บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิชาการ เรื่อง Education Disruption วันอังคารที่ 26 พฤศจิกายน 2562 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า
รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที่กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนา PIM’s Workหัวหน้างานจัดการความรู้ based Education Forum ภาคพิ เ ศษ เรื่ อง CP All–PIM คณะเทคโนโลยึคหกรรม Education Forum 2020 Transforming Business ศาสตร์ และ Knowledge & Platform to Education Intelligence ใน อาจารย์ประจาสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน ๒๕62 เวลา ๐๙.๐๐ – ๑6.๐๐ น. ณ Hall 2-6 ชั้น 3 หอประชุมปัญญาภิวัฒน์ สถาบันการ อาหาร จั ด การปั ญ ญาภิวั ฒ น์ สามารถสรุ ป ประเด็ น ส าคัญ และมี ขั้นตอนดังนี้ ภาคเช้า น ายณั ฏ ฐ พล ที ป สุ ว รรณ รั ฐ มน ตรี ว่ า ก า ร กระทรวงศึกษาธิการ ได้เป็นองค์ปาฐกพิเศษและได้กล่าวเปิด การสัมมนาวิชาการในภาคเช้าไว้ได้อย่างน่าสนใจเกี่ยวกับการ ขับเคลื่อนการศึกษาของไทย ที่ไร้ขีดจากัด สิ่งแรกที่การศึกษา ไทยจะต้องดาเนินการปรับ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนครั้ งใหม่ใน วงการการศึ ก ษาไทย คื อ ระบบการศึ ก ษาที่ ส ามารถเข้ าถึง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และสารสนเทศในทุ ก ช่ ว งเวลาที่ อ ยู่ ใ น สถาบันการศึกษา ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งผล ดีต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ของประเทศไทยต่อไป โดยเราไม่อาจ ที่จะปฏิเสธการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ตสรรพ สิ่งเพื่อนามาบริหารจัดการการศึกษาให้ยั่งยืนต่อไป นายก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ซี พี ออลล์ ได้ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ ง ซี พี ออลล์ กั บ การจั ด การศึกษาที่สร้างสรรค์และแบ่งบันโอกาส โดยการดาเนินงาน ของ บมจ.ซี พี ออลล์ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเกี่ ย วกั บ การเชื่ อ มโยง เครือข่ายการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาที่ห่างไกลในชนบทของ ประเทศไทยให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง การข้ อ มู ล ข่ า วสาร และ สารสนเทศทางการศึกษาได้อย่า งเท่า เทียมกันนั้น เป็นสิ่ งที่ ผู้บริหารและบุคลากรของ บมจ. ซีพี ออลล์ ต้องการให้เกิด การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญ และครั้งยิ่งใหญ่เพื่อให้ การศึกษา ของไทยพัฒนาทุนมนุษย์ที่ดี และสามารถนาความรู้มาพัฒนา บ้านเกิดของผู้เรี ยนได้จ นเกิดความความยั่งยืนในการพัฒ นา ชุมชน และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ด้วยตนเอง
สรุปความรู้ที่ได้ Education Disruption สรุปได้ดังนี้
ภาคเช้า น า ย ณั ฏ ฐ พ ล ที ป สุ ว ร ร ณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิ การ ได้เป็น องค์ ป าฐกพิ เศษและได้ ก ล่ า วเปิ ด การสัมมนา วิชาการในภาคเช้าไว้ได้อย่างน่าสนใจเกี่ยวกับ การขับเคลื่อนการศึกษาของไทย ที่ไร้ขีดจากัด สิ่งแรกที่การศึกษาไทยจะต้องดาเนินการปรับ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นครั้ ง ใหม่ ใ นวงการ การศึกษาไทย คือ ระบบการศึกษาที่สามารถ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และสารสนเทศในทุ ก ช่วงเวลาที่อยู่ในสถาบันการศึกษา ทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งผลดีต่อการพัฒนา ทุนมนุษย์ของประเทศไทยต่อไป โดยเราไม่อาจ ที่จะปฏิเสธการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ อิ นเทอร์เน็ตสรรพสิ่งเพื่อนามาบริห ารจัดการ การศึกษาให้ยั่งยืนต่อไป น า ย ก่ อ ศั ก ดิ์ ไ ช ย รั ศ มี ศั ก ดิ์ ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ซีพี ออลล์ ได้ กล่าวถึงเรื่อง ซีพี ออลล์ กับการจัดการศึกษาที่ สร้ า งสรรค์ แ ละแบ่ ง บั น โอกาส โดยการ ดาเนินงานของ บมจ.ซีพี ออลล์ อย่างต่อเนื่อง เกี่ย วกับ การเชื่อ มโยงเครือ ข่ า ยการเรีย นรู้ ใ น สถาบั น การศึ ก ษาที่ ห่ า งไกลในชนบทของ ประเทศไทยให้สามารถเข้าถึงการข้อมูลข่าวสาร และสารสนเทศทางการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม กันนั้น เป็นสิ่งที่ผู้บริหารและบุคลากรของ บมจ. ซีพี ออลล์ ต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้ง สาคัญ และครั้งยิ่งใหญ่เพื่อให้การศึกษาของไทย พัฒนาทุนมนุษย์ที่ดี และสามารถนาความรู้มา พัฒนาบ้านเกิดของผู้เรียนได้จนเกิดความความ ยั่งยืนในการพัฒนาชุมชน และผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ช่วงที่สามในภาคเช้า มีการเสวนา เ รื่ อ ง Work- based Learning Challenge : Future of work and learning for disruptors โดยมีผู้ร่วมเสวนา และผู้ดาเนินการ เสวนา ดังนี้ คือ 1. นางสาวนรี กุ ล เกตุ ป ระภากร เจ้ า ของช่ อ งยู ทู บ LaohaiFrung (เล่าให้ฟรัง) ที่มีผู้ติดตามเป็นวัยรุ่น จ านวนมาก นิ สิ ต แพทย์ ชั้ น ปี ที่ 4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. นางสาวกมลวรรณ รุ่ ง ประเสริฐ นัก ศึก ษาที่ได้รับ ทุนจาก บมจ.ซีพี
