การแกะสลักภาชนะจากฟักทอง วิชาการแกะสลักเชิงธุรกิจ สอนโดยอาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์
การแกะสลักภาชนะใส่อาหารสามารถบรรจุอาหารลง ไปได้ และยังใช้วางประดับโต๊ะอาหารให้สวยงามได้อีก ด้วย โดยได้แบ่งประเภทการแกะสลักเป็น 2 ประเภท คือ ภาชนะแบบมีฝา และภาชนะแบบไม่มีมีฝา
การแกะสลัก ฟักทองเพื่อใช้ เป็นภาชนะ สามารถแกะสลักได้มากมาย เช่น ผอบ จาน โถ กระเช้า เป็นต้น นิยมแกะสลัก ทั้งลูกโดย ปอกเปลื อ กออกให้ ห มด คว้ า นเมล็ ด ออก เกลาฟักทองให้เป็น รูปทรงต่างๆ แล้ว จึงลง มือสลักให้เป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายดอก ข่า ลายดอกกุหลาบ ลายใบไม้ เป็นต้น
การดู แ ลรั ก ษา ฟั ก ทองเมื่ อ แกะ เสร็จแล้วควรล้างน้้าเย็นจัด ห้ามน้าไปแช่ น้้า เพราะจะท้าให้ปลายกลีบที่แกะสลัก ลวดลายเป็น สีข าวและเน่า เร็ ว คลุม ผ้ า ขาวบางชุบน้้าปิดให้หมาด หรือใส่กล่อง ปิดฝาใส่ตู้เย็น
ฟักทองแกะสลักเพื่อ บรรจุอาหารนึ่ง เช่น ผอบฟักทองสังขยา ก่อนน้าไปนึ่งให้ วางลงในภาชนะอื่น เช่น ถ้วย ที่มีขนาด พอเหมาะกับขนาดฟักทองแกะสลัก เพื่อ บั ง คั บ รู ป ทรง เวลานึ่ ง ให้ ค งเดิ ม ไม่ แ ตก หรือฉีกออก เวลานึ่งควรใช้ไฟปานกลาง ไม่ใช้ไฟแรงเกินไป
ฟักทองแกะสลักเพื่อ บรรจุเครื่อง จิ้ ม เช่ น น้้ า พริ ก หลน ควรมี ภ าชนะ บรรจุในฟักทอง เพื่อป้องกันกลิ่นของ ฟั ก ทองติ ด น้้ า พริ ก ท้ า ให้ น้ า พริ ก เสี ย รสชาติ และเน่าเสียได้ง่าย
ผลงานแกะสลักโดยนักศึกษา รุ่น 63 ตบค.