งานใบตอง..วิชาการแกะสลักผักผลไม้และงานใบตอง

Page 1


เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชื่อวิชา รหัสวิชา จํานวนหน่ วยกิต อาจารย์ ผู้สอน

การแกะสลักผักผลไม้และงานใบตอง Fruit Vegetable Carving and Banana Leaf Crafting HE2042212 3 (0-6-3) (บรรยาย-ปฎิบตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง) อาจารย์สุกญั ญา จันทกุล อาจารย์ศกั ริ นทร์ หงส์รัตนาวรกิจ ภาคการศึกษา ที่ 2 ปี การศึกษา 2561


งานใบตอง Banana Leaf Crafting


ใบตองเป็ นวัสดุธรรมชาติที่ได้มาจากใบของต้นกล้วย หรื อ อาจเรี ย กว่า ใบกล้ว ย ซึ่ งมี อ ยู่ท ั่ว ไปในประเทศไทย บรรพชนไทยสมัย ก่ อ นได้รู้ จ ัก การนํา ใบตองมาห่ อ ขนม และอาหารด้ว ยวิธี ก ารที่ ห ลากหลาย และได้คิ ด ประดิ ษ ฐ์ ภาชนะและเครื่ องใช้ ใ นรู ปแบบต่ า งๆ เพื่ อ ใช้ ใ นงาน ประเพณี และงานพิธีแบบไทย เช่น กระทงดอกไม้ กระทง ลอย บายศรี พานขันหมาก พานสิ นสอดพานพุ่ม เป็ นต้น งานใบตองสามารถสะท้อนภูมิปัญญาที่ แสดงถึ งชี วิตแห่ ง ความเรี ยบง่ายและรู้จกั ผสมผสานการใช้ชีวติ ที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติ


จากการศึกษาประวัติของงานใบตองพบว่า ไม่ ปรากฏหลักฐานแน่ ชัดว่าเริ่ มมี มาตั้ง แต่ เมื่ อใด เนื่ องจาก ไม่มีการจดบันทึ กเป็ นลายลักษณ์อกั ษร แน่ ชัด จากหลักฐานที่ อา้ งอิ ง ในหนังสื อพระ ราชพิธี 12 เดือน ได้กล่าวถึงพระราชพิธีจองเปรี ยง ในสมัย กรุ ง สุ โ ขทัย ที่ มี พ ระร่ ว งเจ้า เป็ นพระเจ้า แผ่นดิ น พระสนมเอกคื อท้าวศรี จุ ฬ าลักษณ์ หรื อ นางนพมาศ นางนพมาศได้ร่ว มประดิ ษ ฐ์ตกแต่ ง โคมลอย ได้อย่างงดงามโดยนางนําเอาดอกไม้ต่างๆ มาประดิ ษฐ์เป็ นรู ปดอกบัว บานรั บ แสงจัน ทร์ ใช้ ดอกไม้ซอ้ นสลับสี ให้เป็ นลวดลาย แล้วนําเอาผลไม้ มาแกะสลักเป็ นรู ปนกจิกเกสรดอกบัว ตกแต่งด้วย ธูปเทียนอย่างสวยงาม


คุณค่าของงานใบตอง 1. คุณค่าทางวัฒนธรรมและสังคม ใบตองกับวิถีชีวิตของคนไทยเป็ นของคนไทยเป็ นของคู่กนั ตั้งแต่ยุคสมัยโบราณถึ งปั จจุบนั อาจกล่าวได้ว่าต้นกล้วย ถือเป็ นไม้มงคลในการประกอบพิธีและประเพณี ไทยอี กหลายอย่างโดยเฉพาะ ศิลปะในเรื่ องงานใบตอง ซึ่ งมีการนํามาประดิ ษฐ์เป็ นกระทงดอกไม้ กระทงลอย บายศรี พานขันหมาก พานพุ่ม เป็ นต้น การประดิษฐ์งานใบตองแต่ละอย่างล้วนงดงาม ประณี ต ซึ่ งแสดงถึงความเป็ นชนชาติที่มี จิตใจงดงาม ละเอียดอ่อน ความสามารถของคนไทย ซึ่ งสมควรที่อนุชนรุ่ นหลัง จะถือเป็ นหน้าที่ที่ควรหวง แหน และรักษาไว้เป็ นศิลปะและวัฒนธรรมประจําชาติสืบไป


