Healthy Planet : Hadsongkae

Page 1





ËÒ´Êͧá¤Ç เรื่องและภาพ โดย แสงจริง


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู หาดสองแคว เรื่องและภาพ แสงจริง ออกแบบปกและรูปเลม ชลธิชา ตุไตลา เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-59-8 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพและเผยแพรโดย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพครั้งที่ 1

กรกฎาคม 2555


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com




¤Ó¹Ó ท า มกลาง กระแส วิ ก ฤติ เศรษฐกิ จ โลก ครั้ ง ใหญ เป น ประวัติการณในรอบหลายสิบป ทำใหเกิดการตั้งคำถาม วาวิกฤตินีจะ ้ ใหญขึน้ อีกเพียงใด จะยืดเยือ้ ขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะสงผลกระทบตอสังคมไทยชุมชนหมูบานไทย มากนอยเพียงใด ความวิตกดังกลาวอาจจะไมเกิดขึ้น เลยหากปจจุบันชุมชนหมูบานไทยไมถูกลากเขาสูระบบ การผลิตเพื่อขาย นัก วิชา การ หลายๆ ทาน ได วิเคราะห ถึง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยวาในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบดำรงอยูในลักษณะคูขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรือ อาจ จะ กลาว เปน ศัพท สมัย ใหม ได วา ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมูบานจะมีวิถีชีวิตที่เรียบงายเนน ความพอเพียง มีครอบครัวเปนหนวยการผลิต การชวยเหลือ ซึ่ง กัน และ กัน มี น้ำใจ เปน พื้น ฐาน ของ ชีวิต มี พิธีกรรม ตางๆ เปนระบบการจัดการในชุมชนและใหความสำคัญ ของบรรพบุรุษ ผูเฒาผูแก ครอบครัว ตอ มา หลัง จาก รัฐ และ ระบบ ทุนนิยม ได เขาไป มี อิทธิพลตอชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ทำใหชาวบานมีรายจายทีเป ่ นตัวเงินมากขึน้ เพียงเทานัน้


ยังไมพอสิ่งที่ทำลายความเขมแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเขาไปถายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมูบาน ยิ่ง รัฐ และ ทุน เขาไป กอบโกย มาก เทาไร ชุมชน หมูบานไทยยิ่งประสบความออนแอ คำพูดดังกลาวไมใช คำพูดลอยๆ ที่ไมมีหลักฐานรองรับ หากแตเมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผนดินไทย หลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากวา 40 ป จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม ประสบปญหาความยากจน ไมประสบปญหาสิง่ แวดลอม หรือไมประสบปญหาสุขภาพ จาก สถานการณ ดัง กลาว ถึง เวลา แลว หรือ ยัง ที่ สังคม ไทย ควร กลับ มา เนน การ พัฒนา ที่ ไม มอง แต มิติ ประสิทธิภาพ การสรางมูลคาและกำไรหรือการตลาด ดานเดียว แตควรจะเปน เพื่อ ประโยชน ของชุมชนและ สังคม เราไมควรลดทอนผูคนลงไปเปนเพียงตัวเลข หาก ควร เปน เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย คำตอบสำหรับคำถามขางตนนี้ คงจะตองชวยกัน คนหา ไมวาจะใชระยะเวลานานเทาไร

คณะผูจัดทำ


10 ËÒ´Êͧá¤Ç

ตำนาน เกี่ยว กับ การ มา เยือน หาด สอง แคว ของ พอคา ตางถิน่ มีอยูว า การเดินทางขามแมนำ้ นานหนาวัดคลึงคราช ในสมัยกอนจะตองมีคนพื้นถิ่นติดเรือไปดวย เมื่อกอน ยังไมมีสะพานขามเชนทุกวันนี้ มีทาเรืออยูทั้งสองฟาก ฝง พอคาที่เดินทางขามฝงจะตองติดเอาคนถิ่นลงเรือไป ดวย มิเชนนั้นจะเกิดอุบัติเหตุ ยามอาบน้ำที่ริมทาก็เชน เดียวกัน พอคาตางถิน่ จะตองมีคนถิน่ ยืนเฝา เพือ่ ปองกัน อาถรรพที่อาจจะเกิดขึ้นแกผูมาเยือน ตำนาน บท นี้ เขยา หัวใจ คน ตาง ถิ่น อยาง ผม สนั่น หวั่นไหว แมโลกจะเขาสูศตวรรษที่ 21 และอินเทอรเน็ต เปนเหมือนเพือ่ นเดินทางของมนุษย บางทีการเดินทางใน อนาคต อัน ใกล อาจ ไม จำเปน ตอง เอย ปาก ถาม ทาง คน พื้นที่เพราะเราสามารถ ‘คลิก’ ถาม และไดคำตอบทันที


áʧ¨ÃÔ§

ตอ-ภมร สงเย็น เปนเพือ่ นผูน ำทางของผม เขาอยู ที่หาดสองแควมา 23 ป เปนตัวเลขที่ไมนอยเลยในการ ใชชีวติ อยู ณ ทีใด ่ ทีหนึ ่ ง่ ถึง 23 ป แตมันก็ไมมากเลยหาก เราจะบอกวา ปนี้เขามีอายุ 23 ปเทานั้น เขารูจักหาดสองแควดีพอๆ กับ ‘หัวใจ’ ของตัว เอง และหากวิถชี​ี วติ ของชาวหาดสองแควในโลกสมัยใหม ที่ดำเนิน ผานกิจกรรมและนโยบายที่ถูกผลักดันมาจาก คนในชุมชนนี้เปนเรื่องราวๆ หนึ่ง ตัวละครที่ควรไดรับ การกลาวถึงและควรถูกจดจำ อยางนอย 1 ในหลายชื่อ นั้นก็ควรมีชื่อเขาอยูดวยสักคน เสียงรถเครื่องดังขึ้น ผมวาดขาขึ้นครอมเบาะ ตอภมร หันหนามาถามวาพรอมเดินทางหรือยัง ผมนึกถึง ตำนานคนตางถิ่นในหาดสองแคว แลวนึกสบายใจ

11


12 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

¤Ø³ÊÁºÑμԢͧ ‘à¢ÂËÒ´Êͧá¤Ç’ บรรดาปาๆ หลายคนในชุมชนหาดสองแควที่มี ลูกสาวในวัย ‘ออกเรือน’ ตางเปรยเปนเสียงเดียวกันวา คุณสมบัติที่จะผานเกณฑมาตรฐาน ‘เขยหาดสองแคว’ นอกจากเปนคนขยันเอาการเอางานแลว คุณสมบัติที่ สำคัญอีกอยางหนึง่ ทีสุ่ ภาพบุรษุ ผูจะ  มาเปน ‘เขยหาดสอง แคว’ จำเปนตองมี คือไมทิ้งขยะลงพื้นเรี่ยราด ไดยนิ แวบแรก สายตาควานหาถังขยะทันที กระทัง่ เศษขยะชิ้นเล็กชิ้นนอยก็เปนสิ่งกวนใจกลัวจะพลั้งเผลอ ทำตกหลนเรี่ยราด แตไมพบถังขยะสักใบเดียว นอกจากปายบอกทาง จุดแบงอาณาเขตของชุมชน หาดสองแควกับชุมชนอื่นขางเคียงนั่นคือ ‘ถังขยะ’ ตอภมร เลาวา จุดสังเกตวาอาณาบริเวณใดคือหาดสองแคว  รถ ใหสังเกตถังขยะ ถังขยะสีแดงทีผ่ านสายตาขณะอยูบน ที่เคลื่อนตัวไปทางทิศใต นั่นแสดงวาพิกัดที่คุณอยูนี้คือ ตำบลบานแกงซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือของตำบลหาดสอง แคว มุง หนาไปเรือ่ ยๆ แลวจูๆ  ถังขยะสีแดงทีตั่ ง้ เรียงราย ริมถนนเมือ่ ครูก็ พลันหายไป มีเพียงแนวตนเข็มออกดอกสี แดง ไมมถัี งขยะปรากฏใหเห็นสักใบเดียว ก็บอกกับตัวเอง

13


14 ËÒ´Êͧá¤Ç

ไดเลยวา ‘เขาสูเขตชุมชนหาดสองแควแลว’ แตหากคุณ ขับรถเพลินดวยทัศนียภาพที่สะอาดโลงตาจนพบกับถัง ขยะเขียว-เหลือง ปรากฏอีกครั้ง นั่นแสดงวาคุณผานพน เขตองคการบริหารสวนตำบลหาดสองแควแลว ชุมชนหาดสองแควไมมีถังขยะ! หากมองดวยสายตานก ทิศเหนือ-ใต-ออก-ตก ที่ ลอมรอบหาดสองแควลวนมีถังขยะ แตตรงกลางทีเห็ ่ นไร สีสันของถังขยะนั้นเปนพื้นที่ของตำบลหาดสองแคว การมีสิง่ นัน้ หรือการมีสิง่ นีหมาย ้ ถึงเอกลักษณของ ชุมชนหรือของประเทศ เปนเหมือนเครื่องหมายที่ทำให ‘เรา’ ตางจาก ‘ผูอื่น’ แตเปนเรื่องนาแปลก การ ‘ไมมี’ ถังขยะ กลับขับเนนเอกลักษณให ‘ปรากฏ’ สำหรับชุมชน หาดสองแคว ชุมชนที่ไมมีถังขยะเปนชุมชนแบบไหน ปลอยปละละเลย หรือบริหารจัดการขยะไดเสียจน ถังขยะไมมีความจำเปน เทาที่ไดเดินเหิน ซอนรถเครื่องของตอ-ภมร รอน ในชุมชนแหงนี้ ผมพบเศษขยะนอยมาก การเจอเศษขยะ ้ ง่ พบเจอแบงกรอยบนพืน้ ถนนของ ในชุมชนแหงนีประหนึ เมืองใหญ ขยะในหาดสองแควมีคาดุจทองคำ ตำบลหาดสองแควเปนชุมชนทีตั่ ง้ อยูแนว  ฝง ลำน้ำ


áʧ¨ÃÔ§

นาน อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ ลำน้ำนานในจุดหนึง่ ของ ชุมชน หาด สอง แคว มี หาด ทราย ยื่น โผล กลาง ลำน้ำ และเปนจุดที่น้ำจากลำน้ำตรอนไหลมาบรรจบกับแมน้ำ นาน-แมน้ำสายหลัก ผูมีอายุมากกวา 40 ป ตางเลาวา ตนเคยเดินเลน บนหาดทรายยามน้ำลด ในสมัยที่เขื่อนยังไมไดถูกสราง ขึ้นแถบชุมชนถิ่นนี้ หาดทรายดังกลาวจะโผลพนน้ำใน ฤดูแลงยาวประมาณ 2 กิโลเมตร จะมีคนเลี้ยงควายนำ ควายมาอาบน้ำเปนจำนวนมาก นั่นทำใหขี้ควายมาก ตามไปดวย แตประโยชนของขีควาย ้ คือเปนทีพ่ กั เทาจาก ความรอน เพราะกวาจะเดินไปถึงจุดทีสามารถ ่ ลงไปเลน

15


16 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

17


18 ËÒ´Êͧá¤Ç

น้ำได ตองเดิน ผานหาดทรายที่รอนระอุ กองขี้ควายที่ กลาดเกลื่อนจึงชวยใหเทาคลายรอน พวกเขาก็เอาเทา จุมกองขี้ควายเสียเลย ตรง จุด ที่ แมน้ำ สอง สาย ไหล มา บรรจบ กัน ยาม เมื่อไดมานั่งมองมันหลังจากคลุกคลีอยูกับชาวหาดสอง แคว บางทีมันก็สะทอนวิถีชีวิต หาดสองแควเปนชุมชน ที่เด็กและเยาวชนมีบทบาทอยางสูงในการทำกิจกรรม ตางๆ โดยเฉพาะกิจกรรมทีเกี ่ ย่ วกับการจัดการขยะ เปน ชุมชนที่รับฟงเสียงของเด็กและเยาวชนโดยไมไดฟงแบบ ‘เขาหูซายทะลุหูขวา’ แตเปนการฟงอยางตั้งอกตั้งใจ วา ผูพูดนั้นมีความตองการอะไร มีความนึกคิดอะไร ความ ตองการของเด็กและเยาวชนนีจะ ้ ไดรับการสนับสนุนจาก


áʧ¨ÃÔ§

19


20 ËÒ´Êͧá¤Ç

‘ผูใ หญใจดี’ ซึง่ เปนผูทำ  จินตนาการและความตองการของ เด็กและเยาวชนเหลานี้เปนรูปธรรม แมน้ำทุกสายตางสะทอนเอากอนเมฆ ทองฟา กิ่ง ไมใบหญา และนกบางตัวที่บินพาดผาน แมน้ำนานตรง จุดที่สายน้ำคลองตรอนไหลมาบรรจบกับแมน้ำนานซึ่ง เปนแมนำ้ สายหลัก ชวนใหนึกถึง ‘เด็ก’ และ ‘ผูใ หญ’ แหง ชุมชนหาดสองแคว ไหลมาบรรจบกันดุจสายน้ำ แตผมพยายามเหลียวซายแลขวาก็ไมมถัี งขยะเลย สักใบ แลวจะทำอยางไร เดินเขารานขายสมตำ มีถุงดำ แขวน อยู กับ ตนไม ใน นั้น มี ขวด พลาสติก อยู จึง ฝาก วางเขาไปอีกขวด เจาของบานยิ้มรับ รอยยิ้มที่มอบให ประหนึ่ง ‘ไฟเขียว’ ใหผม กรณีรวมถึงหญิงสาวผูจะมาเปน ‘สะใภหาดสอง แคว’ ดวย ตองสะอาดทั้ง ‘ใจ’ และ ‘พฤติกรรม’


áʧ¨ÃÔ§

21


22 ËÒ´Êͧá¤Ç

¨Ð·ÓÍÐäáѺà§Ô¹ 5 Ōҹ การที่ชุมชนหาดสองแควสามารถบริหารจัดการ ขยะไดชนิดอยูหมัด หลักฐานก็คือการไมมี ‘ถังขยะ’ และ ทางฝายบริหารอยาง อบต.หาดสองแคว ก็ไมมีรถเก็บ ขยะ สัก คัน เดียว เปน เครื่อง ยืนยัน ถึง ประสิทธิภาพ ใน การบริหารจัดการ แตทั้งนี้ มันเริ่มตนจากวิกฤติ…วิกฤติการเงิน ในป 2543 เปนปที่ พงษเทพ ชัยออน นายก องคการบริหารสวนตำบลหาดสองแคว หนักอกหนักใจ เนื่องจากปริมาณขยะที่มากลนในชุมชน ปนั้น อบต.หาด สองแควมีเงินถุงเงินถังอยู 5 ลานบาท แตดูเหมือนวา ปญหาจะมากกวาเงินงบประมาณ เอาเฉพาะเรื่องขยะ ่ บโตขึน้ มาในฐานะ ในขณะทีชุ่ มชนอืน่ ๆ ขางเคียงทีเติ องคการบริหารสวนตำบลดวยกัน ตางก็มีงบประมาณ เทากัน ชุมชนขางเคียงตัดใจควักเงิน 2 ลานบาทมาซือ้ ถัง ขยะ และรถเก็บขยะ เพื่อแกปญหาขยะใหลุลวง แตชุมชนหาดสองแควแหงนี้ นายกฯยังตัดใจไม ลง เพราะหากควักเงิน 2 ลาน งานพัฒนาสวนอื่นก็ไม เดินหนา


áʧ¨ÃÔ§

วิกฤติแรกของชุมชนหาดสองแควจึงเปนเรื่องเงิน นายกฯตัดสินใจเรียกประชุมประชาคมตำบล ถามชาวบาน วา หากปนีชาว ้ หาดสองแควของเราจะนำเงิน 2 ลานบาท ไปซื้อถังขยะและรถเก็บขยะ โดยมีเงื่อนไขวา งานพัฒนา สวนอืน่ ๆ อาจจะลดนอยถอยลง พูดงายๆ ก็ ‘คอยวากัน ปงบประมาณหนา’ ปรากฏชาวบานสายหนาไมเอาดวย นายกฯกลับไปครุน คิดถึงวิกฤติลูกที่ 2 นัน่ คือสถาน ที่ ทิ้ง ขยะ จึง เรียก ประชุม ประชาคม ตำบล อีก รอบ ทุก หมูบานมีพื้นที่ที่เปนพื้นที่สาธารณะอยูแลว หากนำเอา พืน้ ทีตรง ่ สวนนัน้ มาเปนทีทิ่ ง้ ขยะ ถามชาวบานทุกหมู ซึง่ มีอยู 7 หมู วามีหมูไหน  เต็มใจอาสาใหนำขยะของชาวบาน ทั้ง 7 หมูในตำบลหาดสองแคว เปนที่ทิ้งขยะไหม ปรากฏวาชาวบานสายหนาไมเอาดวย ก็มีใครบาง อยากใหขยะมาอยูหนาบานตัวเอง สำหรับนายกฯ นอกจากเปาหมายแลว วิกฤติยัง

