร... กับหลังใช้สาร ... หรือ รูปที่ 1 แสดงถึงเครืองจัดเรียงใยมะพร้ าวตาม การประดิษฐ์นี้ เป็นต้น 2.6 การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ มีผล วิจัยเพื่อแสดงให้ขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น เป็นผลวิจัยของ ตัวผลิตภัณฑ์ ไม่ใช่ผลวิจัยองค์ประกอบแต่ละส่วนของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไม่ น้ าหลั ก เพี ย งพอ เป็ น การบรรยายถึ ง รายละเอี ย ดของการประดิ ษ ฐ์ ที่ ข อรั บ สิ ท ธิ บั ต ร /อนุ สิ ท ธิ บั ต ร ว่ า มี ลั ก ษ ร ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง กี่ เ ป อ ร์ เ ซ็ น ต์ องค์ประกอบใช้ หรือรับประทานไปแล้วเป็นอย่างไร ผล การทดสอบเป็ น อย่ า งไร ส่ ว นขั้ น ตอนต่ า งๆ หรื อ ส่วนประกอบอะไรบ้าง โดยไม่ต้องมีรูปประกอบ ผลดี ของการประดิ ษ ฐ์ ต ลอดจนตั ว อย่ า งที่ จ ะแสดงถึ ง การ ประดิ ษ ฐ์ นั้ น ๆ เป็ น อย่ า งไร รั บ ประทานไปแล้ว แก้โรค อะไรได้ บ้ า ง และที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ควรมี ผ ลการวิ จั ย ของ สิ่งประดิษฐ์ของเรามารองรับ เช่น แสดงให้เห็นว่ า งาน ประดิษฐ์ของเราดีกว่าอย่างไรมีอะไรเป็นส่วนประกอบ และผลการทดสอบเป็ น อย่ า งไร (เครื่ อ งจั ด เรี ย งใย มะพร้าว ประกอบด้วย ชุดถ่ายทอดกาลัง (2), มอเตอร์ (3), ชุดเฟือง (4), ชุดมูลเลย์ (5), ลูกกลิ้งหนาม (6), ตัว เรือน (7), และชุดสายพานลาเลียงเคลื่อนที่ (10)) เป็น ต้น 2.7 วิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุด เป็นหัวข้อที่ เขียนง่ายที่สุด เป็นการอธิบายถึงวิธีการประดิษฐ์ ที่ผู้ ขอ พบว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุด หรืออาจจะเขียนได้ว่า มักใช้ ข้อความดังต่อไปนี้ คือ “เหมือนกับที่ได้บรรยายไว้ในการ เปิดเผยกาประดิษฐ์โดยสมบูรณ์” หรือ “เช่นเดียวกับที่ได้ เปิ ด เผยไว้ แ ล้ ว ในหั ว ข้ อ การเปิ ด เผยกาประดิ ษ ฐ์ โ ดย สมบูรณ์” หรือ “ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ การเปิเผย การประดิษฐ์โดยสมบูรณ์” 2.8 การนาการประดิ ษฐ์ไปใช้ประโยชน์ในการ ผลิ ต ทางอุ ต สาหกรรม หั ต ถกรรม เกษตรกรรม หรื อ พาณิชยกรรม (กรณีที่ไม่สามารถเข้าใจได้จากลักษระของ การประดิษฐ์) ส าหรั บ การเขี ย นข้ อ ถื อ สิ ท ธิ โดยข้ อ ถื อ สิ ท ธิ มี ความหมายสมบูรณ์ในตัวเองถึงเป็นจุดที่สาคัญอีกส่ ว น หนึ่ง ถ้าเขียนไม่ครอบคลุมก็จะไม่สามารถเรียกร้องสิทธิ ใดๆ ได้ ถ้าเกิดกรณีมีการฟ้องร้องทางด้านสิ่งประดิ ษ ฐ์ เกิดขึ้น ดังนั้นควรแสดงข้อถือสิทธิไว้เป็นข้อๆ ไม่ควรเกิน 10 ข้ อ ต้ อ งมี ห น่ ว ยวั ด ที่ แ น่ น อน ชั ด เจน สมบู ร ณ์ ครอบ คลุ ม ลั ก ษณะการป ระดิ ษ ฐ์ สอดคล้ อ งกั บ รายละเอียดการประดิษฐ์ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ การถือสิทธิครอบครองสิ่งประดิษฐ์นั้นๆ เช่น น้ามันงา 