2. คุณค่ าทางเศรษฐกิจ การประดิ ษ ฐ์ ง านใบตองนี้ สามารถนํา ไป สร้างรายให้แก่ผทู้ ี่มีความสามารถทางด้านนี้ไม่วา่ จะเป็ น การนําเอาไปประกอบอาชี พถาวร หรื ออาชี พเสริ ม เช่ น การจัดทําใบศรี การประดิษฐ์กระทงลอย กระทงดอกไม้ การจัดทําพานต่างๆในงานมงคลสมรส เป็ นต้น


3. คุณค่ าทางจิตใจ นอกจากมีคุณค่าวัฒนธรรมและสังคม คุณค่า ทางเศรษฐกิจ ผลพลอยได้ที่เกิดจาก การประดิษฐ์งาน ใบตอง คื อ คุ ณค่าทางจิ ตใจ ขณะในการปฏิ บตั ิ งาน นั้นย่อมเกิ ดความเพลิดเพลินซึ่ งเป็ นการฝึ กสมาธิ ใน ขณะที่ทาํ งาน ทําให้ผทู ้ ี่ทาํ งานด้านนี้ มีจิตใจเยือกเย็น สุ ขุม นอกจากจะเกิ ดความภาคภูมใจในงานที่ สําเร็ จ และยังเป็ นการช่วยดํารงเอกลักษณ์ความเป็ นไทย


โอกาสพิเศษทีใ่ ช้ งานใบตอง จําแนกได้ 4 โอกาส คือ 1.ในชีวติ ประจําวัน ในชีวติ ประจําวันของไทยนั้น มีการนําใบตองมาห่อขนม ห่ออาหารต่างๆ เช่น การห่อ ทรงเตี้ย ห่อหมก ห่อขนมสอดไส้ ฯลฯ นอกจากจะได้รับความสะดวกในการหยิบและยังช่วย ให้อาหารและขนมบางอย่างมีกลิ่นหอมน่ารับประทาน


2. โอกาสพิเศษ สามารถนํ า ใบตองมา ประดิษฐ์ภาชะใส่ อาหาร หรื อ ขนมได้ห ลากหลายแบบ เช่ น กระเช้า ใบตอง ถาดใบตอง ผอบเพื่ อ มอบให้ บุ ค คลหรื อ ผูใ้ หญ่ ที่ เ คารพนับ ถื อ ในวัน ปี ใหม่ ว ัน คล้า ยวัน เกิ ด โอกาส พิ เ ศษต่ า งๆซึ่ งแสดงความ เคารพนับถือ ผูร้ ับย่อมซาบซึ้ ง และชื่ นชมในนํ้าใจไมตรี และ ยั ง ช่ ว ย รั ก ษ า เ อ ก ลั ก ษ ณ์ วัฒนธรรมไทย


3. งานประเพณี ใบตองมีคุณค่านานัปการต่อความเป็ นอยู่ของคนไทยจากอดีตสู่ ปั จจุบนั สะท้อนรู ปแบบชีวิตที่เรี ยบง่าย การสร้างสรรค์วสั ดุธรรมชาติจน กลายเป็ นงานประณี ตศิ ลป์ ที่ มีคุณค่า และเป็ นส่ วนหนึ่ งในวิถีชีวิตไทย เช่น พานขันหมาก บายศรี กระทงลอย ซึ่ งเป็ นงานที่ใช้ในงานประเพณี ที่ ดีงามชาวไทย และยังได้รับการสื บทอดมาจนทุกวันนี้


4. งานพิธีทางศาสนา ใบตองถื อ ได้ว่ า เป็ นใบไม้ม งคลนํา มาประดิ ษ ฐ์ ง าน ประณี ตศิลป์ ในงานพิธีทางศาสนา เช่น พุ่มคู่สวด กระทงดอกไม้ กระทงสังฆทาน สลากภัตร พานพุม่ เป็ นต้น


การเลือก เตรียมวัสดุ งานใบตอง ชนิดของใบตอง ใบตองตานีเหมาะสําหรับนํามาประดิษฐ์ ชิ้นงาน เพราะมี ความนุ่ม เหนียว ไม่เปราะไม่ฉีกขาดง่าย มีสีเขียว เข้ม เส้นริ้ วใบตองมีแนวตรง และทางใบตองกว้าง


