บันทึกเรื่องเล่า เรื่อง การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19

Page 1

บันทึกการเล่าเรื่อง กลุ่ม ชุมชนคนโชติเวช เรื่อง การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19 วันพุธที่ 8 เมษายน 2563 เผยแพร่ใน RMUTP CoP Web Blog ผู้เล่า

รายละเอียดของเรื่อง อาจารย์นิอร ดาวเจริญพร ชุ ม ชนคนโชติ เ วช เรื ่ อ ง การจั ด การเรี ย นการสอน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ออนไลน์ ในช่ ว งวิ ก ฤตการณ์ COVID-19 ในวั น พุ ธ ที ่ 8 และวิจัย เมษายน ๒๕63 เวลา 10.3๐ – 15.๐๐ น. ณ สามารถสรุป คณะเทคโนโลยึคหกรรม ประเด็นสำคัญ และมีขั้นตอนดังนี้ ศาสตร์ อาจารย์นิอร ดาวเจริญพร รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และวิจ ัย คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ ได้เป็นผู้นำการ ถ่ายทอดองค์ความรู้สำหรับชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ชุมชนคน โชติ เ วช เรื ่ อ ง การจั ด การเรี ย นการสอนออนไลน์ ในช่ ว ง วิ ก ฤตการณ์ COVID-19 และการใช้ โ ปรแกรม Google Classroom เบื้องต้น ให้กับบุคลากรในฝ่ายวิชาการและวิจัย รวมถึงบุคลากรคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้ร่ว มกั น แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน ดังนี้ 1. ขั ้ น ตอนที ่ แ รกให้บ ุค ลากรในฝ่ า ยวิ ช าการและวิจัย รวมถึงบุคลากรคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ที่สนใจเข้ าไปที่ http://www.google.com/ ให้ เข้าไปปุ่ ม 9 จุด มุมขวาบน เลือกที่หัวข้อ Google Classroom

2. การลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานระบบได้โดยการลงชื่อ เข้าใช้งานที่ https://classroom.google.com/ โดยมีราย ละเอียด ดังนี้ สำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ Username : xxxxxx.x@rmutp.ac.th เช่น nion.d@rmutp.ac.th Password : ใช้เลขประจำตัวประชาชน

สรุปความรู้ที่ได้ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ในช่วง วิกฤตการณ์ COVID-19 สรุปได้ดังนี้ อาจารย์นิอ ร ดาวเจริญ พร รองคณบดี ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ ได้เป็นผู้นำการถ่า ยทอดองค์ ค วามรู้ สำหรับ ชุมชนนัก ปฏิบ ัติ (CoP) ชุมชนคนโชติ เวช เรื่อ ง การจัดการเรีย นการสอนออนไลน์ ในช่ ว งวิ ก ฤตการณ์ COVID-19 และการใช้ โปรแกรม Google Classroom เบื้องต้น ให้กับ บุ ค ลากรในฝ่ า ยวิ ช าการและวิ จ ั ย รวมถึ ง บุคลากรคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้ ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน ดังนี้ 1. ขั ้ น ตอนที ่ แ รกให้ บ ุ ค ลากรในฝ่า ย วิ ช าการและวิ จ ั ย รวมถึ ง บุ ค ลากรคณะ เทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ ท ี ่ ส นใจเข้ า ไปที่ http://www.google.com/ ให้ เ ข้ า ไปปุ่ ม 9 จ ุ ด มุ ม ข ว า บ น เลื อ ก ที ่ ห ั ว ข้ อ Google Classroom 2. การลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานระบบ ได้โดยการลงชื่อเข้าใช้งานที่หน้าเว็บไซต์ตาม ลิงค์นี้ https://classroom.google.com/ โดย มีราย ละเอียด ดังนี้ สำหรับอาจารย์และเจ้าหน้าที่ Username : xxxxxx.x@rmutp.ac.th เช่น nion.d@rmutp.ac.th Password : ใช้เลขประจำตัวประชาชน 3. เมื ่ อ บุ ค ลากรทุ ก ท่ า นดำเนิ น การ Log in เข้ า มาใน Google Classroom ด้ ว ย อีเมล์ rmutp.ac.th แล้ว ให้คลิกเข้ามาที่เมนูที่ เป็นเครื่องหมายบวกที่มุมขวาบนของหน้า จอ แล้วเลือกคำสั่ง Create Class สำหรับอาจารย์ ผู้สอนสร้า งห้อ งเรีย นออนไลน์ และส่ว นของ คำสั ่ ง Join Class สำหรั บ นั ก ศึ ก ษาเพื ่ อ เข้ า ห้องเรียนออนไลน์ (โดยผู้สอนจะต้องแจ้งรหัส การเข้าห้องเรียนออนไลน์นั้นๆ ก่อน) 4. เมื่อเลือกคำสั่ง Create Class แล้ว ให้บุคลากรฯ กรอกชื่อชั้นเรียน และกรอกข้อมูล ระดับคะแนน หรือเวลาเริ่มชั้นเรียนได้ กรอก วิชา หรือคลิกเลือกจากรายการที่ปรากฏขึ้นเมื่อ กรอกข้อความเสร็จให้คลิกปุ่ม Create


