CRU-nassaranarti3319

Page 1


รายวิชา ARTI3319 Visual Communication Technology เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป

Characters Font-Design cru-nassaranARTI3319 น.ส. นัศรันทร ฉายแกว รหัส 5121302839 สาขา ออกแบบนิเทศศิลป

ผูจัดทํา


คํานํา การออกแบบตัวอักษรอักษรเปนสวนหนึ่งที่มีบทบาทตอการผลิตงา นออกแบบกราฟคเปนอยางยิ่ง รูปแบบและลักษณะเฉพาะของตัวอักษรที่ มีความมากมายหลากหลายการจะเลือกใชรูปแบบใดตองขึ้นอยูกับความเ หมาะสมและเงื่อนไขตางๆ งานลักษณะหนึ่งอาจจะเหมาะสมกับลักษณะเ ฉพาะตัวของอักษรแบบหนึ่ง ตัวอักษรบางลักษณะอาจใชไดเฉพาะโอกา สเทานั้น ถามีความพอเหมาะพอดีในการนํามาใชก็จะทําใหงานออกแบบ สามารถสื่อความหมายไดอยางเต็มที่


ลักษณะของตัวอักษร ( Type Character )

นอกจากรูปแบบของตัวอักษรที่มีลักษณะแตกตางกันอยางเห็นไดชัดเจน การสรางตัวอักษรยังมีแนวคิดใหเกิดความแตกตางอยางหลากหลาย ทําใหมี ลักษณะเฉพาะตัวของตัวอักษรที่เปลี่ยนแปลงไป เชน 1. ประเภทตัวเอน ( Italic ) 2. ประเภทตัวธรรมดา ( Normal ) 3. ประเภทตัวบางพิเศษ ( Extra Light ) 4. ประเภทตัวแคบ ( Condensed ) 5. ประเภทตัวบาง ( light ) 6. ประเภทตัวหนา ( Bold ) 7. ประเภทตัวเสนขอบ ( Outline ) 8. ประเภทตัวหนาพิเศษ ( Extra Bold ) 9. ประเภทตัวดํา ( Black )


ตัวอักษร แบงเปนกลุมใหญๆไดดังนี้ 1. ตัวอักษรแบบมีเชิง ( Serif ) เปนแบบตัวอักษรที่มีเสนยื่นของฐานและปลายตัวอักษรในทางราบที่เรียกวา Serif ลักษณะของตัวอักษรจะมีเสนตัวอักษรเปนเสนหนาบางไมเทากันเหมือนการเขียนดวยปากกาปาก

แบนมีหลายรูปแบบและตั้งชื่อแตกตางกันออกไป

2. ตัวอักษรแบบไมมีเชิง ( Sane Serif ) เปนลักษณะของตัวอักษรอีกแบบหนึ่งที่มีรูปแบบเรียบงายดูเปนทางการ ตางจากแบบแรกคือ ไมมีเชิง หมายถึงไมมีเสนยื่นของฐานและปลายของตัวอักษรในทางราบ นิยมใชกันอยางกวางขวาง ทั้งในงานสิ่งพิมพทั่วไปและงานโฆษณาประชาสัมพันธ


3. ตัวอักษรแบบตัวเขียน ( Script ) อักษรแบบนี้เปนแบบที่แตกตางไปจาก 2 แบบแรก การออกแบบจะเนนใหรูปแบบตัวอักษรมีลักษณะเปนลายมือเขียน ซึ่งมีลักษณะห างโคงตอเนื่องกันระหวางตัวอักษรตอตัวอักษรมีขนาดเสนหนาและบางตางกันสวนมากนิยม ออกแบบเปนตัวอักษรเอียงเล็กนอย

4. ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ ( Text Letter ) เปนตัวอักษรโรมันแบบตัวเขียนอีกแบบหนึ่ง มีลักษณะเปนแบบประดิษฐตัวอักษรมีเสนตั้งดําหนาภายในตัวอักษรมีเสนหนาและบางคลาย กับการเขียนดวยพูกันแบนหรือปากกาปลายตัดมักนิยมใชจารึกในเอกสาร ตําราในสมัยโบราณ


5. ตัวอักษรแบบประดิษฐ ( Display Type ) หรืออักษรแบบตัวพิมพขนาดใหญ มีลักษณะเดนของตัวอักษร คือการออกแบบตกแตงตัวอักษรใหวิจิตพิสดารเพื่อดึงดูดสายตาผูดูสวนใหญจะ มีขนาดความหนาของเสนอักษรที่หนากวาแบบอื่นๆ จึงนิยมนํามาใชเนนหรือตกแตงในงานโฆษณาหรือหัวเรื่องโฆษณาประกาศนียบัตรฯลฯ

6. ตัวอักษรแบบมัยใหม ( Modern Type ) เปนตัวอักษรที่คิดประดิษฐขึ้น ระยะหลังๆมีลักษณะของแบบตัวอักษรที่เรียบงาย มีหลายแบบหลายสไตลมักใชในงานโฆษณา