ช่ ว งที่ ส ามในภาคเช้ า มี ก ารเสวนา เรื่ อ ง Workbased Learning Challenge : Future of work and learning for disruptors โดยมีผู้ร่วมเสวนา และผู้ดาเนินการ เสวนา ดังนี้ คือ 1. นางสาวนรีกุล เกตุประภากร เจ้าของช่องยูทูบ LaohaiFrung (เล่าให้ฟรัง) ที่มีผู้ติดตามเป็นวัยรุ่น จ านวนมาก นิ สิ ต แพทย์ ชั้ น ปี ที่ 4 จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2. นางสาวกมลวรรณ รุ่ ง ประเสริ ฐ นั ก ศึ ก ษาที่ ได้รับทุนจาก บมจ.ซีพี ออลล์ เกษตรกรรุ่นใหม่ แห่งไร่แสงสกุลรุ่ง จังหวัดกาญจนบุรี และวิทยากร ด้านการเกษตรร่วมพูดคุย 3. นายมนัส อ่อนสังข์ บรรณาธิการข่าวการศึกษา และแอดมิ ช ชั่ น (เว็ บ ไซต์ Dek-D.com) เป็ น ผู้ดาเนินการเสวนา โดยการเสวนาเริ่มต้นด้วยการกว่าถึงประเด็นส าคั ญ ทางด้ า นการการเปลี่ ย นแปลงทางการศึ ก ษาที่ เ กิ ด จากการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย ทุกท่าน มีมุมมองที่แตกต่างกัน ในประเด็นดังกล่ าว แต่ส่ ว นใหญ่เห็ น ตรงกั น ว่ า การพั ฒ นาของเทคโนโลยี ส ารสนเทศในปั จ จุ บั น สามารถกลืนกินกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งให้หายไปจากตลาดแรงงานได้ ทันที แต่สิ่งที่ทาให้เราอยู่รอดในยุคการศึกษา 5.0 คือ การ ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงพร้อมเรียนรู้และรับสิ่งใหม่ๆ เข้ามาอยู่เสมอ เช่นเดียวกับ นางสาวนรีกุล เกตุประภากร เน้น การสร้ างเนื้ อหาในยู ทูป จะต้ องมี ความแปลกใหม่ ไม่ซ้าใคร รวมถึ ง ต้ อ งพั ฒ นามุ ม มองของตนเองให้ ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ เกิดขึ้น เช่น การช่วยเหลือน้าท่วมที่อุบลราชธานี ต้องเกาะติด สถานการณ์ แ ละพร้ อ มที่ จ ะด าเนิ น การช่ ว ยเหลื อ หรื อ แจ้ ง ข่ า วสารผ่ า นทางยู ทู ป ในช่ อ งของตนเองได้ ส่ ว นนางสาว กมลวรรณ รุ่ ง ประเสริ ฐ มองประเด็ น การเปลี่ ย นแปลงทาง เทคโนโลยีสารสนเทศในผลกระทบต่อการทาการไม่ม ากนั ก เนื่ อ งจากถ้ า ทุ น มนุ ษ ย์ ใ นภาคเกษตรมี ก ารปรั บ ตั ว ให้ ใ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการเพิ่มขึ้น ทาให้การขาย ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมีราคาขายที่ดีขึ้น มีคุณภาพดี และ เกษตรกรยังสามารถรวบรวมข้อมูล หรือสารสนเทศต่างๆ เพื่อ นามาวิเคราะห์ข้อมูลล่วงหน้าว่าจะมีผลผลิตเกิดขึ้น มากน้อย เท่าไหร่ เพื่อทาให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตสินค้าทางการ เกษตรลงได้อย่างต่อเนื่อง อีกประเด็นหนึ่งที่วงเสวนาเรื่องนี้มองเป็นประเด็น ที่ สาคัญ คือ เรื่องการสร้างความเท่าเทียมกันในการแข่งขันทาง ธุรกิจทาให้ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถเติบโตขึ้น
ออลล์ เกษตรกรรุ่นใหม่แห่งไร่แสง สกุ ล รุ่ ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี และ วิทยากรด้านการเกษตรร่วมพูดคุย 3. นายมนัส อ่อนสังข์ บรรณาธิการ ข่ า วการศึ ก ษาและแอดมิ ช ชั่ น ( เ ว็ บ ไ ซ ต์ Dek- D. com) เ ป็ น ผู้ดาเนินการเสวนา โดยการเสวนาเริ่มต้นด้วยการกว่า ถึงประเด็นสาคัญทางด้านการการเปลี่ยนแปลง ทางการศึกษาที่เกิดจากการเปลี่ย นแปลงของ เทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย ทุกท่านมี มุ ม มองที่ แ ตกต่า งกั นในประเด็ นดั ง กล่า ว แต่ ส่ ว นให ญ่ เ ห็ นตรงกั น ว่ า ก า รพั ฒ น า ข อ ง เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบั นสามารถกลืน กินกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งให้หายไปจากตลาดแรงงาน ได้ทันที แต่สิ่งที่ทาให้เราอยู่รอดในยุคการศึกษา 5.0 คือ การปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง พร้อ มเรีย นรู้แ ละรับ สิ่ งใหม่ๆ เข้ า มาอยู่เสมอ เช่นเดียวกับนางสาวนรีกุล เกตุประภากร เน้น การสร้า งเนื้อ หาในยูทูป จะต้อ งมี ความแปลก ใหม่ ไม่ซ้าใคร รวมถึ งต้อ งพัฒนามุมมองของ ตนเองให้ ทันต่อ เหตุก ารณ์ที่เกิดขึ้ น เช่น การ ช่ว ยเหลือน้าท่วมที่อุบลราชธานี ต้อ งเกาะติด สถานการณ์และพร้อมที่จะดาเนินการช่วยเหลือ หรือแจ้งข่าวสารผ่านทางยูทูปในช่องของตนเอง ได้ ส่ว นนางสาวกมลวรรณ รุ่งประเสริฐ มอง ประเด็ น การเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี สารสนเทศในผลกระทบต่อการทาการไม่มาก นัก เนื่องจากถ้าทุนมนุษย์ในภาคเกษตรมีการ ปรับตัวให้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหาร จั ด การเพิ่ ม ขึ้ น ท าให้ ก ารขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท าง การเกษตรมีราคาขายที่ดีขึ้น มีคุณภาพดี และ เกษตรกรยั ง สามารถรวบรวมข้ อ มู ล หรื อ สารสนเทศต่ า งๆ เพื่ อ น ามาวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ล่วงหน้าว่าจะมีผลผลิตเกิดขึ้น มากน้อยเท่าไหร่ เพื่ อ ท าให้ เ กษตรกรลดต้ น ทุ น การผลิ ต สิ น ค้ า ทางการเกษตรลงได้อย่างต่อเนื่อง อี ก ประเด็ น หนึ่ ง ที่ว งเสวนาเรื่อ งนี้ มองเป็ น ประเด็ น ที่ ส าคั ญ คื อ เรื่ อ งการสร้ า ง ความเท่าเทียมกันในการแข่งขันทางธุรกิจทาให้ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถเติบโต ขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง ในมุมมองของผู้ร่วมเสวนา ทั้งสอง มองถึงการสร้างทุนมนุษย์ที่ดีจากระบบ การศึ ก ษาที่ ดี โดยสถาบั น การศึ ก ษาต้ อ งให้ โอกาสที่ดีกับผู้เรียนที่พร้อมจะเรียนรู้เสียก่อน โดยอาจจะเคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับผู้เรียนที่มีอายุ น้อ ยๆ ในประเทศในแถบยุโ รป หรือ อเมริก า เข้ า มาศึก ษาในระดับ อุ ดมศึก ษาได้ทันที ตาม เกณฑ์การพิจารณาความสามารถในการเรียนรู้ ทางด้านต่างๆ โดยมหาวิทยาลัยจะมีเกณฑ์ใน การรับเข้ามาศึกษา ซึ่งผู้เรียนที่มีอายุน้อย แต่มี ความรู้ ค วามสามารถที่ จ ะต่ อ ยอดนวั ต กรรม ต่างๆ ให้กับประเทศได้ทันที นี่คือสิ่งที่ประเทศ ไทยยั ง ไม่ มี และเป็ น ความล้ า หลั ง ของระบบ การศึกษาไทยที่ยังยึดติดอยู่กับกรอบเดิมๆ
ได้อย่างต่อเนื่อง ในมุมมองของผู้ร่วมเสวนาทั้งสอง มองถึงการ ส ร้ า ง ทุ น ม นุ ษ ย์ ที่ ดี จ า ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ดี โ ด ย สถาบันการศึกษาต้องให้โอกาสที่ดีกับผู้เรียนที่พร้อมจะเรียนรู้ เสียก่อน โดยอาจจะเคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับผู้เรียนที่มี อายุน้อยๆ ในประเทศในแถบยุ โ รป หรื อ อเมริ ก า เข้ า มาศึ ก ษาใน ระดับอุดมศึกษาได้ทันที ตามเกณฑ์การพิจารณาความสามารถ ในการเรียนรู้ทางด้านต่างๆ โดยมหาวิทยาลัยจะมีเกณฑ์ในการ รั บ เข้ า มาศึ ก ษา ซึ่ ง ผู้ เ รี ย นที่ มี อ ายุ น้ อ ย แต่ มี ค ว ามรู้ ความสามารถที่จะต่อยอดนวัตกรรมต่างๆ ให้กับประเทศได้ ทันที นี่คือสิ่งที่ประเทศไทยยังไม่มี และเป็นความล้าหลังของ ระบบการศึกษาไทยที่ยังยึดติดอยู่กับกรอบเดิมๆ ภาคบ่าย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรั ง สรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้กล่าวเปิดการ สัมมนาวิชาการในภาคบ่าย เรื่อง Work-based Education : Learning from Real Practices, Real Situation and Powerful Knowledge เอาไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจเกี่ ย วกั บ การ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทาให้ ทุน มนุ ษ ย์ ใ นการภาคธุ ร กิ จ จะต้ อ งมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตั ว เองไป พร้อมกัน โดยมี 5 ด้าน ดังนี้ 1. Digitalization การประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท คโ น โ ล ยี สารสนเทศในชีวิตประจาวันในยุคนี้ถือได้ว่าเป็น สิ่ งที่ส าคัญ เป็นปัจจัยที่ส ามารถขับ เคลื่ อ นการ เปลี่ยนแปลงวิธีการการทางาน และวิธีการบริหาร จัดการธุรกิจในอนาคต เตรียมพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่ง ใหม่ และปรับปรุงสิ่งเดิมๆ ให้เข้าสู่ระบบดิจิทัล 2. Urbanization ความเป็ น เมื อ งที่ ก าลั ง เกิ ด การ ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยที่หัวเมืองต่างๆ จะมี โอกาสเติบโตได้อย่างก้าวกระโดดด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศ รวมถึงสิ่ งที่ บมจ.ซีพี ออลล์ กาลั ง ดาเนินการอยู่คือการสร้าง Smart City ต้นแบบที่ แปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยหัวเมืองต่างๆ เป็น จุดสาคัญในการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจในชุมชนได้ อย่างดี 3. Financialization ความคล่ องตัว ในการใช้ เ งิ น เพื่อจับจ่ายใช้สอย มึความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ทาให้เกิดการหมุนเวียนเงินในพื้นที่ต่างๆ อย่าง กว้ า งขวาง รวมถึ ง รู ป แบบการรั ก ษาความ ปลอดภัยในระบบการเงินที่มั่นคง ส่งผลต่อการ การขยายตัวในภาครัฐ ภาคเอกชน จะร่วมมือกัน
ภาคบ่าย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรั ง สรรค์ อธิ การบดีส ถาบันการจัดการ ปัญญาภิวัฒน์ ได้กล่าวเปิดการสัมมนาวิชาการ ในภาคบ่ า ย เรื่ อ ง Work-based Education : Learning from Real Practices, Real Situation and Powerful Knowledge เอาไว้ อย่ า งน่ า สนใจเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงของ เทคโนโลยี ส ารสนเทศในปั จ จุ บั น ท าให้ ทุ น ม นุ ษ ย์ ใ น ก า ร ภ า ค ธุ ร กิ จ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร เปลี่ยนแปลงตัวเองไปพร้อมกัน โดยมี 5 ด้าน ดังนี้ 1. Digitalization ก า รป ระ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ชีวิตประจ าวันในยุคนี้ถือ ได้ว่าเป็น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ส ามารถ ขั บ เคลื่อ นการเปลี่ยนแปลงวิธีการ การท างาน และวิ ธี ก ารบริ ห าร จัดการธุรกิจในอนาคต เตรียมพร้อม ที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ และปรับปรุงสิ่ง เดิมๆ ให้เข้าสู่ระบบดิจิทัล 2. Urbanization ความเป็ น เมื อ งที่ กาลังเกิดการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยที่ หั ว เมื อ งต่ า งๆ จะมี โ อกาส เติ บ โตได้ อ ย่ า งก้ า วกระโดดด้ ว ย เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึ งสิ่งที่ บมจ.ซีพี ออลล์ กาลังดาเนินการอยู่ คือการสร้าง Smart City ต้นแบบที่ แปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยหัว เมืองต่างๆ เป็นจุดสาคัญในการเพิ่ม โอกาสทางธุรกิจในชุมชนได้อย่างดี 3. Financialization ความคล่ อ งตั ว ในการใช้เงินเพื่อ จั บ จ่ า ยใช้สอย มึ ความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ทาให้ เกิดการหมุนเวียนเงินในพื้นที่ต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมถึงรูปแบบการ รั ก ษาความปลอดภั ย ในระบบ การเงิ น ที่ มั่ น คง ส่ ง ผลต่ อ การการ ขยายตัวในภาครัฐ ภาคเอกชน จะ ร่วมมือกันสร้างสกุลเงินของตนเอง ขึ้นมาเพื่อความสะดวกสบายในการ ใช้ เ งิ น ดิ จิ ทั ล ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร และ เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสทางการลงทุ น ใน อนาคต 4. Medicalization ค ว า ม ก้ า ว ล้ า ทางการแพทย์ก็เป็ นอี กส่วนหนึ่งที่ อยู่ ใ นนวั ต กรรม New S-Curve เพื่อ ให้ คุณภาพชีวิตของประชาชน คนไทยดีขึ้น เช่น การสร้างหุ่นยนต์ เพื่อดูแลผู้ป่วย หุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการตอบสนองต่อการกินดี และต้องอยู่ดีด้วย 5. Disruption ก า ร ป รั บ ตั ว ใ น องค์ ป ระกอบสุ ด ท้ า ยนี้ คื อ การ
สร้ า งสกุ ล เงิ น ของตนเองขึ้ น มาเพื่ อ คว า ม สะดวกสบายในการใช้เงินดิจิทัลของผู้ใช้บริการ และเพื่อเพิ่มโอกาสทางการลงทุนในอนาคต 4. Medicalization ความก้า วล้ าทางการแพทย์ ก็ เป็นอีกส่วนหนึ่งที่อยู่ในนวัตกรรม New S-Curve เพื่ อ ให้ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนคนไทยดีขึ้น เช่น การสร้างหุ่นยนต์เพื่อดูแลผู้ป่วย หุ่นยนต์ดูแล ผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการตอบสนองต่อการกินดี และ ต้องอยู่ดีด้วย 5. Disruption การปรับตัวในองค์ประกอบสุดท้าย นี้ คือ การปรับเปลี่ยนกลืนกินระบบเดิมให้เข้าสู่ การดาเนินงานในระบบใหม่ โดยทุนมนุษย์ทุกคน จะต้องปรับตัวให้เข้ากับวิถีทางของนวัตกรรมที่ใส่ ความเป็ น ดิ จิ ทั ล เข้ า ไปเพิ่ ม มากขึ้ น ลดต้ น ทุ น ความซ้าซ้อนของข้อมูล ทาให้มีเวลาในการพัฒนา ตนเองเพิ่ ม มากขึ้ น เรามี ค วามแตกต่ า งจาก หุ่นยนต์ในเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้นการ สร้างสรรค์นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อให้ทันยุค การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้สามารถทาได้เพิ่ม มากขึ้น เมื่ อ การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ่ ก าลั ง จะเข้ า มาสู่ สั งคมไทย สิ่ งที่ส าคัญที่สุ ด คือการเตรียมความพร้อ มให้ กั บ บุคลากรขององค์กรในภาคธุรกิจของพวกเราให้ก้าวข้ามผ่าน