3. เมื ่ อ บุ ค ลากรทุ ก ท่ า นดำเนิ น การ Log in เข้ า มาใน Google Classroom ด้วยอีเมล์ rmutp.ac.th แล้ว ให้คลิกเข้า มาที่เมนูที่เป็นเครื่องหมายบวกที่มุมขวาบนของหน้าจอ แล้ว เลือกคำสั่ง Create Class สำหรับอาจารย์ผู้สอนสร้างห้องเรียน ออนไลน์ และส่วนของคำสั่ง Join Class สำหรับนักศึกษาเพื่อ เข้าห้องเรีย นออนไลน์ (โดยผู้ส อนจะต้ อ งแจ้ง รหัส การเข้ า ห้องเรียนออนไลน์นั้นๆ ก่อน)

4. เมื ่ อ เลื อ กคำสั ่ ง Create Class แล้ ว ให้ บ ุ ค ลากรฯ กรอกชื่อชั้นเรียน และกรอกข้อมูลระดับคะแนน หรือเวลาเริ่ม ชั้นเรียนได้ กรอกวิชา หรือคลิกเลือกจากรายการที่ปรากฏขึ้น เมื่อกรอกข้อความเสร็จให้คลิกปุ่ม Create

5. การสร้างห้องเรียนออนไลน์ โดยจะปรากฏชื่อห้อง: ร้อยมาลัย ทดสอบขึ้นมา โดยอาจารย์ผู้สอนสามารถเข้ าไป ปรั บ แต่ ง รู ป แบบการแสดงผลต่ า งๆ ใน Setting ที ่ เ ป็ น รู ป ฟันเฟืองที่มุมขวาบนของหน้าจอได้ตามความเหมาะสม

6. การสร้ า งข้ อ ความในหน้ า หลั ก ของห้ อ งเรี ย น ออนไลน์ สามารถพิม พ์ ของความทั ก ทายบนหน้า หลั ก ของ ห้ อ งเรี ย นออนไลน์ ไ ด้ ท ั น ที จะปรากฏข้ อ ความขึ ้ น มา เพื่ อ สื่อสารข้อมูลในห้องเรียนออนไลน์ได้ตลอดเวลา