23


24 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

มีไวพุงชน จึงรวบเอาวิกฤติทั้ง 2 มารวมกันเปนวิกฤติ ลูกใหญ แลวใชสติปญญาแกปญหา อบต.หาด สอง แคว จึ ง ทำ ข อ ตกลง ร ว ม กั บ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ เปนเครือขายในการจัดการ ขยะ รวม กัน เนน ‘การ จัดการ สิ่ง แวดลอม ดวย ตนเอง สงเสริมการมีสวนรวม เพิ่มมูลคาของใช’ นั ก ศึ ก ษา และ ที ม วิ ช าการ จาก มหา วิ ท ยา ลั ย ราชภัฏฯลงพื้นที่สอบถามชาวบาน วาไมมีรถเก็บขยะ ไมมีถังขยะ ไมมีสถานที่ทิ้งขยะ ชาวบานจะเอาวิธีไหน ชาวบานก็ตอบกลับมา 97 เปอรเซ็นตวาอยากใหบริหาร จัดการดวยตัวเอง “เมื่อเราเห็นขอมูลในมือเราก็ลองเอา ขยะในแตละหมูบานมาเทกองรวมกันหนา อบต. เพื่อ คัดแยก” นายกฯบอก ปรากฏวาขยะรีไซเคิลมี 45 เปอรเซ็นต ขยะยอย สลายได 54 เปอรเซ็นต ขยะพิษ 1 เปอรเซ็นต ขอมูล ที่นายกฯมีอยูในมือนี้ชี้ทางสวางใหเขาวา “ขยะในชุมชน เหลานี้สามารถจัดการไดหมดเลย ไมเหลือขยะให อบต. ตองเก็บ” นายกฯยิ้ม จากนั้น ทีมวิชาการจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏฯ ลงพื้นที่ใหความรูชาวหาดสองแควเรื่องการคัดแยกขยะ โดยชาวบานที่สนใจอยากเขาโครงการตองเสียคาสมัคร คนละ 29 บาท โดยจะไดรับถังหมักชีวภาพติดมือกลับ

25


26 ËÒ´Êͧá¤Ç

บานคนละ 1 ถัง “ใครจะเขารวมโครงการตองมีสวนรวม” นายกฯ เปรย “คุ ณ ต อ ง ควั ก เงิ น จอง เข า มา โครงการ โดย มี มหาวิทยาลัยเปนฝายวิชาการ ขยะอะไรขายได ขวดแกว ไดเทาไร พลาสติกเทาไร เหล็กเทาไร ใหชาวบานรูใน การคัดแยก” เมื่อชาวบานมีความรูในการคัดแยก ก็เปนเหตุให พวกเขาสามารถคัดแยกขยะตั้งแตในครัวเรือน ผลที่ตาม มาคือขยะไดหมดไปกอนที่จะออกไปสูที่สาธารณะ จบ


áʧ¨ÃÔ§

ภายในบานเลย ภายในครัวเรือนเต็มพืน้ ทีของ ่ หาดสองแควจะมีถัง คัดแยกขยะ ถังหมักชีวภาพ และระบบการจัดการขยะ ภายในครัวเรือน นี่เปนเพียงจุดเริ่มตนของการจัดการขยะ มันเริ่มจากวิกฤติที่ อบต.หาดสองแคว มีเงินอยู เพียง 5 ลานบาท

27


28 ËÒ´Êͧá¤Ç

¨Ñ¡ÃÂÒ¹ÊÒ¹½˜¹ ในขณะที่ชาวบานเริ่มคัดแยกขยะอยูนั้น ก็มีเด็ก กลุมหนึ่งที่รวมตัวกันวิ่งเลนจับไสเดือนมาขวางใสหนา กันบาง เลนซอนแอบกันบาง ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนบาน ผูใหญใจดีในการไปดูโทรทัศนในเชาวันเสารและอาทิตย ในปนั้นเปนป 2543 ปารัตนะ เสริมมา ในฐานะประธานสภา อบต.หาด สองแคว หรือ ‘ปานะ’ ของเด็กทุกรุน ก็ไดดำริชักชวนเด็ก 4-5 คนกลุม นีมา ้ ทำปุย คอกขาย และปลูกผักควบคูกั นไป เมือ่ เก็บผักไดแลวก็ขีจั่ กรยานไปขาย ทวงทาทะมัดทะแมง


áʧ¨ÃÔ§

ของแกงจักรยานขายผักเขาตานายกฯพงษเทพ จึงชักชวน ใหเก็บขยะไปดวยในระหวางขี่จักรยาน จึงเกิดเปนโครงการ ‘กลุมจักรยานสานฝนรวมกับ เยาวชนรักษสิง่ แวดลอม’ ซึง่ ในตอนนัน้ ยังเปนแคเด็กกลุม นี้กลุมเดียว แตวันนี้กลุมจักรยานสานฝนฯ ไดขยายเต็ม พื้นที่ครบทุกหมูในหาดสองแคว รุนบุกเบิกกลุมจักรยานสานฝนฯ ในวันนี้ตางแยก ยายกันไปประกอบอาชีพ บางคนไปเปนครู บางคนเปน ทหาร บางคนทำงานใน อบต. อยางแข็งขัน เมือ่ รุน บุกเบิกเติบโตขึน้ และก็แยกยายไปทำหนาที่ แหงชีวิต จำเปนอยางยิ่งที่ แน็ก-ชลธิกาญจน กัลยา จะ ขึ้นมาเปนตัวแทนสานตอเหมือนไมผลัดใบ

29


30 ËÒ´Êͧá¤Ç

ปการศึกษาที่จะมาถึงนี้ แน็กเรียนมัธยมศึกษาชั้น ปที่ 5 และเปนประธาน ‘กลุมจักรยานสานฝนรวมกับ เยาวชนรักษสิ่งแวดลอม หมูที่ 1-7 ตำบลหาดสองแคว’ อยางทีเล ่ าไปขางตน กลุม จักรยานสานฝนฯ เกิดจากการ รวมกลุม ของเด็กและเยาวชน 4-5 คนในป 2543 ซึง่ หลัง จากนั้นเด็กคนอื่นๆ เขามารวมดวยเล็งเห็น ‘ความสนุก’ ที่เพื่อนขี่จักรยานทำปุยหมัก ขายผัก และเก็บขยะ เยาวชน รุน บุกเบิก ของ กลุม จักรยาน สาน ฝน เริ่ม จาก ทำ ปุย หมัก และ ปลูก ผัก ขาย โดย ใช จักรยาน เปน


áʧ¨ÃÔ§

พาหนะในการออกขายผัก จนเมื่อนายกฯ และผูใหญ ใจดี เห็นวา นาจะปนจักรยานเก็บขยะไปดวย จนเมื่อ พื้นที่ แปลง ผัก ได กลาย เปน พื้นที่ ตั้ง ของ อบต. จึง เลิก ปลูกผัก แตยังคงขี่จักรยานเก็บขยะจากรุนสูรุนจนมาถึง รุนของแน็ก วันนี้ ตอ-ภมร บอกผมวาทีหาด ่ สองแควมีกิจกรรม ‘ลานนมชมจันทร’ ซึ่งมีการจัดงาน 2 วัน วันนี้เปนวัน สุดทาย ลานนมชมจันทรเปนกิจกรรมที่คิดริเริ่มจากเด็ก และเยาวชนหาดสองแคว ผานการประชุมในสภาเด็ก และเยาวชน ซึ่งมี ตอ-ภมร เปนประธาน แน็กเปนพิธีกร บนเวทีชวงเชา งานสวนใหญเด็กมักไมไดรับความไววางใจใหรับ บทบาทมากมาย แตทีหาด ่ สองแควเด็กเปนตัวละครหลัก ในการขับเคลื่อนงานและกิจกรรมตางๆ ตอนแน็กอายุ 8 ขวบ ก็เขาไปรวมกับรุนพี่ในการ ปลูกผักและปนจักรยานเก็บขยะ “ตอนนี้หนูอายุ 16 แต ก็ยังเก็บอยูทุกอาทิตย” แน็กบอก แน็ก เลา บรรยากาศ ใน อดีต วา เมื่อ กอน ภายใน กลุมจักรยานสานฝนฯ มีไมกี่สิบคน แต “พอเด็กกลุม อื่น หมู อื่นๆ เขา เห็น กลุม เรา เก็บ ขยะ เขา ก็ ตั้ง กลุม ขีจั่ กรยานเก็บขยะขึน้ มา จนวันนีมี้ กลุม ขีจั่ กรยานสานฝน ครบทั้ง 7 หมู”

31


32 ËÒ´Êͧá¤Ç

การ ผลัด ใบ เปลี่ยน รุน จำเปน ตอง มี การ แนะนำ ประสบการณ จาก รุ น พี่ จน เป น ธรรมเนี ย ม ‘พี่ สอน นอง’ มันอาจไมใชโครงการที่เปนทางการมากนัก ผมจึง อยากเรียกมันวา ‘เปน ธรรมเนี ย ม ปฏิ บั ติ ’ มากกวา ซึ่งแน็กก็ซึมซับ ‘ตำนาน’ ของ รุน พี่ ผู บุกเบิก กลุม จักรยาน สานฝนฯ ซึง่ รุน บุกเบิก ที่ ว า ก็ คื อ ต อ -ภมร เพื่ อ น นำทาง ของ ผม นั่นเอง “รุนพี่กลุมนี้เขา อยากออกรายการ ‘ทุง แสงตะวัน’ เขาก็หากิจกรรมทำกัน ก็ทำกันมาเรื่อยๆ จน รุนหนูเขามาทำก็ไดออกขาวชอง 3 5 7 9 แตยังไมได ออกทุงแสงตะวัน” “ตอนนี้แน็กยังอยากออกรายการทุงแสงตะวันอยู มั้ย?” “ยังอยากออกอยูคะ ยังมีความหวังอยู” แน็กตอบ ผมคิดเลนๆ วาหากแน็กและเพือ่ นๆ กลุม จักรยาน


áʧ¨ÃÔ§

สานฝนฯ ไดออกรายการทุงแสงตะวันจริงๆ ก็นาจะมี การเชิญชวน ‘รุนบุกเบิก’ มาออกดวย โอเค...รุนแน็กยัง เขาขายรายการเด็ก แตรุนบุกเบิกอยาง ตอ-ภมร เพื่อน ผมนี่สิ แตละคนก็ 23-24 เขาไปแลว

33


34 ËÒ´Êͧá¤Ç

¤ÃÙº¹´Í ระหวางที่กิจกรรม ‘ลานนมชมจันทร’ ในชวงเชานี้ กำลังพักรบกับแสงแดด ผมไดพูดคุยกับแน็ก ในความใฝฝนของแน็ก เธออยากเรียนครุศาสตร “เพราะหนูเห็นพี่คนหนึ่งบรรจุที่อุมผาง อยากสอนเด็ก บนดอย แลวหนูก็ชอบแบบนี้ดวย” “ตอนแรกหนูมีความคิดสองดาน อยากเรียนเปน นักพัฒนาชุมชน เพราะหนูไดทำงานกับ อบต. บอย หนู เริม่ ฝกงานที่ อบต. ตัง้ แตอายุ 15 ก็ชวยงานทุกอยางเทา ที่เราชวยได” แน็กเลา ผมแปลกใจที่เด็กรุนใหมอยากรับราชการ ถาเปน เด็กในเมืองก็ตอง ‘งานอิสระ’ หากยังโกไมพอก็ตอง ‘ฟรี แลนซ’ “งานราชการ มีสวัสดิการดี แมจะไดสบาย งาน อิสระสำหรับหนูไมคอยมั่นคง” แน็กตอบ ครูบนดอยคือความฝน แตโลกความจริงที่ปรากฏ ตรงหนา อาจมีเงือ่ นไขและปจจัยแวดลอมมากมาย แนละ วาการที่คนหนึ่งคนจะไดทำอยางที่ตัวเองตองการ นั่นก็ ยอมมีเหตุและปจจัยมากมายพอๆ กับเหตุและปจจัยที่ ทำใหคนหนึ่งคนนั้นไมสามารถทำตามความฝนได


áʧ¨ÃÔ§

“ครู บน ดอย คือ ความ ฝน แต ความ จริง หนู ก็ ตอง อยูกับแม” แน็กเลา “ทางเลือกที่เราชอบอีกทางคืองาน พัฒนาชุมชน อยากทำงานที่บาน อยากทำงานที่ อบต. พี่ สาว หนู เรียน การ ตลาด ที่ กรุงเทพฯ หนู กับ พี่ สาว คิด คนละแบบ เขาอยากทำงานอิสระ” ความ ฝน ระยะ ใกล นี้ แน็ กบ อก อยาก ไป เรียน ที่ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก “แตญาติอยากใหเรียน ที่นี่ ราชภัฏอุตรดิตถ อยากใหอยูกับแม” ความซือ่ สัตยเปนคุณสมบัตของ ิ เด็ก ความซือ่ สัตย ในที่นี้หมายถึง ความซื่อสัตยกับใจตนเอง แน็กบอกวา ยามที่มีคนมาดูงานที่หาดสองแคว ซึ่ง อยาง ที่ ผม เกริ่น เลา มา วา จุด เดน ของ หาด สอง แคว เรื่องหนึ่งคือการจัดการขยะ แต “หนูก็คิดวาไมเห็นจะมี อะไรเลย ทำไมคนจึงอยากเขามาดู เพราะเราก็ทำของ เราแบบนี้ทุกวัน” บานของแน็กเขาโครงการ ‘บานพักโฮมสเตย’ ไว รับรองแขกเหรือ่ ทีเข ่ ามาดูงาน ซึง่ ธรรมชาติของโฮมสเตย  พักกับ จะสรางบรรยากาศการมีสวนรวมระหวางแขกผูมา เจาของถิ่นพำนักอยางเจาของบาน นอกจากนั้นแน็กในฐานะวิทยากรผูบรรยายเรื่อง เกี่ยวกับขยะ หนาที่ของเธอก็จะบรรยายการทำงานการ จัดการขยะของชุมชนหาดสองแคว ก็เธอทำมาตั้งแต 8

35


36 ËÒ´Êͧá¤Ç

ขวบ จะพูดไมคลองไดอยางไร “เขาก็ตื่นเตนกัน” แน็กบอก แนละวาสำหรับแน็ก ไมมอะไร ี นาตืน่ เตน เพราะในสายตาของเธอ เรือ่ งแบบนี้ ่ อยูทุ กเมือ่ เชือ่ วัน มัน เปนวิถชี​ี วติ เปนสิง่ ปกติ เปนสิง่ ทีทำ จะนาตืน่ เตนก็ในสายตาของ ‘นักทองเทีย่ ว’ ผูผ านมาถาย รูปแลวกลับไป “อึดอัดมั้ย เวลามีคนแปลกหนา มาจากไหนไมรู มาพักบานแน็ก?” “ก็ มี คน หลาย แบบ นะ คะ” แน็กตอบ “บาง คน ก็


áʧ¨ÃÔ§

เงียบๆ บางคนก็อัธยาศัยดี” “ระหวางคนสองแบบนี้ สบายใจกับคนแบบไหน มากกวากัน เวลาเขามาพักบานเรา?” “ชอบคนพูดเกง เพราะหนูก็จะไดประสบการณ ได มุมมองใหมๆ จากเขาดวยเหมือนกัน ถาเงียบๆ เหมือน เขาใหมาก็มาตามหนาที่ไปอยางนั้น” ก็แน็กเปน ‘เด็ก’ ทำงาน คำตอบจึงเปน ผลลัพธ จากการทำงาน

37


38 ËÒ´Êͧá¤Ç

àÊŒ¹·Ò§¢Í§¢ÂÐ กลับมาที่ชวงป 2547 หลังจากชาวบานคัดแยก ขยะในครัวเรือนไดแลว ตอจากนี้ขยะเดินทางไปไหน ขยะ 3 ประเภท ลวน มี จุด หมาย ปลาย ทาง ของ ตัวเอง ขยะรีไซเคิล จำพวก พลาสติก ขวดแกว โลหะ ฯลฯ ลวนแตมีราคา ชุมชนหาดสองแควจึงกอตัง้ ‘ธนาคารขยะ’ ขึ้นมารองรับ การบริหารจัดการธนาคารขยะทำใหนิสัยของคน หาดสองแควเปลี่ยนไป พวกเขาคอยๆ เปนคนประเภท ‘เห็นขยะเปนไมได’ ชวงนั้นมีกลุมเด็กนอย 4-5 คน ที่รวมกลุมกันทำ ปุยคอกขาย เปนกิจกรรมยามวาง และเริ่มปลูกผักขาย ใชวิธีขี่จักรยานไปขาย นายกฯ และผูใหญใจดีของหาด สองแควเห็นหนวยกานกำลังดี จึงแนะนำใหขี่จักรยาน เก็บขยะในวันหยุดเสาร-อาทิตย จึงเปนจุดเริ่มตนโครงการ ‘กลุมจักรยานสานฝน’ “หลังทำมาป 2548 ในครัวเรือนแตละคนสะอาด แลว เราก็เริม่ มองนอกบาน เราก็ใหเด็กมีสวนรวมในการ จัดการ หนาบานเราสวยอยูแลว เราปลูกเข็มมาตั้งแตป


