บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนวิจัย เรื่อง การจดสิทธิบัตร แหล่งรวมทรัพย์สินทางปัญญา วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า
รายละเอียดของเรื่อง นฤศร มังกรศิลา จากที ่ ก ระผมได้ ม ี โ อกาสเข้ า ร่ ว ม โครงการพี ่ เ ลี ้ ย ง หัวหน้างานจัดการความรู้ (Mentoring Program) จากหน่ ว ยจั ด การทรั พ ย์ ส ิ น ทาง คณะเทคโนโลยีคหกรรม ปัญญา และถ่ายทอดเทคโนโลยีในสถาบันอุดมศึกษา (TLO) ศาสตร์ และ โดยศูนย์ทรัพย์ส ินทางปัญญา มหาวิทยาลัยขอนแก่ น ทำ อาจารย์ประจำสาขาวิชา อุตสาหกรรมการบริการ หน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับมหาวิทยาลัย กิจกรรมที่ 1 จัดอบรม เรื ่ อ ง "สิ ท ธิ บ ั ต ร & การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล สิ ท ธิ บ ั ต ร" ในวั น อาหาร พฤหัส บดีที่ 29 ต.ค. 2563 ณ ห้อง Learning Space 1 อาคารเอนกประสงค์ ชั้น 3 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มทร.พระนคร พี่เลี้ยงโดยคุณจิราภรณ์ เหลือง ไพริ น ทร์ ผู ้ อ ำนวยการศู น ย์ ท รั พ ย์ ส ิ น ทางปั ญ ญา มหาวิทยาลัยขอนแก่น สามารถสรุปประเด็นสำคัญ และมี ขั้นตอนดังนี้ ทรั พ ย์ ส ิ น ทางปั ญ ญาเป็ น สิ ่ ง ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากการคิ ด สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ หรือชุมชน สังคม และประเทศ ไทย เพื่อให้ได้มาซึ่ง นวัตกรรมที่ใหม่ ไม่ซ้ำใคร ก่อนอื่นต้อง แบ่ ง แยกให้ อ อกว่ า ทรั พ ย์ ส ิ นทางปั ญ ญา คื อ อะไร และมี ประเภทอะไรบ้าง ดังนี้ ทรัพย์สิน คือ สิ่งที่มีค่ามีราคาที่อาจถือเอาได้ และอาจมี รูปร่าง หรือไม่มีรูปร่างก็ได้ ทางปัญ ญา คือ สิ่ง ที่เ กิดจากความคิดสร้างสรรค์ของ มนุษย์ เกิดจากการใช้ สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และ วิริยะอุตสาหะ ฯลฯ ดังนั้น ทรัพย์สินทางปัญญา คือ สิ่งที่มีค่า มีราคาที่เกิด จากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ และมีกฎหมายรองรับ ส่วนประเภทของทรัพย์สินทางปัญ ญามีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ 1. ลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์ สามารถปกป้องผลงานโดยที่ เจ้าของลิขสิทธิ์สามารถจดแจ้ง ได้ดังนี้ 1.1 งานวรรณกรรม เช่ น หนั ง สื อ นวนิ ย าย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 งานนาฏกรรม เช่น งานเกี่ยวกับการรำ การเต้น 1.3 งานศิ ล ปกรรม เช่ น จิ ต รกรรม ภาพพิ ม พ์ ภาพถ่าย ภาพประกอบ แผนที่ ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ศิลปะประยุกต์
สรุปความรู้ที่ได้ สิทธิบัตร และการสืบค้นข้อมูลสิทธิบัตร สรุปได้ ดังนี้
ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการคิด สร้า งสรรค์สิ่งใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ หรือชุมชน สัง คม และประเทศไทย เพื่อให้ได้มาซึ่งนวัตกรรมที่ใหม่ ไม่ ซ้ำใคร ก่อนอื่นต้องแบ่งแยกให้ออกว่า ทรัพย์สินทาง ปัญญา คืออะไร และมีประเภทอะไรบ้าง ดังนี้ ทรัพย์สิน คือ สิ่งที่มีค่ามีราคาที่อาจถือเอาได้ และอาจมีรูปร่าง หรือไม่มีรูปร่างก็ได้ ทางปั ญ ญา คื อ สิ ่ ง ที ่ เ กิ ด จากความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องมนุษ ย์ เกิ ด จากการใช้ ส ติปัญ ญา ความรู้ความสามารถ และวิริยะอุตสาหะ ฯลฯ ดัง นั้น ทรัพ ย์ส ินทางปัญญา คือ สิ่ง ที่มีค่า มี ราคาที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ และมี กฎหมายรองรับ ส่วนประเภทของทรัพ ย์ส ินทางปัญญา มีอ ยู่ ด้วยกัน 2 ประเภท คือ 1. ลิขสิทธิ์ เจ้าของลิขสิทธิ์สามารถปกป้อง ผลงานโดยที่เจ้าของลิขสิทธิ์สามารถจดแจ้ง ได้ดังนี้ 1.1 งานวรรณกรรม เช่น หนังสือ นว นิยาย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 งานนาฏกรรม เช่น งานเกี่ยวกับ การรำ การเต้น 1.3 งานศิล ปกรรม เช่น จิตรกรรม ภาพพิ ม พ์ ภาพถ่ า ย ภาพประกอบ แผนที่ ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ศิลปะประยุกต์ 1.4 ด น ต ร ี ก รร