FA S H I O N AT S W U H O U S E FA S H ’ S T I M E L I N E
ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร. รวิ เ ทพ มุ ส ิ ก ะปาน รวบรวม THE PIONEER Student Showcase
แนวโน้มทางด้านแฟชัน่ เน้นการศึ กษาการออกแบบจาก fashion week ในระดับโลกที่จัดขึ้นตาม ศูนย์กลางของแฟชัน่ โลก แต่ยังมีงานอีกระดับหนึ่งที่ผู้คนในวงการแฟชัน่ ต่างรอคอยชมผลงาน ในแต่ละปี คือผลงานในระดับปริญญาตรีของนักเรียนแฟชัน่ ในสหรัฐอเมริกาอย่างสถาบัน Fashion Institute of Technology New York ส่วนในประเทศอังกฤษ ในทุกปี ทุกคนมุ ่งไปชม แฟชัน่ โชว์ผลงานจบของนักเรียนแฟชัน่ ที่ประสบผลส�ำเร็จ อย่างมากจากนักเรียนที่เรียนที่น่ี ที่เข้าตาแบรนด์ดังระดับโลกดึงตัวไปท�ำงานด้วยมากที่สุด และน�ำแนวโน้มทัง้ รู ปแบบ สี สไตล์ จากโชว์ของนักเรียนไปเป็นแรงบันดาลใจแนะแนวทางการออกแบบแทบทุกปี ทัง้ สถาบันที่ดูจะมี ชื่ อเสียงที่สุดอย่าง Central Saint Martins, London College of Fashion, Royal College of Art London ในประเทศทางฝั่ งยุ โรปอย่างเบลเยี่ยม ก็น่าติดตามอย่างมากกับสถาบัน Antwerp Royal Academy of fine Art และในแถบเอเชี ยประเทศญี่ปุ่ น สถาบัน Bunka Fashion College ส่วนในประเทศไทยยังคงอีกไกลที่จะสามารถน�ำพาผลงานนักเรียนแฟชัน่ ให้เป็นที่สนใจได้ในระดับ สากลในระดับโลกอาจเป็นเพราะในประเทศไทยเพิ่งเริ่มให้ความส�ำคัญทางด้านการออกแบบแฟชัน่ และอุ ตสาหกรรมแฟชัน่ ยังคงเป็นธุ รกิจที่ยังต้องอาศัยการสนับสนุนในภาครัฐอย่างจริงจังมากขึ้น กว่าที่ผ่านมา รวมถึงในอดีตการเรียนการสอนทางด้านการออกแบบแฟชัน่ ยังมีในระดับปริญญา ตรีท่ีชดั เจน อีกทัง้ ยังสับสนแนวทางระหว่างการผลิตนักออกแบบ ช่ างเทคนิค หรือผู ้ใช้ แรงงงาน ในอุ ตสาหกรรมแฟชัน่ แต่อย่างน้อยผลงานนิสิตแฟชัน่ ในประเทศไทยก็มีวิวัฒนาการและเติบโตใน ด้านผลงานการออกแบบ และค่อยๆได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ เรียกได้ว่าเริ่มมีผู้คนในวงการ แฟชัน่ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศแถบเอเชี ยติดตามอยู ่ในทุกๆปี เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ วิชาเอกการออกแบบแฟชัน่ คณะศิ ลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ ปั จจุ บัน (ปี พ.ศ. 2554) ผลิตนิสิตทางด้านการออกแบบแฟชัน่ ระดับหลักสูตรปริญญาตรี วิชาเอกการ ออกแบบแฟชัน่ ไปแล้วทัง้ สิน้ 10 รุ ่น จากความคิดริเริ่มของผู ้บริหารที่มีวิสัยทัศกว้างไกล จาก คณะบดีคณะศิ ลปกรรมศาสตร์รุ่นแรก ศาสตราจารย์ ดร. วิรุณ ตัง้ เจริญ ที่มีรองศาสตราจารย์ วรรณรัตน์ ตัง้ เจริญ และรองศาสตราจารย์อัฉจรา วรรณสถิตย์ เป็นผู ้ร่างหลักสูตรและ เป็นทีมผู ้สอนในระยะแรกเริ่ม เริ่มจากปี พ.ศ. 2544 เป็นรุ ่นแรก ในปี พ.ศ. 2545 ในรุ ่นที่ 2 เริ่มแสดงผลงานปริญญาแฟชัน่ นิพนธ์ ออกสู่สาธารณชนเป็นครัง้ แรก ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในงาน 9 ปี คณะศิ ลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ และเป็นครัง้ แรกของการน�ำเสนอแฟชัน่ นิพนธ์ของสถาบันการศึ กษาระดับ อุ ดมศึ กษาในระดับมาตรฐานสากล ซึ่ งต่อมาเป็นต้นแบบให้กับสถาบันการศึ กษาที่เปิ ดสอนทางด้าน แฟชัน่ ในประเทศ โดยมี อาจารย์รวิเทพ มุ สิกะปาน เป็นผู ้ควบคุมในปี พ.