จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319
น.ส. นัศรันทร์ ฉายแก้ว
รหัส 5121302839
สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์
Characters Font-Design / cru-nassaranARTI3319 คำนำ การออกแบบตัวอักษรอักษรเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาทต่อการผลิตงานออกแบบกราฟิคเป็นอย่างยิ่งรูปแบบและลั กษณะเฉพาะของตัวอักษรที่มีความมากมายหลากหลายการจะเลือกใช้รูปแบบใดต้องขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และเงื่อนไขต่างๆ งานลักษณะหนึ่งอาจจะเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะตัวของอักษรแบบหนึ่งตัวอักษร บางลักษณะอาจใช้ได้้เฉพาะโอกาสเท่านั้นถ้ามีความพอเหมาะพอดีในการนำมาใช้ก็จะทำให้งานออกแบบสาม ารถสื่อความหมายได้อย่างเต็มที่
ตัวอักษรพิมพ์ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้ดังนี้ 1. ตัวอักษรแบบมีเชิง ( Serif ) เป็นแบบตัวอักษรที่มีเส้นยื่นของฐานและปลายตัวอักษรในทางราบที่เรียกว่า Serif ลักษณะของตัวอักษรจะมีเส้นตัวอักษรเป็นเส้นหนาบางไม่เท่ากันเหมือนการเขียนด้วยปากกาปากแบน มีหลายรูปแบบและตั้งชื่อแตกต่างกันออกไป
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319
2. ตัวอักษรแบบไม่มีเชิง ( Sane Serif ) เป็นลักษณะของตัวอักษรอีกแบบหนึ่งที่มีรูปแบบเรียบ ง่ายดูเป็นทางการ ต่างจากแบบแรกคือ ไม่มีเชิงหมายถึงไม่มีเส้นยื่นของฐานและปลายของตัวอักษรใน ทางราบ นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางทั้งในงานสิ่งพิมพ์ทั่วไปและงานโฆษณาประชาสัมพันธ์
3. ตัวอักษรแบบตัวเขียน ( Script ) อักษรแบบนี้เป็นแบบที่แตกต่างไปจาก 2 แบบแรก การออกแบบจะ เน้นให้รูปแบบตัวอักษรมีลักษณะเป็นลายมือเขียน ซึ่งมีลักษณะหางโค้งต่อเนื่องกันระหว่างตัวอักษรต่อ ตัวอักษรมีขนาดเส้นหนาและบางต่างกัน ส่วนมากนิยมออกแบบเป็นตัวอักษรเอียงเล็กน้อย
4. ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ ( Text Letter ) เป็นตัวอักษรโรมันแบบตัวเขียนอีกแบบหนึ่ง มีลักษณะเป็น แบบประดิษฐ์ตัวอักษรมีเส้นตั้งดำหนาภายในตัวอักษรมีเส้นหนาและบางคล้ายกับการเขียนด้วยภู่กันแบนหรือป ากกาปลายตัด มักนิยมใช้จารึกในเอกสารตำราในสมัยโบราณ
5. ตัวอักษรแบบประดิษฐ์ ( Display Type ) หรืออักษรแบบตัวพิมพ์ขนาดใหญ่ มีลักษณะเด่นของตัวอักษร
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319 คือการออกแบบตกแต่งตัวอักษรให้วิจิตพิสดารเพื่อดึงดูดสายตาผู้ดูส่วนใหญ่จะมีขนาดความหนาของเส้นอักษ รที่หนากว่าแบบอื่นๆ จึงนิยมนำมาใช้เน้นหรือตกแต่งในงานโฆษณาหรือหัวเรื่องโฆษณาประกาศนียบัตร ฯลฯ
6. ตัวอักษรแบบมัยใหม่ ( Modern Type )เป็นตัวอักษรที่คิดประดิษฐ์ขึ้นระยะหลังๆมีลักษณะของแบบ ตัวอักษรที่เรียบง่าย มีหลายแบบหลายสไตล์ มักใช้ในงานโฆษณาประชาสัมพันธ์
ลักษณะของตัวอักษร ( Type Character ) นอกจากรูปแบบของตัวอักษรที่มีลักษณะแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน การสร้างตัวอักษรยังมีแนว คิดให้เกิดความแตกต่างอย่างหลากหลายทำให้มีลักษณะเฉพาะตัวของตัวอักษรที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น 1. ประเภทตัวเอน ( Italic ) 2. ประเภทตัวธรรมดา ( Normal ) 3. ประเภทตัวบางพิเศษ ( Extra Light ) 4. ประเภทตัวแคบ ( Condensed ) 5. ประเภทตัวบาง ( light ) 6. ประเภทตัวหนา ( Bold ) 7. ประเภทตัวเส้นขอบ ( Outline ) 8. ประเภทตัวหนาพิเศษ ( Extra Bold ) 9. ประเภทตัวดำ ( Black )
ขนาดของตัวอักษร (Size Type) - ขนาดของตัวอักษรเป็นการกำหนดขนาดที่เป็นสัดส่วนความกว้าง และสูงและรูปร่างของตัวอักษร