5. การสร้างห้องเรียนออนไลน์ โดยจะ ปรากฏชื่อห้อง: ร้อยมาลัย ทดสอบขึ้นมา โดย อาจารย์ผู้สอนสามารถเข้าไปปรับแต่งรูปแบบ การแสดงผลต่ า งๆ ใน Setting ที ่ เ ป็ น รู ป ฟันเฟืองที่มุมขวาบนของหน้าจอได้ตามความ เหมาะสม 6. การสร้างข้อความในหน้าหลักของ ห้ อ งเรี ย นออนไลน์ สามารถพิ ม พ์ ข องความ ทักทายบนหน้าหลักของห้องเรี ยนออนไลน์ได้ ทั น ที จะปรากฏข้อ ความขึ ้น มา เพื ่ อ สื ่ อ สาร ข้อมูลในห้องเรียนออนไลน์ได้ตลอดเวลา 7. การสร้ า งงานที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมาย สามารถสร้า งได้ ห ลากหลายรูป แบบ แต่โ ดย เบื้องต้นใช้คำสั่ง Assignment เพื่อสร้างงานที่ ได้รับงานมอบหมายที่กำหนดให้นักศึกษาเข้ามา ตอบคำถามในแต่ละสัปดาห์ได้ 8. เมื ่ อ คลิ ก คำสั ่ ง Assignment จะ ปรากฏหน้ า จอให้ ก รอกชื ่ อ ของงานที ่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย (Title) รายละเอี ย ดของคำถาม (Introduction) รวมถึงสามารถแทรกไฟล์ สื่ อ ต่างๆ จากหลากหลายช่องทางจากการการคลิก ปุ่ม Add เช่น Google Drive, Link, File และ Youtube ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดเตรียมเอาไว้ลง ไปในงานที่ได้รับมอบหมายได้ทันที 9. ส่ ว นสำคั ญ อี ก ส่ ว นหนึ ่ ง ที ่ จ ะต้ อ ง กำหนดในงานที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมายในแต่ ล ะ สัปดาห์ คือ การกำหนดกลุ่มนักศึกษาที่จะต้อง ตอบ เช่น กลุ่มวิชาใด มีนักศึกษาจำนวนเท่าไหร่ แต่ ถ ้ า ไม่ ป รั บ แต่ ง ค่ า ใดๆ ก็ จ ะเป็ น ค่ า All Students โดยงานที่ได้รับมอบหมายจะเข้าไป ยังอีเมล์ของนักศึกษาทุกคนทันที และสามารถ กำหนดคะแนน (Point) กำหนดวั น ส่ ง งาน (Due) หัวข้อ (Topic) และเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) ในงานนั้นๆ 10. เมื่อสร้างงานที่ได้รับมอบหมายใน แต่ละสัปดาห์เสร็จ อาจารย์ผู้สอนสามารถเข้า มาดู ง านที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมายทั ้ ง หมดในแท็ บ Classwork 11. บุ ค ลากรฯ สามารถคลิ ก เข้ า ไป ตรวจงานในส่วนของงานที่ได้รับมอบหมายได้ ทันที หลังจากที่นักศึกษาเข้ามาตอบคำถามและ แสดงความคิดเห็นในงานต่างๆ อย่างสนุกสนาน 12. ในส่วนของงานที่ได้รับมอบหมาย อาจารย์ผู้สอนสามารถให้นักศึกษาเข้ามาร่วม แสดงความคิดเห็น (Comment) ในส่ว นหน้า หลัก ของงานที่ได้รับมอบหมายนั้นๆ ได้ทันที ระหว่างที่มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ 13. เมื่ออาจารย์ผู้สอนเข้ามาตรวจงาน ที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมายเสร็จ แล้ ว ในส่ ว นหน้า จอ ห้องเรียนออนไลน์ของนักศึกษา จะปรากฏขึ้น ว่างานที่รับมอบหมายในครั้งนี้ ผ่านการตรวจ แล้ว (Graded) จากอาจารย์ผู้สอน


7. การสร้า งงานที่ไ ด้ร ับ มอบหมาย สามารถสร้างได้ หลากหลายรูปแบบ แต่โดยเบื้องต้นใช้คำสั่ง Assignment เพื่อ สร้างงานที่ได้รับงานมอบหมายที่กำหนดให้นักศึกษาเข้ามา ตอบคำถามในแต่ละสัปดาห์ได้