อุปสรรคในการเปลี่ยนแปลงไปสู่ยุคดิจิทัลให้ได้อย่างรวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ต้องมีทักษะทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 1. การเขี ย น ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ทั ก ษะที่ ส าคั ญ ในการ ถ่ า ยทอดความรู้ ที่ ชั ด เจนออกมาเป็ น หลั ก ฐาน หรื อ เอกสารส าคั ญ ออกมาให้ ทุ ก คนได้ เ รี ย นรู้ เพิ่ ม เติ ม ได้ ต ลอดเวลา รวมถึ ง การเขี ย นข้ อ มู ล ข่าวสาร หรือสารสนเทศต่างๆ ผ่านทางเว็บบล็อก ก็ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การเผยแพร่ อ งค์ ความรู้จากผู้ที่มีความรู้ได้อีกทางหนึ่ง 2. ภาษาต่ า งประเทศ ทั ก ษะการสื่ อ สารด้ ว ยการ พูดคุย เจรจา ต่อรองในยุคดิจิทัล ไม่ใช้แค่ ก าร สื่อสารกับมนุษย์ด้วยกัน แต่ต้องมีความสามารถ ในการเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักร หุ่นยนต์ โดยภาษาในการเขี ย นโปรแกรมส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาต่างประเทศตามบริบท ของโปรแกรมที่ พั ฒ นาขึ้ น ดั ง นั้ น ทุ น มนุ ษ ย์ ที่ ต้องการเปลี่ยนแปลงตนเองควรมีความสามารถ ทางด้านภาษาต่างประเทศในระดับที่ดี
ปรับเปลี่ยนกลืนกินระบบเดิมให้เข้า สู่การดาเนินงานในระบบใหม่ โดย ทุนมนุษ ย์ทุก คนจะต้อ งปรับ ตั ว ให้ เข้ า กั บ วิ ถี ท างของนวั ต กรรมที่ ใ ส่ ความเป็ นดิจิ ทัลเข้าไปเพิ่มมากขึ้น ลดต้นทุน ความซ้าซ้อ นของข้อมูล ทาให้มีเวลาในการพัฒนาตนเองเพิ่ม มากขึ้ น เรามี ค วามแตกต่ า งจาก หุ่ น ย น ต์ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ค ว า มคิ ด สร้ า งสรรค์ ดั ง นั้ น การสร้ า งสรรค์ นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อให้ทัน ยุคการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้ สามารถทาได้เพิ่มมากขึ้น เมื่อการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่กาลัง จะเข้ า มาสู่สังคมไทย สิ่งที่สาคัญ ที่สุด คือ การ เตรียมความพร้อมให้กับบุคลากรขององค์กรใน ภาคธุรกิจของพวกเราให้ก้าวข้ามผ่านอุป สรรค ในการเปลี่ ย นแปลงไปสู่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ให้ ไ ด้ อ ย่า ง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ ต้องมีทักษะทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 1. การเขียน ถือได้ว่าเป็นทักษะ ที่ ส า คั ญ ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ความรู้ ที่ ชั ด เจนออกมาเป็ น หลัก ฐาน หรือ เอกสารสาคัญ ออกมาให้ ทุ ก คนได้ เ รี ย นรู้ เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา รวมถึง การเขียนข้อมูลข่าวสาร หรือ สารสนเทศต่างๆ ผ่านทางเว็บ บล็อกก็ถือได้ว่าเป็นประโยชน์ ต่ อ การเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ จากผู้ที่มีความรู้ได้อีกทางหนึ่ง 2. ภาษาต่างประเทศ ทักษะการ สื่อสารด้วยการพูดคุย เจรจา ต่ อ รองในยุค ดิ จิ ทั ล ไม่ ใ ช้ แ ค่ การสื่อ สารกับ มนุษ ย์ด้วยกัน แต่ต้องมีความสามารถในการ เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ค ว บ คุ ม เครื่องจักร หุ่นยนต์ โดยภาษา ในการเขี ย นโปรแกรมส่ ว น ใหญ่ เ ป็ น ภาษาอั ง กฤษ หรื อ ภาษาต่างประเทศตามบริบท ของโปรแกรมที่ พั ฒ นาขึ้ น ดั ง นั้ น ทุ น มนุ ษ ย์ ที่ ต้ อ งการ เปลี่ ย นแปลงตนเองควรมี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ด้ า น ภาษาต่างประเทศในระดับที่ดี 3. การเงิ น ทั ก ษะการด าเนิ น ธุ ร กรรมทางการเงิ น ในยุ ค ดิจิทัลมีความรวดเร็ว ทันสมัย เอื้ อ อ านวยความสะดวกเป็น อย่ า งดี แต่ สิ่ ง ที่ บุ ค ลากรใน ภาคธุรกิจ จะต้อ งระมัดระวัง คื อ ก า ร ห ล อ ก ลว งให้ ท า ธุ ร กรรม หรื อ มี ก ารเข้ า ถึ ง บั ญ ชี เ งิ น ฝากออนไลน์ ข อง
3. การเงิน ทักษะการดาเนินธุรกรรมทางการเงินใน ยุ ค ดิ จิ ทั ล มี ค วามรวดเร็ ว ทั น สมั ย เอื้ อ อ านวย ความสะดวกเป็นอย่างดี แต่สิ่งที่บุคลากรในภาค ธุรกิจจะต้องระมัดระวัง คือ การหลอกลวงให้ทา ธุรกรรม หรือมีการเข้าถึง บัญชีเงินฝากออนไลน์ ของบุคลากรทาให้เกิดความเสียหายได้ ดังนั้นการ พัฒ นาทักษะทางด้านการเงินควรควบคุม ดูแล พฤติกรรมการใช้ที่มีความสะดวกสบายเพิ่ ม ขึ้ น แล้ว ก็ควรที่จะมีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นด้วย ดร.จักรกฤษณ์ สิริริน ผู้เชี่ยวชาญด้านนวัต กรรม การศึกษา ได้กล่าวถึง เรื่อง Education Intelligence Trends : สถาบันการศึกษาจาเป็นต้องก้าวให้ทัน โดยคนรุ่นใหม่ที่เป็น นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นกั บ ผม ส่ ว นใหญ่ จบมาเป็ น นั ก เขี ย น หรื อ บรรณาธิการ ต้องแข่งขันกับตัวเองสูงกว่าเดิมในยุคดิจิทัล ต้อง มีความคิดสร้ างสรรค์คิดประเด็นใหม่ๆ ออกมาให้ ได้ และมี คุณภาพมากกว่าที่คนรุ่นเก่าทา โดยทักษะการเขียนดังที่ท่าน อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ได้กล่าวไว้ว่าเป็น ทักษะหนึ่ งที่ส าคัญ ต่ อ อาชี พ นัก เขียน เป็นอีกหนึ่ งอาชี พ ที่ มี มาแล้วอย่างยาวนาน การถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ ให้ออกมา เป็ น ตั ว หนั ง สื อ ผ่ า นบทความในหน้ า หนั ง สื อ พิ ม พ์ หรื อ ผ่ า น คอลัมน์ในนิตยสาร สมัยก่อนถือว่าได้รับความนิยมอย่างมาก แต่ ใ นปั จ จุ บั น ในยุ ค Disruption คนเริ่ ม อ่ า นหนั ง สื อ น้ อ ยลง เนื่องจากเทคโนโลยีและสื่อโซเชียลมีเดีย ที่เข้ามามีบทบาทใน ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ้น ผู้คนจึงเลือกหันไปเสพข่าว จากอิ น เทอร์ เ น็ ต แทน เพราะสะดวกรวดเร็ ว และประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย แต่ รู้ ห รื อ ไม่ ว่ า ตราบใดที่ นั ก เขี ย นยั ง คงพั ฒ นา ศักยภาพตัวเองอยู่เสมอ และคิดสร้างสรรค์ประเด็นหัวข้อใหม่ ๆ มาน าเสนอผ่ านตัวหนั งสือให้ น่าสนใจได้ อาชีพนักเขียนก็ ยังคงเป็นอาชีพที่ไม่มีวันตายเช่นกัน ซึ่งมีผลงานคอลัมน์อยู่ใน หนังสือพิมพ์คมชัดลึก และเจ้าของบทความอื่นๆ ในรูปแบบ หนังสือ การเป็นบรรณาธิการนิตยสาร จะมีทั้งความยากและ ง่ายอยู่ เพราะนิตยสารจะแยกออกเป็นแบบรายวัน รายปักษ์ และรายสั ป ดาห์ ซึ่งหนั งสื อพิมพ์รายวันเป็นตัว อย่างที่ดี คือ ข้อมูลข่าวมีวันต่อวั น เช่น ข่าวมีตอนเย็นเมื่อวานต้องทาออก ตอนเช้ า อี ก วั น ได้ เ ลย แต่ นิ ต ยสารรายสั ป ดาห์ มั น ท ายาก เพราะว่าต้องคาดเดาเหตุการณ์อีก 7 วันข้างหน้าว่าจะเป็น ยังไง ตรงนี้เขาจะเรียกกันว่า ข่าวล่วงหน้ าหรือข่าวคาดการณ์ ส่วนนิตยสารรายปักษ์ยิ่งยากเข้าไปใหญ่ เพราะต้องคาดการณ์ ล่วงหน้าไว้ 15 วัน ฉะนั้นเราก็ต้องมีวิธีการคิดด้วยการไปดัก