ม เ ช่ น ท ำนอง โน้ตเพลง แผนภูมิเพลง คำร้อง 1.5 งานโสตทัศนวัสดุ 1.6 งานภาพยนตร์ 1.7 งานสิ่งบันทึกเสียง เช่น งานที่มี ลำดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่น ใด โดยบั น ทึ กในวั ส ดุ ไ ม่ว ่ า จะมีล ักษณะใดๆ อั น สามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำ ได้อีก เช่น เทปเพลง ซีดี เพลง 1.8 งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น การ นำออกเผยแพร่ทางวิทยุ และโทรทัศน์ 1.9 งานอื ่ น ๆ ที ่ เ ป็ น งาน แ ผ น วรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น ลายถัก ลายปัก 2. ทรัพ ย์สินทางอุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่มี ค่า และมีราคาในวงการอุตสาหกรรม โดยสิทธิบัตร เป็นหนังสือสำคัญที่รัฐบาลออกให้เพื่อ คุ้ม ครองการ ประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์ อรรถประโยชน์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด โดยการจดแจ้ง 7 ประเภท ดังนี้ 2.1 สิ ท ธิ บ ั ต รการประดิ ษ ฐ์ เน้ น ลักษณะและคุณสมบัติทางกายภาพ มีโครงสร้า ง และองค์ประกอบ มีประโยชน์ในการใช้ ส อย เช่ น
1.4 ดนตรีก รรม เช่น ทำนอง โน้ตเพลง แผนภูมิ เพลง คำร้อง 1.5 งานโสตทัศนวัสดุ 1.6 งานภาพยนตร์ 1.7 งานสิ ่ ง บั น ทึ ก เสี ย ง เช่ น งานที ่ ม ี ล ำดับ ของ เสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่นใด โดยบันทึกในวัสดุ ไม่ว่าจะมีลักษณะใดๆ อันสามารถที่จะนำมาเล่นซ้ำได้อีก เช่น เทปเพลง ซีดีเพลง 1.8 งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น การนำออกเผยแพร่ ทางวิทยุ และโทรทัศน์ 1.9 งานอื ่ น ๆ ที ่ เ ป็ น งานแผนวรรณคดี แผนก วิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น ลายถัก ลายปัก 2. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม เป็นสิ่งที่มีค่า และมีราคา ในวงการอุตสาหกรรม โดยสิทธิบัตรเป็นหนังสือสำคัญทีร่ ัฐบาล ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือ ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด โดยการจดแจ้ง 7 ประเภท ดังนี้ 2.1 สิ ท ธิ บ ั ต รการประดิ ษ ฐ์ เน้ น ลั ก ษณะและ คุ ณ สมบั ติ ท างกายภาพ มี โ ครงสร้า ง และองค์ ป ระกอบ มี ประโยชน์ในการใช้สอย เช่น เครื่องจักร เครื่องสำเร็จ อุปกรณ์ เครื่องมือ สารเคมี จุลชีพดัดแปลง เวกเตอร์ ไพรเมอร์ สูตรยา สูตรอาหาร เครื่อ งสำอาง แชมพู ชุดตรวจต่างๆ หรือ เป็น ขั้นตอนและกรรมวิธี ที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น วิธีการ หมัก วิธีการเพาะเลี้ยงพืช วิธีถนอม และเก็บรักษา เป็นต้น ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ให้เงินรางวัลที่ 40,000 บาท ต่อ 1 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 2.2 อนุส ิท ธิบ ัตรการประดิษฐ์ เป็นส่วนย่อยของ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร ให้เ งินรางวัลที่ 10,000 บาท ต่อ 1 อนุส ิท ธิบัตร การประดิษฐ์ 2.3 สิ ท ธิ บ ั ต รการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เป็ น การ ออกแบบที่รูปลักษณ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์ให้ดูสวยงาม ทาง มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ให้เ งินรางวัลที่ 5,000 บาท ต่อ 1 สิทธิบัตรการออกแบบ 2.4 เครื่อ งหมายการค้า เช่น เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายรับรอง และเครื่องหมายร่วม 2.5 แบบผังภูมิของวงจรรวม 2.6 ความลับทางการค้า เช่น สูตรเครื่องดื่ม 2.7 สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 2.8 พันธุ์พืชใหม่