áʧ¨ÃÔ§

39


40 ËÒ´Êͧá¤Ç

2543 มันก็เริ่มออกดอกเริ่มโต เพื่อปรับปรุงภูมิทัศน หนา บาน แลว มัน ก็ มี เศษ พลาสติก เศษ กระปอง ตาม ถนนหนทาง เราก็ใหเยาวชนเขามามีสวนรวมตรงนี้ จัด โครงการรักษสิ่งแวดลอมขึ้น ใหเยาวชนปนจักรยานเก็บ ขยะ วันเสาร-อาทิตย เริม่ จากไมกีหมู ่ ก อนแลวขยายไปทัง้ ตำบล ก็ขยายผลออกมาดานสิ่งแวดลอม” นายกฯเลา สำหรับขยะยอยสลายไดเอง จำพวก เศษอาหาร เปลือกผลไม ก็สามารถนำมาทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อใช รดในสวนในไรของเกษตรกรไดอยางดี ซึ่งชาวบานที่เคย เสียเงิน 29 บาท ในโครงการอบรมคัดแยกขยะ จะไดถัง หมักมาตั้งแตตอนนั้น เมื่อ แตละ หลังคา เรือน ตาง ก็ ทำ น้ำ หมัก เปน ของ ตัวเอง ใชรดตนไมบาง รดสวนบาง และทำการสงตอ เขา ‘โครงการลดตนทุนการผลิตดานการเกษตร’ ขยาย ไปสูไรนา ขยะพิษ จะถูกสงมารวมกันไวกอนที่ อบต. แลวนำ ไปกำจัดอีกทีที่พิษณุโลก ขยะอีกประเภทคือ กลองนม พลาสติก ทาง อบต. ใจปำรับซื้อในราคาสูงกวาทองตลาดรับซื้อขยะจำพวก นี้ โดยปกติกลองนมและพลาสติกจะมีราคาที่ประมาณ กิโลกรัมละ 4 บาท แตทาง อบต. รับซื้อกิโลกรัมละ 10 บาท แลวสิ้นป อบต. จะนำไปขายที่วงษพาณิชย(โรงงาน


áʧ¨ÃÔ§

รับซื้อขยะรีไซเคิล)ในราคากิโลกรัมละ 4 บาท ยอดขาดทุนทางตัวเลข เพื่อผลกำไรในการจัดการ ขยะ

41


42 ËÒ´Êͧá¤Ç

»ÃÐàÀ·ºÑÞªÕ: ºÑÞªÕÍÍÁ¢ÂÐ ธนาคารขยะ สาขาหาดสองแคว ธนาคารขยะกำเนิดป 2552 เปาหมายหลักคือ ตองการใหชาวชุมชนมีสวนรวมในการจัดการขยะ โดย เฉพาะกลุมเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนหาดสองแควจะเก็บขยะเปนงาน อดิเรกซึ่งคอยๆ กลายเปนนิสัย เมื่อเก็บขยะไดแลวก็จะ นำมาฝาก มีการบันทึกวาเด็กคนไหนเก็บขยะมาเทาไร แลวคิดราคาขยะที่เก็บมา จำนวนเงินนั้นจะถูกสะสมใน ลักษณะคลายบัญชีเงินฝาก เมื่อถึงสิ้นปเด็กสามารถเบิก เงินที่ตนเก็บสะสมจากการเก็บขยะมาฝากได แตปรากฏวาป 2554 ผูที่ทำยอดเงินฝากสูงสุด เปนเด็กชื่อ กำปน อายุนอยที่สุด ยอดเงินอยูที่ 1,020 บาท ธนาคาร ขยะ เกิ ด ขึ้ น มา ภาย หลั ง โครงการ กลุ ม จักรยานสานฝนที่เกิดเมื่อป 2543 หากพูดตามลำดับ เวลาของการกอเกิด กลุมจักรยานสาน ฝนที่มีเด็กเปน ตัวละครหลักในการขี่จักรยานเก็บขยะ กลุมนี้ไดกอให เกิดโครงการจัดการขยะตามมาหนึง่ ในนัน้ ก็คือ ‘ธนาคาร ขยะ’


áʧ¨ÃÔ§

43


44 ËÒ´Êͧá¤Ç

“ทุกวันนี้ก็ยังมีคนนอกพื้นที่ถามวา ทำไมยังเก็บ ขยะอยูอีกเลา” วิภาพร ชันยาสูบ เลาถึงคำถามที่คนขาง นอกถามคนขางใน “ที่เด็กเราตองขี่จักรยานเก็บขยะอยู ทุกวันนี้ ก็เพราะมันเปนขยะใหม เปนขยะทีคน ่ ขางนอกที่ ผานชุมชนเราทิ้งออกมา เขาไมรูวาเราทิ้งขยะกันยังไง” ขยะแบบที่พี่วิภาพรบอก ชาวหาดสองแควเรียก วา ‘ขยะอวกาศ’ คลายๆ ขยะที่ถูกทิ้งออกมาจากมนุษยตางดาว ไมรูจักกติกาบนโลก “ที่นี่ใครทิ้งขยะถือเปนเรื่องรายแรง ที่นี่ทุกคนเห็น ขยะเปนทอง จริงๆ นะ” พี่วิภาพรบอก แตใชวาความสำเร็จและเห็นรวมกันของชาวหาด สองแควจะเกิดขึ้นปุบปบ เมื่อกอนมีชาวบานเพียงไมกี่


áʧ¨ÃÔ§

หมูที่ ‘ทำจริงทำจัง’ ตอมาเมื่อเกิดกลุมนั้นกลุมนี้ที่ถูก ตอยอดมาจากกลุมจักรยานสานฝนฯ ซึ่งนำโดยเด็ก ก็ เปนระบบมากขึ้น จึงทำใหกิจกรรมจัดการขยะถูกขยาย เต็มพื้นที่หาดสองแคว นอกจากดูแลและเปนวิทยากรเรือ่ งธนาคารขยะ พี่ วิภาพรยังเปนผูช วยผูใ หญบาน หมู 2 ซึง่ เด็กและเยาวชน หมู 2 ก็เขมขนเรื่องขยะ เงินเก็บหลักแสนมาจากขยะ ลวนๆ “ตอนนี้เงินเก็บของเยาวชนหมู 2 มีแสนกวาบาท เด็กเก็บขยะไปฝากธนาคารขยะ เราก็เก็บเงินสวนนี้เปน ของกลุม และมีบัญชีสวนตัวของใครของมัน” พี่วิภาพร เลา

45


46 ËÒ´Êͧá¤Ç

˹Ö觡ѺÊͧ หนึ่งกับสองเปนพี่นองฝาแฝดกัน หนึ่ง-นันทพร สอง-นันทเกต นามสกุลคำทอง ทัง้ สองกำลังขึน้ ป.6 และเริม่ เก็บขยะมาไดปกวาๆ เนื่องจากเพิ่งยายมาอยูหาดสองแควไดไมนาน ตางจาก ตาล-อรุณี พุทธา และมะปราง-ชลนิชา โชติชวง ทั้งตาล และมะปรางกำลังขึน้ ม.1 เปนคนหาดสองแควโดยกำเนิด และเก็บขยะมาตั้งแตอยูชั้นอนุบาล “แลวขีจั่ กรยานเปนแลวหรือ” ใครบางคนชางสงสัย วาเด็กอนุบาลขี่จักรยานไดแลวหรือ “ก็เดินเก็บเอาคะ” ตาลพูดเสียงเบา เขินคนสงสัย สักพักรุนพี่คนหนึ่งวิ่งมาหาพวกเราที่นั่งคุยกัน ได ความวายังขาดนักกีฬาอยู 1 คน ในกิจกรรม ‘ลานนม ชมจันทร’ ที่จัดขึ้นวันนี้ มีการแขงกีฬาดวย หนึ่งกระโดด ลุกพรวดทันที ถามสองวา หนึ่งเปนนักกีฬาหรือ สองบอกวา “เปลาคะ แตหนึ่งเขาไมชอบทางนี้” ทาง นี้ ของ สอง ก็ คือ การ พูด คุย กับ คน แปลก หนา รวมทั้งการที่ตองยิ้มตอหนากลอง พี่วิภาพร ชันยาสูบ ผูชวยผูใหญบานหมู 2 เปนผู


áʧ¨ÃÔ§

ชักชวนใหหนึ่งและสอง เด็กตางถิ่นมารวมกลุมจักรยาน สานฝนฯ รุนจูเนียร “ครั้งแรกที่ไดเก็บขยะสนุกมาก แต บางครั้งก็ไมไดไป เพราะมีงานที่บานที่หนูกับหนึ่งตอง ชวยกันทำ” สองเลา แทนพี่สาวที่เขินกลองหนีไปแขง กีฬา หนึ่งกับสองตางกันมาก คนหนึ่งชอบพูดจาและ กลาแสดงออก สวนอีกคนนัน้ ตรงกันขาม แตสองสามารถ ตอบแทนหนึ่งไดทุกเรื่อง เหมือนเธอลวงรูความคิดและ เขาใจดีถึงนิสัยพี่สาว

47


48 ËÒ´Êͧá¤Ç

“หนึ่งกับสองนิสัยเหมือนกันมั้ย” ผมลองถาม “ไมเหมือนกันคะ” สองตอบ “หนึ่งพูดนอย แตหนู พูดเยอะ แตหนึ่งขยันกวาหนู” หันกลับไปถามตาลวา เพราะอะไรตาลจึงอยาก ขี่จักรยานเก็บขยะ? ตาลเผยยิ้มขวยเขินอยูนานสองนาน จนสองเอา มือปองหูเพื่อน แลวกระซิบ แตตาลก็ยังไมลอกคำเพื่อน มาตอบอยูนั่นเอง สองจึงตอบแทนเพื่อนวา “ถาโลกเรารอน เราก็จะ ไมมีโลกอยู” “โตขึ้นสองอยากเปนอะไร?” “อยากเปนนักวาดภาพ” สองตอบพรอมทำตาโต “จะบอกใหวาตอนแรกหนูวาดรูปไมเปน แตพอหนูคิด วาหนูอยากวาดรูปใหได มันก็วาดออกมาไดเลย เหมือน เปยบเลย” พอแมของหนึง่ กับสองแยกทางกัน หนึง่ กับสองมา อยูที่หาดสองแควกับแม สภาพแวดลอมใหมกับบางสิ่งที่ หายไป ยอมมีแววความกดดันฝงอยูใน  แววตาของเด็กทัง้ สอง หนึ่งและสองเหมือนเด็กโต พวกเธอทำงานชวยแม เลี้ยงนอง แตใจก็อยากออกมาเลนกับเพื่อน แมกิจกรรม การเลนของเด็กที่นี่จะเปนการขี่จักรยานเก็บขยะก็ตาม แตอยางนอย การเริ่มตนชีวิตใหมที่หาดสองแคว


áʧ¨ÃÔ§

แหงนี้ ชุมชนทีมี่ ผูใ หญใจดีอยางพีวิ่ ภาพร ชวนเด็กทัง้ สอง เขารวมกลุม อีกไมนานเด็กทั้งสองก็จะเติบโตขึ้นเหมือน ‘พี่แน็ก’ ของพวกเธอ ทั้งเกงและกลา

49


50 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

ÅÒ¹¹ÁªÁ¨Ñ¹·Ã นั่งรานถูกตอเขาดวยกันขึ้นเปนโครงสูง ดวงไฟ นีออนหมุนวนสลับกันเหมือนชิงชาสวรรค เวทีการแสดง ตั้งอยูทางทิศเหนือของสนามหญาหนา อบต. มีเครื่อง ดนตรีครบชุด กลอง กีตาร เบส คียบอรด ดานขวาของ เวทีเรียงรายดวยซุม แสดงผลิตภัณฑของชาวบานทัง้ 7 หมู สรางดวยฟางและไมค้ำขึ้นไปเปนเพิง แตละ ซุม เปน ผลิตภัณฑ ที่ เนน เรื่อง สุขภาพ น้ำสมุนไพร น้ำผลไม เทียนหอม เปนตน ทางดานทิศใต นักกีฬากำลังพยายามพาตัวไปเปน ผูชนะ ทั้งในสนาม วอลเลยบอล ฟุตซอล แสงแดดเริ่มถอยตัวเองสงมอบ หนาทีให ่ กับดวงจันทร โดยมีแสงนีออนเปนผูช วย อาหาร การกินเริม่ ทยอยกันมาตัง้ ฝง ตรงขามกับซุม ผลิตภัณฑของ ทั้ง 7 หมู ที่ขาดไปไมไดเลยก็คือ ‘นม’ งานคืนนี้มีชื่อวา ‘ลานนมชมจันทร’ ลาน นม ชม จันทร เปน กิจกรรม ที่ มี จุด เริ่ม กำเนิด มา จาก การ ประชุม วาระ ประจำ เดือน ของ สภา เด็ก และ เยาวชน ตำบล หาด สอง แคว ซึ่ง จะ มี ตัวแทน เด็ก และ เยาวชนจากทั้ง 7 หมู มาประชุมกัน ในสายตาของเด็ก ยอมเปนอีกแบบ เปนสายตาที่แตกตางจากผูใหญ แต

51


52 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

53


54 ËÒ´Êͧá¤Ç

บางทีก็ตรงขาม ใน การ ประชุม สภา เด็ก และเยาวชน เปนการ ‘ชงความ ตองการ’ ของตนเองเปนหลัก ซึ่ง เรื่อง ที่ ถูก นำ มา เสนอ โดย มาก เป น ความ ต อ งการ ของ เด็กในชุมชน ลานนมชมจันทร ก็เกิดมาจากการที่เด็กคนหนึ่ง ที่มีชื่อวา ‘นองอุย’ ไดไปเที่ยว งานกาชาดกับพอแม และพา คุณ พอ ไป นั่ง ‘คลาย เสน’ ที่ ลานเบียร ระหวางที่นั่งอยูนั้น นอง อุ ยอ ยาก ดื่ม น้ำ ผล ไม แต ลานเบียรไมมีขาย อยากทาน ขาวแตลานเบียรมีแตกับแกลม นองอุยจึงเกิดพุทธิปญญา วา หากมีลานกิจกรรมทีเหมาะ ่ สม กับเด็ก เปนลานโลงๆ เหมือน ลาน เบี ย ร มี น้ ำ ผล ไม มี นม สำหรับ เด็ก และ มีด วง จันทร ดวงงามใหมอง มีกับขาวที่กิน ไดอยางจริงจัง ก็นาจะดีไมนอย


áʧ¨ÃÔ§

จึงนำความตองการมาเสนอในสภาเด็กและเยาวชน ที่ ประชุมตางพยักหนาเห็นดวยกับไอเดียของนองอุย จึง คิดชื่อกันออกมาลงตัวที่ ‘ลานนมชมจันทร’ ประเด็นทางเทคนิคของสภาเด็กและเยาวชน มีอยู วา ในการประชุมแตละครั้งจะมีนายกฯ เขารวมประชุม

55


56 ËÒ´Êͧá¤Ç

ดวย หรือใครก็ตามแตที่มีอำนาจตัดสินใจแทนนายกฯ มี ขาราชการที่กำกับดูแลสภาเด็กและเยาวชนเขารวมดวย คอยเปนลมใตปกใหเด็กไดบินรอนไปในทองฟา ของจินตนาการ เมื่อ ‘ลานนมชมจันทร’ ถูกเห็นพองตองกันในที่ ประชุมวานาสนใจ ก็ถึงเวลาที่ ‘ลมใตปก’ อยางนายกฯ ผูนำชุมชน และ พี่ ขาราชการ ที่ กำกับ ดูแล สภา เด็ก และ เยาวชน ทำให จินตนาการ กลาย เปน ความ จริง หรือ ใน กรณี ที่ จินตนาการนั้น ล้ำ เกิน ไป หรือ พูด อีก แบบวา เปนโครงการที่ยากแกความเปนจริง นายกฯก็จะใหคำ แนะนำ งบประมาณคือลมหายใจของกิจกรรม และจมูกที่ ทำหนาที่หายใจนี้ก็คือ จมูกของ ‘ผูใหญใจดี’ นายกฯอนุมัติ และขอเสริมให ‘ลานนมชมจันทร’ ใน ค่ำคืน นี้ เปน กิจกรรม ที่ เนน ให เด็ก เห็น เรื่อง สุขภาพ โดย นำ ไอ เดีย ของ เด็ก มา ชวย ใน การ ทำให งาน ของ การ สง เสริมสุข ภาพ ให เกิด ความ คิด ริเริ่ม สรางสรรค ขึ้น ใน แตละหมูบาน กิจกรรมจึงถูกออกแบบมาอยางที่เห็นใน ผลิตภัณฑในซุมของแตละหมูบาน ลานนมชมจันทรยังมีกิจกรรมอยางการแขงกีฬา การแสดงจากทั้ง 7 หมู และวงดนตรีสด ก็เด็กมีความชอบความสนใจตางกัน บางคนอยาก


áʧ¨ÃÔ§

เปน ‘โรนัลโด’ บางคนอยากเปน ‘แพนเคก’ บางคนอยาก เปน ‘ตูน บอดี้สแลม’ ลานนมชมจันทรจึงเปนกิจกรรม หนึ่งที่คลายกุศโลบายในการรวมเด็กมาเขารวมกิจกรรม งาน ถูก ออกแบบ มา ให เปน งาน ยอน ยุค เพราะ นอกจากเด็กและเยาวชนแลว ยังมีคนเฒาคนแกที่มาชม การแสดง ฟงดนตรี และการแขงขันกีฬา และเมื่อการ แสดงของเด็กและเยาวชนทัง้ 7 หมูเริ  ม่ ขึน้ ผมก็พบความ หลากหลายของความสนใจจากเด็กและเยาวชน ไมผิดหรอกที่เด็กบางคนจะออกมารองเพลงของ พุมพวง ดวงจันทร ไมผิดหรอกที่เด็กบางคนจะออกมาฟอนอีสาน ไมผิดหรอกที่เด็กบางคนจะออกมารำเทียนดวย ทวงทำนองทางเหนือ และไมมีผิดหรอกหากเด็กบางคนจะออกมาเตน สายสะโพกโยกเอวในเพลงของบียอนเซ มันเปนความหลากหลายทางชีวภาพชนิดหนึง่ เปน ความสนใจในชวงวัยนั้นๆ และคงไมมีผูใหญใจดีคนไหน ที่จะตัดสินเด็กที่ออกมาเตนสายเอวในเพลงเกิรลกรุป ของเกาหลีหรือบียอนเซ วาเธอเหลานั้นจะเติบโตเปน มนุษยชำรุด ไมนา และ/หรือไมควรมีใครคิดเชนนั้น