บุ คลา ก รท า ให้ เกิ ด คว า ม เสีย หายได้ ดังนั้นการพัฒนา ทั ก ษะทางด้ า นการเงิ น ควร ควบคุม ดูแลพฤติกรรมการใช้ ที่มีความสะดวกสบายเพิ่มขึ้น แล้ ว ก็ ค วรที่ จ ะมี วิ นั ย ทาง การเงินเพิ่มขึ้นด้วย ดร.จักรกฤษณ์ สิริริน ผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นนวั ต กรรมการศึ ก ษา ได้ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ ง Education Intelligence Trends : สถาบันการศึกษาจาเป็นต้องก้าวให้ทัน โดยคน รุ่นใหม่ที่เป็นนักศึกษาที่เรียนกับผม ส่วนใหญ่ จบมาเป็ น นั ก เขี ย น หรื อ บรรณาธิ ก าร ต้ อ ง แข่งขันกับตัวเองสูงกว่าเดิมในยุคดิจิทัล ต้องมี ความคิดสร้างสรรค์คิดประเด็นใหม่ๆ ออกมาให้ ได้ และมีคุณภาพมากกว่าที่คนรุ่นเก่าทา โดย ทักษะการเขียนดังที่ท่านอธิการบดี สถาบันการ จั ดการปั ญญาภิวัฒน์ ได้ก ล่า วไว้ว่า เป็นทักษะ หนึ่ ง ที่ ส าคั ญ ต่ อ อาชี พ นั ก เขี ย น เป็ น อี ก หนึ่ ง อาชีพ ที่มีมาแล้ว อย่า งยาวนาน การถ่ า ยทอด เรื่อ งราวต่า ง ๆ ให้ อ อกมาเป็นตัวหนังสือผ่าน บทความในหน้าหนังสือพิมพ์ หรือผ่านคอลัมน์ ในนิ ต ยสาร สมั ย ก่ อ นถื อ ว่ า ได้ รั บ ความนิ ย ม อย่างมาก แต่ในปัจจุบัน ในยุค Disruption คน เริ่มอ่านหนังสือน้อยลง เนื่องจากเทคโนโลยีและ สื่ อ โ ซ เ ชี ย ล มี เ ดี ย ที่ เ ข้ า ม า มี บ ทบ า ทใน ชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ้น ผู้คนจึงเลือก หั น ไปเสพข่ า วจากอิ น เทอร์ เ น็ ต แทน เพราะ สะดวกรวดเร็ ว และประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย แต่ รู้ หรื อ ไม่ ว่ า ตราบใดที่ นั ก เขี ย นยั ง คงพั ฒ นา ศั ก ยภาพตั ว เองอยู่ เ สมอ และคิ ด สร้ า งสรรค์ ประเด็นหัวข้อใหม่ ๆ มานาเสนอผ่านตัวหนังสือ ให้น่าสนใจได้ อาชีพนักเขียนก็ยังคงเป็นอาชีพที่ ไม่มีวันตายเช่นกัน ซึ่งมีผลงานคอลัม น์ อ ยู่ ใ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ ค มชั ด ลึ ก และเจ้ า ของบทความ อื่นๆ ในรูปแบบหนังสือ การเป็นบรรณาธิการนิตยสาร จะมี ทั้งความยากและง่ายอยู่ เพราะนิตยสารจะแยก ออกเป็นแบบรายวัน รายปักษ์ และรายสัปดาห์ ซึ่งหนังสือพิมพ์รายวันเป็นตัวอย่างที่ดี คือข้อมูล ข่าวมีวันต่อวัน เช่น ข่าวมีตอนเย็นเมื่อวานต้อง ทาออกตอนเช้า อีก วันได้เลย แต่นิตยสารราย สั ป ดาห์ มั น ท ายาก เพราะว่ า ต้ อ งคาดเดา เหตุการณ์อีก 7 วันข้างหน้าว่าจะเป็นยังไง ตรง นี้ เ ขาจะเรี ย กกั น ว่ า ข่ า วล่ ว งหน้ า หรื อ ข่ า ว คาดการณ์ ส่วนนิตยสารรายปักษ์ยิ่งยากเข้าไป ใหญ่ เพราะต้องคาดการณ์ล่วงหน้าไว้ 15 วัน ฉะนั้ น เราก็ ต้ อ งมี วิ ธี ก ารคิ ด ด้ ว ยการไปดั ก ป ระ เด็ น ข่ า ว แ ต่ ง า นห นั ก ข อ งก า รเ ป็ น บรรณาธิ ก ารนิ ต ยสาร จริ ง ๆ คื อ การไปหา คอลั ม นิ ส ต์ ที่ มี ค วามโดดเด่ น แตกต่ า งจาก นิตยสารอื่น ตรงนี้ก็เป็ นสิ่งที่ท้าทายเหมือนกัน ส่ ว น บ ร ร ณ า ธิ ก า ร ห นั ง สื อ เ ล่ ม ห รื อ Pocketbook เป็ น ศาสตร์ เ ป็ น การท างานอี ก
ประเด็นข่าว แต่งานหนักของการเป็นบรรณาธิการนิต ยสาร จริง ๆ คือการไปหาคอลัมนิสต์ ที่มีความโดดเด่นแตกต่างจาก นิ ต ยสารอื่ น ตรงนี้ ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ท้ า ทายเหมื อ นกั น ส่ ว น บรรณาธิการหนังสือเล่ม หรือ Pocketbook เป็นศาสตร์เป็น การทางานอีกแบบหนึ่งเลยที่น่าสนใจในยุค Disruption และที่ สาคัญตลาด Pocketbook แข่งกันค่อนข้างรุนแรง ยกตัวอย่าง สมัยก่อนก็จะมีซีไรต์ที่ขายดี หรือไม่ก็จะเป็นหนังสือพวก How To หนังสือเล่นหุ้น หนังสือเพื่อสุขภาพ หนังสือกระแส หนังสือ คนดังเขียน เพราะฉะนั้นการเป็นบรรณาธิการหนังสือเล่มต้อง ระดมความคิดว่าจะทายังไง ให้หนังสือของตัวเองไปแข่งขันใน ตลาดได้ ก็ เ ลยเป็ น เรื่ อ งที่ ย ากมาก ๆ อี ก อย่ า งคื อ ต้ อ งจั บ กลุ่มเป้าหมายให้ได้ชัดเจน นายสิทธิศักดิ์ งานรุ่งเรือง ผู้บริหาร บริษัท หัวเว่ย เทค โ น โ ลยี (ประเทศ ไ ทย ) จ ากั ด ได้ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ ง ปั ญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence : AI for Education ในวงการศึ ก ษาไทยเริ่ ม ให้ ค วามส าคั ญ กั บ ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ เพิ่มขึ้น ถือว่าเป็นข้อได้เปรียบสาหรับสถาบันการศึกษาของ ไทยที่มองเห็นโอกาสในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการเรียนการ สอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง หรือสร้าง บรรยากาศการเรี ย นรู้ ที่ เป็ นระบบ โดยคาดว่าในอี ก 10 ปี ข้างหน้า จานวนของผู้สอนในสถาบันการศึกษาจะลดจานวนลง อย่างต่อเนื่อง และสถาบันการศึกษาจะนาเอาปัญญาประดิษฐ์ มาใช้ในการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงผู้บริหาร บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) ได้นาเสนอแผนการลงทุนทั่ว โลกอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ โดยมีจุดขับเน้น 4 ด้าน ดังนี้ 1. นวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ โดย ในปี ที่ผ่ านมา 'หั ว เว่ย ' ได้เปิดตัว สถาปัตยกรรม Da Vinci โครงสร้างสถาปัตยกรรมโปรเซสเซอร์ ใหม่ ที่ อ อกแบบมาให้ เ ป็ น ทรั พ ยากรในการ ประมวลผลที่มั่นคงและกว้างขวาง แต่ให้บริการ ในราคาที่สมเหตุสมผล ซึ่ง หัวเว่ย จะยังคงลงทุน ด้านการวิจัยพื้นฐานนี้ต่อไป 2. การลงทุนในโปรเซสเซอร์ ที่รองรับการใช้งานทุก รูปแบบ หัวเว่ย มีโปรเซสเซอร์หลากหลายรูปแบบ เช่น Kunpeng (คุนเผิง) โปรเซสเซอร์สาหรับการ ประมวลผลอเนกประสงค์ , Ascend (แอสเซนด์) โปรเซสเซอร์สาหรับ AI, Kirin (คิริน)โปรเซสเซอร์ ส าหรั บ สมาร์ ท ดี ไ วซ์ และ Honghu (หงหู ) โปรเซสเซอร์สาหรับสมาร์ท สกรีน