เครื่องจักร เครื่องสำเร็จ อุปกรณ์ เครื่องมือ สารเคมี จุล ชีพ ดัดแปลง เวกเตอร์ ไพรเมอร์ สูตรยา สูตร อาหาร เครื่องสำอาง แชมพู ชุดตรวจต่า งๆ หรือ เป็นขั้นตอนและกรรมวิธี ที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น วิธีการหมัก วิธีการเพาะเลี้ยงพืช วิธีถนอม และ เก็บรักษา เป็นต้น ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราช มงคลพระนคร ให้เงินรางวัลที่ 40,000 บาท ต่อ 1 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 2.2 อนุส ิทธิบัตรการประดิษฐ์ เป็น ส่ ว นย่ อ ยของสิ ท ธิ บ ั ตรการปร ะดิ ษฐ์ ทาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ให้เงิน รางวั ล ที่ 10,000 บาท ต่ อ 1 อนุ ส ิ ท ธิ บ ั ต รการ ประดิษฐ์ 2.3 ส ิ ท ธ ิ บ ั ต ร ก า ร อ อ ก แ บ บ ผลิตภัณฑ์ เป็นการออกแบบที่รูปลักษณ์ภายนอก ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ด ู ส วยงาม ทางมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ให้ เ งิ น รางวั ล ที่ 5,000 บาท ต่อ 1 สิทธิบัตรการออกแบบ 2.4 เค ร ื ่ อ ง ห มาย การ ค ้ า เ ช่ น เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมาย รับรอง และเครื่องหมายร่วม 2.5 แบบผังภูมิของวงจรรวม 2.6 ความลับทางการค้า เช่น สูตร เครื่องดื่ม 2.7 สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 2.8 พันธุ์พืชใหม่ ส่วนเงื่อนไขในการขอรับสิ ทธิบ ั ต ร การประดิษฐ์ จะต้องมีเงื่อนไขครบ 3 ข้อ ดังนี้ 1. เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ 2. มีขั้นตอนการประดิษฐ์สูงขึ้น 3. ส า ม า ร ถ ป ร ะ ย ุ ก ต ์ ท า ง อุตสาหกรรม เงื่อนไขในการขอรับอนุสิท ธิบัตรการ ประดิษฐ์ ต้องทำให้ได้ตามเงื่อนไข 2 ข้อ คือ 1. เป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ 2. ส า ม า ร ถ ป ร ะ ย ุ ก ต ์ ท า ง อุตสาหกรรม เราทำความเข้ า ใจเกี ่ ย วกั บ คำว่ า การ ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ไม่มีการใช้ และเผยแพร่มาก่อน จะต้องไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่แล้ว มีการเผยแพร่ แล้ว ตีพิมพ์แล้ว หรือมีการเข้าร่วมการนำเสนอในที่ ประชุมทางด้านวิชาการแล้ว และต้องไม่มีการขาย หรือออกจำหน่า ยก่อนวันจดแจ้งสิทธิบัตร หรื ออนุ สิทธิบัตร หลักสำคัญก่อนที่จะดำเนินการจด สิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร จะต้องยื่นก่อนเปิดเผย เนื่องจากต้องรอเวลาในการจดแจ้งประมาณ 3-4 เดือน แต่ถ้ายื่นขอแล้วสามารถเปิดเผยได้ทันที แต่ ม ี ข ้ อ ยกเว้ น ว่ า การเปิ ด เผย สาระสำคัญ หรือ รายละเอียดด้วยการกระทำอันไม่ ชอบด้วยกฎหมาย เช่น การขโมยรายละเอียดมา เปิดเผย หรือ ลูกจ้า งนำความลับของนายจ้า งไป เปิดเผยต่อบุคคลอื่น ดังนั้น การเปิดเผยสาระสำคัญ หรื อ รายละเอี ย ดโดยผู ้ ป ระดิ ษ ฐ์ รวมทั ้ ง การ แสดงผลงานของผู ้ ป ระดิ ษ ฐ์ ใ นงานแสดงสิ น ค้า ระหว่างประเทศ หรือ งานแสดงต่อสาธารณชนทาง ราชการ ภายใน 12 เดือนก่อนวันยืนขอรับสิทธิบัตร
ส่ ว นเงื ่ อ นไขในการขอรับ สิ ท ธิ บ ัต รการประดิษฐ์ จะต้องมีเงื่อนไขครบ 3 ข้อ ดังนี้ 1. เป็นการประดิษฐ์ขึ้นใหม่ 2. มีขั้นตอนการประดิษฐ์สูงขึ้น 3. สามารถประยุกต์ทางอุตสาหกรรม เงื่อนไขในการขอรับอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ต้อง ทำให้ได้ตามเงื่อนไข 2 ข้อ คือ 1. เป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ 2. สามารถประยุกต์ทางอุตสาหกรรม เราทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำว่า การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ไม่มีการใช้ และเผยแพร่มาก่อน จะต้องไม่เป็นงานที่ปรากฏอยู่ แล้ว มีก ารเผยแพร่แล้ว ตีพิม พ์แล้ว หรือมีการเข้าร่วมการ นำเสนอในที่ประชุมทางด้านวิชาการแล้ว และต้องไม่มีการขาย หรือออกจำหน่ายก่อนวันจดแจ้งสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร หลักสำคัญก่อนที่จะดำเนินการจดสิทธิบัตร หรืออนุ สิทธิบัตร จะต้องยื่นก่อนเปิดเผย เนื่องจากต้องรอเวลาในการ จดแจ้งประมาณ 3-4 เดือน แต่ถ้ายื่นขอแล้วสามารถเปิดเผย ได้ทันที แต่ ม ี ข ้ อ ยกเว้ นว่ า การเปิ ดเผยสาระสำคั ญ หรือ รายละเอียดด้วยการกระทำอันไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่น การ ขโมยรายละเอียดมาเปิดเผย หรือ ลูก จ้างนำความลับ ของ นายจ้างไปเปิดเผยต่อบุคคลอื่น ดังนั้น การเปิดเผยสาระสำคัญ หรือ รายละเอียดโดยผู้ประดิษฐ์ รวมทั้งการแสดงผลงานของผู้ ประดิษฐ์ในงานแสดงสินค้าระหว่างประเทศ หรือ งานแสดงต่อ สาธารณชนทางราชการ ภายใน 12 เดือนก่อนวันยืนขอรับ สิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรได้ โดยต้องขอหนังสือรับรองจาก หน่วยงานราชการนั้นๆ ที่ขอให้ไปแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์กอ่ น ทุกครั้ง กรณีที่ใหม่บางส่วนได้หรือไม่ การประดิษฐ์เดิม กับ การประดิษฐ์ใหม่ แตกต่างกันเพียงแค่ก ารเปลี่ยนสูตร หรือ ส่วนประกอบต่างๆ ใหม่ ลงไป ก็เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ได้ แล้ว เช่น เก้าอี้แบบใหม่มีที่พิงหัว กับส่วนที่เป็นล้อหมุนที่เก้าอี้ เป็น ต้น แต่สิ่งที่จะต้องเพิ่มเข้าไปให้สิ่งประดิษฐ์ดูใหม่ยิ่งขึ้น คือ การทำวิจัย หรือหาผลงานวิจัย หรือ ผลการใช้งานมาสนับสนุน ผลลัพธ์ของสิ่งประดิษฐ์ แต่อาจจะได้แค่อนุสิทธิบัตร เนื่องจาก เป็นการต่อยอดสิ่งใหม่เข้าไปเพื่อเพิ่มความสะดวก 2. การประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์สูง จะต้อง ไม่อยู่ในลักษณะของโครงสร้าง เปลี่ยนแค่ขนาด วัสดุ หรือแค่ เพิ่มความสะดวกเท่านั้น ถือว่าไม่มีขั้นการประดิษฐ์สูง โดยต้อง
หรืออนุสิทธิบัตรได้ โดยต้องขอหนังสือรับรองจาก หน่ ว ยงานราชการนั ้ น ๆ ที ่ ข อให้ ไ ปแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ก่อนทุกครั้ง กรณีที่ใหม่บางส่วนได้หรือไม่ การ ประดิษฐ์เดิม กับการประดิษฐ์ใหม่ แตกต่างกันเพียง แค่การเปลี่ยนสูตร หรือส่วนประกอบต่างๆ ใหม่ ล ง ไป ก็เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ได้แล้ว เช่น เก้าอี้แบบใหม่ มีที่พิงหัว กับส่วนที่เป็นล้อหมุนที่เก้าอี้ เป็นต้น แต่ สิ่งที่จะต้องเพิ่มเข้าไปให้สิ่งประดิษฐ์ดูใหม่ยิ่งขึ้น คือ การทำวิจัย หรือหาผลงานวิจัย หรือ ผลการใช้ง าน มาสนับสนุนผลลัพ ธ์ของสิ่งประดิษฐ์ แต่อาจจะได้ แค่อนุสิทธิบัตร เนื่องจากเป็นการต่อยอดสิ่งใหม่เข้า ไปเพื่อเพิ่มความสะดวก 2. การประดิ ษ ฐ์ ท ี ่ ม ี ข ั ้ น ตอนการ ประดิษฐ์สูง จะต้องไม่อยู่ในลักษณะของโครงสร้า ง เปลี ่ ย นแค่ข นาด วั ส ดุ หรื อ แค่ เพิ ่ม ความสะดวก เท่า นั้น ถือว่า ไม่มีขั้นการประดิษฐ์ส ูง โดยต้องมี ความแตกต่างอย่างมากจากสิ่งประดิษฐ์เดิมที่มอี ยู่ และเป็นการแก้ปัญหาที่ไม่มีผู้ใดแก้ไขได้มาช้านาน แล้ ว มี ก ารเปลี ่ ย นแปลงกรรมวิ ธ ี และต้ อ งได้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ อ อกมาด้ ว ย จึ ง ถื อ ว่ า เป็ น การ ประดิ ษ ฐ์ ท ี ่ มี ข ั ้ น การประดิ ษ ฐ์ ส ู ง เช่ น ยากั น ยุ ง แบบเดิมกันยุงได้อย่างเดียว เมื่อพัฒนาสูตรสามารถ กันยุง และทำให้ผ ิวกระจ่า งใสได้ คือว่า เป็น การ ประดิษฐ์สูง เมื่อจดสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรใน ประเทศไทย คุ ้ ม ครองแค่ ในประเทศไทยเท่า นั้น ดังนั้นบริษัทในเครือใหญ่ๆ ทั้งในประเทศไทย และ ต่ า งประเทศจะต้ องไปจดแจ้ง สิ ทธิ บัต ร หรื ออนุ สิทธิบัตรในทุกประเทศที่ มีส ิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ของ บริษัทเพื่อให้ได้รับการคุ้มครองทั่วโลก โดยผู้ทรง สิทธิบัตรเท่านั้นที่จะมีสิทธิ์ในการผลิต การใช้ การ ขาย มี ไ ว้ ข าย เสนอขาย หรื อ นำเข้ า มาใน ราชอาณาจักรของประเทศนั้นๆ ได้ อายุ ส ิ ท ธิ บ ั ต รการประดิ ษ ฐ์ จะ คุ้มครองได้ถึง 20 ปี นิยมจ่ายเพื่อรับการคุ้มครอง สิทธิบัตรทั้งปีอยู่ที่ 14,000 บาท ส่วนอนุสิทธิบัตร คุ้มครอง 6 ปี ต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้ง ละ 2 ปี แล้ว เมื่อสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรหมดอายุ สิ่งประดิษฐ์ ต่างๆ จะกลายเป็นของสาธารณะทันที ข้ อ ยกเว้ น ของสิ ท ธิ บ ั ต ร เป็ น การ กระทำใดๆ เพื ่ อ ประโยชน์ใ นการศึ กษา ค้ น คว้า ทดลอง หรือวิจัย หรือ การกระทำโดยได้รับอนุญาต จากเจ้า ของสิทธิบัตร หากผู้กระทำไม่รู้ หรือไม่ได้ รับคำบอกกล่าวว่ามีการยื่นคำขอรับสิทธิบัตร ก็ต้อง รับผิด หรือ เพื่อประโยชน์อันเป็นสาธาณูปโภค และ ในภาวะสงคราม หรือภาวะฉุกเฉินต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน ราชอาณาจักร ผู ้ ป ระดิ ษ ฐ์ เ ป็ น ผู ้ ม ี ส ิ ท ธิ ์ ข อรั บ สิทธิบัตร และมีส ิทธิที่จะได้รับการระบุชื่อว่าเป็นผู้ ประดิษฐ์ในสิทธิบัตร เช่น ผู้ประดิษฐ์ จดแจ้งเป็นชื่อ นายทรัพ ย์ มีปัญญา ส่วนผู้ขอรับสิทธิบัตรที่แสดง ตนเป็น เจ้าของสิทธิบัตรนั้น จดแจ้งเป็น นายทรัพย์ มีปัญญา ก็สามารถกระทำได้เช่นกัน สิ ท ธิ ข อรั บสิท ธิ บั ตร สามารถโอน และรับมรดกกันได้ (การโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร ต้องทำเป็นหนัง สือ ลงลายมือชื่อผู้โอน และผู้รับ โอน) เช่น นายไก่เป็นผู้ประดิษฐ์ และเป็นเจ้า ของ สิทธิบัตร เซรั่ม นายไก่สามารถโอนสิทธิบัตรให้นาง นิด ถ้าระบุพินัยกรรมยกให้นางหน่อย นางหน่อยได้
มีความแตกต่างอย่างมากจากสิ่งประดิษฐ์เดิมที่มีอยู่ และเป็น การแก้ ป ั ญ หาที ่ ไ ม่ ม ี ผ ู ้ ใ ดแก้ ไ ขได้ ม าช้ า นานแล้ ว มี ก าร เปลี่ยนแปลงกรรมวิธี และต้องได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกมาด้วย จึงถือว่าเป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูง เช่น ยากันยุง แบบเดิมกันยุงได้อย่างเดียว เมื่อพัฒนาสูตรสามารถกันยุง และ ทำให้ผิวกระจ่างใสได้ คือว่าเป็นการประดิษฐ์สูง เมื่อ จดสิท ธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรในประเทศไทย คุ้มครองแค่ในประเทศไทยเท่านั้น ดังนั้นบริษัทในเครือใหญ่ๆ ทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศจะต้องไปจดแจ้งสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรในทุกประเทศที่มสี ิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ของบริษัท เพื่อให้ได้รับการคุ้มครองทั่วโลก โดยผู้ทรงสิทธิบัตรเท่านั้นที่จะ มีส ิทธิ์ในการผลิต การใช้ การขาย มีไว้ขาย เสนอขาย หรือ นำเข้ามาในราชอาณาจักรของประเทศนั้นๆ ได้ อายุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ จะคุ้มครองได้ถึง 20 ปี นิยมจ่ายเพื่อรับการคุ้มครองสิทธิบัตรทั้งปีอยู่ที่ 14,000 บาท ส่วนอนุสิทธิบัตร คุ้มครอง 6 ปี ต่ออายุได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 2 ปี แล้วเมื่อสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรหมดอายุ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ จะกลายเป็นของสาธารณะทันที ข้อ ยกเว้นของสิท ธิบัตร เป็นการกระทำใดๆ เพื่อ ประโยชน์ในการศึก ษา ค้นคว้า ทดลอง หรือวิจัย หรือ การ กระทำโดยได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิบัตร หากผู้กระทำไม่ รู้ หรือไม่ได้รับคำบอกกล่าวว่ามีการยื่นคำขอรับสิทธิบัตร ก็ ต้องรับผิด หรือ เพื่อประโยชน์อันเป็นสาธาณูปโภค และใน ภาวะสงคราม หรื อ ภาวะฉุ ก เฉิ น ต่ า งๆ ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ใน ราชอาณาจักร ผู้ประดิษฐ์เป็นผู้มีสิทธิ์ขอรับสิทธิบัตร และมีสิทธิที่ จะได้ ร ับ การระบุชื่อ ว่าเป็นผู้ป ระดิษฐ์ในสิท ธิบ ัตร เช่น ผู้ ประดิษฐ์ จดแจ้ง เป็นชื่อ นายทรัพย์ มีป ัญ ญา ส่วนผู้ขอรับ สิทธิบัตรที่แสดงตนเป็น เจ้าของสิทธิบัตรนั้น จดแจ้งเป็น นาย ทรัพย์ มีปัญญา ก็สามารถกระทำได้เช่นกัน สิทธิขอรับสิทธิบัตร สามารถโอน และรับมรดกกันได้ (การโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตรต้องทำเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อผู้ โอน และผู้รับโอน) เช่น นายไก่เป็นผู้ประดิษฐ์ และเป็นเจ้าของ สิทธิบัตร เซรั่ม นายไก่สามารถโอนสิทธิบัตรให้นางนิด ถ้าระบุ พินัยกรรมยกให้นางหน่อย นางหน่อยได้สิทธิขอรบสิทธิบัตร นั้น แต่ถ้าไม่มีพินัยกรรม จะตกเป็นของทายาทโดยธรรม ส่วนสิทธิบัตรอันเกิดจากการทำงานตามสัญญาจ้าง ย่อมตกได้แก่นายจ้าง ยกเว้นแต่สัญญาจ้างจะระบุไว้เป็นอื่น กรณีที่ที่ลูกจ้างที่ทำการประดิษฐ์สิ่งหนึ่งสิ่งใดด้วยการใช้วิธีการ ทางสถิติ หรือ รายงาน ซึ่ง ลูก จ้างสามารถใช้ หรือล่วงรู้ได้ เนื่องจากการเป็นลูกจ้างตามสัญญาจ้างนั้น แม้ว่าสัญญาจ้างจะ