ศ. 2546 นิสิตออกแบบ แฟชัน่ เริ่มแสดงผลงานแฟชัน่ นิพนธ์ท่ีชื่อว่า Student Showcase ครัง้ แรกและใช้ ชื่อนี้ต่อไปเรื่อยๆ ในครัง้ แรกใช้ ชื่อว่า Student Showcase : The Premier 2003 เป็นครัง้ แรกที่มีการมอบรางวัล ผลงานยอดเยี่ยม Collection of The year ของนิสิตแฟชัน่ ที่มีผลงานดีเยี่ยมสุดในปี นัน้ ๆ ในปี นี้ ได้้ผลงานที่ชื่อว่า Futuristic Movement ที่แสดงถึงทิศเสือ้ ผ้าในอนาคตที่เพิ่มประสิทธิภาพของ เครื่องแต่งกายที่สามารถปรับเปลี่ยนได้อย่างไม่จ�ำกัดจาก กรกลด ค�ำสุข จากจุ ดเริ่มต้นในครัง้ นัน้ ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ทางด้านการน�ำเสนอผลงานการออกแบบแฟชัน่ ของนิสิตในรู ปแบบ มาตรฐานมากขึ้น จนมาถึงในยุ คของการสร้างมาตราฐานและการเผยแพร่ผลงานการออกแบบ แฟชัน่ ของนิสิต ที่แสดงให้เห็นได้ถึงพลังของพวกเขาเหล่านัน้ ในช่ วงเวลาถัดมา
THE BLOOMING PERIOD
ปี พ.ศ. 2547 Student Showcase : Epidemic 2004 ที่น�ำเสนอผลงานในรู ปแบบแฟชัน่ โชว์ เต็มรู ปแบบโดยร่วมกับโครงการจัดตัง้ ศูนย์การศึ กษาพัฒนาแฟชัน่ และอัญมณีแห่งมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีรองศาสตราจารย์ วรรณรัตน์ ตัง้ เจริญ เป็นประธานด�ำเนินการโครงการ ครัง้ นี้ได้รับความสนใจจากคนในวงการแฟชัน่ เป็นจ�ำนวนมากและเป็นการร่วมเปิ ดตัวโครงการ กรุ งเทพฯเมืองแฟชัน่ ที่เป็นโครงการของรัฐบาลในปี ถัดมาในปี นี้ได้ Collection of The year จาก สวรรยาจอมเทพมาลา จากผลงาน Hippy Chic ที่น�ำเอาความสนุกสนานของคนหนุ่มสาว ในช่ วงเวลา 70s มาเป็นเรื่องราวในการท�ำงานบวกกับเทคนิคงานฝี มือและลวดลายของผ้าปาเตะ ผ้าพืน้ เมืองของไทยในภาคใต้ปีพ.ศ. 2548 Student Showcase : Ready to Wear 2005 ผลงาน Collection of The year เป็นครัง้ แรก ที่รางวัลได้มอบให้กับผลงานเสือ้ ผ้าบุ รุ ษจากผลงาน Razzledazzle ของพิษณุพรวงศ์ไข่ท่ีน�ำเอา ผ้าที่ใช้ กับสุภาพสตรีมาใช้ กับสุภาพบุ รุ ษในแนวความคิดเพื่อลดการใช้ วัตถุดิบในลักษณะเฉพาะทาง มากเกินไปผสมผสานกับเสือ้ ผ้า แนวเมโทรเซก็ ช่ วล ปี พ.ศ. 2549 Student Showcase : Many Much and More ผลงาน Collection of The year กับผลงาน The Prisoner ที่พัฒนาผ้าถักให้เหมาะกับวัยรุ ่นและร่วมสมัยได้อย่างยอดเยี่ยม ท้งรู ปแบบโครงสร้างประกอบกับงานฝี มือในงานถักที่ต้องใช้ ความพยายามอย่างยิ่งของ พัชรพล วิวิทย์ชานนท์ T H E N AT I O N A L P H E N O M E N O N B I F W ( B a n g k o k I n t e r n a t i o n a l F a s h i o n We e k )
ปี พ.ศ. 2550 เป็นครัง้ แรกและเป็นก้าวส�ำคัญที่ผลงานนิสิตแฟชัน่ ได้เข้าแสดงผลงานในระดับสากล ที่จัดขึ้นในประเทศไทยร่วมกับผลงานนักออกแบบเสือ้ ผ้าระดับแนวหน้าของประเทศไทย ในงาน Bangkok International Fashion Week 2007 และเป็นครัง้ แรกที่ผลงานแฟชัน่ นิพนธ์ของนิสิต ได้ทดลองจ�ำหน่ายในห้างระดับประเทศคือห้างสยามพารากอน ในแบรนด์ของคณะศิ ลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในนาม FASH (Fashion at SWU House) และเป็นจุ ด เริ่มต้นความเป็นไปได้ในโลกของแฟชัน่ ในระดับสากล อีกครัง้ ของการออกแบบแฟชัน่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ FASH เป็น 1 ใน12 แบรนด์ท่ีได้รับ คัดเลือกให้เข้าร่วมงาน BIFW โดยอาจารย์ รวิเทพ มุ สิกะปาน อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาการ ออกแบบแฟชัน่ คณะศิ ลปกรรมศาสตร์ กล่าวว่า “การที่ทางมหาวิทยาลัยได้รับการคัดเลือกเพียง มหาวิทยาลัยเดียว ให้เข้าร่วมงานครัง้ นี้เป็นเพราะผลงานที่นิสิตท�ำนัน้ โดนใจทางผู ้จัดงานดังกล่าว จึงได้รับโอกาสให้น�ำเสนอไอเดียทางด้านแฟชัน่ ในฐานะว่าที่ดีไซเนอร์รุ่นใหม่ เราโชคดีท่ีผู้ใหญ่ท่าน เห็นว่า ผลงานของนิสิตมีคุณค่า ผลงานของนิสิตจึงมีโอกาสได้ขึ้นเวทีร่วมกับแบรนด์มืออาชี พ แต่ละชุ ดนิสิตเป็นคนออกแบบทัง้ หมดตัง้ แต่การออกแบบเสือ้ ผ้ารวมทัง้ เครื่องประดับ ตลอดจน การเลือกเพลงก็เป็นผลงานของนิสิตทัง้ นัน้ จึงถือได้ว่าเป็นการเปิ ดตัวแบรนด์ FASH ที่เริ่มต้นไป ได้ดี” และผู ้ท่ีได้รับรางวัล Collection of the year ได้แก่ PawineeIntawiwatในชื่ อ collection “That’s one small step for man, one giant leap for mankind” FASH กลายเป็นขาประจ�ำของเวที BIFW โดยน�ำเสนอแฟชัน่ โชว์ผลงานนิสิตต่อเนื่องมาทุกปี โดย ในปี พ.ศ.2551 กับผลงานที่น�ำเสนอใน 3 รู ปแบบในรู ปแบบแฟชัน่ โชว์ IN,OUT,OVER ผู ้ท่ีได้รับ รางวัล Collection of the year ได้แก่ผนิตนาฏทองบุ ญกับผลงาน “Pleasentville; Nothing is simple as black and white”
ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 ในรู ปแบบแฟชัน่ โชว์ท่ีชื่อ FASHLAB โดยมีผู้ท่ีได้รับรางวัล Collection of the year ถึง 4 คลอเลคชัน่ เป็นปี แรกได้แก่ “Re-Innovation” โดย Arttasit Junniwas, “Creation of Nothing” โดย Chadaporn Sukpiti, “Sur-real” โดย Palida Charoenwongyai และ “The Circular Effect” โดย Ploymanee Supawetvehon ปี พ.ศ. 2553 เป็นการน�ำเสนอผลงานรู ปแบบแฟชัน่ โชว์ภายใต้งาน BIFW2010 ท่ามกลางกระแส การเมืองที่ร้อนแรงท�ำให้ต้องกลับมาน�ำเสนอผลงานรู ปแบบแฟชัน่ โชว์ท่ีหอศิ ลป์ คณะศิ ลปกรรม ศาสตร์ แต่กลับกลายเป็นการสร้างกระแสให้ผู้คนในวงการแฟชัน่ กลับมาสนใจผลงานการออกแบบ แฟชัน่ ของนิสิตอย่างล้นหลามอีกครัง้ ผลงาน Collection of the year ได้แก่ นายสรวุ ต โภคัง ในชื่ อคอลเลคชัน่ The Result of “Robert Mckim” ปี พ.ศ. 2554 รู ปแบบแฟชัน่ โชว์กลับมาอีกครัง้ ในงาน BIFW2011 โดยมีชือแสดงผลงาน The Unconventional FASH และ Collection of the year ตกเป็นของ ปาลีรัตน์ ด�ำรงค์กิจกาญ ที่ได้แรงบันดาลใจจากเด็กข้างถนนในชื่ อ Collection “The abbey of Orphans” ปี พ.ศ. 2555 การน�ำเสนอผลงานของนิสิต สาขาการออกแบบแฟชัน่ คณะศิ ลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปรับเปลี่ยนรู ปแบบอีกครัง้ ในงาน Siam Center Fashion Visionary โดยใช้ รูปแบบการโชว์ในชื่ อที่ว่า FASHOTIC ที่มีความแปลกใหม่ท่ีผสมผสานความ เป็นนักสร้างสรรค์ และเริ่มต้นแนวความคิดการสร้างสรรค์ จากภูมิปัญญาไทยเป็นหลัก โดย Collection of the year ในปี นี้เป็นของ สัญชัย สุขเกษม ใน collection ที่ชื่อ “Evolution Chic” ที่ได้แรงบันดาลใจมาจาก ไก่ชน จาก ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา การเรียนการสอนแฟชัน่ ในประเทศเริ่มเข้าสู่ การเปิ ดความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นสากลมากขึ้น การเรียนการสอนในประเทศไทยในระดับปริญญาตรี มีมากกว่า 20 สถาบันทัง้ รัฐบาลและเอกชน การสร้างเอกลักษณ์ให้กับนิสิตไทยส�ำหรับการเรียนการสอนแฟชัน่ มี ความแตกต่างกันน้อยมากและมีเป้ าหมายเดียวกัน คือ สู่ความเป็นสากล อย่างไรก็ตามเมื่อแฟชัน่ มศว ก้าวมาถึงของค�ำที่หลายคนกล่าวถึงที่ว่า “เรียนแฟชัน่ ต้องเรียนที่มศว” ความแตกต่างคือ อะไร? คงต้องใช้ เวลาการพัฒนาในยุ คถัดมา และคงเป็นผลของการพัฒนาตัง้ แต่ยุคสมัยนี้ ตัง้ แต่ นี้เป็นต้นไปแล้วมาให้ค�ำตอบกับทุกคนที่อยากร ู้โดยแฟชัน่ มศว ขอใช้ แนวความคิดแห่งยุ คสมัย ของเรา ว่าเป็นการเริ่มต้นแนวความคิด ที่ว่า “WISDOM FROM CULTURE” และขอเริ่มต้นแนว ความคิดนี้ในปี พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป ในปี พ.ศ. 2556 การน�ำเสนอผลงาน ของนิสิตสาขาการออกแบบแฟชัน่ คณะศิ ลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ น�ำเสนอในรู ปแบบที่ชื่อว่า FASHERITAGE (แฟเชอริเทช) เกิดจากการรวมตัวของค�ำสองค�ำได้แก่ FASH และ HERITAGE โดยปี นี้นิสิตแฟชัน่ มศว 36 คน ได้ออกแบบคอลเลกชัน่ ในหัวข้อ ‘’ภูมิปัญญาไทย’’ กับการพัฒนากระบวนการด้านความคิด สร้างสรรค์จากการพัฒนาภูมิปัญญาของไทย ภายใต้แนวความคิด ‘WISDOM FROM CULTURE’ เป็นปี แรก ได้น�ำภูมิปัญญาไทยที่น่าสนใจจากทั่วภูมิภาคของประเทศไทยมาศึ กษาค้นคว้าและพัฒนา ถ่ายทอดเป็นเครื่องแต่งกายที่ส่งเสริมภูมิปัญญาล�ำ้ ค่าของไทยสู่สากล อีกทัง้ ยังเป็นการเผยแพร่ ความงามของภูมิปัญญาไทย เป็นการสืบทอดมรดกของไทยและสามารถส่งเสริมอาชี พให้กับ ชาวบ้านได้อีกทางหนึ่ง
TH E LAC UNA ภู มิ ปั ญญาเครื่ อ งถม
NAME : KODCHPORN EUCHUKANONCHAI TEL : +6681-339-7773 EMAIL : KODCHPORN.E@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
From The Immortal only sleep from Greek/Roman...to Renaissance...to Neo Classic before the “Present & Future”
สิ่ ง ที่ ไ ม่ มี วั น ตายเพี ย งแต่ ห ลั บ ไหล...จากกรี ก โรมั น สู่ เ รเนซองส์ ส่ ง ต่ อ นี โ อคลาสิ ค ก่ อ นจะเป็ นปั จจุ บั น และอนาคต
A LITTLE TREASURE UNDER THE APPLE TREE ภู มิ ปั ญญาการทั ก เชื อ กมั ด ฟาง จ.สระบุ รี
NAME : KANKAMOL KANTAKAMOLWONG TEL : +6686-887-8151 EMAIL : KKANKAMOL@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
After reading a bed time story “Charlotte Web”, I dreamt of an apple tree with a warm atmosphere, a faded picture of various animals and the morning sunlight that shined gently on a spider’s web, dyed it golden like a little glowing treasure.
หลั ง จากที่ อ่ า นนิ ท านก่ อ นนอน ชาร์ ล อต เวบ ฉั น ฝั นเห็ น ภาพของต้ น แอปเปิ ลในบรรยากาศที่ อบอุ ่ น ภาพเลื อ นลางของสั ต ว์ น้ อ ยใหญ่ กั บ แสง อาทิ ต ย์ ใ นยามเช้ า ที่ ส่ อ งแสงสะท้ อ นบนใยแมงมุ ม ย้ อ มสี ข องมั น ให้ ก ลายเป็ นสี ท อง เสมื อ นของมี ค่ า ชิ้ น เล็ ก ๆที่ ส่ อ งแสงแวววาว
H EMI S TSE-CH U ภู มิ ปั ญญาการเขี ย นเที ย น จ.น่ า น
NAME : CHATCHANOK SUWANNA TEL : +6684-145-4264 EMAIL : FORESTANDKENSO@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Wisdom a candle into the fabric of the legendary Nan from ancestors who originated from Tibet, which has a rich heritage of culture and brings his colourful mask dance festival inspired.