การตัดใบตอง ควรตัดใบตองให้เหลือหู ใบตอง เพื่อที่ จะได้มีส่วนที่ ช่วยทํา หน้าที่สังเคราะห์แสงเมื่อตัดใบตองจากต้นแล้วใช้ทนั ที่ ควรตัด ตอนสาย เพราะนํ้าค้างที่ เกาะบนใบตองเริ่ ม แห้ง หรื อตอนเย็น แดดอ่อนๆ เพื่อให้ใบตองที่สลบแดด ได้รับความสดชื้ นขึ้ นบ้าง เมื่อตัดแล้วสามารถนํามาใช้ได้ทนั ที่ หากต้องการเก็บใบตองไว้รอ การใช้งานนานๆ ต้องตัดตอนรุ่ งเช้า หรื อเช้าตรู่ จะได้ใบตองสด กรอบไม่เหยี่ยวใบตองที่ตดั ถ้ายังสดอยูใ่ ห้นาํ มาผึ่งลมก่อน เพื่อ จะให้ใบตองหายกรอบก่อนนํามาประดิษฐ์ชิ้นงาน


การเลือกใบตอง ในการประดิ ษฐ์ง านฝี มื อ ควรใช้ใบตองตานี ที่ สดไม่ เ หยี่ย ว มี ช่ว งใบกว้าง เส้ น ริ้ ว ใบตองเรี ยบตรงสวย มีสีเขียวเข้มสด มีความมันเงา ไม่อ่อนหรื อไม่แก่เกินไป วิธีเช็ดใบตอง ควรเฉื อนใบตองออกจากก้านก่อนและฉี กเป็ นแผ่นกว้างพอประมาณใช้ผา้ ฝ้ าย เนื้อนุ่ม เช็ดจากโคน ถูไปหาปลายริ้ วตอง ถ้ามีรอยเปื้ อนใช้ผา้ ชุบนํ้าหมาดๆเช็ดออก แต่ถา้ มี คราบฝุ่ นเกาะทั้งใบให้นาํ ไปล้างนํ้า แล้วผึ่งให้แห้งแล้วจึงเช็ดอีกครั้งถ้านําใบตองมาประดิษฐ์ เป็ นภาชนะใส่ อาหารควรล้างนํ้าให้สะอาดก่อนนําไปใช้


การฉีกใบตอง ก่อนฉี กใบตองต้องตัดสันตอง หรื อเรี ยกอีกอย่างว่าเอ็นตองออกเสี ยก่อน จะได้ฉีกได้ง่ายเวลาแกใบตองควรฉี กไว้ เป็ นแบบชิ้ นหนึ่ งก่ อน แล้วจึ งว่างลงบน ใบตองชิ้นใหญ่ ใช้เล็บนิ้วหัวแม่มือฉี กให้ ได้ข นาดเท่ า ๆกัน ทุ ก ชิ้ น อย่า งซ้อ นกัน หลายชิ้ น ขนาดของตองจะเคลื่ อ นจาก ขนาดจริ ง


การพับใบตอง การพับใบตอง ถือว่ามีความสําคัญไม่นอ้ ย การพับใบตองแบบต่างๆ ควรเลือกใช้ ใบตองส่ วนปลายหรื อส่ วนที่ค่อนข้างนิ่ม จะพับได้ง่าย ขณะพับหรื อม้วนกลีบใบตอง อย่ากดแน่นจนเป็ นรอยชํ้า เพราะจะทําให้ส่วนนั้นดํา หรื อเหี่ ยวเฉาก่อนส่ วนอื่นๆ



การเย็บใบตอง เมือพับใบตองได้รูปทรงตามต้องการในการเย็บเรี ยงกลีบ จะต้องจับปลายกลีบให้เท่ากันโดยตลอด ควรเลือกใบตองที่มี สี สมํ่าเสมอกันทั้งชิ้ นงาน และหมัน่ ฉี ดนํ้าบ่ อยๆในขณะเย็บ ชิ้นงานเพื่อให้ใบตองสดอยูเ่ สมอ