สิทธิขอรบสิทธิบัตรนั้น แต่ถ้าไม่มีพินัยกรรม จะตก เป็นของทายาทโดยธรรม ส่วนสิทธิบัตรอันเกิดจากการทำงาน ตามสัญญาจ้า ง ย่อมตกได้แก่นายจ้า ง ยกเว้น แต่ สัญญาจ้า งจะระบุไว้เป็นอื่น กรณีที่ที่ล ูกจ้างที่ทำ การประดิษฐ์สิ่งหนึ่งสิ่งใดด้วยการใช้วิธีการทางสถิติ หรือรายงาน ซึ่ง ลูกจ้า งสามารถใช้ หรือล่วงรู้ไ ด้ เนื่องจากการเป็ นลูกจ้างตามสัญญาจ้างนั้น แม้ว่า สั ญ ญาจ้ า งจะมิ ไ ด้ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การประดิ ษ ฐ์ สิทธิบัตรการทำงานนั้นๆ จะตกอยู่กับนายจ้าง ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้ถือสิทธิบัตร และได้รับประโยชน์จากการใช้สิทธิบัตรนั้น (ลูกจ้า ง มี ส ิ ท ธิ ไ ด ้ ร ั บ บำเห น็ จ พิ เศษ จ ากน า ยจ้ า ง นอกเหนือจากค่าจ้างตามปกติ) และเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการ ประดิษฐ์ของข้าราชการ หรือพนักงานองค์กรของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ให้ถือว่าข้าราชการ หรือพนักงาน องค์กรของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ มีส ิทธิเช่นเดียวกับ ลูกจ้างตามความ เช่น มทร.พระนคร ให้เงินบำเหน็จ จากสิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ท ี ่ 50 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส่ ว นของ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ให้ น ั ก ประดิ ษ ฐ์ ท ี ่ 60 เปอร์เซ็นต์ การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล สิ ท ธิ บ ั ต รการ ประดิษฐ์ หรืออนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ จะต้องยื่น เอกสารคำขอรับสิทธิบั ตรการประดิ ษฐ์ หรืออนุ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ดังนี้ 1. แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร 2. รายละเอี ย ดการประดิ ษ ฐ์ เช่ น ชื ่ อ ที ่ แ สดงถื อ การประดิ ษ ฐ์ สาขาวิ ท ยาการที่ เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ ภูมิหลังของศิลปะ หรือ วิทยาการที่เกี่ยวข้อง ลักษณะและความมุ่ง หมาย ของการประดิษฐ์ คำอธิบายรูปเขียนโดยย่อ (ถ้า มี) การเปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ วิธีการในการ ประดิษฐ์ที่ดีที่ส ุด และการนำการประดิษฐ์ไ ปใช้ ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม หรือ พาณิชยกรรม 3. ข้ อ ถื อ สิ ท ธิ เป็ น การตรวจการ ละเมิด โดยสามารถใช้โปรแกรมสืบค้นสิทธิบัตรจาก แหล่ ง ต่ า งๆ ทั ่ ว โลกทำการตรวจสอบ คื อ การ ตรวจสอบสิ่งที่งานประดิษฐ์ของเราไม่ซ้ำกับใคร มี ความใหม่ สู ง ขึ ้ น และประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นท า ง อุตสาหกรรมได้ 4. รูปเขียน (ถ้ามี) 5. บทสรุปการประดิษฐ์ 6. เอกสารประกอบการแสดงสิทธิ ระบบสืบค้นของประเทศไทย สามารถ เข้าไปที่ http://www.ipthailand.go.th โดยคลิกที่ เมนูบาร์ คำว่า บริการออนไลน์ และคลิกที่ระบบ สืบค้นสิทธิบัตรทั่วโลก โดยโปรแกรมจะใช้ได้ดีกัน Google Chrome แ ล ะ Internet Explorer Version 8 ขึ้นไป การสืบค้นแบบ Simple Search ควรใช้ Keyword ที ่ เ ป็ น คำสั ้ น ๆ ที ่ เ หมาะสมกั บ งาน ประดิษฐ์ หรือมีความใกล้เคียงกับ การค้นหา โดย เบื ้ อ งต้ น ให้ ค ลิ ก เลื อ กที่ DIP (Thailnd-TH) แล้ ว พิ ม พ์ ค ำที่ ต้ องการค้ น หา และเลื อกการแสดงผล จากนั้นกดปุ่ม ค้นหา
มิได้เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ สิทธิบัตรการทำงานนั้นๆ จะตก อยู่กับนายจ้าง ในกรณี ท ี ่น ายจ้า งเป็น ผู ้ ถื อ สิท ธิบ ัต ร และได้รับ ประโยชน์จากการใช้สิทธิบัตรนั้น (ลูกจ้างมีสิทธิได้รับบำเหน็จ พิเศษจากนายจ้างนอกเหนือจากค่าจ้างตามปกติ) และเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการประดิษฐ์ของ ข้าราชการ หรือพนักงานองค์กรของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ให้ถือ ว่าข้าราชการ หรือพนักงานองค์กรของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ มี สิทธิเช่นเดียวกับลูกจ้างตามความ เช่น มทร.