ภู มิ ปั ญญาการเขี ย นเที ย นลงผ้ า ของชาวจั ง หวั ด น่ า นที่ สื บ ทอดกั น มาตั ้ ง แต่ บ รรพบุ รุ ษที่ มี ต้ น ก� า เนิ ด มาจากทิ เ บตซึ่ งมี วั ฒ นธรรมที่ ห ลากหลาย จึ ง น� า สี สั น ของวั ฒ นธรรมและเทศกาลระบ� า หน้ า กากมาเป็ นแรงบั น ดาลใจ
T RA NSFORMULTURE ภู มิ ปั ญญาเครื่ อ งแขวนไทย จ.พระนครศรี อ ยุ ธยา
NAME : CHITCHANOK SARIYANT TEL : +6680-999-7500 EMAIL : C.SARIYANT@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Inspired from the traveling of Marco polo through the silk road to the kingdom of Kublai khan in Mongolia. So the main concept of the collection is about the culture mixing from the west to the east. Whic had become the collection called “Transformulture”
ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากการเดิ น ทางของ Marco Polo ตามเส้ น ทางสายไหมจากอิ ต าลี ไ ป สู่ อ นาจั ก รของกุ ป ไลข่ า นในมองโกลโดย concept หลั ก ของ collection เป็ นการผสมผสานจาก ตะวั น ตกสู่ ต ะวั น ออกจึ ง ได้ ม าซึ่ งคอลเลกชั่ น “Transformulture”
FARE W E L L T O M RS.LAURA BROW N ภู มิ ปั ญญาการดุ น โลหะ จ.พระนครศรี อ ยุ ธยา
NAME : NAJTON PIMMUEANGKAO TEL : +6684-388-2809 EMAIL : NAJTONP@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
The collection was inspired from the original motion picture called “The Hours” which told the similarity life of three different characters via the book they were read “MrsDolloway”. The scene from each part of movie inspired me to create the silhouette of this collection which came from late 1940 to 1950. The embroidery had influenced by Impressionism art which inspired from “Virginia Woolf” part of the movie and used Thai’s wisdom to create contemporary shape of metal to decorate on clothes.
แรงบั น ดาลใจมาจากภาพยนต์ เ รื่ อ ง The Hours ที่ ว่ า ด้ ว ยการผู กพั น ของผู ้ ห ญิ ง ในสาม ยุ คสมั ย ที่ มี ชี วิ ต คล้ า ยกั น ผ่ า นหนั ง สื อ ที่ ชื่ อ ว่ า Mrs.Dolloway โดยแต่ ล ะส่ ว นของภาพยนตร์ ก่ อ ให้ เ กิ ด จิ น ตภาพของโครงชุ ดที่ ม าจากช่ วงปลาย ยุ ค 1940 ถึ ง 1950 และการประดั บ ตกแต่ ง ที่ ถ่ า ยทอดผ่ า นศิ ลปะ Impressionism รวมไป ถึ ง ความร่ ว มสมั ย ของการใช้ โลหะมาตกแต่ ง ซึ่ ง ตั ว โลหะนั ้ น ได้ ผ่ า นการขึ้ น รู ป ด้ ว ยวิ ธี ดุ น โลหะแบบ อย่ า งที่ เ ป็ นภู มิ ปั ญญาของไทยเราทว่ า เปลี่ ย นให้ เป็ นรู ป ทรงที่ แ ปลกตาออกไป
REA L I SAT I O N & R E F LEC TI V E NESS ภู มิ ปั ญญาเปลโบราณ จ.ราชบุ รี
NAME : NATTHAKARN TANGPANICHDEE TEL : +6689-960-5565 EMAIL : PUPAARON@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
The collection’s literally got inspiration from the movie “Pride & Prejudice”. Patterning by bringing ladies’ character in the age of regency, it was chosen simple silhouette white tone and secretly blended the detail from the mirror of regency women including men’s suit detail as well. Moreover, macramé and fabric’s patchwork through made the collection much more perfect.