57


58 ËÒ´Êͧá¤Ç

ÍÔ¹´Õé¹Ô´æ Ãçͤ˹‹ÍÂæ ÅÙ¡·Ø‹§¹ŒÍÂæ à¾×èͪÕÇÔμ໚¹¤ÃÑ駤ÃÒÇ ไฮไลท ใน คืน นั้น อยู ที่ การ แสดง ดนตรี สด ของ วง ดนตรี ‘เยาวชนตำบลหาดสองแคว’ เปนวงที่เลนดนตรี ปอปร็อคแบบวัยรุน เด็กวัยรุนทั้งสาย ‘อยูในกรอบ’ และ ‘อยูนอกกรอบ’ จึงตางรอเวลาขึ้นบรรเลง แตกอนหนานี้ผมมีโอกาสไดติดตามการซอมของ พวกเขาเมือ่ ชวงบาย เพลงทีพวก ่ เขาซอมกันสวนมากเปน เพลงปอปวัยรุน ทัว่ ไป เพลงของบิก๊ แอส บอดีส้ แลม แตก็ มีรุนเกาอยาง ‘ใจนักเลง’ ของพี่ออฟ พงษพัฒน บาง บางเพลงกวาจะเลนกันจนจบก็เลนเสียจนคนนั่ง ฟงแทบจะจำเนือ้ เพลงในชวงขึน้ ตนได เพราะเดีย๋ วกลอง พลาดก็ตองเริม่ ตนใหม เดีย๋ วกีตารลืมคอรดก็ตองเริม่ ตน ใหม เดี๋ยวนักรองลืมเนื้อก็ตองเริ่มตนใหม ถามพวกเขา-สวนมากงานที่เลนโชวเลนเพลงแนว ไหน “สวนมากก็เพลงปอปกับเพื่อชีวิต” บอย-ทศพร ตรีพุฒ นักรองนำบอก “แตก็จะดูดวยวาใครมาฟงเรา งาน วันนี้สวนใหญเปนเด็กกับคนแก” ในวงดนตรีเยาวชนตำบลหาดสองแควมีสมาชิก 5


áʧ¨ÃÔ§

คน ตางคนตางก็มีรสนิยมการฟงเพลงแตกตางกัน อยาง บอย-นักรองนำ ก็ใฝไปทางอินดี้ ทอม-บัญญัติ วะหิม มือกีตารบูชาเพื่อชีวิต บิ๊ก-ณัฐพงษ อำนา ก็เปนคนหัวใจ ลูกทุง แตทุกคนสามัคคีกัน หลังซอมเสร็จพวกเขาก็นั่ง ผอนคลายขางเวทีเหมือนทำความคุน เคยกับสถานที่ ใคร บางคนเสนอใหเปดเพลงฟงคลายเครียด “พงษสิทธิ์ คัมภีร” ทอม-มือกีตารเสนอ “บอดี้สแลมดีกวา เปดดังๆ มันๆ” ใครบางคน คาน นีเป ่ นเพียงรสนิยมในการฟง แตความจริงพวกเขา สมัครสมานสามัคคีกันจริงๆ “ชีวติ หนีดี้ กวา” ใครบางคนไมวายประทวงขอเพลง ของพี่เสือ ธนพล เมื่อ ดนตรี ของ พวก เขา บรรเลง วัย รุน จาก ที่ นั่ง ดานหลังก็กรูกันเขามาแทนที่ผูใหญและคนแกที่นั่งอยู แถว หน า และ กลั บ บ า น ไป นอน แล ว แม ว า การ แสดง ของพวกเขาจะขรุขระไปบาง อาจเพราะความตื่นเตน อาจเพราะพวกเขายังมีทักษะไมแนนหนา แตชวงเวลา ของการพยายามก็เปนชวงเวลาที่หอมหวาน ผูประสบ ความสำเร็จยอมหวนกลับไปถวิลหากลิ่นเหงื่อของความ

59


60 ËÒ´Êͧá¤Ç

พยายามในวันวาน บิ๊ก-ณัฐพงษ มือกลองประจำวง กำลังเรียน ปวช. ปที่ 1 สาขาไฟฟา เขาเปนความแปลกใหมสำหรับผม เด็ก วัยนีกลั ้ บชอบและหลงใหลเพลงลูกทุง เพือ่ นรุน ราวคราว เดียวกับปกตางเทใจใหบอดี้สแลม โปเตโต “ผมก็ฟงได แตไมใชสไตลผม” บิ๊กบอก เขาชอบ ฟงทวงทำนองลูกทุง ชอบจังหวะสนุกสนาน ฝกตีกลอง ่ การ สัปดาหละ 3 วัน โดยเริม่ ตนจากการสอนของรุน พีใน เดินกลองเหยียบกระเดื่อง ที่เหลือ-บิ๊กก็โซโลเองลวนๆ นอกจากเลนดนตรี บิ๊กยังเปน 1 ในกลุมจักรยาน สานฝนฯ ขีจั่ กรยานเก็บขยะ ถามเขา-ไปเรียนชาง แลวไม กลัวโดนลอวา ขีจั่ กรยานเก็บขยะหรือ ก็เพราะเด็กชางขึน้ ชื่อเรื่องความเกา การขี่จักรยานแลวยังเก็บขยะอาจเปน เรื่องหนอมแนม


áʧ¨ÃÔ§

“ไมครับ ผมชอบงานอาสา แลวผมเปนอาสาเก็บ ขยะของหมูบาน” เลนกับคำตอบของพี่บิ๊กสิ ถามบิ๊ก-ชอบฟงวงอะไร “ซุปเปอรวาเลนไทนครับ” วงซุปเปอรวาเลนไทน! เลนกับรสนิยมของพี่บิ๊กสิ นายกฯพงษเทพก็เคยเปนเด็กมากอน (แตร็อคหรือ ไมนั้น…ไมรู) กิจกรรมอยางหนึง่ ของผมยามเมือ่ พบเจอหรือตอง อยูในรัศมีของพอแมและลูกนอย ผมชอบสังเกตคำถามของเด็ก พวกเขาสนใจอะไร พวก เขา สงสัย ใน เรื่อง ใด ที่ สำคัญ ดวย ความ อยาก รู วา ผูใหญหรือพอแมของพวกเขามีวิธีจัดการ กับความชาง ถามของเด็กอยางไร

61


62 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

อยางนอยก็มีวิธีการอยู 3 ประเภทใหญ แบบแรก คอย ตอบ คำถาม เด็ก แต ความ สนใจ ของ ผูใหญ จะ จับ อยูกับกิจกรรมที่ตนทำตรงหนา เชน อานหนังสือพิมพ คำตอบจึงออกมาในแบบ ตอบๆ ไปอยางนั้น แบบที่ สอง คำถาม เด็ก ไม เขาหู พอ แม กำ ลัง วุนๆ แทนที่ จะ ตอบกลับดุเด็กเอา แบบสุดทาย ตอบคำถามเด็กแบบ เปนเหตุเปนผล แนละวาแบบสุดทายยอมชวนประทับใจที่สุด มัน หมายถึงการเอาใจใสตอดวงใจดวงนอยๆ ของเด็ก หากนายกฯมีลูก ผมเดาวานายกฯ นาจะมีวิธตอบ ี คำถามลูกในแบบที่ 3 “ผมมีแนวความคิดวาการที่จะทำใหชุมชนของเรา เขมแข็งไดภายในระยะเวลาอันยาวนาน มันจะตองเริ่ม ที่เยาวชนเริ่มที่เด็ก” นายกฯบอก เขามีแนวคิดในการสรางกิจกรรมรวมถึงการดึงเด็ก เขามามีสวนรวมกับงานของชุมชน เพื่อเปนการปลูกฝง ตนจิตสำนึกใหเขามีความรักบานเกิด “ให เขา มี ความ คิด ที่ จะ รัก ชุมชน ของ เขา เรียน รู ประสบการณตางๆ จากผูสู งอายุ เพือ่ สืบสานวัฒนธรรม สืบตอความคิด เราในฐานะผูใ หญใจดีตองถายทอดใหกับ เด็กเหลานี้เพื่อจะเก็บไวสืบทอดเจตนารมณที่ดีของเรา เปนแนวความคิดที่เราทำมากวา 10 ป เพราะวาเราคิด

63


64 ËÒ´Êͧá¤Ç

วาถาคนเหลานัน้ ซึมซับเราไวแลว เขาจะไมลืมบรรพบุรษุ เขาจะไมลืม ผูใหญใจดี เขาจะไมลืมรากเหงาความเปน ชุมชน ตัวตนของเขา” หาก คิด ใน แง ตนทุน กำไร การ ทุมเท ให เด็ก กลุม นี้ซึ่งไมใชฐานคะแนนของนายกฯ ซึ่งหากวาเราจะมอง นายกฯ ในฐานะนักการเมืองคนหนึ่ง แตลืมแลวหรือวา นายกฯสอบตกวิชาเศรษฐศาสตร ก็ทีกลองนมนายกฯ ยังรับซื้อในราคาสูงกวาตลาด แตในวิถีของการทำงาน ทำงานเพื่อสังคม สำหรับเขา-เด็กคือรากแกวของชุมชน “เรา ให ความ สำคัญ กับ เด็ก เพื่อ อนาคต ของ บาน เรา เปนประเด็นสำคัญทีเรา ่ อยากใหเขาเติบโตขึน้ เติบโต อยางมีศักดิศ์ รีในฐานะทีเขา ่ เปนคนหาดสองแคว” นายกฯ บอก ในป 2529 นายกฯพงษเทพในปจจุบันเคยเปน ประธานกลุมเยาวชนมากอน ซึ่งในตอนนั้นตำบลหาดสองแควยังมีรูปแบบการบริหารเปน ‘สภาตำบล’ อยู ถาม นายกฯวาสมัยที่เขาเคยเปนคนหนุมเปนเยาวชนอยูนั้น ตางจากเยาวชนรุนนี้อยางไร “ผมขาดโอกาส ผมมีความรูสึกสองดาน ดานหนึ่ง ผมมองกลับไปในอดีตทีผ่ านมา การทีเรา ่ เปนเยาวชนเรา ไมเคยไดรับโอกาสดีๆ อยางนี้เลย มีของเลนไหม...ไมมี ผูใ หญใหการสนับสนุนไหม...ก็นอย ผมทำงานตอนนัน้ ใน


áʧ¨ÃÔ§

ฐานะเปนประธานเยาวชนมากอน ป 2529 ปรากฏวา เราไมไดรับการสนับสนุนแบบนี้เลย ตอนนั้นยังเปนสภา ตำบลอยู เรื่องเด็กและเยาวชนถูกนำมาพูดกันนอยมาก “เราก็ตองดิน้ รนเพือ่ ทำใหเห็นวาการรวมกลุม ของ เยาวชนมันสามารถสรางพลังใหเกิดขึ้น” พลังที่นายกฯ บอกนี้ เขาเรียกวา ‘พลังใส’ “ความ บริสุทธิ์ ของ เยาวชน สามารถ สราง พลัง ให เกิดขึ้น เปนพลังสดใส เรามองภาพนี้แลวเราเห็น เราคิด วาโอกาสที่เราขาดครั้งที่แลวเรามาเติมเต็มตอนเราเปน ผูใหญใจดี หนึ่ง มีอำนาจในมือ สอง มีงบประมาณที่จะ บริหาร สาม สามารถที่จะทำเปนนโยบายสาธารณะได ในการที่จะสั่งการ ่ บอกกลาว มีผูร วมงานทีให ่ “มีผูใต  บังคับบัญชาทีจะ ความรวมมือ 4-5 ประเด็นนีสามารถ ้ สรางคนในตำบลของ เราใหมีทิศทางเดินได แลวเดินอยางถูกทาง คือเปาหมาย ที่เรามองใหเห็นภาพอดีตกับปจจุบัน เติมเต็มในสิ่งที่มัน ขาด” เปนคำตอบจากนายกฯ ในวันทีวั่ ยเด็กลวงผาน แต ใครจะรูวามันอาจจะแอบซอนอยูในเซลลของนายกฯ

65


66 ËÒ´Êͧá¤Ç

¤³ÐÊÁÒ¹·Í§ ¡ÅͧÂÒÇ ประเพณีอยางหนึ่งของชุมชนหาดสองแคว เมื่อมี ลูกบานไหนบวช ก็จะมีการแหนาค และมีคณะกลองยาว รวมขบวน แตชวงหลังๆ กลองยาวอันเปนดนตรีพื้นถิ่น นี้ก็คอยๆ เลือนหายไป จนไมมีใครตีกลองยาวเปนสัก คนเดียว ตนไมบางประเภทตองอาศัยแรงกายมนุษยในการ ปลูกในการดูแล แตตอจากนั้นมันก็มีชีวิตและเติบโตไป ของมันเอง กิจกรรมในหาดสองแควก็เชนกัน


áʧ¨ÃÔ§

หลังจากที่ ลุงสมาน ประดับเพ็ชร ตัดสินใจกลับ มาลงหลักปกฐานที่บานเกิด หลังจากใชชีวิตเปน ผูสื่อ ขาวโทรทัศนมาหลายสิบป ปารัตนะ เสริมมา ในฐานะ ประธานสภา อบต. หาดสองแคว ก็ชักชวนใหลุงสมาน ผูชื่นชอบรองเพลงมาตั้งวงกลองยาว “ผมเลนดนตรีไมเปน” ลุงสมานออกตัว “แตอาศัย วารักเสียงดนตรี ตอนวัยรุน เคยรวมกับคนเฒาคนแกรอง เพลงแหนาคเมื่อ 30-40 ปกอน” เริ่มจากรวมเอาผูรักในเสียงดนตรีโบราณไดคณะ หนึ่ง จึงลงขันจางครูกลองยาวที่ ‘ทุงยั้ง’ มาถายทอดการ ตีกลองยาว และเลนกลองยาวกันเปนวง ใชเวลาเคีย่ วกรำ 1 สัปดาห แลวงานแรกของคณะกลองยาวหาดสองแคว

67


68 ËÒ´Êͧá¤Ç

ก็ขึ้นงานใหญเลย “เล น งาน แรก ที่ งาน ย อ น รำลึ ก เส น ทาง ประวัติศาสตรรัชกาลที่ 5 ประพาสตน” ลุงสมานเลา ในงานวันนั้นมีกลอง 16 ลูก กลองยาว 8 ลูก พรอมดวย ฉิ่ง ฉาบ กรับ ฆอง ป จากนั้นคณะกลองยาว จึงอยากใหมีประธานดูแลควบคุมวง จึงเลือกลุงสมาน และ ธรรมเนียม การ ตั้ง ชื่อวง สมัย กอน ก็ ตอง ขึ้น ดวย ชื่อ ของหัวหนาวง จึงเปน ‘สมานทองกลองยาว’ จนวันนี้ ใตคานบานของลุงสมานจะมีโนตกลองเขียนดวย ชอลกคอยกำกับนักดนตรีหนาใหมๆ อยางเด็กนักเรียน ที่ทาง ‘สมาน ทอง กลอง ยาว’ ได ดึง ตัว มา ฝก ซอม และ ออกงานจริง นั ก ดนตรี ใน คณะ สมาน ทอง กลอง ยาว เกื อ บ ทั้งหมดไมมีทักษะดานดนตรี พวกเขามีอยางเดียวคือใจ รักในเสียงดนตรี ลุงอี๊ด- วันชัย รุงเรืองธรรม ก็อีกคน หนึ่งที่รักในเสียงดนตรี และเพิ่งจะมามีทักษะทางดนตรี ก็ตอนที่คณะสมานทองกลองยาวเกิดขึ้น “ผมไมมีพื้นฐานทางดนตรีเลยนะ” ลุงอี๊ดบอก “ใจ อยางเดียว ผมชอบกลองยาวมาตั้งแตเด็กแลว ชอบไปดู ่ สมานทองกอตัง้ เขาแหนาคทีวั่ ด ก็เพิง่ มาเรียนตอนทีคณะ อยากจะอนุรักษไว จนมือดานมือเจ็บไปหมด”


áʧ¨ÃÔ§

69


70 ËÒ´Êͧá¤Ç

ดานนักรองนำอยาง พี่วิเชียร พุมหาน เคยรอง เพลงอยูคาเฟ  ในกรุงเทพฯ มากวา 30 ป ชวงชีวติ ทีผ่ านมา ดั้นดนตามหาความฝนทางเสียงเพลงมาตลอด ชวงหนึ่ง เขาเคยไปเปนลูกวงของครูพยงค มุกดา แตมีเหตุและ ปจจัยมากมายเหลือเกินทีจะ ่ ทำใหคนหนึง่ คนบรรลุความ ปรารถนา และเชนกันมีหลายเหตุหลายปจจัยเหลือเกินที่ ทำใหคนหนึ่งคนตองอยูกับความเปนจริง “เสียงเราไมถึงระดับนักรองแนวหนา แตพอหากิน ได ผมไมชอบรองคาราโอเกะ ชอบดนตรีสด” พีวิ่ เชียรเลา การไมบรรลุความใฝฝน ถือเปนเรือ่ งเศราชนิดหนึง่ แตการ ไมรูจักขีดศักยภาพของตัวเองอาจหมายถึงหายนะ เมือ่ กลับบาน พีวิ่ เชียรก็ไดอยูกั บสิง่ ทีตั่ วเองรัก นัน่