ลักษณะของตัวอักษร (Type Character) - จากรูปแบบตัวอักษรที่หลากหลาย การสรางแบบอักษรก็ยังมีความแตกตางที่หลายรูปแบบ ทําใหมีลักษ ณะเฉพาะของตัวอักษรเปลี่ยนแปลงไป เชน ตัวเอน (Italic) ตัวธรรมดา (Normal) ตัวบางพิเศษ (Extra Light) ตัวแคบ (Condensed) ตัวบาง (Light)) ตัวหนา (Bold) ตัวเสนขอบ (Outline) ตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) ตัวดํา (Black)


ขนาดของตัวอักษร (Size Type) - ขนาดของตัวอักษรเปนการกําหนดขนาดที่เปนสัดสวนความกวาง และสูงและรูปรางของตัวอักษร โดยเอาความสูงเปนหลักในการจัดขนาดเรีย กวา พอยต (Point) ขนาดตัวอักษรหัวเรื่องมักใชขนาดตั้งแต 16 พอยตขึ้นไป สวนขนาดของเนื้อหาจะใชขนาดประมาณ 6 พอยตถึง 16 พอยต แลวแตลักษณะของงานนั้น ๆ 12 พอยต = 1 ไพกา 6 ไพกา = 1 นิ้ว (2.5 ซ.ม.) 75 พอยต = 1 นิ้ว - ขนาดทางราบหรือทางกวางของตัวอักษร เมื่อเรียงกันไปเปนคําหรือความยาวใน 1 บรรทัด หรือเรียกวาเปน "ความยาวคอลัมน" จะกําหนดเปนไพกา (Pica)


เทคนิคการสรางแบบตัวอักษร การออกแบบ หรือสรางแบบตัวอักษร หรือการเลือกแบบตัวอักษรในแต ละครั้งจะตองพิจารณาถึงวัตถุประสงคของการใชงานนั้นๆ ซึ่งจะมีลักษณะ แตกตางกันออกไปตัวอักษรที่นํามาใชเปนขอความยอยจะมีลักษณะอย นึ่งางห ตัวอักษรหัวเรื่อง ชื่อสินคา แผนปายโฆษณา หรือสัญลักษณตางๆ จะมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางกันออกไป มีการดัดแปลงใหอยูในรูปแบบแต กตางกันไป ไดแก 1. การออกแบบตัวอักษรบนแนวระนาบตรง 2. การออกแบบตัวอักษรบนแนวระนาบโคง 3. การออกแบบตัวอักษรบนพื้นที่จํากัด 4. การออกแบบตัวอักษรเงา 5. การออกแบบตัวอักษรแบบจุดรวมสายตา 6. การออกแบบตัวอักษรแบบอิสระ 7. การตกแตงตัวอักษร


หลักการและขั้นตอนการออกแบบ ในการออกแบบประดิษฐตัวอักษร นอกจากจะแฝงไวซึ่งความตองการใหอานงายแ ละมีความชัดเจนในรูป แบบแลว ยังตองตอบสนองวัตถุประสงคอันลึกซึ้งอันเกี่ยวกับลีลาทางความสวยงามที่อ าจแสดงในรูปของสัญลักษณเพื่อสรางความอบยากรูอยากเห็นเนนความสําคัญ เกิดค วามรูสึกตื่นเตน ตลกขบขันหรือสรางความพิศวง

หลักการออกแบบ ความสวยงามของรูปแบบตัวอักษรและอารมณความรูสึกตางๆ จะตองอาศัยพื้นฐานทางศิลปะเปนหลักปฏิบัติ โดยผูออกแบบจะตองคํานึงถึงสิ่งตอไป นี้ 1. ความมีเอกภาพ ( Unity ) 2. มีความกลมกลืน ( Harmony ) 3. มีสัดสวนที่สวยงาม ( Proportion ) 4. มีความสมดุล ( Balance ) 5. ชวงจังหวะ ( Rhythm ) 6. มีจุดเดน ( Emphasis )


วิธีการออกแบบ การเริ่มตนออกแบบตัวอักษรควรเริ่มตนดวยการเขียนแบบรางอยางหยา บโดยยึดโครงสรางสัดสวนของตัวอักษรเปนแนวคิดกําหนดใหแบบที่รางขึ้นอ ยูบนแนวเสนบรรทัด การใชกระดาษกราฟจะชวยใหการออกแบบมีความสะด วกและงายขึ้น เพื่อใหเกิดความสะดวกในการอานมีสิ่งที่จะตองพิจารณาดังนี้ 1. การกําหนดขนาดของตัวอักษร ( 13*13 ชอง) 2. การกําหนดสวนของตัวอักษร 3. การกําหนดระยะหางของตัวอักษรมีขอกําหนด 3 ประการคือ 3.1 ระยะหางภายในตัวอักษร 3.2 ระยะหางระหวางตัวอักษร 3.3 ระยะหางระหวางบรรทัด 4. ความถูกตองในการจักวางตําแหนง สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต


หลักการออกแบบตัวอักษร 1. ขั้นตอนการศึกษาวิเคราะหขอมูลเบื้องตน - ศึกษาโครงสรางตัวอักษรภาษาอังกฤษที่จัดอยูในประเภท gothic ที่อยูในเว็ปไซด www.fontstruct.com - ศึกษาขอมูลและทดลองใชงานเว็ปไซดเพื่อการออกแบบตัวอักษรที่อยูใ นเว็ปไซด www.fontstruct.com


2. ขั้นตอนการกําหนดคุณลักษณะแบบแนวความคิด - กําหนดคุณลักษณะแบบตัวอักษรตามโครงสรางมาตรฐานตัวอักษร สิ่งสําคัญที่สุดคือการออกแบบตัวอักษรตามเว็บไซด Fontstruct จะมีเกณฑการทํางานที่มีคุณลักษณะคลายกับการทํา Pixel Art ที่ตองอาศัยการ Dot หรือ Bricks เราจะไมสามารถตัดสวนเว◌่าหรือสวนโคงไดเหมือนเชนโปรแกรม PS,illus หรือซอฟแวรที่ใชสําหรับออกแบบตัวอักษร ซึ่งตองใชความสามารถของผูออกแบบเอง ดังนั้นการสรางสวนโคงของตัวอักษรอาจเปนอุปสรรคในการออกแบบได ที่สําคัญเราจะตองคํานวณปริมาณของ Bricks ใหเหมาะกับรูปแบบของตัวอักษรเปนอยางดี ที่มีผิวหนาของตัวอักษรใหเปนเสนตรงทางยาว


3. ขั้นตอนการรางแบบ - กําหนดคุณลักษณะแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณทางการพิมพตามโครงสรางมาตรฐานตัวอักษร - Idea sketch ( รางความคิดแบบตัวอักษร )


แบบรางตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ


4. ขั้นตอนการออกแบบ - การออกแบบการเขียนแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณทางการพิมพตามแ บบรางดวย FontStruct เว็ปไซดเพื่อการออกแบบตัวอักษรในหนาของการอ อกแบบตัวอักษรประกอบไปดวยชุดคําสั่งตางๆ มีสวนสําคัญไดแก Tools (1) , Bricks(2) รูปแบบตางๆและ Advanced(3) เปนคําสั่งชวยเหลือเพิ่มเติมในการดูตัวอักษรเพื่อนํามาใชในการออกแบบตั กษร วอั ใหเราออ Characters ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณจนครบตามที่กําหน ดไว ยกตัวอยางตามรูปดานลาง


แบบตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ

ตัวพิมพใหญ

ตวสัญลักษณ

ตัวพิมพเล็ก

ตัวเลข


5. ขั้นตอนการประกอบและทดสอบ - ทดสอบการพิมพการประกอบแบบภาษาอังกฤษ ตัวเลขและสัญลักษณทางการพิมพ ตามรูปแ บบการจัดวางขอความ - เมื่อเราคลิ๊กที่คําสั่ง Preview จะนําเราไปสูหนาทดสอบการพิมพแบบอักษร


6. การสรางตนแบบเพื่อนําไปใชงาน - นําไปใชจริงในการออกแบบตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเลขและสัญลักษณ แสดงใหเห็นเอกลักษณเฉพาะ โดยการเปดใหดาวนโหลดผานทางเว็ป Fo ntStruct ที่ใชในการออกแบบตัวอักษร - เมื่อโหลด Font ไดแลวใหติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร ถาลงไดจะปรากฏดังรูปดานลางนี้


7. ขั้นตอนการประเมิณ - สํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน นับตั้งแตวันที่เริ่มทําการออกแบ บผานทางเว็ปไซดถึงวันที่ 5 สิงหาคม 2554 - มีการดาวนโหลดทั้งหมด 17 ครั้ง , Stats : 99 glyphs


8. ขั้นตอนการสรุปและเผยแพร - สรุปผลงานและกําหนดลิขสิทธิ์แลวนําไปเผยแพรทางเว็ปไซด Fontstruct ที่ใชในการออกแบบตัวอักษร - ในสวนของ Details เลือกใชการกําหนด License - กําหนดความเปนเจาของลิขสิทธ Creative Commons Attribution - เลือก Share this with everyone เพื่อใหผูเขารวมเว็บสามารถดาวนโหลดได โดยที่เราเปนเจาของลิขสิทธ


การเผยแพรและแสดงงานผานทางเว็บไซด 1. www.FontStruct.com http://fontstruct.com/fontstructions/show/268682


2. www.issuu.com http://issuu.com/groups/typography


3. www.blogstop.com http://nassaranarti3319.blogspot.com/p/cru-nassaran.html


4. https://docs.google.com https://docs.google.com/present/edit? id=0ART63B5SP5cDZGZ6a2N6NmZfMzRmZzhxOGZncg&hl=th


5. https://plus.google.com https://plus.google.com/102402058748272005579/buzz



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.