วัฒนธรรมการแกะสลักผักผลไม้ไทย : เกณฑ์การให้คะแนนการประกวดแข่งขัน

Page 1

สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

วัฒนธรรมการแกะสลักผักผลไม้ไทย : เกณฑ์การให้คะแนนการประกวดแข่งขัน

อาจารย์ศักรินทร์ หงส์รัตนาวรกิจ สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

การเตรียมความพร้อมในการแข่งแกะสลักผักผลไม้ การแข่งขันการแกะสลักผักผลไม้ให้ประสบความสาเร็จนั้นจาเป็นต้องมีการฝึกซ้อม และการเตรียมความพร้อม การวางแผน การศึกษารายละเอียดเกณฑ์การประกวด แข่งขัน จากความคิดเห็นส่วนตัวและประสบการณ์ด้านการสอนการตัดสินงานแกะสลักผัก ผลไม้ ข้าพเจ้ามีข้อเสนอแนะในรายละเอียดต่างๆจากเกณฑ์การประกวดแข่งขันแกะสลักผักและ ผลไม้ เกณฑ์ก ารให้คะแนน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 69 ปีก ารศึกษา 2562 เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับนักศึกษาหรือบุคคลที่สนใจ


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

1. ความสอดคล้องของชื่อผลงานกับชิ้นงาน 20 คะแนน หัวข้อการแข่งขัน คณะกรรมการจะแจ้งให้ทราบในวันแข่ง การกาหนดหัวข้อ คงไม่ไกลไปกว่าเอกลักษณ์วัฒนธรรมไทยและเกณฑ์ได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการ แกะสลักในการแข่งขันเพื่อรับประทานและเพื่อการตกแต่ง ในข้อนี้นักเรียนก็มีการ ฝึกซ้อมแกะสลัก การเลือกลวดลายที่ใช้ การวางแผนการฝึกซ้อมการจัดมาล่วงหน้า ก่อนแล้ว


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

2. กระบวนการทางานตามลักษณะเกณฑ์การแข่งขัน 10 คะแนน การเลือกผักและผลไม้การแกะสลักผัก ผลไม้เพื่อ สาหรับรั บประทาน หรือการ ตกแต่ ง ควรเลื อ กให้ เ หมาะสมกั บ การ นาไปใช้ การพิจารณาลักษณะเฉพาะของ ผั ก ผลไม้ นั้ น ๆความอ่ อ นแก่ ความสด ใหม่ ฤดูกาล ขนาด รูปทรง การล้างทา ความสะอาดผั ก ผลไม้ ม าก่ อ นล่ ว งหน้ า โดยส่วนใหญ่ผู้แกะเตรียมผักผลไม้ขาด ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ขั้นตอนการแกะสลัก คณะกรรมการ จะดูกระบวนการตั้งแต่การปอก การเกลา การ คว้า น การแกะสลักว่ าปฎิ บัติงานอย่างถูกวิ ธี การรั ก ษาความสะอาด โดยแกะสลั ก ต้ อ งมี ภาชนะรองรับเศษทีแกะ เช่น ถาด มิใช่แกะลง บนโต๊ะ และต้องปฎิบัติงานที่โต๊ะ เก้า ห้ามนั่ง บนพื้น และหลังการแกะสลักเสร็จต้องมีการ เก็บรักษาชิ้งานที่ดีก่อนการนาไปจัด เช่น การ คุ ม ผ้ า ขาวบาง และไม่ ค วรน าผั ก ผลไม้ ที่ แกะสลักสาเร็จแล้ว แช่น้ารวมกันซึ่งเป็นวิธี ที่ ผิดเพราะจะทาให้ชิ้นงานช้าน้า และเน่าได้ง่าย


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ถูกสุขลักษณะ และสงวนคุณค่าทางอาหาร 10 คะแนน ข้อนี้จะเน้นเรื่องความสะอาดเพราะการแข่งขันมีการแกะเพื่อรับประทาน ดั้ง นั้น ผู้แกะต้องมีสุขอนามัยที่ดี เล็บสั้น เก็บผม การแต่งกายสะอาด มีผ้ากันเปื้น ถุงมือ หรือ อาจใส่หมวก ปฎิบัติงานอย่างถูกสุขลักษณะ ปอก ตัด หั่นบนเขียง มีถาดสาหรับใส่ผัก ผลไม้เพื่อรอการแกะสลัก ถาดสาหรับรองรับเศษผักผลไม้ที่แกะสลัก แล้ว และควร ปฎิบัติงานบนโต๊ะเพื่อสุขลักษณะที่ดีในการทางาน และวิธีการแกะควรใช้ระยะเวลาใน การแกะสลักสั้นๆ ควรรักษาคุณค่า ของอาหารไม่ควรล้างน้าหรือแช่น้า นานเกินไป ยึดหลักการประหยัด มี ควา มส ะอาด น่ า รั บป ระ ทา น ปลอดภัย ไม่ ใช้ วัส ดุที่เป็ นอันตราย เช่น กาวตราช้าง