áʧ¨ÃÔ§

คือดนตรีสด เสียงของเขาทุมนุมและหวานโศกเหมือน ดวงตาของเขาเอง ชวงหลังๆ คณะสมานทองกลองยาวโดยนาสมาน และ เพื่อน ได เดิน ทาง ไป หา อาจารย ประทีป สุข โสภา ศิลปนเพลงพื้นบานสุโขทัย เพื่อขอเพลงของครูมาเลน “เอาไปเลนเลย แตเลนใหมันดีๆ” ลุงสมานถอด เสียงของอาจารยประทีปใหฟง เพลง ลูกเขยกับแมยาย จึงเรียกเสียงเฮฮาจาก ผูฟงไดมาก เพราะเปนเพลงสนุกๆ แบบพื้นบานไทย เนื้อหามีอยูวา มีคูผัวเมียที่อาศัยอยูในหลังคาเดียวกับ แมยาย ซึ่งเลี้ยงควายไวหลายสิบตัว บายวันหนึ่งแมยาย รูสึก ปวด แขง ปวด ขา จึง วาน ลูกเขย ให ออก พา ควาย ไป

71


72 ËÒ´Êͧá¤Ç

กลางทุง ลูกเขยก็สงสารแมยายตอนควายออกไป แต แสงแดดแรงเหลือทน ทิดจึงงีบหลบแดด ตื่นมาจะตอน ควายกลับแตควายหายไป 1 ตัว หาเทาไรก็ไมพบ จึง บนบานเจาปาอยางสิ้นหวัง วาหากพบควายจะนอนกับ แมยายสักคืน ถาไมแกบนขอใหคอหักตาย ระหวางเดินกลับบานก็พบควายทีหาย ่ ไป ทิดหนุม หนักอกหนักใจที่ไดไปบนบานไวแบบนั้น เครงเครียดไม พูดกับใคร พอหลับก็ฝนวาเจาปามาทวงสัญญา ทิดหนุม ยิง่ กลุม ใจหนักเขาไปอีก ฝายเมียเห็นผัวเครียดผิดสังเกต จึงถามไถ ทิดตัดใจเลาความจริงทัง้ หมดใหเมียรักฟง ดวย ความกลัวเมียจึงรับปากวาจะไปพูดกับทางแมให หลอน คิดวาแมนาจะเห็นใจ แมยาย ไดยิน เขา ก็ ดา ลูกเขย ชาง จัญไร คำ บน มี มากมายทำไมไมบน แตก็ตัดใจชวยสักทีถือวาเอาบุญ เมื่อไดเวลาก็มากันตามนัด แตตางฝายก็อึกอัก จวบรุง สางก็จะแยกยายจากกัน แมยายยังไมสบายใจจึงถาม ลูกเขยวา ไอทิดเอ็งบนไวกี่คืนกันแน คิดใหดีเอ็งบนทาน ่ วเดียวจริงหรือ ลูกเขย ไวกีคื่ น แลวทีว่ าควายหายนีหายตั จึงบอกแมยายวาบนไวคืนเดียว แตถาวันมะรืนควายคง หายอีกหลายตัว หากใครเคยไดชมการแสดงของครูประทีป สุขโสภา ยอมรูสึกเหมือนถูกตรึงดวยเวทมนตของศิลปน


áʧ¨ÃÔ§

ในชวงนีคณะ ้ สมานทองกลองยาวกำลังขะมักเขมน ฝกซอมการแสดงกลองยาวประยุกต เริม่ ปรับประยุกตเขา สูการ  ละเลนแบบ ‘กลองยาวประยุกต’ กลองยาวประยุกต เปนการผสม ผสานระหวางศิลปะการแสดงกับการเลน ดนตรี มีการเขียนบทเพื่อเลนแสดงบนเวทีประกอบกับ เสื้อผาหนาผม และก็มีการรองเพลงประกอบแทรกไป กับเนื้อเรื่อง คลายละครเพลง เหมือนตนไม เมื่อมีคนปลูกขึ้นมา จากนั้นคณะ สมานทองกลองยาวก็มีชีวิตของตัวเอง แผกิ่งกานสาขาของตัวเอง บนลำตนเดิม – การ อนุรักษ

73


74 ËÒ´Êͧá¤Ç

ࢌÒÇÑ´ เชาวันหนึ่ง ตอ-ภมร ขับรถเครื่องพาผมเขาวัดมา กราบไหว พระครูมงคลสิรวิ ธิ าน เจาอาวาสวัดหาดสองแคว วัดแหงนี้ตั้งอยูริมน้ำนาน เปนวัดเกาแก โดยหลวงพอ จันทร โฆสโก เจาอาวาสองคแรกของวัดหาดสองแคว ผมคนหาประวัติของหลวงพอจันทร โฆสโก แลว พบวาชวงที่ทานตัดสินใจเดินทางสายธรรมนั้นนาสนใจ ยิ่ง อะไรที่ทำใหชีวิตหนึ่งเลือกตัดสินใจเดินบนถนนที่ ไมสะดวกสบาย ทานเกิดป พ.ศ. 2440 ในวัยเด็กทานเปนเด็กตัง้ ใจ เรียน สนใจใฝหาความรูมาโดยตลอด ครั้นอายุ 22 เมื่อ ผานการเกณฑทหารมาแลวก็หมดภาระ จึงมีจิตใจฝกใฝ จะอุปสมบท ไดปรึกษากับ คุณพอกิ คุณแมบัว ตรีพุฒ และพี่สาว ไดพูดคุยกับพี่สาว ซึ่งแตงงานมาหลายปแลว วาการมีครอบครัวมีความสุขสนุกดีเพียงใด พี่สาวก็ตอบ วาสนุกดี ในที่สุดไดขออนุญาตพี่สาว ซึ่งกำลังใหนมบุตร ขอจับนมดู พีสาว ่ อนุญาต เมือ่ จับนมแลวก็มาจับนองของ ตนเองแลวก็กลาวกับพีสาว ่ มันก็เหมือนกัน เลยตัดสินใจ จะอุปสมบทไปจนตลอดชีวิต ซึ่งทานก็ไดอุปสมบทจน


áʧ¨ÃÔ§

75


76 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

77


78 ËÒ´Êͧá¤Ç

มรณภาพ พระครูมงคลสิรวิ ธิ าน เจาอาวาสองคปจจุบนั ถามถึง สาเหตุของการมาเยือน เมือ่ ทราบจุดประสงคทานออกตัว วา ทานเปนคนรุนหลัง หากจะใหวินิจฉัยวาบรรพบุรุษ ชาวหาดสองแควถูก ‘กวาดตอน’ หรือ ‘หนีภัย’ มาจาก เวียงจันทนนั้น ก็ไมสามารถกระทำได แนะนำใหถามผูรู แตทานก็เลาเรื่องราวในสวนที่ทานรวมอยูรูเห็น และความเปนไปของหาดสองแคว ในสมัยที่ทานยังเปนเด็ก ทานเลาวายามหุงขาว ทานใชกอนเสา 3 กอนตัง้ เพือ่ กอไฟ แลวตองคอยดูไมให ขาวไหม ผิดกับสมัยนี้ “เสียบปลั๊กไปทำอยางอื่นไดเลย นะ” สวนอาหารการกินนั้นทานเลาวา หากินกันสบาย จับปลาเปนไดปลาทันที เรียกไดวากอนออกหาปลา ตอง ตั้งไฟรอ เพราะเดินลงไปก็ไดทันที “ปูปลาหากินงาย ผักหากินงาย ขอกันกินไมตอง ขาย มันขายไมได ไมมีคนซื้อ มันเยอะ หากินงาย” ส ว น น้ ำ ท า ใน ลำคลอง นั้ น ก็ ดื่ ม ได ทุ ก สาย แต ปจจุบันทำเชนนั้นไมไดแลว ทานเลาวาสมัยนั้นทานมี รองเทาหนังควายอยูคูหนึ่ง “เอาหนังควายทำเกิบ ทิ้งไมไดหมากินหมด มัน เปนหนังควาย หมาก็กินหมด นี่ฉันเกิดทัน เทาที่รู”


áʧ¨ÃÔ§

กอนกลับทานก็ใหพรผานการเทศน “ทุกวันนี้เทคโนโลยีมันอะไรกันนักกันหนา...โอโห ตาทิพย หูทิพย มันเกินไปทุกวันนี้นะ หูทิพยก็โทรศัพท คุยไดทั่วโลก ตาทิพยก็อินเทอรเน็ต โทรทัศน...ไดหมด เห็นกันทั่วโลกเลยแหมะ ประเทศอะไรไมรูโทรไดหมด ี อะไร มันเหลือเชือ่ มัยล ้ ะ สมัยกอนไมมี วิทยุยังไมมภาษา หุงขาวก็ตองนั่งเฝา ไมนั่งเฝาไหมหมด เดี๋ยวนี้ไมตองเฝา เสียบปลัก๊ ไปทำอะไรก็ได มันทำงานของมันเอง มันเหลือ เชื่อมั้ยเอา 20 ปมันจะเปนยังไงอนาคตฉันจะคอยดูถา ไมตายเสียกอนนะ “ฉันวาไมดี มันเจริญไป โลกาภิวัตนมันไปไวเกิน คุณธรรมตามไมทันเลย ลามกเดี๋ยวนี้ ตาย...ถาไมใชสติ ปญญานะมัว่ ซัว่ ไปหมดเลยนะ ถาคนไมหักหามใจนะเก็บ อารมณไมอยู ไหวตามเขาไปเลย มันมีขอเสีย แตมันก็มี ขอดีหนา แตตองใชสติปญญา อยางอินเทอรเน็ตมันมีทั้ง ขอดีขอเสีย เลือกอานอันทีดี่ ๆ อันไมดีก็อยาไปดูมัน เมือ่ กอนเลนสงกรานตในวัด อาบน้ำพระ สรงน้ำพระ เลนใน วัด ไมมีหรอกตามถนนหนทางเขาไมเลน เมื่อกอนไมมี หรอกจับอะไรกันมั้วซั่วหมด เขาถือ เดี๋ยวนี้ไมถือแลว อนาคตมันจะเปนยังไง อีก 20 ป ถายังไมตายเสียกอน ฉันอยากจะดูวามันจะเปนยังไง”

79


80 ËÒ´Êͧá¤Ç

ÅÒÇ;¾ËÃ×ÍÅÒÇμŒÍ¹ มีประวัตศิ าสตรอยู 2 ชวงตอนทีกล ่ าวถึงการกวาด ตอน เอา ชาว ลาว เวียงจันทน จาก ฝง ซาย แมน้ำ โขง มา สู ดินแดนฝงไทยในปจจุบัน กระแสแรกในชวงสมัยกองทัพไทยยกทัพไปตีเมือง เวียงจันทนในป พ.ศ. 2321 เมื่อสมเด็จเจาพระยามหา กษัตริยศึกยกกองทัพกลับไดอัญเชิญพระแกวมรกตและ พระ บาง ซึ่ง ประดิษฐาน อยู ณ เมือง เวียงจันทน มายัง กรุงธนบุรีดวย พระเจากรุงธนบุรีไดสรางโรงไวพระแกว ที่ขางพระอุโบสถวัดแจงในพระราชวัง ทั้งไดกวาดตอน ครอบครัวลาวชาวเมืองพระญาติวงศของพระเจากรุงศรี สัตนาคนหุตและขุนนางทั้งปวงกับทรัพยสิ่งของเครื่อง ศัตราวุธชางมามาดวยเปนอันมาก กระแสที่สอง ในสมัยรัชกาลที่ 3 หลังจากปราบ กบฏ เจา อนุวงศ ได แลว ใน ป พ.ศ. 2371 การ ยาย ถิ่น เขามาของครัวลาวเมืองเวียงจันทนมีทั้งกวาดตอนดวย กองทัพกรุงเทพฯ และบรรดาหัวเมืองลาวตางๆ โดย สงมาพักไวตามเมืองใหญๆ กอน ไดแก เมืองพิษณุโลก เมืองพิชัย เปนตน ประวัตศิ าสตรการตัง้ ถิน่ ฐานของชาวหาดสองแคว


áʧ¨ÃÔ§

ที่ทาง อบต.หาดสองแคว เลือกยืนยันถึงที่มาของตนเอง คือกระแสที่ 2 การตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนลาวเวียงหมูบ า นหาดสอง แคว ตำบลหาดสองแคว อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ จากคำบอกเลาของคนเฒาคนแกไดกลาวไววา บรรพบุรษุ ของตนไดถูกกวาดตอน มาจากเมืองลาวเวียงจันทน ใน ฐานะเชลยศึกสงคราม แรกเริม่ ถูกสงเขามาตัง้ หลักแหลง อยูบนฝงตะวันตกของแมน้ำนานที่หมูบานกองโค ตำบล คอรุม อำเภอพิชยั จังหวัดอุตรดิตถ ในปจจุบนั เมือ่ ชุมชน ขยายใหญขึ้น จึงขยายขึ้นไปทางทิศเหนือ ตามลำแมน้ำ นาน จนถึงเขต บาน แกง จน เกิด เปน ชุม ชน เล็กๆ ไดแก บานวัง สะโม บานหาดสอง แคว บาน เดน สำโรง และ บานวังแดง เมือ่ กระแสน้ำนานไหลผานบริเวณทีตั่ ง้ ของหมูบ า น ซึง่ มีสภาพพืน้ ทีลาด ่ ชันนอยลง กระแสน้ำไหลชาลง กรวด ทรายและโคลนตม ที่น้ำพัดพามาดวยจึงตกจมลงที่กน ของลำน้ำ เมื่อวันเวลาผานไปตะกอนเหลานั้นก็ทับถม สูงขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเปนสันทรายตลอดแนวทางยาว ของหมูบาน บรรพบุรุษของชาวลาวเวียงจึงตั้งบานเรือน ขึ้นเปนชุมชนเล็กๆ และเรียกบริเวณนี้วา ‘บานหาดสอง  เวณสันทรายหรือหาด แคว’ ซึง่ หมายถึงหมูบ า นทีตั่ ง้ อยูบริ ทราย ซึง่ เกิดขึน้ จากการกระทำของธารน้ำ (คลองตรอน)

81


82 ËÒ´Êͧá¤Ç

ที่ไหลมาพบกับ สายน้ำที่ใหญกวา (แมน้ำนาน) ที่ไดพัด พาเอากรวดทรายและโคลนตมมาตกตะกอนสะสมกัน จนมีลักษณะเปนแนวยาว ขนานไปกับริมฝงแมน้ำ และ บรรพบุรุษชาวลาวเวียงบางกลุมก็ยังเดินทางเรื่อยขึ้นไป จนถึงเขตบานแกงและตัง้ เปนชุมชนสรางบาน ปลูกเรือน ตั้งแตนั้นมา จากเสนทางการเดินทางอพยพของบรรพบุรษุ ชาว ลาวเวียงกลุม นี้ หากคิดเปนระยะทางจากหมูบ า นกองโค ไปยังหมูบ า น ชาวลาวเวียงกลุม ตางๆ ทีตั่ ง้ ถิน่ ฐานตามริม แมน้ำนานนั้น ซึ่งประกอบดวยหมูบานวังสะโม หมูบาน หาดสองแคว หมูบานเดนสำโรงและหมูบานวังแดง ตาม ลำดับ ซึ่งทางน้ำและทางบกในปจจุบันแลวสามารถใช ระยะเวลาในการเดินทาง เพียงไมเกิน 1 วันเทานั้น จึง เปนเหตุผลหนึ่งที่วา การอพยพของบรรพบุรุษชาวลาว เวียงจันทนหมูบานหาดสองแควนั้น นาจะเกิดจากการ ขยายตัวของจำนวนประชากรออกไปในพื้นที่ใกลเคียง เพือ่ บุกเบิกทีด่ นิ ทำกินเปนของตนเองมากกวาสาเหตุอืน่ แตชาวชุมชนหาดสองแควบางคนก็เชือ่ กระแสแรก อยาง ลุงภิรมย เสริมมา ก็ใหน้ำหนักกับการถูกกวาดตอน ครัวพรอมกับพระแกวมรกต แตถาม ตอ-ภมร เขาให น้ำหนักไปในชวงกรุงเทพฯ ปราบเจาอนุวงศ “เวลาที่ผมไปอธิบายใหเขาฟงก็จะบอกวา อยาไป


áʧ¨ÃÔ§

เชือ่ รอยเปอรเซ็นตนะ” ลุงภิรมยบอก “มันมีหลายกระแส เรายังหาขอสรุปไมได แมแตคนไทยเรายังไมรูวามาจาก ไหนแน ตอนหลังชักจะเชื่อกันวา ไมไดมาจากไหนหรอก เราอยูที นี่ แหละ ่ เพราะเจอบานเชียง เราก็จะงุบงิบวาเปน สมบัติของคนไทยเสียแลว” เปนการใชปญญาพิเคราะหถึงทีมา ่ ทีไป ่ ของตนเอง เพราะประวัติศาสตรไมใชประตูที่ปดตาย มันสามารถ เปดอาออกพรอมกับขอมูลใหมๆ จนกวาจะมีการคน พบขอมูลใหมๆ คนหาดสองแควเขาอยูกั นแบบนี้ เปดกวาง และไม ปดกั้นความคิดกระแสใดกระแสหนึ่ง