แบบหนึ่งเลยที่น่าสนใจในยุค Disruption และ ที่สาคัญ ตลาด Pocketbook แข่ งกันค่อ นข้ า ง รุนแรง ยกตัวอย่างสมัยก่อนก็จะมีซีไรต์ที่ขายดี หรือไม่ก็จะเป็นหนังสือพวก How To หนังสือ เล่ น หุ้ น หนั ง สื อ เพื่ อ สุ ข ภาพ หนั ง สื อ กระแส หนั ง สื อ คนดั ง เขี ย น เพราะฉะนั้ น การเป็ น บรรณาธิการหนังสือเล่มต้องระดมความคิดว่า จะทายังไง ให้ ห นังสือ ของตัว เองไปแข่ งขันใน ตลาดได้ ก็เลยเป็นเรื่องที่ยากมาก ๆ อีกอย่าง คือต้องจับกลุ่มเป้าหมายให้ได้ชัดเจน น า ย สิ ท ธิ ศั ก ดิ์ ง า น รุ่ ง เ รื อ ง ผู้บริหาร บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี (ประเทศ ไทย) จากัด ได้ก ล่า วถึ งเรื่อ งปั ญ ญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence : AI for Education ใน ว งก า รศึ ก ษา ไทยเริ่ ม ให้ ค ว ามส าคั ญ กั บ ปัญญาประดิษฐ์เพิ่มขึ้น ถือว่าเป็นข้อได้เปรีย บ ส าหรั บ สถาบั น การศึ ก ษาของไทยที่ ม องเห็ น โอกาสในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการเรียนการ สอน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติ จริง หรือสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่เป็นระบบ โดยคาดว่า ในอี ก 10 ปี ข้ า งหน้า จ านวนของ ผู้สอนในสถาบันการศึกษาจะลดจานวนลงอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง และสถาบั น การศึ ก ษาจะน าเอา ปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการเรียนการสอนเพิ่ม มากขึ้ น รวมถึ ง ผู้ บ ริ ห าร บริ ษั ท หั ว เว่ ย เทคโนโลยี (ประเทศไทย) ได้นาเสนอแผนการ ลงทุนทั่วโลกอย่างต่อเนื่องของบริษัทฯ โดยมีจุด ขับเน้น 4 ด้าน ดังนี้ 1. นวั ต กรรมด้ า นสถาปั ต ยกรร ม คอมพิ ว เตอร์ โดยในปี ที่ ผ่ า นมา 'หัวเว่ย' ได้เปิดตัวสถาปัตยกรรม Da Vinci โครงสร้ า งสถาปั ต ยกรรม โปรเซสเซอร์ใหม่ ที่ออกแบบมาให้ เป็นทรัพยากรในการประมวลผลที่ มั่นคงและกว้างขวาง แต่ให้บริการ ในราคาที่สมเหตุสมผล ซึ่ง หั วเว่ย จะยังคงลงทุนด้านการวิจัยพื้นฐานนี้ ต่อไป 2. การลงทุนในโปรเซสเซอร์ ที่รองรับ การใช้ ง านทุ ก รู ป แบบ หั ว เว่ ย มี โปรเซสเซอร์ ห ลากหลายรู ป แบบ เ ช่ น Kunpeng ( คุ น เ ผิ ง ) โปรเซสเซอร์สาหรับการประมวลผล อเนกประสงค์, Ascend (แอสเซนด์) โปรเซสเซอร์สาหรับ AI, Kirin (คิริน) โปรเซสเซอร์ ส าหรั บ สมาร์ทดีไวซ์ และ Honghu (หงหู) โปรเซสเซอร์ สาหรับสมาร์ท สกรีน 3. ขอบเขตด้ า นธุ ร กิ จ แบบคลาวด์ คอมพิว ติง โดย หั ว เว่ย จะไม่ขาย โปรเซสเซอร์โดยตรง แต่จะส่งมอบ ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ในรู ป แบบของบริก าร คลาวด์ และส่ ง ให้ บ ริ ษั ท คู่ ค้ า ใน รูปแบบของชิ้นส่วนประกอบ ซึ่งเป็น
3. ขอบเขตด้านธุรกิจ แบบคลาวด์คอมพิวติง โดย หัวเว่ย จะไม่ขายโปรเซสเซอร์โดยตรง แต่จะส่ง มอบให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ในรู ป แบบของบริ ก ารคลาวด์ และส่ ง ให้ บ ริ ษั ท คู่ ค้ า ในรู ป แบบของชิ้ น ส่ ว น ประกอบ ซึ่ ง เป็ น การให้ ค วามส าคั ญ กั บ การ สนับสนุนโซลูชั่นแบบผสานรวม 4. สร้ า งระบบอีโ คซิ สเต็ ม ที่ เ ปิ ดกว้ า ง ในอีก 5 ปี ข้างหน้า หัวเว่ยจะลงทุนงบประมาณอีก 1,500 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ในโครงการสร้ า งนั ก พั ฒ นา เพื่อขยายโครงการให้รองรับนักพัฒนาอีก 5 ล้าน คน และท าให้ บ ริ ษั ท คู่ ค้ า ของหั ว เว่ ย ทั่ ว โลก สามารถพัฒนาแอปพลิเคชั่นและโซลูชั่นรุ่นใหม่ๆ สาหรับอนาคตข้างหน้าต่อไปได้อย่างไม่หยุดหยั่ง ส่วนองค์ปาฐกท่านอื่นๆ เช่น ผู้บริหารจาก Amazon Web Service (Thailand) Co., Ltd. ทางด้านไอซีทีของไทย มองเรื่องการเรียนรู้ ในสถาบันการศึกษาควรปรับให้เป็ นการ เ รี ย น รู้ แ บ บ Learning Innovation and Education Platform ที่สถาบันการศึกษาต่างๆ ต้องตระหนักถึงมากที่สุด คือ ผู้เรียนที่ต้องการเรียนรู้เพื่อต่อยอด ไม่ใช่การเรียนรู้เพื่อนับ หนึ่ ง ใหม่ ต ามรู ป แบบการเรี ย นรู้ เ ดิ ม เน้ น การสร้ า งนวั ต กร มากกว่าการสร้ า งผู้ เรี ย นที่ ไม่ มี มุม มองทางธุร กิจ ที่ผ นวกกั บ ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงความคิดต่ างๆ ที่ได้จากผู้เรียนใน รูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แล้วจะต้องสร้างความเห็น อกเห็นใจซึ่งกันและกันควบคู่กันไปด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์วดี กิตติปัญญางาม ( Founder & Chairwoman Creative Education For Future Innovation) และผู้ร่วมก่อตั้งและผู้บริหาร Arkki ประเทศไทย โดย “อาร์ ค กิ ” (Arkki) โรงเรี ย นหลั ก สู ต ร การศึกษาเชิงสร้างสรรค์ชั้นนาระดับโลกจากกระทรวงศึกษา ของประเทศฟินแลนด์ เปิดตัวอย่างเป็นทางการแห่งแรกและ แห่งเดียวในประเทศไทย พร้อมเปิดโลกทัศน์ให้เด็กและเยาวชน อายุ 4-19 ปี ก้าวทัน เทคโนโลยีและความเปลี่ ยนแปลง ได้ กล่าวถึงเรื่อง การถอดบทเรียนรูปแบบการเรียนรู้ของฟินแลนด์ ในประเทศไทย หลังจากที่ได้มีโอกาสทาความเข้าใจในระบบ การศึกษาของประเทศฟินแลนด์ ระบบที่ไม่มีการสอบปลาย ภาค หรือกลางภาคของนักเรียนเลย มีเพียงแค่การสอบเพื่อเข้า มหาวิทยาลัยเท่านั้น ผู้ปกครองหรือหลายๆ คนฟังดูแล้วอาจจะ ไม่คุ้นเคย แต่ด้วยการศึกษาในแบบที่ไม่มีการวัดความสามารถ ของนักเรียนจากคะแนนสอบและ เปิ ดโอกาสให้ มีอิสระทาง ความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ ไม่มีการบังคับให้ทาตามกรอบ