การเข้ ารูปทรง เมื่อเย็บจนได้ความยาวตามต้องการแล้ว นําตองชิ้ นสุ ดท้ายสอดเข้า ไปในตองชิ้นงานบรรจบต่อกันให้สนิ ท เย็บให้เรี ยบและแน่น แนวฝี เข็ม ต่อเป็ นแนวเดี ยวกัน หรื อรอยต่อชิ้ นงานเพื่อให้บางส่ วนอาจมี การแต่ ง ด้วยตะขาบหรื อนมสาวเพื่อปกปิ ดรอยต่อหรื อรอยฝี เข็มที่ไม่สวย


วิธีการเก็บรักษาชิ้นงาน 1. การดูแลรักษาใบตองก่ อนการใช้ งาน 1.1 เมื่อตัดใบตองมาแล้วควรเรี ยงใบตองซ้อนกัน โดยให้ริ้วใบตองไปทางเดียวกันแล้วม้วนด้านสี เข้มออก ทางด้า นนอกแล้ว นํา ใบตองด้า นแข็ง แช่ ล งในนํ้า ให้ ระดับนํ้าสู งจากใบตองด้านแข็ง 1 นิ้ว ทิ้งไว้ 1 คืน จึง นํามาประดิษฐ์ชิ้นงาน 1.2 หากต้องการเก็บใบตองไว้รอการใช้งาน ให้ นําใบตองซ้อนกันโดยให้ริ้วใบตองไปทางเดียวกันแล้ว ม้วนด้านสี เข้มออกทางด้านนอก เก็บใส่ ถุงพลาสติกรัด ปากให้แน่นเก็บในตูเ้ ย็นช่องธรรมดาหรื อช่องแช่ผกั


2. การดูแลรักษาใบตองขณะปฏิบตั ิงาน 2.1 เมื่อเช็ดและฉี กใบตองแล้วให้ใช้ผา้ ขาวบางชุ บนํ้าบิดหมาดๆ คลุมไว้ เพื่อป้ องกันมิให้โดนลม 2.2 ขณะปฏิบตั ิงานต้องหยิบจับใบตองเบาๆ ทําอย่างรวดเร็ วป้ องกันไม่ให้ ใบตองซํ้า และหมั้นฉี ดนํ้าชิ้นงานหรื อจุ่มนํ้าบ่อยๆ เพื่อไม่ให้ใบตองแห้ง 2.3 ชิ้นงานที่ตกแต่งด้วยการเย็บกลีบดอกไม้ ใบไม้ ควรมีการเตรี ยมทํางาน ใบตองเก็บไว้ก่อนเพราะใบตองสามารถเก็บรักษาได้นานกว่า


3. การดูแลรักษาผลงานสํ าเร็จ 3.1 งานใบตองที่ประดิษฐ์เรี ยบร้อยแล้ว ควรแช่น้ าํ อย่างน้อย 2-3 ชัว่ โมง หรื อ 1 คืน ใช้ผา้ ขาวบางชุบนํ้าคลุมชิ้นงานให้มิดชิดและครอบถุงพลาสติกไว้อีกชั้นหนึ่ ง เก็บไว้ในตูเ้ ย็นช่อง ธรรมดาหรื อช่องแช่ผกั 3.2 ขณะที่จดั แสดงชิ้ นงาน ถ้าสังเกตเห็ นว่าใบตองไม่มีละอองนํ้าเกาะอยู่ ควรฉี ดนํ้า เพิ่มเติมทําให้ใบตองดูมีเขียวสดอยูเ่ สมอ 3.3 เมื่อจบการสาธิต หรื อการแสดงชิ้นงาน ควรฉี ดนํ้าให้ชุ่มและใช้ผา้ คลุมไว้เหมือนเดิม ถ้ามีบางส่ วนของชิ้นงานที่ตกแต่งด้วยดอกไม้เน่า หรื อเหยี่ยว ควรรื้ อชิ้นงานเป็ นส่ วนที่เน่ าหรื อ เหยีย่ วออกให้หมด แล้วนําส่ วนใบตองที่ยงั สดไปล้างนํ้าให้สะอาดและสามารถเย็บตกแต่งดอกไม้ สดใหม่อีกครั้งเพราะงานใบตองมีอายุการใช้งานนานกว่าดอกไม้สด


จบการนําเสนอ Thank you


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.