ในคอลเลคชั่ น นี้ ไ ด้ ห ยิ บ เอาหนั ง เรื่ อ ง Pride and Prejudice มาเป็ นแรงบั น ดาลใจในการออกแบบ ชุ ดโดยได้ ดึ ง เอาคาแรคเตอร์ ข องผู ้ ห ญิ ง ในเรื่ อ ง ที่ อ ยู ่ ใ นช่ วงยุ ค “รี เ จนซี ” มาตี ค วามโดยเลื อ กใช้ โทนสี ข าวเน้ น โครงชุ ดที่ เรี ย บง่ า ยแต่ มี ก ารแฝงดี เ ทลต่ า งๆที่ ส ะท้ อ นถึ ง ตั ว ตนของผู ้ ห ญิ ง ในยุ คนั ้ น ผสมกั บ ดี เ ทลของชุ ด สู ท ผู ้ ช ายการตั ด ต่ อ กั บ ผ้ า บาง ผ่ า นเทคนิ ค การถั ก เมคราเม่ ท่ี มี ก ารผสมผสาน ลวดลายและวั ส ดุ ต่ า งๆเข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น
WA R H ORSE ภู มิ ปั ญญาการเขี ย นผ้ า ลายเงิ น , ลายทอง จ.ราชบุ รี
NAME : NATTAPONG TUNGTUM TEL : +6689-915-2513 EMAIL : DIYR@WINDOWSLIVE.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Inspired by Broadway “War Horse” War Horse is the story of relationship between people and horses. Through the time and many situations and finally became the relationship between people and horses in the Great War (World War I).
ได้ รั บ เเรงบั น ดาลใจจากละคร Broadway เรื่ อ ง “War Horse” กล่ า วถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง บุ คคลต่ า งๆกั บ ม้ า ผ่ า นช่ วงเวลาและสถานะการณ์ ต่ า งๆจนเกิ ด เป็ นความสั ม พั น ธ์ ข องคนเเละม้ า ในสนามรบอั น ยิ่ ง ใหญ่ ข องสงครามโลก
RAW A ND ROMA NTI C ภู มิ ปั ญญาผ้ า มั ด ย้ อ ม จ.สุ ร าษฎร์ ธ านี
NAME : THATCHAI UTTA TEL : +6687-698-4367 EMAIL : NORDIC345@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
“Raw and Romantic” Design by using combination of texture and feeling of materials to make it Raw and Romantic without over creation. Making The Simple but Details that strange and look fresh. That’s imperfect but perfect.
Raw and Romantic การออกแบบที่ ผ สม ผสานการน� า ผิ ว สั ม ผั ส และความรู้ สึ ก ที่ มี ต่ อ วั ส ดุ มาท� า ให้ เ กิ ด ความงามแบบดิ บ ๆผสมกั บ ความ โรแมนติ ก อย่ า งลงตั ว โดยไม่ ต้ อ งปรุ งแต่ ง จนดู เกิ น จริ ง ทั ้ ง ยั ง น� า มาสร้ า งเป็ นงานที่ เ รี ย บง่ า ย แต่ ไ ม่ ง่ า ยมี ค วามแปลกในรายละเอี ย ดเกิ ด เป็ น ความงามแบบไม่ ล งตั ว ที่ ล งตั ว ขึ้ น
L I G H T I N TH E D E E P ภู มิ ปั ญญาเทคนิ ค การตอกหนั ง ตะลุ ง จ.นครศรี ธ รรมราช
NAME : TIPPAPA NA NAKORN TEL : +6683-104-1405 EMAIL : CABBAGEISLAND@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Have u ever been in another world in this planet that we don’t know it? Let’s go down into deep of the ocean for discovering darkness life. This collection is inspired by shining and pellucid deep sea fish.Its made by Thai wisdom technique, Shadow play hammer.
จากโลกอั น มื ด มิ ด ใต้ ท ะเลลึ ก ที่ ต้ น ก� า เนิ ด แสง สี สั น สว่ า งไสวมาจากสิ่ ง มี ชี วิ ต แปลกตาเป็ น แรงบั น ดาลใจให้ กั บ คอลเลกชั่ น นี้ ล วดลาย ได้ แ รงบั น ดาลใจจากการกระพริ บ แสงเพื่ อ สื่ อ สาร กั น ของสั ต ว์ ใ ต้ ท ะเลผ่ า นเทคนิ ค ภู มิ ปั ญญาไทย คื อ การตอกหนั ง ตะลุ ง เทคนิ ค การทั บ ซ้ อนของผ้ า โปร่ ง ใสและเทคนิ ค การตอกจากภู มิ ปั ญญาไทย น� า มาสู่ ค อลเลกชั่ น Light in the Deep
P OW E R OF PA SSI ON ภู มิ ปั ญญาผ้ า ย้ อ มโคลน จ.สุ โ ขทั ย
NAME : NOPPACHAMAI CHAVEE TEL : +6681-143-3801 EMAIL : NOPPACHAMAI@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
While dyeing fabric in the mud reminded me the story of Jean-Baptiste Grenouille in The movie “PERFUME”. His obsession to create the world’s finest perfume inspired the collection with repeated silk screen printed in each look, structure of C.18 men’s cloth transform to women’s ready to wear collection “power of passion”