พระนคร ให้เงิน บำเหน็ จ จากสิ ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ท ี ่ 50 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส่ ว นของ มหาวิทยาลัยขอนแก่นให้นักประดิษฐ์ที่ 60 เปอร์เซ็นต์ การสืบ ค้นข้อ มูล สิท ธิบ ัตรการประดิ ษฐ์ หรืออนุ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ จะต้องยื่นเอกสารคำขอรับสิทธิบัตรการ ประดิษฐ์ หรืออนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ดังนี้ 1. แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร 2. รายละเอียดการประดิษฐ์ เช่น ชื่อที่แสดงถือการ ประดิษฐ์ สาขาวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ ภูมิหลัง ของศิล ปะ หรือ วิท ยาการที่เกี่ยวข้อง ลัก ษณะและความมุ่ง หมายของการประดิษฐ์ คำอธิบายรูปเขียนโดยย่อ (ถ้ามี) การ เปิดเผยการประดิษฐ์โดยสมบูรณ์ วิธีการในการประดิษฐ์ท ี่ดี ที่สุด และการนำการประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์ ในการผลิตทาง อุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม หรือ พาณิชยกรรม 3. ข้อถือสิทธิ เป็นการตรวจการละเมิด โดยสามารถ ใช้โ ปรแกรมสืบ ค้นสิท ธิบัตรจากแหล่ง ต่างๆ ทั่วโลกทำการ ตรวจสอบ คือ การตรวจสอบสิ่งที่งานประดิษฐ์ของเราไม่ซ้ำกับ ใคร มีความใหม่ สูงขึ้น และประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ 4. รูปเขียน (ถ้ามี) 5. บทสรุปการประดิษฐ์ 6. เอกสารประกอบการแสดงสิทธิ ระบบสื บ ค้ น ของประเทศไทย สามารถเข้ าไปที่ http://www.ipthailand.go.th โดยคลิ ก ที ่ เ มนู บ าร์ คำว่ า บริการออนไลน์ และคลิกที่ระบบสืบค้นสิทธิบัตรทั่วโลก โดย โปรแกรมจะใช้ ไ ด้ ด ี ก ั น Google Chrome และ Internet Explorer Version 8 ขึ้นไป
ส่วนการสืบค้นแบบ Complex Search ให้เลือกเมนูบาร์ คำว่า Complex Search โดยมี แหล่ง ค้นหาจากทั่วโลก รวมทั้งการกำหนดเงื่อนไข ต่า งๆ เช่น สัญลักษณ์การประดิษฐ์ การออกแบบ บทสรุป ประเภทของสิทธิบัตร เลขที่คำขอ วันที่ยื่น คำขอ เลขที่ประกาศโฆษณา เลขที่ส ิทธิบัตร วันที่ ออกสิทธิบัตร ชื่อสิ่งประดิษฐ์ การออกแบบ ชื่อผู้ขอ หรือเจ้าของสิทธิบัตร ชื่อผู้ประดิษฐ์ ออกแบบ รหัส ประเทศผู้ประดิษฐ์ ออกแบบ ข้อถือสิทธิ วันที่ยื่นให้ ตรวจสอบ วันที่ยื่นต่า งประเทศครั้งแรก และรหัส ประเทศที่ยื่นคำขอต่า งประเทศครั้ง แรก เป็นต้ น ควรใช้ Keyword ที ่ เ ป็ น คำสั ้ น ๆ สามารถเลื อ ก เงื่อนไขการค้นหาได้ละเอียด แล้วพิมพ์คำที่ต้องการ ค้นหาในช่องเงื่อนไขต่า งๆ ทั้ง หมด และเลือกการ แสดงผล จากนั้นกดปุ่ม ค้นหา โดยถ้าต้องการอยาก ทราบว่า ผลิ ตภัณ ฑ์ ที ่จ ดสิ ทธิบ ัต รใช้ม ะนาว เป็ น ส่วนผสม ควรใช้เงื่อนไข ข้อถือสิทธิ์ ในการค้นหาใน เงื่อนไขนั้นๆ เนื่องจากถ้าค้นหาด้วยชื่อการประดิษฐ์ อาจจะค้นหาไม่เจอในบางสิทธิบัตร สามารถค้นหาด้วยเครื่องหมายได้ดว้ ย เช่ น เครื ่ อ งหมาย Like ใช้ เ พื ่ อ ค้ น หาโดยระบุ ตัวอักษร และมีเครื่องหมาย + > < และอื่นๆ อี ก มากมาย เป็นต้น ผลขอการค้นหาจะปรากฏขึ้น มาเป็ น รหัส เช่น 11-01-00099 โดยที่ 11 เป็นปี ค.ศ. ส่วน 01 เป็นประเภทของคำขอสิทธิบัตร และส่วน 5 ตัวสุดท้ายเป็น ลำดับคำขอ ส่ ว นการใช้ ว ิ ธ ี ก ารสื บ ค้ น สิ ท ธิ บ ั ต ร ต่า งประเทศ มีโปรแกรมที่สามารถค้นหาสิทธิบัตร อ นุ ส ิ ท ธิ บ ั ต ร ไ ด ้ จ า ก http://www.wipo.int/patentscope/en/ หรือ ไปที่ Google แล้วพิมพ์คำค้นว่า PATENTSCOPE จากนั ้ น ให้ ค ลิ ก ที ่ ปุ่ ม Access the PATENTSCOPE database สามารถค้ น หาและ ติดตามรับข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นเกี่ยวกับ สิทธิบัตร ระดับโลกผ่า นทางวิดีทัศน์ WIPO translate และ ช่องทางอื่นๆ เมื่อเข้า มาที่ส่วนของ Simple Search ของ PATENTSCOPE แล้ว ให้พิมพ์คำค้นที่ต้องการ ลงไปได้ทันที และสามารถเข้าไปคลิกดูรายละเอี ยด ของสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตรได้ทันที โดยคลิปไปที่ ตัวเลขลำดับของสิทธิบัตร และมีชื่อประเทศแบบย่อ แจ้งเอาไว้ หรือถ้าใครอ่านภาษาอังกฤษไม่ค่อยดีนัก สามารถใช้ ค ำสั ่ ง Google Translate แล้ ว เลื อ ก ภาษาของโปรแกรมเป็นภาษาไทย (Thai) จะแสดง ข้อมูลออกมาเป็นภาษาไทยให้ทั้งหมดที่ค้นหา ส ่ ว น ก า ร ค ้ น ห า แ บ บ Field Combination จะคล้ายกับวิธีการค้นหา Complex Search ข อ ง IPthailand.go.th แ ต่ PATENTSCOPE มีความสะดวกมากกว่าในเรื่องของ การกำหนดเงื่อนไข และการค้นหาเงื่อนไขที่มีค วาม ซับซ้อนกัน ผลของการค้ น หาจะละเอี ย ดหรื อ ไม่ ขึ้นอยู่กับเทคนิคการใช้คำค้น และการเลือกเงื่ อนไข ที่เหมาะสมให้กับสิ่งที่ต้องการค้นหาสิทธิบัตร และ อนุ ส ิ ท ธิ บัต รต่ า งๆ หลั ง จากที่ ใส่ค ำว่ า ค้ น หา จะ ปรากฏรายละเอียดของสิ่งที่เรากำลังตามหาอยู่