110 กรัม หรือ คนเป็นเวลา 5 นาที จนกว่าเนื้อครี ม ที่ ผสมขึ้นเกิดอิมัลชัน (emulsion) สังเกตได้จากลักษณะ เป็นสีขาวขุ่น เป็นต้น โดยสามารถแบ่ ง ข้ อ ถือ สิทธิ ออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้ อ ถื อ สิ ท ธิ ห ลั ก (Indepentdent Claim) คื อ ข้อถือสิทธิที่มิได้อ้างถึงลักษณะของการประดิษฐ์ในข้อถือ สิทธิ์อื่น และข้อถือสิทธิรอง (Depentdent Claim) คือ ข้อถือสิทธิที่อ้างอิงถึงลักษณะของการประดิษฐ์ในข้อ ถือ


ขอรั บ สิ ท ธิ บั ต ร /อนุ สิ ท ธิ บั ต ร ว่ า มี ลั ก ษระโครงสร้ า งกี่ เปอร์ เ ซ็ น ต์ องค์ ป ระกอบใช้ หรื อ รั บ ประทานไปแล้ ว เป็ น อย่างไร ผลการทดสอบเป็นอย่างไร ส่วนขั้นตอนต่างๆ หรือ ส่วนประกอบอะไรบ้าง โดยไม่ต้องมีรูปประกอบ ผลดีของการ ประดิษฐ์ตลอดจนตัวอย่างที่จะแสดงถึงการประดิษฐ์ นั้นๆ เป็น อย่างไร รับประทานไปแล้วแก้โรคอะไรได้บ้าง และที่สาคัญ ที่สุดควรมีผลการวิจัยของสิ่งประดิษฐ์ของเรามารองรับ เช่น แสดงให้เห็นว่างานประดิษฐ์ของเราดี กว่าอย่างไรมีอะไรเป็น ส่วนประกอบ และผลการทดสอบเป็นอย่างไร (เครื่องจัดเรียง ใยมะพร้าว ประกอบด้วย ชุดถ่ายทอดกาลัง (2), มอเตอร์ (3), ชุดเฟือง (4), ชุดมูลเลย์ (5), ลูกกลิ้งหนาม (6), ตัวเรือน (7), และชุดสายพานลาเลียงเคลื่อนที่ (10)) เป็นต้น 2.7 วิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุด เป็นหัวข้อที่เขียนง่าย ที่สุด เป็นการอธิบายถึงวิธีการประดิษฐ์ที่ผู้ขอพบว่าเป็นวิธีการ ที่ดีที่สุด หรืออาจจะเขียนได้ว่า มักใช้ข้อความดังต่อไปนี้ คือ “เหมื อ นกั บ ที่ ไ ด้ บ รรยายไว้ ใ นการเปิ ด เผยกาประดิ ษ ฐ์ โ ดย สมบูรณ์” หรือ “เช่นเดียวกับที่ได้เปิดเผยไว้แล้วในหัวข้อการ เปิดเผยกาประดิษฐ์โดยสมบูรณ์” หรือ “ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วใน หัวข้อ การเปิเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์” 2.8 การนาการประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทาง อุ ต สาหกรรม หั ต ถกรรม เกษตรกรรม หรื อ พาณิ ช ยกรรม (กรณีที่ไม่สามารถเข้าใจได้จากลักษระของการประดิษฐ์) สาหรับการเขียนข้อถือสิทธิ โดยข้อถือสิทธิมีความหมาย สมบู ร ณ์ ในตัว เองถึงเป็ น จุดที่ส าคัญอีกส่ ว นหนึ่ง ถ้าเขียนไม่ ครอบคลุมก็จะไม่สามารถเรียกร้องสิทธิใดๆ ได้ ถ้าเกิดกรณีมี การฟ้องร้องทางด้านสิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้น ดังนั้นควรแสดงข้อถือ สิทธิไว้เป็นข้อๆ ไม่ควรเกิน 10 ข้อ ต้องมีหน่วยวัดที่แน่นอน ชัดเจน สมบูรณ์ ครอบคลุมลักษณะการประดิษฐ์ สอดคล้องกับ รายละเอียดการประดิษฐ์ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบการถือ สิทธิครอบครองสิ่งประดิษฐ์นั้นๆ เช่น น้ามันงา 1-10 กรัม หรือ คนเป็นเวลา 5 นาที จนกว่าเนื้อครีมที่ผสมขึ้นเกิดอิมัลชัน (emulsion) สังเกตได้จากลักษณะเป็นสีขาวขุ่น