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319 โดยเอาความสูงเป็นหลักในการจัดขนาดเรี ยกว่า พอยต์ (Point) ขนาดตัวอักษรหัวเรื่องมักใช้ขนาดตั้งแต่ 16 พอยต์ขึ้นไป ส่วนขนาดของเนื้อหาจะใช้ขนาดประมาณ 6 พอยต์ถึง 16 พอยต์ แล้วแต่ลักษณะของงานนั้น ๆ 12 พอยต์ = 1 ไพก้า 6 ไพก้า = 1 นิ้ว (2.5 ซ.ม.) 75 พอยต์ = 1 นิ้ว - ขนาดทางราบหรือทางกว้างของตัวอักษร เมื่อเรียงกันไปเป็นคำหรือความยาวใน 1 บรรทัด หรือเรียกว่าเป็น "ความยาวคอลัมน์" จะกำหนดเป็นไพก้า (Pica)
เทคนิคการสร้างแบบตัวอักษร การออกแบบ หรือสร้างแบบตัวอักษร หรือการเลือกแบบตัวอักษรในแต่ละครั้งจะต้องพิจารณา ถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานนั้นๆ ซึ่งจะมีลักษณะแตกจ่างกันออกไปตัวอักษรที่นำมาใช้เป็นข้อความย่อย จะมีลักษณะอย่างหนึ่ง ตัวอักษรหัวเรื่อง ชื่อสินค้า แผ่นป้ายโฆษณา หรือสัญลักษณ์ต่างๆ จะมีลักษณะเฉพาะ ที่แตกต่างกันออกไป มีการดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบแตกต่างกันไป ได้แก่ 1. การออกแบบตัวอักษรบนแนวระนาบตรง 2. การออกแบบตัวอักษรบนแนวระนาบโค้ง 3. การออกแบบตัวอักษรบนพื้นที่จำกัด 4. การออกแบบตัวอักษรเงา 5. การออกแบบตัวอักษรแบบจุดรวมสายตา 6. การออกแบบตัวอักษรแบบอิสระ 7. การตกแต่งตัวอักษร
หลักการและขั้นตอนการออกแบบ ในการออกแบบประดิษฐ์ตัวอักษรนอกจากจะแฝงไว้ซึ่งความต้องการให้อ่านง่ายและมีความชัดเจนใน รูปแบบแล้ว ยังต้องตอบสนองวัตถุประสงค์อันลึกซึ้งอันเกี่ยวกับลีลาทางความสวยงามที่อาจแสดงในรูปของ สัญลักษณ์เพื่อสร้างความอบยากรู้อยากเห็นเน้นความสำคัญ เกิดความรู้สึกตื่นเต้น ตลกขบขันหรือสร้าง ความพิศวง
หลักการออกแบบ ความสวยงามของรูปแบบตัวอักษรและอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ จะัต้องอาศัยพื้นฐานทางศิลปะเป็น หลักปฏิบัติ โดยผู้ออกแบบจะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. ความมีเอกภาพ ( Unity ) 2. มีความกลมกลืน ( Harmony ) 3. มีสัดส่วนที่สวยงาม ( Proportion ) 4. มีความสมดุล ( Balance ) 5. ช่วงจังหวะ ( Rhythm ) 6. มีจุดเด่น ( Emphasis )
วิธีการออกแบบ
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319 การเริ่มต้นออกแบบตัวอักษรควรเริ่มต้นด้วยการเขียนแบบร่างอย่างหยาบโดบยึดโครงสร้างสัดส่วนของตัวอัก ษรเป็นแนวคิดกำหนดให้แบบที่ร่างขึ้นอยู่บนแนวเส้นบรรทัดการใช้กระดาษกราฟจะช่วยให้การออกแบบมีคว ามสะดวกและง่ายขึ้น เพื่อให้เกิดความสะดวกในการอ่านมีสิ่งที่จะต้องพิจารณาดังนี้ 1. การกำหนดขนาดของตัวอักษร ( 13*13 ช่อง) 2. การกำหนดส่วนของตัวอักษร 3. การกำหนดระยะห่างของตัวอักษรมีข้อกำหนด 3 ประการคือ 3.1 ระยะห่างภายในตัวอักษร 3.2 ระยะห่างระหว่างตัวอักษร 3.3 ระยะห่างระหว่างบรรทัด 4. ความถูกต้องในการจักวางตำแหน่ง สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์
หลักการออกแบบตัวอักษร 1. ขั้นตอนการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น - ศึกษาโครงสร้างัตัวอักษรภาษาอังกฤษ ที่จัดอยู่ในประเภท gothic ที่อยู่ในเว็ปไซด์ www.fontstruct.com - ศึกษาข้อมูลและทดลองใช้งานเว็ปไซด์เพื่อการออกแบบตัวอักษรที่อยู่ในเว็ปไซด์ www.fontstruct.com
2. ขั้นตอนการกำหนดคุณลักษณะแบบแนวความคิด - กำหนดคุณลักษณะแบบตัวอักษรตามโครงสร้างมาตรฐานตัวอักษร สิ่งสำคัญที่สุดคือการออกแบบ ตัวอักษร ตามเว็บไซด์ Fontstruct จะมีเกณฑ์การทำงานที่มีคุณลักษณะคล้ายกับการทำ Pixel Art ที่ต้องอาศักการ Dot หรือ Bricks เราจะไม่สามารถตัดส่วนเว้่าหรือส่วนโค้งได้เหมือนเช่นโปรแกรม PS,illus หรือซอฟแวร์ ที่ใช้ สำหรับออกแบบตัวอักษร ซึ่งต้องใช้ความสามารถของผู้ออกแบบเอง ดังนั้นการสร้างส่วนโค้งของตัวอักษร อาจเป็นอุปสรรคในการออกแบบได้ ที่สำคัญเราจะควรคำนวณปริมาณของ Bricks ให้เหมาะกับรูปแบบของ ตัวอักษรเป็นอย่างดี ที่มีผิวหน้าของตัวอักษรให้เป็นเส้นตรงทางยาว