จากการย้ อ มผ้ า ด้ ว ยโคลนท� า ให้ นึ ก ถึ ง เรื่ อ ง ราวของฌ็ อ ง-บั ป ติ ส ต์ ก รานุ ย จากภาพยนตร์ เรื่ อ ง“PERFUME” ความหลงใหลที่ จ ะสร้ า ง น� ้ า หอมที่ ดี ท่ี สุ ด โดยไม่ ค� า นึ ง ว่ า ต้ อ งท� า สิ่ ง ใด ลงไปบ้ า งเป็ นแรงบั น ดาลใจให้ เ กิ ด คอลเลกชั่ น นี้ ความหมกมุ ่ น ของเขาถ่ า ยทอดมาในลายพิ ม พ์ สกรี น ซ�้ าไปมาโครงชุ ดมาจากชุ ดผู ้ ช ายในสมั ย ศตวรรษที่ 1 8ตามเนื้ อ เรื่ อ งพั ฒ นามาสู่ รู ป แบบ เสื้ อ ผ้ า ready to wear ส� า หรั บ ผู ้ ห ญิ ง ที่ มี พลั ง และความมุ ่ ง มั่ น ปรารถนาดั ง ชื่ อ คอลเลคชั่ น “power of passion”
THE LETTER WITH THE CLARITY OF PASSION ภู มิ ปั ญญาการปั กผ้ า คลุ ม ผมฮิ ญ าบ(บาวา) จ.ฉะเชิ ง เทรา
NAME : NITHINUN NARUMITLERT TEL : +6680-112-3232 EMAIL : JARPANGYY@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
From the combination of the Hijab veil embroidery and the film of Atonement to the design. The shape and color are simple but splendid with the embroidery as called “The letter with the clarity of passion”
แรงบั น ดาลใจมาจากเอกลั ก ษณ์ ข องการปั กผ้ า คลุ ม ผมบาวาผสมผสานจุ ดเด่ น จากหนั ง เรื่ อ ง atonement ออกมาเป็ นรู ป ทรงและลวดลายของ ซองจดหมายโดยสี ท่ี ใ ช้ จะเน้ น สี ท่ี ดู เ รี ย บแต่ ห รู ห รา ด้ ว ยการปั กซึ่ งเป็ นเอกลั ก ษณ์ ข องผ้ า คลุ ม ผม สตรี มุ สลิ ม น� า เสนอออกมาเป็ นคอลเลกชั่ น The letter with the clarity of passion
OUT OF A F RI C A ภู มิ ปั ญญาผ้ า ขาวม้ า ทอ 4 ตะกรอ จ.ราชบุ รี
NAME : NITTHA JIRAYUNGYUEN TEL : +6687-900-0370 EMAIL : MIUMIU_MEW@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
This collection got inspired from the movie called ‘out of Africa’. The tailor suit is derived from safari suit combine with draping techniques of Masai tribe. It makes contrast between two techniques. Moreover it integrates indigenous knowledge of loincloth from Rachaburi. The pattern is similar to the pattern of Masaitribe which bring new interesting idea and combinations.
คอลเลคชั่ น นี้ ไ ด้ รั บ เเรงบั น ดาลใจจากหนั ง เรื่ อ ง out of africa ซึ่ งได้ น� า ความเป็ นสู ท เทเลอร์ จากชุ ดซาฟารี ม าผสมกั บ เทคนิ ค การเดรปปิ้ ง จากชุ ดของชนเผ่ า มาไซท� า ให้ ใ นชุ ดมี ค วามแตก ต่ า งกั น อย่ า งสิ้ น เชิ ง ระหว่ า ง 2 เทคนิ ค และได้ น� า ภู มิ ปั ญญาผ้ า ขาวม้ า ของจั ง หวั ด ราชบุ รี ม าใช้ ซึ่ ง มี ล ายที่ มี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ ผ้ า ของชนเผ่ า มา ไซท� า ให้ เ กิ ด ความเเปลกใหม่ แ ละผสมผสานกั น ได้ อย่ า งน่ า สนใจ
P RI D I GI OUS LEGAC Y ภู มิ ปั ญญาผ้ า มั ด ย้ อ มจากเปลื อ กไม้ ป่ าชายเลน จ.สมุ ทรสงคราม
NAME : BANTHITA CHOKWIJITKUL TEL : +6688-655-1118 EMAIL : NIW@WINDOWSLIVE.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Masai Mara tribal is unique and interesting. Of how to dress as well as accessories. When combined with the Thai wisdom. It was a novelty to see in my collection.
ชนเผ่ า มาไซมาร่ า มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะที่ น่ า สนใจทั ้ ง วิ ธี ก ารแต่ ง กายรวมถึ ง เครื่ อ งประดั บ เมื่ อ น� า มา ผสมผสานกั บ ภู มิ ปั ญญาไทยจึ ง เกิ ด ความแปลก ใหม่ ท่ี ไ ด้ เ ห็ น ในคอลเลคชั่ น นี้
I F I O N LY H A D A H E A RT ภูมิปัญญาหัตถกรรมงานฝี มือพัดประดิษฐ์อักษร อ.บ้านแพรก จ.พระนครศรีอยุ ธยา
NAME : PATIPHON THAVEEKAN TEL : +6681-793-4396 EMAIL : TEAMBERSITHA@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
The traveling of Tinman withe his friends while they have lost in the poppy garden to the land of Oz. Searching for someting called heart and love.