เป็นต้น โดยสามารถแบ่งข้อถือสิทธิ ออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อถือสิทธิหลัก (Indepentdent Claim) คือ ข้อถือสิทธิ ที่มิได้อ้างถึงลักษณะของการประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิ์อื่น และข้ อ ถื อ สิ ท ธิ ร อง (Depentdent Claim) คื อ ข้ อ ถื อ สิ ทธิที่อ้างอิงถึงลั กษณะของการประดิษฐ์ ในข้อถือสิ ทธิห ลั ก หรือ ข้อถือสิทธิรองอื่น โดยมีลักษณะของการประดิษฐ์เพิ่มเติม ด้วย เป็นต้น โดยที่เนื้อหาที่ปรากฎอยู่ในข้อถือสิทธิต้องมีอยู่ใน

สิทธิหลัก หรือ ข้อถือสิทธิรองอื่น โดยมีลักษณะของการ ประดิษฐ์เพิ่มเติมด้วย เป็นต้น โดยที่เนื้อหาที่ปรากฎอยู่ ในข้อถือสิทธิต้องมีอยู่ในรายละเอียดการประดิษฐ์ (เป็น หัวข้อที่เปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์แล้ว) กาหนดการนับบรรทัดข้อถือสิทธิ จะเริ่มนับบรรทัด ตั้งแต่ คาว่า ข้อถือสิทธิ เป็นบรรทัดที่ 1 โดยกาหนดให้ ทุก 5 บรรทัด จะต้องระบุเลขบรรทัดเป็น เลข 5, 10, 15 ไปเรื่อยๆ ใน 1 หน้า A4 ข้อความระวังอื่นๆ ที่ไม่ควรให้เกิดขึ้นระหว่า งการ เขียนยกร่างสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร โดยห้ามลบ ขีดฆ่า แก้ไขใดๆ ในร่างเด็ดขาด, ถ้าเป็นคาภาษาอังกฤษจะต้อง ทับศัพท์ให้เป็นภาษาไทยให้หมดทุกคา หรือ คาที่ใช้ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในวงเล็บ ก็จะต้องใช้คาแบบ เดียวกันทั้งร่าง เช่น เกลือแกง โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) หรือ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) เป็นต้น กัลยาณมิตร KM HEC RMUTP ทุกท่าน สามารถ เข้าไปดาวโหลดดูตัวอย่าง การยกร่างคาขอสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตรเพิ่มเติม ได้ที่ http://ip.kku.ac.th


รายละเอียดการประดิษฐ์ (เป็นหัวข้อที่เปิดเผยการประดิษฐ์ โดยสมบูรณ์แล้ว) กาหนดการนับบรรทัดข้อถือสิทธิ จะเริ่มนับบรรทัดตั้งแต่ คาว่า ข้อถือสิทธิ เป็นบรรทัดที่ 1 โดยกาหนดให้ทุก 5 บรรทัด จะต้องระบุเลขบรรทัดเป็น เลข 5, 10, 15 ไปเรื่อยๆ ใน 1 หน้า A4 ข้อความระวังอื่นๆ ที่ไม่ควรให้เกิดขึ้นระหว่างการเขียน ยกร่างสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร โดยห้ามลบ ขีดฆ่า แก้ไขใดๆ ในร่างเด็ดขาด, ถ้าเป็นคาภาษาอังกฤษจะต้องทับศัพท์ให้เป็น ภาษาไทยให้ ห มดทุ ก ค า หรื อ ค าที่ ใ ช้ ทั้ ง ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษในวงเล็บ ก็จะต้องใช้คาแบบเดียวกันทั้งร่าง เช่น เกลือแกง โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) หรือ ไตรกลี เซอไรด์ (Triglyceride) เป็นต้น กัลยาณมิตร KM HEC RMUTP ทุกท่าน สามารถเข้าไป ดาวโหลดดูตัวอย่าง การยกร่างคาขอสิทธิบัตร และอนุสิทธิบัตร เพิ่มเติม ได้ที่ http://ip.kku.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.