3. ขั้นตอนการร่างแบบ -
กำหนดคุณลักษณะแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณ์ทางการพิมพ์ตามโครงสร้าง
มาตรฐานตัวอักษร -
Idea sketch ( ร่างความคิดแบบตัวอักษร )
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319
4. ขั้นตอนการออกแบบ - การออกแบบ - การเขียนแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณ์ทางการพิมพ์ตามแบบร่างด้วย FontStruct เว็ปไซด์เพื่อการออกแบบตัวอักษรในหน้าของการออกแบบตัวอักษรประกอบไปด้วยชุดคำสั่งต่างๆ มีส่วนสำคัญได้แก่ Tools และ Bricks รูปแบบต่างๆ นำมาใช้ในการออกแบบตัวอักษร ให้เราออกแบบ Characters ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณ์จนครบตามที่กำหนดไว้ ยกตัวอย่างตามรูปด้านล่าง
ตัวพิมพ์ใหญ่
ตัวเลข
ตัวพิมพ์เล็ก
ตัวสัญลักษณ์
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319 5. ขั้นตอนการประกอบและทดสอบ -
ทดสอบการพิมพ์ - การประกอบแบบภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณ์ทางการพิมพ์ตามรูปแบบ
การจัดวางข้อความ เมื่อเราคลิ๊กที่คำสั่ง Preview จะนำเราไปสู่หน้าทดสอบการพิมพ์แบบอักษร
6. การสร้างต้นแบบเพื่อนำไปใช้งาน - นำไปใช้จริงในการออกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณ์แสดงให้เห็นเอกลักษณ์เฉพาะ โดยการเปิดให้ดาวน์โหลดผ่านทางเว็ป FontStruct ที่ใช้ในการออกแบบตัวอักษร
7. ขั้นตอนการประเมิณ -
สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน นับตั้งแต่วันที่เริ่มทำการออกแบบผ่านทางเว็ปไซด์ถึงวันที่ 5 สิงหาคม
2554
มีการดาวน์โหลดทั้งหมด 0 ครั้ง , Stats : 98 glyphs
8. ขั้นตอนการสรุปและเผยแพร่ - สรุปผลงาน และกำหนดลิขสิทธิ์แล้วนำไปเผยแพร่ทางเว็ปไซด์ Fontstruct ที่ใช้ในการออกแบบตัวอักษร ในส่วนของ Details เลือกใช้การกำหนด License
กำหนดความเป็นเจ้าของลิขสิทธ์ Creative Commons Attrib
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319
การนำเอา Font_cru-nassaranarti3319 ไปใช้งาน
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319 https://docs.google.com/present/edit?id=0ART63B5SP5cDZGZ6a2N6NmZfMzRmZzhxOGZncg&hl=th การเผยแพร่และแสดงงานผ่านทางเว็บไซด์ 1. www.FontStruct.com - http://fontstruct.com/fontstructions/show/268682
2. www.issuu.com - http://issuu.com/groups/typography
3. www.blogstop.com - http://nassaranarti3319.blogspot.com/p/cru-nassaran.html
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.
จัดทำโดย นางสาวนัศรันทร์ ฉายแก้ว รหัสนักศึกษา 5121302839 กลุ่มเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ E-mail : nassaran512@gmail.com เบอร์โทร : 085-1219697 เอกสารนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ รหัสวิชา arti3319
4. https://docs.google.com - https://docs.google.com/present/edit? id=0ART63B5SP5cDZGZ6a2N6NmZfMzRmZzhxOGZncg&hl=th
5. https://plus.google.com - https://plus.google.com/102402058748272005579/buzz
eDocument : Fine and Applied Arts Division, Department of Humanities Sciences, Faculty of Humanities and Social Sciences, Chandrakasem Rajabhat University, Ratchadabhisek Road, jatuchak District, Bangkok,Thailand 10900.Contact Current eMail: prachid007@gmail.com.