83


84 ËÒ´Êͧá¤Ç

ËÒº¨Ñ§Ëѹ แตไมวา ‘ความจริง’ ของการอพยพมาของครัวลาว เวียงจะเปนเชนไร แตขอเท็จจริงที่ตองยอมรับก็คือ ชาว หาดสองแควมีบรรพบุรุษมาจากลาวเวียงจันทน ยืนยัน ไดจากเรื่องภาษาพูด และประเพณีเกาแก “เรื่องภาษาลาว บานเราจะพูดลาว” พระครูมงคล สิรวิ ธิ านเลา “ทีจั่ งหวัดอุตรดิตถมีกองโค วังแดง หาดสอง แคว แลวที่อุทัยฯ มีบานไร หวยขาแขง ที่พูดลาวเหมือน ฉัน พูดลาวเหมือนกันเปะ เรียกบักอันนั้นบักอันนี้ บักมี่ บักหุง บักขนอย เรียกบัก...หมด เรียกผักเรียกของกินวา บักนำหนา อยางที่เม็ดแมงลักเรียกอีตู เหมือนกันเปะ” สำหรับ ประเพณี เกา แก ที่ ชาว หาด สองแคว ยัง คง ปฏิบัติสืบมานั่นก็คือ ‘ตักบาตร หาบจังหัน’ ประเพณีตักบาตร หาบจังหัน เปนการตักบาตร ถวายพระสงฆเหมือนประเพณีของชาวพุทธโดยทั่วไป แต การ ตักบาตร หาบจังหัน จะ มี ขอ แตกตาง จาก การ ตักบาตรโดยทั่วไป ชาวบานจะตักขาวใสบาตรพระเพียง อยาง เดียว สวน สำรับ อาหาร ทั้ง คาว และ หวาน จะ ใส ภาชนะแลวตั้งวางไวหัวตอหรือแปนวางหนาบาน แลว ชาวบานที่หาบสาแหรกผานจะนำสำรับคาวหวานที่วาง


áʧ¨ÃÔ§

ไวนั้นหาบติดสาแหรกของตนตามพระไปยังวัด เมื่อพระ ฉันเรียบรอย คนหาบสาแหรกนั้นก็จะนำภาชนะไปสงยัง บานที่เปนเจาของ มองอีกมุม คนหาบสาแหรกหรือผูหาบจังหันนี้ก็ เปนเหมือน ‘จิตอาสา’ การตักบาตร หาบจังหัน เปนประเพณีปฏิบัติกัน มารุนสูรุน ปจจุบันยังมี ‘จิตอาสา’ ผูหาบจังหันอยู แตอาจจะ ไมมากเหมือนเมือ่ กอน แตในวันทีผม ่ ไดไปทีหาด ่ สองแคว ตรงกับวันสารทไทย ชาวหาดสองแควตางทำบุญใหญาติผู ลวงลับ ซึ่งทุกบานจะนำขนมกระยาสารทมาทำบุญดวย ผูเฒาผูแกตางลวนหาบจังหันบรรจุสำรับอาหาร คาวหวานกันมาจากบาน นุงผาซิ่นดูนารักดี แตสังคม เปลี่ยนไป การหาบจังหันก็อาจปรับเปลี่ยนไปบาง เชน หาก บาน อยู ไกล จากวัด มาก ก็ จะ เอา สาแหรก ที่ บรรจุ อาหารคาวหวานอยูในนั้นแลวนำไปใสบนรถยนตหรือ มอเตอรไซคอีกที แตบางคนที่บานใกลก็ยังคงหาบจังหัน อาสาเปนผูนำพาสำรับของเพื่อนบานมายังวัด หลังจากพระฉันเรียบรอย ชาวบานก็จะลอมวงนัง่ ทานมื้อเชากัน วงพูดคุยก็จะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนเรื่อง ราวตางๆ ทั้งนี้ความสนใจก็แลวแตรสนิยมของแตละวง ใน ชวง บาย จะ มี การ เทศน ‘พระ คาถา พัน’ โดย

85


86 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

87


88 ËÒ´Êͧá¤Ç

พระสงฆจะเทศนเปนภาษาบาลีจากใบลาน ซึ่งธูปเทียน และดอกไมที่ใชจะตองมีจำนวน 1,000 ตามไปดวย ในชวงเชาหลังทานมื้อเชาเรียบรอย บางคนก็หอบ หิว้ เอาปน โตและภาชนะของตนเก็บเขาใสในสาแหรก แลว ก็หาบกลับบาน การตักบาตรหาบจังหันนี้ พระครูมงคลสิรวิ​ิ ธาน เลา ถึงเกร็ดสนุกๆ วา มีพระตางถิน่ เคยจำวัดอยูด วยกัน ตอน เชาก็ออกบิณฑบาตแตเชา ตลอดทางที่ออกบิณฑบาตก็ ใหนึกสงสัยอยูตลอดเวลาวาพระวัดนี้เขาฉันแตขาว ไม ตองมีกับขาวหรืออยางไร เพราะไมเห็นมีชาวบานคนใด ทำกับขาวมาใสบาตรเลยสักคน ตักขาวใสบาตรแลวก็ กลับ กลั บ มา ถึ ง วั ด จึ ง ได กระจ า ง เพราะ วั ฒนธรรม ประเพณีการตักบาตรตอนเชาที่ไมเหมือนกับที่ใดๆ นั่น ก็คือ เวลาประมาณ 06.00 น. พระสงฆจะแบงสายออก เดินไปตามหมูบาน เมื่อสุดเสนทางก็จะเดินกลับ เที่ยว ออกจากวัดไปจนถึงจุดกลับจะไมมีชาวบานมาตักบาตร เลย เมื่อพระเริ่มเดินบิณฑบาตกลับ ชาวบานที่อยูทาย บานจะตีเกราะเปนสัญญาณบอกใหทุกบานรูจะไดออก มายืนรอตักบาตร รวมเปนหมูบางยืนคนเดียวบาง เมื่อพระเดินเลยไปสักระยะหนึ่งก็จะไดยินเสียงตี เกราะไมไผอีก เมือ่ พระเดินกลับวัดไปแลวก็จะมีชาวบาน


áʧ¨ÃÔ§

นำอาหาร หรือปนโตมาวางไวบนแปนหนาบาน ตอจาก นั้นก็จะมีคนหาบสาแหรกสายละ 3 – 4 คน เดินหาบ จังหัน ผานแปนที่มีอาหารวางอยูก็จะหยิบใสหาบไปวัด เมื่อไปถึงวัดแลวก็จะจัดเรียงอาหารลงถาดไมตองถาย ถวยชาม แลวยกจบขึน้ เหนือหัวแทนเจาของอาหารทุกคน เมื่อพระนั่งเรียบรอย ผูชายก็จะทำหนาที่ประเคน อาหารพระ แลวนั่งรอจนพระฉันเสร็จ เมื่อพระใหศีลให พรแลวก็นำอาหาร มารับประทานกัน สวนที่เหลือก็สง กลับเจาของเดิม ถาถวยอาหารของใครหมด คนหาบก็ จะตักขาวสุกใสใหจนเต็มถวย หลังจากนั้นก็จะหาบถวย อาหารไปวางไวตามแปนหนาบานตามเดิม ทำอยางนี้ เปนประจำทุกวัน ยกเวนวันพระ ทุกคนจะหาบมาวัด กันเอง สวนอาหารปนโต จะเปนที่รูกันวาจัดไวถวาย พระตอนเพล ทุกวันนี้ ยังคงมีคนหาบจังหันไปยังวัดอยูทุกเชา

89


90 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§

91


92 ËÒ´Êͧá¤Ç

¤¹ËÒº¨Ñ§ËѹÃØ‹¹ÊØ´·ŒÒ ทุกวันนี้ นาชอบ นางสีคุณ ยังคงหาบจังหันไปยัง วัดอยูทุกเชา ครอบครัวของนาชอบจะหาบจังหันกันมาตัง้ แตรุน ยายทวด เมื่อยายทวดจากไป รุนคุณยายก็รับหนาที่หาบ จังหันแทน เมื่อคุณยายจากไป รุนคุณแมก็รับหนาที่หาบ จังหันแทน วันนีน้ าชอบเปนผูร บั หนาทีหาบ ่ จังหันตอจาก คุณแม ถามนาชอบตามประสา วานาชอบสามารถจดจำ ถวย ชาม ของ เพื่อน บาน ได ทุก ใบ หรือ เพราะ ใน ตอน ที่ พระฉันเสร็จ หนาที่ของนาชอบคือนำเอาถวยชามไปสง คืนเจาของบาน แลวใชบานหลังเดียวเสียเมื่อไรที่ทำบุญ พระตอนเชา “จำได” นาชอบเลา “ฉันหาบทุกวัน แลวเขาจะใช ถวยแบบเดิม ใชแบบเดิมทุกวัน แตสมัยเด็กๆ ตอนที่เรา หาบจังหันครั้งแรกๆ ก็มีหลงมีลืม สงชาม ผิดบานเปน ธรรมดา แตวันตอๆ มาก็จำได เวลาเห็นถวยก็จะนึกเห็น หนาเจาของเลย” พูดงายๆ วา นาชอบจะรูหมด วาใครมีรสนิยมใน ครัวเรือนแบบไหน เห็นถวยมาทุกบาน


áʧ¨ÃÔ§

นาชอบเลาวา ปจจุบนั คนทีเป ่ นชางทำสาแหรกนัน้ คอยๆ หายไปตามอายุขัยของคน สาแหรกก็คืองานสาน ดวยหวายแลวมีคานไมสำหรับคนหาบ “เดี๋ยวนี้ไมคอยมี คนทำแลว เขาทยอยตายกันหมดแลว” ดาน ‘คนหาบ’ ก็อาจจะคลายกัน “สมัย กอน เขา หาบ กัน ทั้ง นั้น แต เดี๋ยว นี้ คน เฒา คนแกหายไปหมดแลว เดี๋ยวนี้ถาคนบานไกลก็จะเอา สาแหรกใสรถอีกที แตบานฉันอยูใกล เดินไมถึงกิโลก็ถึง สมัยนี้คนหาบจังหันสวนมากอายุประมาณ 60 ป ฉันรุน เด็กที่สุดแลว” นาชอบ ในวัย 54 บอก นาชอบเลาวา รุนยายทวด รุนยาย รุนแม ทุกคน ตางหาบจังหันจนรางกายไมสามารถหาบไหว ถามนา ชอบวา จะมีวันเกษียณอายุการหาบจังหันไหม “ไมมี้” นาชอบปฏิเสธเสียงสูง “หาบไปเรื่อยๆ ไม ไหวคอยหยุด เหมือนยายทวด ยาย และก็แม ทุกคนหาบ จนหาบไมไหว ฉันก็คงเปนแบบนั้น”

93


94 ËÒ´Êͧá¤Ç

ÊÁعä¾Ãá»ÃÃÙ»ª§´×Áè ¡Ñº¤ÇÒÁ½˜¹¢Í§»‡Òª×¹é ในวัย 72 ปาชื้น เพ็งแสงทอง ยังคงทำสมุนไพร อยางตอเนื่อง สาเหตุหนึ่ง เพราะมีออรเดอรเขามามาก การันตีไดจากสรรพคุณ สมุนไพรทีป่ าชืน้ ทำไดแก รางจืด ชวยลางสารพิษ ดอกคำฝอย ลดไขมันในเสนเลือด หญา ปกกิ่ง รักษาภายใน หญาหนวดแมว แกปวดเมื่อยและ ขับนิ่วในถุงน้ำดี สมุนไพรบางตัวมีราคาแพงอยางจองหองกับเงินใน กระเปาของคนจน มันมีราคาสูงในยานเยาวราช จึงเปน สาเหตุทีสอง ่ ทีทำให ่ ปาชืน้ ยังคงทำสมุนไพรเพือ่ แจกจาย แกใครก็ไดที่ไมมีสตางคพอ พูดงายๆ ถามีใครขอ ปาชื้นก็ให พูดงายๆ สอบตกทางดานธุรกิจ แตคุณคาทางดาน จิตใจของปาชื้นนั้นมิอาจนำมาประเมินได “มันภูมใิ จทีเรา ่ ไดชวยเหลือเขา” ปาชืน้ บอก “ปาไม คิดหรอก ใหเลย...เราสุขใจ เขาไมมีเราก็ใหเขาได ไมวา จะเปนคนบานเราหรือเปนคนบานอื่น เวลาเราใหเขา เราสุขใจสบายใจไมเครียด ปาทำแบบนี้มาตลอดตั้งแต ทำงานมา” ในสมัยที่ปาชื้นยังเปนเด็ก ครอบครัวของปาชื้น


áʧ¨ÃÔ§

คือรุนปูยาก็นำสมุนไพรมาใชในครัวเรือน มีความรูเรื่อง สมุนไพร เหตุการณทีทำให ่ ปาชืน้ รักและชืน่ ชอบสมุนไพร ก็ ตอน ที่ ปู เอา เปลือก ไม ฝอย มา รักษา โรค ริดสีดวง ใน จมูกใหใครคนหนึ่ง ปาชื้นก็เล็งเห็นความมหัศจรรยของ สมุนไพร มิใชในแงวาเล็งเห็น ‘มูลคา’ ของมันในอนาคต แตเปนเครือ่ งปดเปาโรคภัยแกเพือ่ นมนุษย และบางทีมัน ก็สามารถชุบชีวิตใหกลับมา ตอน นั้ น ป า ชื้ น เรียนอยูชั้น ป.4 แต ชวง ที่ ปา ชื้น เริ่มลงมือศึกษาเรียนรู เรื่ อ ง สมุ น ไพร จริ ง ๆ จังๆ ก็ ตอน อายุ ยาง เขาวัย 30 แลว ทำไม รอย ตอ ของ ความ ฝน กับความจริงจึงไดเนิ่น นานนัก “ตอน นั้ น ปู ย า เขาก็ไมไดสอนตรงหรือถายทอดเรา เขาก็ทำใหเราเห็น แตเราจดจำไมได ยังเด็กมาก แตในใจนัน้ รูแล  วละวาชอบ ทางนี้ ชอบสมุนไพร อยากที่จะเรียนรู อยากจะทำมัน” ชีวิตก็ดำเนินเรื่อยมา ปาชื้นแตงงานมีครอบครัว

95


96 ËÒ´Êͧá¤Ç

ทำไรนาเพื่อเลี้ยงครอบครัว แต ระหวางที่ปกดำอยูนั้นในใจก็ยัง คงมีเรื่องอบสมุนไพรมาตลอด... ยัง ไม ลืม ปา ชื้น หมั่น ศึกษา จาก ตำรา ด ว ย ตนเอง ตลอด มา ที่ มี เวลาวาง “ชวงกอนอายุ 30 ปาทำไร ทำนา แตในใจก็ยังมุง มัน่ ทีจะ ่ ตอง รูเรื่องสมุนไพรใหได ปาแตงงาน ตอน อายุ 25 เรา ก็ ทำงาน ชวย กัน ใน ครอบครัว แต ก็ พยายาม เรียนรูอยูตลอดวาสมุนไพรตัวนี้ ชวยเรื่องอะไร ตัวนั้นมีสรรพคุณ อยางไร ปาอาศัยอานจากตำรา” จน เมื่อ มี โครงการ อสม. เกิดขึน้ ในชุมชน ปาชืน้ ก็เปน 1 ใน อสม. ซึง่ หนาทีหลั ่ กของ อสม. คือ ดูแลเรือ่ งสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งเปนงานที่เขาไปใกลความฝน ของปาชื้นมากขึ้นทุกขณะ “ช ว ง นั้ น จะ มี การ อบรม เกี่ยว กับ สมุนไพร พื้น บาน เยอะ


áʧ¨ÃÔ§

มาก” ปาชื้นเลา “ใครใหปาไปไหน ปาไปหมด คนที่บาน จะหามปาไมไดแลวนะ เพราะเราเปน อสม. แลว แตเขา ก็ไมเคยหามเราทำหรอกนะ เพราะมันเปนสิ่งที่ทำใหเรา มีความสุข การที่เราไดชวยคนอื่นมันเปนความสุขนะ ได ทำเพื่อผูอื่น” เมือ่ กอนมีคนแกอาศัยอยูลำพั  งแถวบานปาชืน้ ปา ชืน้ ก็คอยแวะเวียนเอาสมุนไพรทีทำ ่ ไปให คอยนำอาหาร ขาวสารอาหารแหงไปให ผล ของ การ ทำงาน ของ ปา ชื้น ทำให ได รับ รางวัล ป 2530 ไดรับรางวัล ‘ผูสื่อขาวสาธารณสุข’ ป 2552 รางวัล ‘คนดีศรีหาดสองแคว’ ป 2554 ไดรางวัล ‘แพทย แผนไทย’ เปนรางวัลที่สังคมมอบใหหลังจากปาชื้นทำงาน เพื่อผูอื่นมาอยางยาวนาน แตรางวัลที่ปาชื้นไดมาตลอด ก็คงเปนสิ่งที่ปาชื้น ย้ำกับเราหลายหนวา “ปาทำแลวปามีความสุข” เรื่ อ ง ราว ของ ป า ชื้ น บอก ผม ว า ความ มั่ น คง ที่ ประ เสริฐ ที่สุด ก็ คือ ความ มั่นคง ใน จิตใจ มั่ง คง กับ สิ่ง ที่ ตนเองรัก และเพียรพยายามทำมันใหสำเร็จ และ ‘การให’ เปนสิริมงคลสูงสุดอยางหนึ่งของ การเปนมนุษย