ที่มา: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ที่มา: กรมทรัพย์สินทางปัญญา การสืบค้นแบบ Simple Search ควรใช้ Keyword ที่เป็นคำสั้นๆ ที่เหมาะสมกับงานประดิษฐ์ หรือมีความใกล้เคียง กับการค้นหา โดยเบื้องต้นให้คลิกเลือกที่ DIP (Thailnd-TH) แล้วพิมพ์คำที่ต้องการค้นหา และเลือกการแสดงผล จากนั้นกด ปุ่ม ค้นหา ส่วนการสืบค้นแบบ Complex Search ให้เ ลือก เมนูบาร์คำว่า Complex Search โดยมีแหล่งค้นหาจากทั่ว โลก รวมทั้ง การกำหนดเงื่อนไขต่างๆ เช่น สัญ ลัก ษณ์ก าร ประดิษฐ์ การออกแบบ บทสรุป ประเภทของสิทธิบัตร เลขที่ คำขอ วันที่ยื่นคำขอ เลขที่ประกาศโฆษณา เลขที่สิท ธิบัตร วันที่ออกสิทธิบัตร ชื่อสิ่งประดิษฐ์ การออกแบบ ชื่อผู้ขอ หรือ เจ้าของสิท ธิบ ัตร ชื่อ ผู้ป ระดิษฐ์ ออกแบบ รหัส ประเทศผู้ ประดิษฐ์ ออกแบบ ข้อถือสิทธิ วันที่ยื่นให้ตรวจสอบ วันที่ยื่น ต่างประเทศครั้งแรก และรหัสประเทศที่ยื่นคำขอต่างประเทศ ครั้ง แรก เป็นต้น ควรใช้ Keyword ที่เ ป็นคำสั้นๆ สามารถ เลือกเงื่อนไขการค้นหาได้ละเอียด แล้วพิมพ์คำที่ต้องการค้นหา ในช่องเงื่อนไขต่างๆ ทั้งหมด และเลือกการแสดงผล จากนั้นกด ปุ ่ ม ค้ น หา โดยถ้ า ต้ อ งการอยากทราบว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี่จ ด สิทธิบัตรใช้มะนาว เป็นส่วนผสม ควรใช้เงื่อนไข ข้อถือสิทธิ์ ใน การค้ น หาในเงื่ อ นไขนั ้น ๆ เนื ่ อ งจากถ้า ค้ นหาด้ว ยชื่อการ ประดิษฐ์ อาจจะค้นหาไม่เจอในบางสิทธิบัตร สามารถค้ น หาด้ ว ยเครื ่ อ งหมายได้ ด ้ ว ย เช่ น เครื ่ อ งหมาย Like ใช้ เ พื ่ อ ค้ น หาโดยระบุ ต ั ว อั ก ษร และมี เครื่องหมาย + > < และอื่นๆ อีกมากมาย เป็นต้น
ผลขอการค้นหาจะปรากฏขึ้นมาเป็นรหัส เช่น 11-01-00099 โดยที่ 11 เป็นปี ค.ศ. ส่วน 01 เป็นประเภท ของคำขอสิทธิบัตร และส่วน 5 ตัวสุดท้ายเป็น ลำดับคำขอ ส่วนการใช้วิธีการสืบค้น สิทธิบัตรต่างประเทศ มี โปรแกรมที ่ ส ามารถค้ น หาสิ ท ธิ บ ัต ร อนุ ส ิ ท ธิ บ ั ต ร ได้ จ าก http://www.wipo.int/patentscope/en/ ห ร ื อ ไ ป ที่ Google แ ล ้ ว พ ิ ม พ ์ ค ำ ค ้ น ว่ า PATENTSCOPE จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Access the PATENTSCOPE database สามารถค้ น หาและติ ด ตามรั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ จำเป็ นเกี่ยวกับ สิท ธิบ ัตรระดั บ โลกผ่านทางวิดีท ัศน์ WIPO translate และช่องทางอื่นๆ เมื ่ อ เข้ า มาที ่ ส ่ ว นของ Simple Search ของ PATENTSCOPE แล้ว ให้ พิม พ์คำค้นที่ต้องการลงไปได้ทันที และสามารถเข้าไปคลิก ดูรายละเอียดของสิทธิ บัตร หรืออนุ สิทธิบัตรได้ทันที โดยคลิปไปที่ตัวเลขลำดับของสิทธิบัตร และมี ชื่อประเทศแบบย่อแจ้งเอาไว้ หรือถ้าใครอ่านภาษาอังกฤษไม่ ค่ อ ยดี น ั ก สามารถใช้ ค ำสั ่ง Google Translate แล้ ว เลือก ภาษาของโปรแกรมเป็ น ภาษาไทย (Thai) จะแสดงข้ อ มู ล ออกมาเป็นภาษาไทยให้ทั้งหมดที่ค้นหา ส่วนการค้นหาแบบ Field Combination จะคล้าย กั บ วิ ธี ก ารค้ น หา Complex Search ของ IPthailand.go.th แต่ PATENTSCOPE มีความสะดวกมากกว่า ในเรื่องของการ กำหนดเงื่อนไข และการค้นหาเงื่อนไขที่มีความซับซ้อนกัน ผลของการค้ น หาจะละเอี ย ดหรื อ ไม่ข ึ ้ น อยู่กั บ เทคนิคการใช้คำค้น และการเลือกเงื่อนไขที่เหมาะสมให้กับสิ่ง ที่ต้องการค้นหาสิทธิบัตร และอนุสิท ธิบัตรต่างๆ หลังจากทีใ่ ส่ คำว่าค้นหา จะปรากฏรายละเอียดของสิ่งที่เรากำลังตามหาอยู่