การให้ความสาคัญกับการสนับสนุน โซลูชั่นแบบผสานรวม 4. สร้ า ง ระบบอี โ คซิ ส เ ต็ ม ที่ เ ปิ ด กว้าง ในอีก 5 ปีข้างหน้า หัวเว่ยจะ ลงทุนงบประมาณอีก 1,500 ล้าน ดอลลาร์ ส หรั ฐ ในโครงการสร้ า ง นั ก พั ฒ นา เพื่ อ ขยายโครงการให้ รองรับนักพัฒนาอีก 5 ล้านคน และ ทาให้บริษัทคู่ค้าของหั วเว่ยทั่ว โลก สามารถพั ฒ นาแอปพลิ เ คชั่ น และ โซลู ชั่ น รุ่ น ใหม่ ๆ ส าหรั บ อนาคต ข้างหน้าต่อไปได้อย่างไม่หยุดหยั่ง ส่ ว นอ งค์ ป า ฐก ท่ า นอื่ นๆ เช่ น ผู้ บ ริ ห า ร จ า ก Amazon Web Service (Thailand) Co., Ltd. ทางด้า นไอซีทีข องไทย มองเรื่อ งการเรีย นรู้ ในสถาบั นการศึก ษาควร ป รั บ ใ ห้ เ ป็ น ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ Learning Innovation and Education Platform ที่ สถาบั นการศึก ษาต่า งๆ ต้อ งตระหนัก ถึ งมาก ที่สุด คือ ผู้เรีย นที่ต้อ งการเรีย นรู้เพื่อ ต่อ ยอด ไม่ใช่การเรียนรู้เพื่อนับหนึ่งใหม่ตามรูปแบบการ เรียนรู้เดิม เน้นการสร้างนวัตกร มากกว่าการ สร้างผู้เรียนที่ไม่มีมุมมองทางธุรกิจที่ผนวกกับ ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงความคิดต่ างๆ ที่ได้ จากผู้เรียนในรูป แบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แล้วจะต้องสร้างความเห็นอกเห็นใจซึ่งกัน และกันควบคู่กันไปด้วย ผู้ช่ว ยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์วดี กิตติปัญญางาม (Founder & Chairwoman Creative Education For Future Innovation) และผู้ร่ ว มก่อ ตั้ง และผู้ บ ริ ห าร Arkki ประเทศไทย โดย “อาร์ ค กิ ” (Arkki) โรงเรียนหลักสูตรการศึกษาเชิงสร้างสรรค์ชั้นนา ระดั บ โลกจากกระทรวงศึ ก ษาของประเทศ ฟินแลนด์ เปิดตัวอย่างเป็นทางการแห่งแรกและ แห่งเดียวในประเทศไทย พร้อมเปิดโลกทัศน์ให้ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น อ า ยุ 4- 19 ปี ก้ า ว ทั น เทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลง ได้กล่าวถึ ง เรื่อง การถอดบทเรียนรูปแบบการเรียนรู้ข อง ฟินแลนด์ในประเทศไทย หลังจากที่ได้มีโอกาส ทาความเข้าใจในระบบการศึกษาของประเทศ ฟินแลนด์ ระบบที่ไม่มีการสอบปลายภาค หรือ กลางภาคของนักเรียนเลย มีเพียงแค่การสอบ เพื่ อ เข้ า มหาวิ ท ยาลั ย เท่ า นั้ น ผู้ ป กครองหรื อ หลายๆ คนฟังดูแล้วอาจจะไม่คุ้นเคย แต่ด้วย การศึก ษาในแบบที่ไม่มีก ารวัดความสามารถ ของนักเรียนจากคะแนนสอบและ เปิดโอกาสให้ มีอิสระทางความคิดสร้างสรรค์อย่างอิสระ ไม่มี การบังคับให้ทาตามกรอบการเรียนรู้เดิมๆ ทา ให้ระบบการศึกษาของประเทศฟินแลนด์อยู่ใน อั น ดั บ 3 ของโลก ซึ่ ง มาตรฐานของอาร์ ค กิ (Arkki) สาขาแรกในประเทศไทยอยู่ในระดับ เทียบเท่ากับในประเทศฟินแลนด์ หรือสาขาอื่น
การเรียนรู้เดิมๆ ทาให้ระบบการศึกษาของประเทศฟินแลนด์ อยู่ในอันดับ 3 ของโลก ซึ่งมาตรฐานของอาร์คกิ (Arkki) สาขา แรกในประเทศไทยอยู่ ใ นระดั บ เที ย บเท่ า กั บ ในประเทศ ฟินแลนด์ หรือสาขาอื่นทั่วโลก คุณครูที่มาสอนมีการคัดเลือก คุณสมบัติและผ่านการรับรองจากสานักงานใหญ่ จึงยิ่งทาให้ มั่นใจขึ้นไปอีกว่า Arkki จะเป็นทางเลือกที่ดีให้กับเยาวชนไทย ต้องยอมรับว่าสังคมและระบบธุรกิจในปัจจุบันนี้ AI เข้ามามี บทบาทในการใช้ชีวิตมากขึ้นในทุกสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นการ ทาบัญชี กฎหมาย หรือแม้แต่งานทางด้านโปรแกรมมิ่ง แล้วก็มี แนวโน้มว่าจะมากขึ้น เป็นเท่าทวีคูณในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย จึงจะเป็นไปได้อย่างมากว่าบางอาชีพอาจจะหายไปและแทนที่ ด้วยระบบ หรือเครื่องจักร ซึ่งมองว่าอาร์คกิ (Arkki) คือการ สร้างโอกาสให้เด็กในยุคที่กาลังจะต้องเติบโตไปเผชิญกับ AI ใน อนาคตข้างหน้าได้ ‘เรียนวิธีเพื่อเรียนรู้ หรือ Learn how to learn’ ซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญมากที่ ผู้เรียนจะสามารถ ดาเนินชีวิต ต่อไปอย่างมีคุณภาพและมีความสุข การพัฒนาหลักสูตรต่างๆ ภายใต้ความเชื่อที่ว่า ‘We Build Job Creators, Not Job Seekers’ ซึ่ ง ตอบโจทย์ ก าร อยู่ในยุคดิจิทัล ที่มีเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) มาแทนที่มนุษย์ สิ่งที่จะทาให้เด็ก ไทยของเรา เป็ น ผู้ เ รี ย นรู้ ที่ มี ค วาม แตกต่ า งและสามารถเอาช น ะ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้ก็คือ ทักษะความ สร้างสรรค์ จึงเกิดเป็นหลักสูตร Creative Education ขึ้นมา เน้ น การสอนทั ก ษะส าหรั บ ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) หรื อ 5Cs คื อ ทั ก ษะในการคิ ด เชิ ง สร้ า งสรรค์ (Creativity) ทั ก ษะในการสื่ อ สารและท าง านเ ป็ น ที ม ( Communication & collaboration) ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด เ ชิ ง วิ พ า ก ษ์ ( Critical thinking) ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า (Complex problem solving) โดยสอนผ่ า นกระบวนการ Design Thinking for Kids & Phenomenon- based learning เป็นหลัก \ ทั้งนี้ทางกระทรวงศึกษาของฟินแลนด์ ได้นาหลักสูตร Creative Education (การศึกษาเชิงสร้างสรรค์) ของอาร์คกิ (Arkki) เข้ามาเป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรในด้านการศึกษาเชิง สร้ างสรรค์ของประเทศ นอกจากนี้ยังได้ รับการอนุมั ติ จาก กระทรวงการศึกษาของฟินแลนด์ และได้รับการรับรองจาก ส านั ก งานการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ เพื่ อ เป็ น โรงเรี ย นที่ ท าหน้ า ที่ ส่ ง ออกความรู้ ด้ า นระบบการศึ ก ษาของฟิ น แลนด์ ไ ปสู่ โ ลก ภายนอก อาจารย์จิรัฏฐ์ แจ่มสว่าง (ที่ปรึกษาโรงเรียนสาธิต สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์) องค์ปาฐกท่านสุดท้าย เป็น