97


98 ËÒ´Êͧá¤Ç

»‡Ò¹Ðã¨´Õ ยังจำตำนานจักรยานสานฝนรุนบุกเบิกไดอยูไหม ปารัตนะ เสริมมา ประธานสภา อบต.หาดสองแคว หรือปานะของเด็กๆ นีแหละ ่ ทีเป ่ นผูอยู  เบื  อ้ งหลังกิจกรรม ของเด็กหาดสองแคว แดด ร อ น และ แรง ป า นะ สวม หมวก และ แว น กันแดด อยางที่ทราบกันวา กิจกรรม ‘กลุมจักรยานสาน ฝนฯ’ เกิดขึ้นป 2543 การเกิดและเติบโตนาสนใจแลว แต กระบวนการ เกิด หรือ เบื้อง หลัง การ เกิด ของ สิ่ง หนึ่ง สิ่งใดยอมนาสนใจไมแพกัน ปนั้นบริเวณบานปานะเปนสถานที่เลนซอนแอบ กันของเด็กๆ กลุมหนึ่ง ปานะเห็นเด็กแตละคนวิ่งเลนจึง เกิดความคิด อยากใหเด็กกลุมนี้มีกิจกรรมดีๆ ทำ ตอน นั้นปานะคิดเพียงแคนั้น “ปาก็บอกให หนูเอยไปเอาใบไมมาคนละกระสอบ นะ อยาเอากิ่งนะ เอาขี้วัวมาชวยกัน เดี๋ยวเรามาทำปุย หมักกันเนาะ” ปานะเริ่มตนยอนวันวาน เริ่มจากจุดนั้น เด็กกลุมนี้เริ่มจากการทำปุยหมัก และใชบริเวณบานปานะทำแปลงผัก


áʧ¨ÃÔ§

99


100 ËÒ´Êͧá¤Ç

“หนาบานปามีบริเวณอยู ก็เอาที่ตรงนี้มาสับเปน รอง ใหเด็กหาฟางมาโปะ ปลูกผักกัน เดือนหนึ่งก็ใหเด็ก เก็บไปขาย คนไหนขี่จักรยานไดก็ขี่ คนไหนขี่ไมไดก็ซอน ขายไดเด็กก็ดีใจ” แตปานะไมใหเด็กเก็บสตางคเอง เงินจากการขายผักได จะถูกนำมากองรวมกันเปน เงินกองทุนของกลุม จากหลักสิบ เงินก็เพิ่มพูนเปนหลัก รอย หลักพัน เลยเถิดถึงหลักแสนก็มี จากนัน้ ก็เริม่ มีองคกรทางสังคมเขามาสนับสนุน มี ความรูใหมๆ ใหเด็กไดเรียนรู จนทำ ‘โบกาฉิ*’ ขายเปน อีกหนึ่งกิจกรรมของเด็กในชวงนั้น “จากวันแรกถึงวันนี้เงินของเด็กกลุมนี้มีเปนแสน แลวนะ” ปานะบอก “ตอนนี้เด็กรุนนั้นก็ไปเปนนายสิบ ที่เชียงราย ไปเรียนตอเมืองนอก เปนประธานสภาเด็ก และเยาวชนที่หาดสองแควอยางเจาตอ (ตอ-ภมร) เราก็ เลยทำโครงการ ‘พี่สอนนอง’ ใหกิจกรรมมันถูกสงตอรุน ้ี เราไดเด็กมาทำกิจกรรมเราก็ไดผูปกครอง  มา สูรุ น ทีนพอ ทำดวย” ปานะเลา จากจุดตั้งตนที่เด็กกลุมนี้ ก็นำไปสูกิจกรรมอื่นๆ ดวย มี ฐาน กำลัง คือ เด็ก กลุม นี้ ปา นะ เลา วา ที่มา ของ การ เก็บ ขยะ โดย เด็ก หาด สอง แคว มี ที่มา จาก เด็ก จิตใจ *โบ กาฉิ หมาย ถึง วิธี การนำ อิน ทรีย วัตถุ มา หมัก กับ EM แบบ ไรอากาศ โดยใชวัสดุไดหลากหลายตามจุดประสงคทีต่ องการนำไป ใชงาน เชน ใชทำปุย ใชผสมอาหารสัตว ใชหมักเศษอาหาร ฯลฯ


áʧ¨ÃÔ§ 101

สาธารณะคนหนึ่งที่ออกเก็บขยะ ซึ่งตอนนั้นเด็กคนนั้น ก็ยังอาย ปานะจึงคิดกุศโลบายโดยใชสื่อประชาสัมพันธ ‘เสียงตามสาย’ โหมประโคม ‘ความเท’ ของเด็กคนหนึ่ง ที่เก็บขยะ “หลังจากนั้น ผูปกครองก็พาเด็กเก็บ” ปานะบอก และ หลัง จาก นั้น เด็กๆ ก็ รวม กลุม กัน ขึ้น มา เก็บ ขยะ นอกจากการปลูกผักแลวเด็กกลุมนี้ยังมีภารกิจเพิ่มคือ การออกเก็บขยะทุกวันเสาร สมัยนั้นเด็กที่เก็บขยะยังคง เปนเด็กเฉพาะในหมูที่ 2 “ตอน นั้น หมู ที่ 2 สะอาด แลว แต หมู อื่นๆ ยัง สกปรกอยู เด็กๆ ก็คิดจะไปเก็บใหหมูอื่น แตมันไกล ก็ เลยคิดกันวาขีจั่ กรยานออกเก็บขยะดีไหม เปนจุดเริม่ ตน ของจักรยานสานฝน” ปานะ เลาถึงทีมา ่ ของกลุม จักรยาน สานฝน หลัง จาก ที่ อบต.หาด สอง แคว เซ็น MOU กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ชาวหาดสองแควก็รูจักวิธี แยกขยะ และมองเห็นขยะเปนทองคำ ้ ปานะ “จากจุดเล็กๆ ปาไมคิดวาจะมาถึงวันนีนะ” บอก “ปาพูดเรื่องนี้ทีไร ปามีความสุขทุกที” ความสุขของปานะ นอกจากจะทำใหขยะถูกจัดการ อยางเปนระบบระเบียบแลว แตสิง่ หนึง่ ทีเป ่ นความสุขจริง ของคนอยางปานะก็คือ การไดมองชีวิตเจริญเติบโต


102 ËÒ´Êͧá¤Ç

โดยไมรูตัว จากจุดเริ่มตนที่ตั้งตนวา ทำอยางไร ใหเด็กเหลานี้ไมออกนอกลูนอกทาง ใหเติบโตมาเปน ผูใหญที่มีคุณภาพ จนถึงวันนี้ที่เด็กแตละคนเติบโตเปน คนมีคุณภาพ “เราก็ชวยดวยใจ ชวยเทาที่กำลังเรามี คนไหนเอา ดวยก็มา คนไหนไมเอาก็ไมเปนไร” ปานะบอกวา มีคติหนึ่งที่ปานะยึดมาตลอด ‘ทำดี ใหคนเกรง ดีกวาทำนักเลงใหคนกลัว’ บางคนมักถามปานะวา “ไปคบกับเด็กสรางบาน ทำไม” แตปานะบอกวา “เชือ่ มัย้ เราไดอะไรจากเด็กเหลานี้ ้ วันนีเป ้ นกำลังหลักในการพัฒนา เยอะมาก เด็กเหลานีใน ชุมชน พัฒนาบานเกิดของพวกเขาในตอนนี้” ตอนนี้ปานะไมตองไปคอยกำกับเด็กๆ ที่เขามา ทำกิจกรรมเชนเมื่อกอน เพราะระบบของสภาเด็กและ เยาวชนทีแข็ ่ งแรง เด็กแตละรุน ทีผลั ่ ดเปลีย่ นขึน้ มาก็ลวน แตมีคุณภาพ “ปาวางใจเลย สบายใจเลย” ้ อะไรกับปาเยอะ “เขา ปานะยังย้ำวา เด็กเหลานีให ไมรูตัวหรอกวาเขาไดใหปาแลว” “แลวปานะไดอะไรจากเด็กเหลานี้” เราถาม “เราไดเด็กดีในชุมชนของเรา” ปานะตอบเร็ว “ชัด มั้ยคะ”


áʧ¨ÃÔ§ 103

“เวลาเห็นแน็ก (ชลธิกาญจน กัลยา) พูดบนเวที เราพูดไมถูก...” ป า นะ เงี ย บ ไป ลม ร อ น อ า ว วู บ หนึ่ ง พั ด เข า มา แสงแดดทำเอาหรี่ตาคุยกับปานะตลอดเวลา “ปา ไม คิด วา จะ สราง คน ได ประสบ ความ สำเร็จ แบบนี้ คอยมองเขาอยู คอยมองความสำเร็จของเขาอยู เราคอยมองเขาอยูตลอดเวลา เขาเลี้ยงตัวเองได สังคม ยอมรับ ไปไหนคนก็มองในแงดี ปาพูดไมถูกนะ...” ลมรอนอาวพัดมาอีกลูก ปานะถอดแวนกันแดด พรอมกับควักผาเช็ดหนาออกมาซับดวงตา กอนจะสวม มัน กลับ คืน อำพราง รอง รอย บาง อยาง จาก หยาด แหง น้ำตา ตอนที่ปานะถอดแวนกันแดดเผยใหเห็นน้ำตา ผม คิดวาคนทีไม ่ มลูี กยอมไมเขาใจรสชาติของการไดเฝามอง อีกชีวิตหนึ่งเจริญเติบโต แตคิดไปคิดมา ผมพบวาคิดผิด คนที่ไมเคยผานการ ‘ให’ ยอมมิอาจซาบซึ้งถึงการ ‘ไดรับ’ อยางแทจริง


104 ËÒ´Êͧá¤Ç

ÃØ‹¹ºØ¡àºÔ¡áÅФ¹ÊÒ¹μ‹Í งานหนึ่งของ ตอ-ภมร สงเย็น เปนประธานสภา เด็กและเยาวชน ดูแลและขับเคลือ่ นกิจกรรมของเด็กและ เยาวชนหาดสองแคว เด็กกลุมนั้นที่วิ่งเลนซอนแอบในป 2543 ก็มีตอภมร อยูในนั้นดวย เชื่อไหมวากิจกรรมที่ขับเคลื่อนโดย เด็กและเยาวชนหาดสองแคว ไมวาจะเปนเรื่องขยะและ สิ่งแวดลอมหรือเรื่องการดูแลสุขภาพตางๆ รวมถึงการ รับฟงเวลาผูใ หญคุยกัน หรือนำเสนอความตองการอะไร ตางๆ นานา ในนามเด็กและเยาวชน จะมีที่มาจากการ เลนซนของเด็ก 4-5 คนนี้ และมีรายการ ‘ทุงแสงตะวัน’ เปนจุดตั้งตน “ตอนนั้นผมอายุ 10 ขวบ ก็เปนเด็กทั่วไปนะครับ คือบานไหนมีทีวก็ี ถือวาเจริญแลว สมัยผมเด็กๆ โทรทัศน ยังไมไดเยอะขนาดนี้ สมัยนัน้ บานไหนมีโทรทัศนพวกเรา จะรวมกลุมกันไปดู ชวงนั้นดูจักรๆ วงศๆ ดูการตูน ชวง นั้นวันเสาร-อาทิตย “พวก เรา จะ ตื่น เชา วัน จันทร-ศุกร จะ ตื่น สาย เพราะเสาร-อาทิตยมันมีการตูน รายการเยอะนะครับ เราตองตื่นกันแตเชา มันก็มีรายการทุงแสงตะวันที่เรา


áʧ¨ÃÔ§ 105

ชอบดูกัน เราก็อยากจะทำแบบนี้บาง ก็ประจวบเหมาะ กับทางปานะกับนายกฯ เขาเห็นอยูแลววาเราวิ่งเลนไล จับ ซอนแอบแถวบานปานะ เขาก็อยากใหมีกิจกรรม มัน ก็พอดีกันเลย ความคิดมันสอดคลองกัน ก็เกิดกิจกรรม ขึ้น” ตอเลา

ตอนนั้นตอบอกวา สิ่งที่คำนึงคือเงินที่จะไหลเขา กลุม ปุยคอก ผัก หรือโบกาชิ ที่ขายไปจะแปรเปลี่ยนมา เปนเงินเขากลุม ซึ่งจะถูกผันไปเปนกิจกรรมที่เด็กทุกคน รอคอย คือไปเที่ยวดูงานตางจังหวัด แตพอทำไปทำมา เงินเริ่มไมใชสิ่งสำคัญ “ตอนแรกพวกเราอยากไดเงินเขากลุม แตหลังๆ


106 ËÒ´Êͧá¤Ç

มันไมใช พอทำมา 2-3 ป สิง่ ทีสำคั ่ ญทีตาม ่ มาคือทำยังไง กลุมจึงไมลม มันไมไดขึ้นกับตัวเงินแลว แรกๆ ที่ทำปุย ทำโบกาชิ ทำน้ำหมักก็คืออยากไดเงินเขากลุม เพือ่ เอามา ตอยอด ไปดูงานอะไรแบบนี้ พอมาถึงชวงเก็บขยะ ชวง ปลูกผัก มันไมใชแลว ความคิดมันเปลี่ยน “ผานมา 2- 3 ป มันไมใชตัวเงินแลวตอนนี้ มัน เปนกลุมขึ้นมาแลว ไมอยากใหมันลม เราตองไมติดกับ ตัวเงิน สิง่ สำคัญคือกลุม ตองไมลม ก็ตัง้ เปนกลุม จักรยาน เพื่ออยางนอยใน 1 อาทิตยจะมีกิจกรรมเพื่อกลุมไมลม ตอมามันก็มีกลุมยิบยอยเกิดขึ้นมา เชน อสม.นอย เกิด


áʧ¨ÃÔ§ 107

ขึ้นมาจนเปนสภาเด็กฯ ก็เลยทำงานงายขึ้น เพราะสภา เด็กเมื่อถูกใสเขาไปในขอบัญญัติ มันมีเงินที่กลุมตางๆ สามารถชงโครงการขึ้นมาขอเงินไปทำไดเลย” เมื่อเกิดเปนสภาเด็กและเยาวชน จะมีการประชุม ประจำเดือน มีผูเขารวมหลักๆ คือเด็กและเยาวชนทุก หมูบ า นซึง่ มีทัง้ หมด 7 หมู จะสงตัวแทนเด็กและเยาวชน แตละ หมู เขา รวม มี นา ยกฯ อบต. หรือ ใคร ก็ตาม ที่ มี อำนาจตัดสินใจแทนนายกฯได มีขาราชการที่กำกับดูแล สภาเด็กและเยาวชน ในแตละเดือนจะมีการเสนอเรือ่ งเขาวาระทีประชุ ่ ม


108 ËÒ´Êͧá¤Ç

ใน ฐานะ ประธาน สภาฯ ตอจะ เปน ผู เปด เรื่องในที่ประชุม เมื่อกระบวนการพูดคุย ดำเนินไปจนถึงจุดทีเด็ ่ กและเยาวชนทุกคน เห็นพองตองกันวา นีคื่ อกิจกรรมและความ ตองการที่เด็กและเยาวชนทุกหมูเห็นรวม กัน จาก นั้น ทาง ฟาก ผูใหญ ใจดี ก็ จะ เปน ผูประเมินวา กิจกรรมหรือความตองการ ที่ เด็ก และ เยาวชน เสนอ นั้น มี ความ เปน ไปไดจริงมากนอยแคไหน สามารถหางบ ประมาณมาสนับสนุนไดจริงหรือไม และ ‘อนุมัติ’ สภา เด็ก และ เยาวชน เปน เหมือน โมเดลจำลองการบริหารจัดการและตัดสินใจแบบผูใหญ ไมวาเด็กเหลานี้อนาคตจะ เติบโตไปบนสายงานไหน อยางนอยโมเดล จำลองนี้ก็จะชวยใหเขารูจักฟงผูอื่น และ กลาหาญทีจะ ่ นำเสนอความคิดของตนเอง อยางเปนเหตุเปนผล ปนี้ ตอ-ภมร มีอายุ 23 ป อีก 2 ปก็ จะหมดวาระการเปนประธานสภาเด็กและ เยาวชนที่กำหนดใหมีอายุไมเกิน 25 ป หลังจากเรียนจบ ม.3 ตอ-ภมร ก็


áʧ¨ÃÔ§ 109


110 ËÒ´Êͧá¤Ç

เรียนตอ ปวช. และ ปวส. สาขาไฟฟา เมื่อจบ ปวส. ก็มี โรงงานมา ‘ดูตัว’ อันเปนธรรมเนียมการหาบุคลากรของ งานสายอุตสาหกรรม มีโรงงานทีจั่ งหวัดระยองขอจองตัว ตอ-ภมร ไปทำงานตอทันทีหลังเรียนจบ “เขาก็สนใจผม ถาคุณจะมาก็มาไดเลย เอาขอมูล ผมไปแลว ที่ระยอง แตวามันก็มีอะไรบางอยางอยูขาง ใน” ตอบอก อะไรบางอยางทีอยู ่ ข างในนีทำให ้ ตอ-ภมร อยูบ าน อีก 6 เดือน ขณะที่เพื่อนรุนเดียวกันตางก็ออกเดินไป บนถนนแหงการงาน บางคนคุมโรงงาน บางคนคุมไซด งาน แต ตอ-ภมร ขายอาหารชวยแมและก็ถกเถียงกับ ตัวเองถึง ‘บางอยางที่อยูขางใน’ แตตอนนั้นเขาไมรูวา มันคืออะไร “ผมก็อยูบานครึ่งป ปรึกษาแม ปรึกษาพี่ ปรึกษา ผูใหญ คือ มัน เหมือน มี อะไร อยู ขาง ใน ซึ่ง ผม ก็ ไมรู มัน คืออะไร ปรึกษาหลายคน ผมไมรูวาคิดอะไรอยูที่ไมไป ระยอง” เที่ยงวันหนึ่ง เขาตัดสินใจเดินเขาไปที่สำนักงาน อบต.หาดสองแคว เดินเขาไปของานนายกฯทำ “เดินเขาไปเขาก็งงวาเขามาทำไม ผมก็บอกมาหา นายกฯ ก็เขาไปของานนายกฯทำ นายกฯก็ถามจะทำได หรือเปลา เงินมันนอย ถาทำก็เหมือนเราเอาเงินหมื่นมา