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ความประณีต สวยงาม 25 คะแนน ในข้อนี้ค่อนข้างที่จะอธิบายได้ยาก เพราะ มุมมองและทัศนคติของแต่ละบุคคนต่างกัน 1. อันดับแรก การเจาะเกสร เกสรกลมห้าม เบี้ยว และเกสรต้องได้สัดส่วนกับขนาดของลูกไม่ใช่ ลู ก ใหญ่ แ ต่ เ กสรเล็ ก มาก เกสรต้ อ งมี ค วามลึ ก สั บ หว่ างกัน เป็น ชั้น ๆดูมี มิติ และที่ ส าคั ญต้ อ งแกะจน หมดเนื้อด้านใน ถ้าไม่หมดถือว่าแกะยังไม่เสร็จ หาก แกะเกสรแล้ ว เจอปั ญ หาไส้ ล้ ม ผู้ แ กะควรมี ก าร แก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยการแกะดอกที่มีขนาดเล็ก ปิดส่วนทีบ่ กพร่อง


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

2. กลีบดอก ในการแบ่งกลีบดอกควร ควรมี ข นาดที่ เ หมาะสมไม่ ใ หญ่ จ นเกิ น ไป เช่น การแบ่ง 8 ถือว่ามีความละเอียดน้อย กว่าการแบ่ง 12 กลีบ ดอกกับเกสรต้องมี ลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายกัน แกะสลักที่ ดีห้ามมีเศษผักผลไม้ติดระหว่างซอกกลีบ


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ผู้แกะสลักที่ดีควรใช้ทักษะการแกะที่ หลากหลาย เช่น ควรใช้ กลีบรักเร่ กลีบบานชื่น กลีบกุหลาบ กลีบผีเสื้อ และการใช้เทคนิคบิด พลิกมีด การแกะกลีบลายเส้น ซึ่งมีความยาก และมีความประณีตมากขึ้น โดยส่วนใหญ่ที่เห็น ผู้ แ ข่ ง ขั น จะเน้ น ลวดลายซ้ าๆเน้ น แกะให้ ไ ด้ ปริ มาณของจานวนลูก ที่ม าก และที่ สาคัญ คื อ ความเป็นธรรมชาติ แกะให้มีลักษณะโครงสร้าง เหมือนจริง


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ความคิดสร้างสรรค์ 25 คะแนน ข้าพเจ้าขออธิบายพร้อมยกตัวอย่าง การสร้างสรรค์ตั้งแต่การเลือกวัสดุโดย อาจนาผักผลไม้ชนิดใหม่ที่สามารถแกะได้และสวยงามมาใช้นอกเหนือจาก แตงโม แคนตาลูป มะละกอ ที่แกะสลักกันเป็นประจา และสร้างสรรค์ ด้วยลวดลายการ ประยุกต์ลายใหม่ๆๆได้อย่างลงตัวโดยการนาลายพื้นฐานมาใช้และประยุกต์ มองดู เป็นธรรมชาติ อ่อนหวาน และที่ ส าคั ญ ผู้ แ ข่ ง ขั น ต้ อ งมี ก ารน า วิธีการและเทคนิคที่หลากหลาย เช่น การ ปอกคว้าน การตัดแต่ง การหั่น การแกะ โดยการน าวิ ธี ก ารเหล่ า นี้ ม าสร้ า งสรรค์ ผลงานที่ ส วยงามและแปลกตา และ สามารถนาชิ้ น งานไปใช้ เ พื่ อ รับ ประทาน และเพื่อการตกแต่งได้


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ลายพื้นฐาน


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ลายประยุกต์


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ลายประยุกต์


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ลายประยุกต์


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

ผลงานเสร็จทันเวลา 10 คะแนน ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขัน 3 ชั่วโมง ใน การแข่ง ขัน ไม่มี การพักระหว่างการแข่งกั น คณะกรรมการมีการแจ้งระยะเวลาที่ใช้ไปเป็น ระยะๆหากแกะสลั ก เกิ น เวลาที่ ก าหนด กรรมการจะหักคะแนนโดยจะมีการแจ้งก่อน เริ่ ม การแข่ งขั น เช่ น แกะสลั ก เกิ น เวลาหั ก คะแนนนาที่ละ 1 คะแนน ผู้แกะสลักต้องมี การจัดการการกับเวลาเป็นอย่างดี


สาขาวิชาการบริหารธุรกิจคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรามงคลพระนคร

จบการนาเสนอ Thank you


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.