ทั่วโลก คุณครูที่มาสอนมีการคัดเลือกคุณสมบัติ และผ่านการรับรองจากสานักงานใหญ่ จึงยิ่งทา ให้มั่นใจขึ้นไปอีกว่า Arkki จะเป็นทางเลือกที่ดี ให้ กั บ เยาวชนไทย ต้ อ งยอมรั บ ว่ า สั ง คมและ ระบบธุรกิจในปัจจุบันนี้ AI เข้ามามีบทบาทใน การใช้ชีวิตมากขึ้ นในทุก สาขาอาชีพ ไม่ว่า จะ เป็ น การท าบั ญ ชี กฎหมาย หรื อ แม้ แ ต่ ง าน ทางด้านโปรแกรมมิ่ง แล้วก็มีแนวโน้มว่าจะมาก ขึ้น เป็นเท่าทวีคูณในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย จึงจะ เป็นไปได้อย่างมากว่าบางอาชีพอาจจะหายไป และแทนที่ด้วยระบบ หรือเครื่องจักร ซึ่งมองว่า อาร์คกิ (Arkki) คือการสร้างโอกาสให้เด็กในยุค ที่กาลังจะต้องเติบโตไปเผชิญกับ AI ในอนาคต ข้ า งหน้ า ได้ ‘เรี ย นวิ ธีเ พื่อ เรี ย นรู้ หรื อ Learn how to learn’ ซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญมากที่ผู้เรียน จะสามารถ ดาเนินชีวิตต่อ ไปอย่า งมีคุณภาพ และมีความสุข การพั ฒ นาหลั ก สูต รต่ า งๆ ภายใต้ ความเชื่อที่ว่า ‘We Build Job Creators, Not Job Seekers’ ซึ่งตอบโจทย์การอยู่ในยุคดิจิทัล ที่ มีเทคโนโลยีแ ละปั ญ ญาประดิษ ฐ์ (Artificial Intelligence) มาแทนที่ ม นุ ษ ย์ สิ่ ง ที่ จ ะท าให้ เด็กไทยของเรา เป็นผู้เรียนรู้ที่มีความแตกต่าง และสามารถเอาชนะปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้ก็คือ ทักษะความสร้างสรรค์ จึ ง เกิ ด เป็ น หลั ก สู ต ร Creative Education ขึ้นมา เน้นการสอนทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) หรือ 5Cs คือ ทักษะใน การคิ ด เชิ ง สร้ า งสรรค์ (Creativity) ทั ก ษะใน ก า ร สื่ อ ส า ร แ ล ะ ท า ง า น เ ป็ น ที ม (Communication & collaboration) ทั ก ษะ การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical thinking) ทักษะ ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ( Complex problem solving) โดยสอนผ่ า นกระบวนการ Design Thinking for Kids & Phenomenon- based learning เป็นหลัก \ ทั้ ง นี้ ท า งก ระ ทรว ง ศึ ก ษ า ข อ ง ฟินแลนด์ ได้นาหลักสูตร Creative Education (การศึกษาเชิงสร้างสรรค์) ของอาร์คกิ (Arkki) เข้ า มาเป็ น กิ จ กรรมนอกหลั ก สู ต รในด้ า น การศึกษาเชิงสร้างสรรค์ของประเทศ นอกจากนี้ ยังได้รับการอนุมัติ จากกระทรวงการศึกษาของ ฟินแลนด์ และได้รับการรับรองจากสานักงาน การศึกษาแห่งชาติ เพื่อเป็นโรงเรียนที่ทาหน้าที่ ส่ ง ออกความรู้ ด้ า นระบบการศึ ก ษาของ ฟินแลนด์ไปสู่โลกภายนอก อาจารย์ จิ รั ฏ ฐ์ แจ่ ม สว่ า ง (ที่ ปรึ ก ษาโรงเรี ย นสาธิ ต สถาบั น การจั ด การ ปัญญาภิวัฒน์) องค์ปาฐกท่านสุดท้าย เป็นครูผู้ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล บุกเบิกการสอนไอซีทีและ นวัตกรรมหุ่ นยนต์ให้ กั บ ผู้ เ รีย น รวมทั้งได้ รั บ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ประจาปี 2560 เพื่ อ เปิ ด โลกกว้า งแก่นั ก เรี ย นให้ เ ข้ า ถึ งข้ อ มูล ความรู้ ข นาดใหญ่ น อกต าราเรี ย น ตั้ ง แต่ ปี 2528 และน าเทคโนโลยี หุ่ น ยนต์ ที่ เ ข้ า มามี
ครูผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล บุกเบิกการสอนไอซีทีและนวัตกรรม หุ่นยนต์ให้กับผู้เรียน รวมทั้งได้รับรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ประจาปี 2560 เพื่อเปิดโลกกว้างแก่นักเรียนให้เข้าถึงข้อมูล ความรู้ ข นาดใหญ่ น อกต าราเรี ย น ตั้ ง แต่ ปี 2528 และน า เทคโนโลยี หุ่ น ยนต์ ที่เ ข้ า มามีบ ทบาทส าคั ญของโลกอนาคต มาร่วมจัดการเรียนรู้ ทาให้นักเรียนพัฒนานวัตกรรมจนชนะ การประกวดทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จุดเปลี่ยนจากการ สอนพลศึกษามาสอนไอซีที เกิดจากการดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่ อ 32 ปี ที่ แ ล้ ว ซึ่ ง ได้ เ ห็ น การใช้ ไ อซี ที ใ นชี วิ ต ประจ าวั น แม้กระทั่งชาวนา จึงมองว่าหากนาไอซีทีมาใช้จัดการเรียนการ สอนในประเทศไทยจะกระตุ้นการเรียนรู้ได้มากขึ้น จึงหันมา พัฒ นาความรู้ ทางไอซีทีอย่างต่อเนื่ องเพื่อเปิ ดโลกกว้า งการ เรี ย นรู้ ใ ห้ กั บ ลู ก ศิ ษ ย์ นอกจากนี้ ยั ง ได้ พั ฒ นาสื่ อ แล ะ กระบวนการเรี ย นรู้ ชื่ อ Digital Lesson ที่ เ น้ น การค้ น คว้ า ข้อมูลบน Internet พัฒนา Software ชื่อ Cyber Lecture ที่ ใช้บันทึกภาพแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นสื่อการสอน พัฒนาหลักสูตร Peer Coaching Program ให้ครูจัดกิจกรรม การเรียนรู้ในห้องเรียน และเป็นครูวิทยากรอบรมครู ตลอดจน วางกลไกการจัดการสาธารณูปโภคในโรงเรียนโดยใช้ Solar Cell เพื่อประหยัดพลังงานให้โรงเรียนถึงเท่าตัว โดยอาจารย์ จิ รั ฏ ฐ์ แจ่ ม สว่ า ง ให้ โ อกาสและมี ค วามรั ก ลู ก ศิ ษ ย์ โดยดึ ง นั กเรี ย นกลุ่ มเสี่ ย งให้ หั น มาสนใจการเรียนโดยใช้เทคโนโลยี หุ่นยนต์ เพื่อฝึกฝนทักษะการเรียนรู้ ระเบียบวินัย ความอดทน และการทางานเป็นทีม ทุ่มเทเวลาและกาลังทรัพย์ส่วนตัว ใน การส่ ง เสริ ม นั ก เรี ย นท ากิ จ กรรมนอกเวลาราชการอย่ า ง สม่าเสมอ
บทบาทส าคั ญ ของโลกอนาคตมาร่ ว มจั ดการ เรียนรู้ ทาให้นักเรียนพัฒนานวัตกรรมจนชนะ การประกวดทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จุด เปลี่ยนจากการสอนพลศึกษามาสอนไอซีที เกิด จากการดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ 32 ปีที่แล้ว ซึ่ ง ได้ เ ห็ น การใช้ ไ อซี ที ใ น ชี วิ ต ประจ าวั น แม้กระทั่งชาวนา จึงมองว่าหากนาไอซีทีมาใช้ จัดการเรียนการสอนในประเทศไทยจะกระตุ้น การเรียนรู้ได้มากขึ้น จึงหันมาพัฒนาความรู้ทาง ไอซีทีอย่างต่อเนื่องเพื่อเปิดโลกกว้างการเรียนรู้ ให้ กับ ลูก ศิษ ย์ นอกจากนี้ยังได้พัฒนาสื่อ และ กระบวนการเรียนรู้ ชื่อ Digital Lesson ที่เน้น ก า ร ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล บ น Internet พั ฒ น า Software ชื่อ Cyber Lecture ที่ใช้บันทึกภาพ แสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นสื่อการสอน พัฒนาหลักสูตร Peer Coaching Program ให้ ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน และเป็น ครู วิ ท ยากรอบรมครู ตลอดจนวางกลไกการ จัดการสาธารณูปโภคในโรงเรียนโดยใช้ Solar Cell เพื่อประหยัดพลังงานให้โรงเรียนถึงเท่าตัว โดยอาจารย์จิรัฏฐ์ แจ่มสว่าง ให้โอกาสและมี ความรักลูกศิษย์ โดยดึงนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้หัน มาสนใจการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เพื่อ ฝึ ก ฝนทั ก ษะการเรี ย นรู้ ระเบี ย บวิ นั ย ความ อดทน และการทางานเป็นทีม ทุ่มเทเวลาและ ก าลังทรัพ ย์ส่วนตัวในการส่งเสริมนัก เรียนทา กิจกรรมนอกเวลาราชการอย่างสม่าเสมอ