áʧ¨ÃÔ§ 111

แลกเงินพัน จะไหวมั้ย เราก็ไมเปนไรแคขอใหไดทำงาน ก็โอเคแลว แกก็เลยบอกวา 4,100 บาท ทำไดมั้ย ผมก็ ทำครับโดยไมคิดเลย ผมก็โลงเลย ความรูสึกที่มันอึดอัด มันหายไปเลย ผมอยูตรง  นีมา ้ นานไปไหนคนเฒาคนแกก็ รูจัก ไมอยากไปทำงานไกลบาน” ถามเขา-ไมชอบงานสายที่เรียนมาหรือ “ชอบครับ แตผมอยูกั บตรงนีมา ้ เยอะกวาแคนัน้ เอง ถาผมอยูกับตรงนี้แค 3-4 ป ผมคงจะไปกับเพื่อนๆ” ถามอีก-ไมอยากไปหาประสบการณทีบ่ านอืน่ เมือง อื่น หรือ นอกจาก ประสบการณ งาน สาย อุตสาหกรรม ระดับโรงงานมาจองตัว เงินเดือนก็หลักหมื่นอยู “ผมเคยไปชวงปดภาคเรียนครับ มันไมใช...มันไม ใชนะครับ ไปฝกที่อยุธยา ไปอยูโรงงาน แลวความรูสึก มันไมใช มันไมเหมือนชุมชน มันอะไรก็ไมรู มองรถเปน ขยะไปเลย ตอนกลางคืนเขาไปกรุงเทพฯ รถมันเยอะเกิน ติดไฟแดงที...โอโห รถมันเยอะ “เรา มอง มัน เปน ขยะ ไป เลย แต อยู ที่ นี่ คือ สบาย ถนนโลง แตอยูที่นั่นมันไมใช ผูคนก็...หนาตาไมยิ้มแยม แจมใส ไมเบิกบาน ตอนเชาก็หนาตาเครงเครียด พอผม อยูชุมชนไปไหนก็มีคนทัก คนแกก็ชอบคุยกับผม” เปนสาเหตุที่ทำใหเขาทำงานที่บานเกิด


112 ËÒ´Êͧá¤Ç

ËÅѧ¡ÃкйÒÂ¡Ï ตอ-ภมร เลา วา ใน บรรดา เด็ก และ เยาวชน รุน ราวคราวเดียวกับเขา และเด็กตัวเล็กๆ ลวนแตติดนิสัย นายกฯพงษเทพ ‘เห็นขยะเปนไมได’ วากันวา ยามมีงานรื่นเริงจัดขึ้น นายกฯจะกลับ บานเปนคนทายๆ คอนเสิรตเลิกไปแลว แกก็ยังไมกลับ เห็นรางเงาสูงๆ เดินไปกระทืบพื้นแลวกมตัว ไมใชวา อารมณนายกฯยังคางกับเสียงดนตรี แตเปนลักษณะการเหยียบกระปองใหบีแ้ บนติดพืน้ แลวกมเก็บเศษกระปองนั่นเอง หากใครมีโอกาสเห็นหลังกระบะรถของนายกฯ จะ มีเศษกระปองหรือขยะพลาสติกกองอยูเต็มไปหมด “พอเห็นนายกฯเก็บ พวกเราก็เก็บตาม” ตอบอก “ชวง หลังๆ ติด เปน นิสัย ไป ไหน มา ไหน เจอ ขวด เจอ


áʧ¨ÃÔ§ 113

กระปองเราก็จะเก็บ มารูตัวอีกทีก็ติดเปนนิสัยแลว” หากอยากรูจ กั คนหาดสองแคว วาพวกเขาคิดอาน ไปทางไหน มีลักษณะนิสัยอยางไร เชื่อวาหลังกระบะรถ ของนายกฯพงษเทพ ที่เต็มไปดวยเศษกระปองที่บี้แบน ขวดแกว ขวดพลาสติก หรือเศษขยะนานาประเภทนี้ นา จะชวยสะทอนวิธีคิดวิธีจัดการเกี่ยวกับขยะของคนหาด สองแควไดทั้งตำบล เหมือนแมน้ำนานที่สะทอนทุกอยางไวในนั้น แมน้ำสองสายที่ไหลมาบรรจบกันเปรียบเหมือน การรวมมือกันทำงานระหวางเด็กกับผูใ หญแหงหาดสอง แควนี้ เหมือนสายน้ำจากลำน้ำตรอนไหลมาบรรจบกับ แมน้ำสายหลักอยางแมน้ำนาน


114 ËÒ´Êͧá¤Ç

จาก ‘ปุยอินทรีย’ สู ‘ขาวอินทรีย’ ถือเปน ‘ปญหาคลาสสิก’ สำหรับเกษตรกรชาวไทย นั่นก็คือ ตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นทุกๆ ป คาปุยเคมี ยาปราบ ศัตรูพืช คาแรงงาน คาน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต ราคาผลผลิตต่ำ ไหนจะโดนพอคาคนกลางกดราคา เกษตรกร ไมสามารถกำหนดราคาเองได ตลอดจนบางฤดูกาลผลิตได ปริมาณจนเกินความตองการของตลาด วิธีคิดในการผลิต ของเกษตรกรยังไมเอือ้ อำนวยตอการทำการเกษตร เชน การ ใชปุย หรือสารเคมีโดยไมคำนึงถึงคุณภาพในการใช จนทำให เกษตรกร ประสบ ปญหา หนี้ สิน ซึ่ง จะ ตอง จาย คา ดอกเบี้ย ในแตละงวด จนทำใหตองมีผลผลิตเปนปริมาณที่มากพอ เพื่อใหพอกับดอกเบี้ยที่ตองสง อบต.หาดสองแควมองเห็นถึงปญหานี้ และจากการ ทำ MOU กับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ จึงทำการเก็บ ขอมูลเพือ่ มองใหเห็นปญหาทีเกิ ่ ดขึน้ โดยการใชกระบวนการ การจัดกิจกรรมเปนการมีสวนรวม จากการเก็บขอมูล พบปญหาดินมีความเปนกรดสูง มีสารตกคางในดินมาก มีการแพรระบาดของแมลงศัตรูขาว ไมมีการจัดการระบบน้ำทั้งที่มีระบบสงน้ำดวยพลังไฟฟา เห็นคนอื่นทำอะไรก็ทำตามทั้งๆ ที่ไมมีประโยชน ราคาคา


áʧ¨ÃÔ§ 115

เก็บเกี่ยวผลผลิตสูง ขาดแคลนแรงงาน อบต.หาดสองแคว ไดทำการแตงตั้งคณะทำงานการ ขับเคลื่อนงานระดับตำบล และมีการรับสมัครเกษตรกรเขา รวมโครงการ ผูที่เขารวมโครงการในชวงแรกๆ จะเปนกลุม ที่ ประสบ ปญหา กับ ตนเอง เกิด โครงการ ‘ตำบล ตนแบบ เศรษฐกิจพอเพียง’ ลดตนทุนการผลิตโดยการใชปุยอินทรีย โครงการ ‘ทำนาไมเผาฟาง’ โครงการ ‘100 ไร 100 ตัน’ และ โครงการ ‘19 บาท ฉลาดกับหอยเชอรี่’ การใชปุย อินทรียใน  การทำนาแบบลดตนทุนการผลิต คอนขางทีจะ ่ ตองใชแรงงานภาคการเกษตรจำนวนมาก เพือ่ ลดขัน้ ตอนและแรงงานในการทำนา คณะกรรมการคับเคลือ่ น และ แกน นำ กลุม เกษตรกร รวม กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตรดิตถและภาคีตางๆ ทำการศึกษาและพัฒนาในการจัด ทำเทคโนโลยีที่เหมาะสมชวยลดจำนวนแรงงานในการทำ นาแบบลดตนทุน จนเกิดเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน เครื่อง กระจายฟาง เครือ่ งตัดสับ บด สมุนไพร เครือ่ งผสมสมุนไพร เครื่องคัดเมล็ดพันธุขาว เครื่องทำความสะอาดขาว เครื่อง ผสมปุยอินทรีย เครื่องโรยปุยอินทรีย สายพานลำเลียงปุย อินทรีย เครื่องสีขาวโบราณ


116 ËÒ´Êͧá¤Ç

ในป พ.ศ. 2549 จากผลสำเร็จการปฏิบตั การ ิ โครงการ ลดตนทุนการผลิตทีเห็ ่ นผล จึงไดเกิดการประชุมของหมูบ า น ระหวาง เกษตรกร ชาวนา และ องคการ บริหาร สวน ตำบล หาดสองแคว ในการจัดสรางโรงปุยอินทรียในแตละหมูบาน จำนวน 11 แหง เพื่อใหเกษตรกรสามารถผลิตปุยอินทรีย สำหรับ ใช ลด ตนทุน การ ผลิต เกษตรกร มี การ ปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม การผลิตจากเกษตรเคมีเปนเกษตรอินทรีย จน สามารถพัฒนาจุลินทรียเปนของตนเอง กอใหเกิดจุลินทรีย ที่มีจากพื้นที่ทองถิ่นของตนเอง ‘จุลินทรียคลองตรอน’ ป 2553 มีการประชุมระหวางองคการบริหารสวน ตำบลหาดสองแควกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ มีการ ขยายผลการทำนาแบบลดตนทุนการผลิตสูการทำนาปลูก ขาวอินทรีย และเพื่อทำความเขาใจในการปลูกขาวอินทรีย


áʧ¨ÃÔ§ 117

ปลอดสารพิษไวรับประทานและจำหนาย จึงเกิดการรวม กลุมของเกษตรกรปลูกขาวอินทรียขึ้น มีสมาชิกทั้งหมด 26 คน และขอสนับสนุนทุนการจัดทำโครงการปลูกขาวอินทรีย จากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถิตย เมนแตม เปนผูขับเคลื่อนการทำงานรวมกับ คณะทำงานโครงการ โดยเริม่ จากการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม การปลูกขาว และชักชวนกลุมผูสนใจ ‘หัวไวใจกลา’ เขามา รวมโครงการปลูกขาวอินทรีย การดำเนินงานในระยะแรก ของกลุมฯ เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนจากกลุมแกนนำ อบต. หาดสองแคว และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ประสาน ความ รวม มือ รวม กัน มี การ วางแผน การ ดำเนิน งาน การ จัดฝกอบรมใหกับเกษตรกร ประสานหนวยงานอื่นๆ เขา มาสนับสนุนโครงการ ภายหลังจากการทำแปลงสาธิตการ ปลูกขาวอินทรียประสบความสำเร็จ สามารถลดตนทุนการ ผลิตไดจริง ปลอดภัยจากสารเคมี และผลผลิตไดปริมาณ เทากับการใชสารเคมี จึงมีการขยายผลสูกลุ  ม สมาชิก และรับ สมัครสมาชิกเพิ่ม ปจจุบนั มีสมาชิก 45 คน จาก การ ที่ กลุ ม มี องค ความ รู ใน การ ปลู ก ขาวอินทรีย มีปราชญชาว บ า น จึ ง มี การ จั ด ทำ เป น ศูนยเรียนรูประจำตำบลใน  การถายทอดองคความรูใน การปลูกขาวอินทรีย และมี


118 ËÒ´Êͧá¤Ç

ผูมาศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูเปน จำนวนมาก ทั้งในและนอกตำบล ในการดำเนินงานของแหลง เรียนรู กลุมปลูกขาวอินทรียมีการ สนับสนุนจากหนวยงานตางๆ ตัง้ แต เริม่ ในการจัดกระบวนการทำงาน การ เก็บขอมูลการทำวิจยั การจัดหาตลาด ใน การ รับ ซื้อ ผลผลิต การ สนับสนุน งบ ประมาณ และ ยั ง ช ว ย ใน การ ส ง เสริมการสรางเครือขายการปลูกขาว อินทรียทั้งในและนอกตำบล


áʧ¨ÃÔ§ 119

àÅ‹Ò»ÃСͺÀÒ¾


120 ËÒ´Êͧá¤Ç


áʧ¨ÃÔ§ 121

ÇÑ´¤ÅÖ§¤ÃÒª วัดคลึงคราชเปนวัดสมัยโบราณ ตามตำนาน บอกวา วัดคลึงคราชตัง้ อยูใน  เมืองตาชูชก เปนเมืองเกาแก ที่ มี ประวัติ ความ เปน มา เชื่อม รอย กับ พุทธ ประวัติ ของ พระพุทธเจาในชาดกเรื่องพระเวสสันดร วัด คลึง ครา ช ตั้ง อยู ริม แมน้ำ นาน แต วัด คลึง คราชไดเปนวัดรางมานาน ไดรับการบูรณะกอสรางโดย หลวงพอพุม จันทสโร เมื่อประมาณ 100 กวาปมานี้ เอง หลักฐานที่ปรากฏมีวิหาร อุโบสถ แตการกอสราง ของหลวงพอพุม จันทสโร ไดขุดดินจากริมสระมาปน เปนอิฐ แลวนำมาสรางเปนอุโบสถ นอกจาก นี้ บริ เ วณ สระ ยั ง พบ เศษ เครื่ อ งป น ดินเผาทีแตกหั ่ ก โองโบราณซึง่ ขุดพบเมือ่ ประมาณป 2500 ภายในโองบรรจุกระดูก ปจจุบันเก็บไวในวัดคลึงคราช และยังพบเศษโครงกระดูกมนุษยโบราณอีกดวย


122 ËÒ´Êͧá¤Ç

ÇÑ´ËÒ´Êͧá¤Ç วัดหาดสองแควสรางขึน้ หลังจากการบูรณะวัดคลึง คราช โดยหลวงพอพุม จันทสโร หลังจากบูรณะซอมแซม วัดคลึงคราชเสร็จ หลวงพอพุม จันทสโรก็ขามแมนำ้ นาน มาสรางวัดหาดสองแคว โดยใหหลวงพอจันทร โฆสโก เปนเจาอาวาส


áʧ¨ÃÔ§ 123

ºÖ§¾Ò´ บึงพาดเปนบึงน้ำตั้งอยูภายในวัดคลึงคราช ตามตำนานเลาวา มีพระราชาเสด็จทางเรือ โดยมี วงมโหรีปพาทยบรรเลงมาตลอดทาง เมื่อมาถึงบึง พาด มีจระเขใหญตัวหนึง่ หมายจะคว่ำเรือพระราชา พระราชาจึงแปลงกายเปนฆองวงขนาดใหญครอบตัว จระเขไว จากนั้นจึงเรียกบึงนี้วา ‘บึงปพาทย’ ตอมา จึงเรียกเพี้ยนมาเปน ‘บึงพาด’ บึงพาดมีลักษณะคลาย รูป ฆอง ตรง กลาง บึงจะ เปน หนอง น้ำ ยาว คลาย ตัว จระเข ตาม ตำนาน นี้ จึ ง สอดคล อ ง กับลักษณะทางกายภาพของ บึงพาด


124 ËÒ´Êͧá¤Ç

¾Ô¾Ô¸Àѳ± ¾×鹺ŒÒ¹ ÇÑ´ËÒ´Êͧá¤Ç พิ พิ ธ ภั ณ ฑ พื้ น บ า น ที่ รวบรวม สิง่ ของเครือ่ งใชประจำวัน และพระพุทธ รูป จากชาวบานทีนำ ่ มาบริจาคไว สิง่ ของ ทุกชิ้นจะมีชื่อเจาของเดิมกำกับไว


áʧ¨ÃÔ§ 125


à¾Å§ÈÑ¡ÂÀÒ¾ªØÁª¹ คำรอง-ทำนอง วสุ หาวหาญ เรียบเรียงดนตรี ศราวุธ ทุงขี้เหล็ก ขับรองโดย ฟางแกว พิชญาภา, ศราวุธ ทุงขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย

หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน ไมวาจะอยูที ไ่ หน เราเปนคนไทยเปย มความสามารถ เปน กำลัง ของ ประเทศ ชาติ พัฒนา บาน เมือง กาว ไกล เปนคนเหนือ อีสาน กลางใต ก็รักเมืองไทยดวยกันทัง้ นัน้ (สรอย) หากเรารวมมือรวมใจ ทำสิ่งไหนก็ไมเกินแรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ อยูชนบทหางไกล ทำนาทำไร พอเพียงเลี้ยงตัว ใชชุมชนดูแลครอบครัว ใชครอบครัวดูแลชุมชน ปูพืน้ ฐาน จากหมูบานตำบล สรางแปลงเมืองไทยใหนาอยูดังฝน


เขาไปฟงและดาวนโหลดเพลงศักยภาพชุมชนไดที่ www.punsook.org

ชุมชนทองถิน่ บานเรา เรียนรูร วมกันเพือ่ การพัฒนา ชุมชนทองถิ่นบานเรา เรียนรูรวมกันชวยกันพัฒนา อยูตามเมืองใหญเมืองหลวง หัวใจทุกดวงซอนไฟ มุง มัน่ กาวออกมาจากรัว้ ทีกั่ น้ จับมือกันทำเพือ่ เมืองไทย คนละมือสองมือคือน้ำใจ โอบกอดชุมชนไวดวยความสุข ยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน หาก เรา รวม มือ รวมใจ ทำ สิ่ง ไหน ก็ ไม เกิน แรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ ดวย มุม มอง ที่ เรา แบง ปน ใช ความ คิด สรางสรรค ให เต็ม ศักยภาพ..





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.