8. เมื ่ อ คลิ ก คำสั ่ ง Assignment จะปรากฏหน้ า จอให้ กรอกชื่อของงานที่ได้รับมอบหมาย (Title) รายละเอียดของ คำถาม (Introduction) รวมถึง สามารถแทรกไฟล์ส ื ่ อ ต่ า งๆ จากหลากหลายช่ อ งทางจากการการคลิ ก ปุ ่ ม Add เช่ น Google Drive, Link, File และ Youtube ที่อาจารย์ผู้สอนได้ จัดเตรียมเอาไว้ลงไปในงานที่ได้รับมอบหมายได้ทันที

9. ส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งที่จะต้องกำหนดในงานที่ได้รับ มอบหมายในแต่ละสัปดาห์ คือ การกำหนดกลุ่มนักศึกษาที่ จะต้องตอบ เช่น กลุ่มวิชาใด มีนักศึกษาจำนวนเท่าไหร่ แต่ถ้า ไม่ปรับแต่งค่าใดๆ ก็จะเป็นค่า All Students โดยงานที่ได้รับ มอบหมายจะเข้าไปยังอีเมล์ของนักศึกษาทุกคนทันที และ สามารถกำหนดคะแนน (Point) กำหนดวั น ส่ ง งาน (Due) หัวข้อ (Topic) และเกณฑ์การให้คะแนน (Rubric) ในงานนั้นๆ

14. ส่วนของแท็บนักศึกษาในห้องเรียน (People) เป็ น การเข้ า ไปจั ด การการติ ด ต่ อ ระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับนักศึกษาด้วยการส่ง ข้อความผ่านท่านกล่องข้อความไปยังอาจารย์ ผู้สอน และนักศึกษาโดยตรง สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19 จะต้อง ร่วมแรงร่วมใจกันอย่างเข้มแข็งทั้งฝ่ายวิชาการ และวิ จ ั ย คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ ที่ ช่ว ยเหลือ สนับ สนุนให้เกิดการเรีย นการสอน ออนไลน์ ข ึ ้ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด แก่ อ าจารย์ ผ ู ้ ส อนและ นักศึกษาของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


10. เมื่อสร้างงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์เสร็จ อาจารย์ผู้สอนสามารถเข้ามาดูงานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดใน แท็บ Classwork

11. บุคลากรฯ สามารถคลิกเข้าไปตรวจงานในส่วนของ งานที่ได้รับมอบหมายได้ทันที หลังจากที่นักศึกษาเข้ามาตอบ คำถามและแสดงความคิดเห็นในงานต่างๆ อย่างสนุกสนาน

12. ในส่วนของงานที่ได้รับมอบหมาย อาจารย์ผู้สอน สามารถให้ น ั ก ศึ ก ษาเข้ า มาร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น (Comment) ในส่วนหน้าหลักของงานที่ได้รับมอบหมายนั้นๆ ได้ทันทีระหว่างที่มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์


13. เมื ่ อ อาจารย์ ผ ู ้ ส อนเข้ า มาตรวจงานที ่ ไ ด้ รั บ มอบหมายเสร็จ แล้ว ในส่ว นหน้าจอห้องเรียนออนไลน์ของ นักศึกษา จะปรากฏขึ้นว่างานที่รับมอบหมายในครั้งนี้ ผ่านการ ตรวจแล้ว (Graded) จากอาจารย์ผู้สอน

14. ส่วนของแท็บนักศึกษาในห้องเรียน (People) เป็น การเข้าไปจัดการการติดต่อระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับ นักศึกษา ด้วยการส่งข้อความผ่านท่านกล่องข้อความไปยังอาจารย์ผู้สอน และนักศึกษาโดยตรง


สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วง วิ ก ฤตการณ์ COVID-19 จะต้ อ งร่ ว มแรงร่ ว มใจกั น อย่ า ง เข้มแข็งทั้งฝ่ ายวิช าการและวิ จัย คณะเทคโนโลยีคหกรรม ศาสตร์ที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้เกิดการเรียนการสอนออนไลน์ ขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดแก่อาจารย์ ผู ้ ส อนและนั ก ศึ ก ษาของคณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ภาพบรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชุมชนนั ก ปฏิบัติ (CoP) ชุมชนคนโชติเวช




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.