การเดิ น ทางของหุ่ น กระป๋ องนามติ นแมนกั บ ผองเพื่ อ นที่ ห ลงเข้ า ไปใน ทุ่ ง ดอกป๊ อปปี้ สู่ เ มื อ งอ๊ อ ซ เพื่ อ ค้ น หาสิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า หั ว ใจและความรั ก
C OLOR RUNNER ภู มิ ปั ญญาผ้ า ย้ อ มคราม จ.แพร่
NAME : PUNYAPAS SENAVES TEL : +6686-987-5445 EMAIL : SARAPAO_AILZ@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Lath mar hoil is a local celebration of the india festival. Initially,using printing’s technique from oil color and digital print. Then incorporating with wisdom of indigo dye ,from province lastly,painting on indigo dye and using digital print for making the similarity of splashing color on fabric.
คอลเลคชั่ น นี้ ไ ด้ แ รงบั น ดาลใจมาจากเทศกาล สาดสี ข องประเทศอิ น เดี ย โดยน� า เทคนิ ค การเพ้ น ท์ จากสี น� ้ า มั น แล้ ว ดิ จิ ต อลปริ้ น ท์ ผ สมผสานกั บ ภู มิ ปั ญญาย้ อ มครามจากจั ง หวั ด แพร่ โ ดยใช้ การ เพ้ น ท์ ทั บ ลงผ้ า ย้ อ มครามแล้ ว ดิ จิ ต อลปริ้ น ท์ เ พื่ อ ให้ ค ล้ า ยการสาดผ้ า มากที่ สุ ด
IN M Y M I N D BY T HE S E C RET GA RD EN ภู มิ ปั ญญาร่ ม บ่ อ สร้ า ง จ.เชี ย งใหม่
NAME : PORNPATSORN SRILAMOOL TEL : +6684-653-1717 EMAIL : P_UIFA_I@HOTMAIL.COM, FRYYZ@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Bring back home a unique souvenir, showcasing the beauty of Thai handicraft from traditional to fashion inspiration in “The secret garden”.
แรงบั น ดาลใจจากภาพยนตร์ เ รื่ อ งThe secret garden การผจญภั ย ของเด็ ก ผู ้ ห ญิ ง ตั ว น้ อ ย ผู ้ โ ดดเดี่ ย วจากการสู ญ เสี ย ที่ ค้ น พบสวนลึ ก ลั บ ในบ้ า นของตั ว เองเรื่ อ งราวความสนุ ก สนานและ ความเปลี่ ย นแปลงจากการค้ น พบสิ่ ง แปลกใหม่ ในสวนลั บ ผสมผสานกั บ ลวดลายผ้ า จากเทคนิ ค ภู มิ ปั ญญารวมกั บ เอกลั ก ษณ์ ก ารใช้ ผู ้ กั น ของ ศิ ลปิ นอั น มี ชื่ อ ในสมั ย impressionism จนกลายเป็ นส่ ว นผสมที่ ล งตั ว
G O A L O NG TH E RA I LWAY ภู มิ ปั ญญาผ้ า ขิ ด อ.เชี ย งของ จ.เชี ย งราย
NAME : PACHAREEPOAN PIBOONTANAKIAT TEL : +6683-541-0211 EMAIL : PPIBOONBOBO@HOTMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
Inspired form the movie “Dajeeling”.it talks about the traveling in India which shows lifestyle art and culture.
ได้ รั บ แรงบั น ดาลมาจากภาพยนต์ เ รื่ อ ง Dajeeling ซึ่ งเป็ นเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ การเดิ น ทาง ภายในประเทศอิ น เดี ย ที่ แ สดงถึ ง วิ ธี ชี วิ ต ศิ ลปะและ วั ฒ นธรรม
STA RA ภู มิ ปั ญญาการย้ อ มคราม อ.สว่ า งแดนดิ น จ.สกลนคร
NAME : PATTAMON TONGCHAN TEL : +6683-441-1395 EMAIL : 8.MARUYAMA@GMAIL.COM INS PIRAT IO N
แรงบันดาลใจ
I have inspiration from the book named One thousand and one nights. Which use the environment and thing that were seen in the book.
ได้ รั บ แรงบั น ดาลใจมาจากหนั ง สื อ อมตะนวนิ ย าย ของชนชาติ อ าหรั บ เรื่ อ งพั น ทิ ว าหนึ่ ง ราตรี โ ดย การใช้ บรรยากาศวั ฒ นธรรมของพื้ น เรื่ อ งและสิ่ ง ที่ พ บเห็ น ในภาพประกอบมาสร้ า งเป็ นคอลเลกชั่ น