วารสารยุติธรรมคู่ขนาน เล่มที่ 2 (ปีที่2 ฉบับที่1)

Page 1




ดวยเกลาดวยกระหมอมขอเดชะ ขาพระพุทธเจา ในนามของศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย (อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ ประพันธโดย ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น กรรมการผอู ำนวยการศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย)



 




กระบวนการยุตธิ รรมเปนคำทีส่ ำคัญและมีความหมายมาก แตคนสวนใหญยงั มีความรสู กึ วาเปนเรือ่ งทีห่ า งไกลจากการ ดำเนินชีวติ ตามปกติของผคู นโดยทัว่ ไป จึงไมใครใหความสำคัญและไมใครใหความสนใจ ทีจ่ ริงคำวากระบวนการยุตธิ รรม เปนคำทีม่ คี วามหมายลึกซึง้ และเกีย่ วของกับชีวติ ประจำวันของคนไทยทุกคน กระบวนการยุติธรรมหมายถึง การอำนวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้นในสังคมที่พวกเราทุกคนอยูรวมกันในทุกภาคสวน ปญหาของสังคมเกือบทุกดานมีทมี่ าจากปญหาความไมสามารถในการอำนวยความยุตธิ รรมใหเกิดขึน้ อยางทัว่ ถึงและเทา เทียมกัน การแกไขปญหาเหลานี้ จึงเปนภาระของผเู กีย่ วของทุกฝาย จะตองรวมกันแสวงหาแนวทาง ความคิด ในการแกไขปญหา อยางรอบดาน และเปนองครวม เพือ่ ใหทกุ สวนตระหนักและเขาใจ ตราบใดทีก่ ระบวนการยุตธิ รรมไมสามารถดำรงความยุตธิ รรมไวได ตราบนัน้ ผลกระทบจะยังเกิดขึน้ กับประชาชน จะไม มีวนั ลดนอยลงได จึงเห็นไดวา กระบวนการยุตธิ รรมไมใชเรือ่ งไกลตัว แตเปนเรือ่ งทีท่ กุ คนพึงทราบ และมีความเขาใจวากระบวนการยุตธิ รรม เปนกระบวนการทีจ่ ะนำไปสกู ารสรางความเปนธรรมในสังคมไดอยางแทจริง ศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย แมจะเปนองคกรอิสระทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ไดไมนานนัก แตมคี วามมงุ มัน่ และ ตัง้ ใจจริงทีจ่ ะเขามามีสว นในการเสริมสรางกลไกกระบวนการยุตธิ รรมในลักษณะคขู นานไปกับสังคม นับวาเปนจุดริเริม่ ทีจ่ ะเกิดประโยชนอยางยิง่ หากในอนาคตองคกรทีม่ ผี ทู รงคุณวุฒหิ ลายสาขาอาชีพไดสมัครใจรวมกันดำเนินงานนี้ ก็จะ สามารถพัฒนาดานศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมตางๆ ใหเจริญกาวหนา และตอบสนองตอการรวมมือรวมใจ ชวยกัน แกปญ  หาความไมเปนธรรมในสังคมไดอยางเปนรูปธรรม ทีส่ ำคัญมากๆ คือ ศูนยฯ นีจ้ ะตองมงุ มัน่ และแนวแนในวัตถุประสงคทตี่ งั้ ไวอยางมัน่ คง เพือ่ กอใหเกิดศรัทธา เชือ่ ถือ เปน ทีส่ นใจและยอมรับของคนไทยทัง้ มวล กระบวนการยุตธิ รรมมีหลายสวนของรัฐรวมกันเขาเปนกระบวน แตละสวนตัง้ แตตน จนสุดทาย จะตองดำรงความเปน ธรรมและความยุตธิ รรมโดยพรอมเพรียงกัน ไมเชนนัน้ ทัง้ กระบวนก็จะไมยตุ ธิ รรม มีนักกฎหมายจำนวนไมนอยพูดวา ในบางเรื่องกระบวนการยุติธรรมไมสามารถจะดำรงความยุติธรรมไวได เพราะ กฎหมายไมเปนธรรม ผมจำไดวา ผมเคยไดยนิ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ไดมพี ระราชกระแสรับสัง่ วา กฎหมายบาง ฉบับของเราไมเปนธรรม ศูนยฯ นีน้ า จะใหความสนใจในเรือ่ งนีด้ ว ย ณ โอกาสนีผ้ มใครขออำนวยพรใหผมู สี ว นเกีย่ วของของศูนยศกึ ษาฯ ประสบผลสำเร็จในดานการจัดงานเปดตัวในครัง้ นี้ และมีความเจริญกาวหนาในการดำเนินงานยิง่ ๆ ขึน้ ไปในอนาคต

* ถอดเทปคำกลาวอำนวยพรโดย ดร.อมร วาณิชวิวัฒน กรรมการผูอำนวยการศูนยศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย


ฯพณฯ ธานินทร กรัยวิเชียร ฯพณฯ พลากร สุวรรณรัฐ ทานผหู ญิง บุตรี วีระไวทยะ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล

องคมนตรี องคมนตรี รองราชเลขาธิการ เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา

รศ.ดร.งามพิศ สัตยสงวน อดีตหัวหนาภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คุณจริยา อัศวรักษ ผอู ำนวยการสำนักเทคโนโลยีและขอมูลสารสนเทศ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ รศ.ดร.นิเทศ ตินณะกุล ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฯพณฯ ดร. ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน ผศ. ดร.ประพจน อัศววิรฬุ หการ หัวหนาภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ กรรมการผจู ดั การใหญ บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) คุณปรีชา วัชราภัย เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) คุณพงศโพยม วาศภูติ ปลัดกระทรวงมหาดไทย และสมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ พล.อ.พิศณุ อุไรเลิศ เจากรมเสมียนตรา กองทัพบก คุณมาริสา รัฐปตย ผพู พิ ากษาศาลแพง คุณรัศมี วิศทเวทย เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการคมุ ครองผบู ริโภค (สคบ.) พล.ต.ท.ดร.วัชรพล ประสารราชกิจ ผชู ว ยผบู ญ ั ชาการตำรวจแหงชาติ และสมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ คุณวัชรี ไพศาลเจริญ ผเู ชีย่ วชาญดานเศรษฐศาสตรการเงินและระบบบัญชี พล.ต.นายแพทย สหชาติ พิพธิ กุล อดีตผอู ำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา คุณอภิเษก มณเฑียรวิเชียรฉาย ผเู ชีย่ วชาญดานประวัตศิ าสตรสมัยใหม (Modern History) Professor Anthony Heath คณบดีคณะสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยออกซฟอรด Mr. Kelvin Dempsey อดีตอาจารยประจำสถาบันภาษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

* เรียงรายชือ่ ตามลำดับอักษรและภาษาไทยอังกฤษ โดยผทู รงคุณวุฒจิ ะมีบทบาทสำคัญในการใหคำปรึกษาแนะนำในเรือ่ งทีท่ างกรรมการของ ศูนย ศึกษาฯ เรียนหารือเพือ่ เปนวิทยาทาน รวมทัง้ ใหความชวยเหลือทางวิชาการในลักษณะ Peer Review ชวยประเมินคุณคาเกีย่ วกับบทความ ขอ เขียนของ ผใู หความสนใจทีป่ ระสงคจะนำขอเขียนลงตีพมิ พในวารสาร “ยุตธิ รรมคขู นาน“ ในกรณีทขี่ อ เขียนนัน้ ๆ สอดคลองกับความรคู วาม ชำนาญ โดยตรงของผทู รงคุณวุฒแิ ตละทาน หากไมตรงหรือไมเกีย่ วของทางศูนยศกึ ษาฯ จึงจะติดตอประสานงานกับผทู รงคุณวุฒภิ ายนอกทีเ่ กีย่ วของเปน ลำดับถัดไป


ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น

ปริญญาเอกสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยออกซฟอรด ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม. (ธรรมศาสตร),M.S. (Criminology & Criminal Justice) FSU, Cert. in Building a Business, SAID Business School (Oxford)

ผศ.นายแพทย ตุลย สิทธิสมวงศ แพทยศาสตรบัญฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

ดร. จิรวรรณ เดชานิพนธ

ร.บ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Diplome d Etudes approfondies University d Aix-Marseille III, France. Docteur de Troisime Cycle University de Droit, d Economie et des Sciences d Aix-Marseille, France.

ดร. พิษณุ เสงีย่ มพงษ

B.A. (International Studies), The American University MPA (Public Policy and Management), The Ohio State University Ph.D. (Public Policy Analysis and Administration), Saint Louis University

รศ.ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ Ph.D. (Chemistry), Texas A&M University B.Eng. (Mining Engineering), Chiang Mai University

อาจารยนพพล วิทยวรพงษ

P.P.E. (University of Oxford) M. Phil. (Economic Development) University of Bath Ph.D.candidate in Economic (University of North Carolina, Chapel Hill)

ดร. ปารีณา ศรีวนิชย (ศุภจริยาวัตร) น.บ. (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาฯ) LL.M. (Pennsylvania) LL.M. (Harvard) S.J.D. (Wisconsin)

คุณเขตขัณฑ ดำรงไทย

พณ.บ. (จุฬาฯ), M.S. (CIS) ABAC, M.B.A. (Griffith University, Brisbane)


ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท

ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท

ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น กรรมการผอู ำนวยการศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ มอบของทีร่ ะลึก แด ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ

กรรมการผูอำนวยการกลาวรายงานประวัติความเปนมา และวัตถุประสงคของการจัดงาน

แขกผูมีเกียรติเขารวมงานภายในหอประชุมจุฬาฯ

คณะทูตานุฑูตตางประเทศไดใหเกียรติรวมงานในครั้งนี้

ตัวอยางผลงานของผสู ง เขาประกวดออกแบบ ตราสัญลักษณของศูนยศึกษาวิจัยฯ

ของชำรวยและของทีร่ ะลึก สำหรับผูเขารวมงานเปดตัวศูนยศึกษาวิจัยฯ

ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ ไดกรุณาใหเกียรติกลาวอำนวยพรเปดงานและเปนประธานในพิธี

ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย


ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท

ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ มอบรางวัลผูชนะเลิศการออกแบบตราสัญลักษณ อันดับที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ (ภาพจากซายไปขวา)

ภาพถายผลงานของผูชนะเลิศอันดับที่ 1, 2 และ 3 (ปรากฎดังภาพ)

ตัวอยางตราสัญลักษณอกี สวนหนึง่ ทีส่ ง เขาประกวด เปนจำนวนมากเกือบ 100 ภาพ

ปายผาเชิญชวนเขารวมงาน

ผูใหการสนับสนุนการจัดงานอยางเปนทางการ

บรรยากาศการลงทะเบียนภายนอกหอประชุม จุฬาฯ

ภาพของผเู ขารวมงานเปดตัวอยางคับคัง่ (ในภาพเปนการเขาแถวเพือ่ รับวารสารและของทีร่ ะลึกภายในงาน


พิธีกรภายในงานและคณะนักดนตรี STRING QUARTET ในเบือ้ งหลัง

การแสดงบนเวทีในเรือ่ ง “ความยุตธิ รรมคืออะไร” โดย ชมรมการละคร คณะรัฐศาสตร จุฬาฯ


ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ในฐานะประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ ของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ




กรรมการผอู ำนวยการ รับมอบของทีร่ ะลึกจาก พล.ท.กมล แสนอิสระ ทานผบู ญ ั ชาการโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา (จปร.)

กรรมการผอู ำนวยการ เขาเยีย่ มพบและหารือทางวิชาการกับ พล.ท.กมล แสนอิสระ ทานผบู ญ ั ชาการโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา (จปร.)


กรรมการผอู ำนวยการและ คณะวิทยากรบนเวที

คณะองคปาฐก ทานพิมล รัฐปตย รศ.ดร.นิเทศ ตินณะกุล พล.ต.อ.อชิรวิทย สุพรรณเภสัช

ทานพิมล รัฐปตย ประธานคณะกรรมการอัยการ (ก.อ.)

ผเู ขารวมสัมนา


คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ โดยมี ฯพณฯ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ เปนประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผูทรงคุณวุฒิ จากหลากหลายอาชีพ

ที่ปรึกษาระบบ งานคอมพิวเตอร และ สื่ออินเตอรเน็ต

กรรมการผูอำนวยการฯ ดร.อมร วาณิชวิวัฒน

กรรมการฯ ผศ.นพ.ตุลย สิทธิสมวงศ

กรรมการฯ ดร.จิรวรรณ เดชานิพนธ

กรรมการฯ ผศ.ดร.พิษณุ เสงีย่ มพงษ

กรรมการฯ รศ.ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ

กรรมการฯ อาจารยนพพล วิทยวรพงษ

กรรมการฯ ดร.ปารีณา ศรีวนิชย.(ศุภจริยาวัตร)

กรรมการฯ คุณเขตขัณฑ ดำรงไทย


ยุตธิ รรมคขู นาน

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550 ภาพปกและพระบรมฉายาลักษณทงั้ หมดในเลม : ภาพพระราชทาน บรรณาธิการ : ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น กรรมการผอู ำนวยการศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย ISSN : 1905 - 2944 พิมพครัง้ แรก : กรกฎาคม 2550 จำนวน 2,000 ฉบับ จัดพิมพโดย : เอกมัยการพิมพและสติกเกอร 1863 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. (02) 3146716 โทรสาร (02) 7180377 อนุสนธิ

: ขอเขียนและสิ่งพิมพทั้งหมดในวารสารยุติธรรมคูขนาน เปนการแสดงทัศนคติและ วิสยั ทัศนสว นบุคคล มิไดเปนการสะทอนจุดยืนหรือเจตนารมณใดๆ ของศูนยศกึ ษา วิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย

ลิขสิทธิ์

: ขอเขียนและสิ่งพิมพทั้งหมดในวารสารยุติธรรมคูขนานไดรับความคุมครองจาก กฎหมายลิขสิทธิ์ และเปนการดำเนินการจัดพิมพภายใตพระราชบัญญัตกิ ารพิมพ พุทธศักราช 2484 การนำไปเผยแพรเพือ่ เปนวิทยาทาน ทางศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ มีความ ยินดีและพรอมใหการสนับสนุน แตหากเปนการดำเนินการใดๆ ในเชิงพาณิชย ผดู ำเนินการจะตองแจงใหบรรณาธิการของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ รับทราบเปนลายลักษณ อักษร เพือ่ พิจารณาใหอนุญาตภายใตเงือ่ นไขขอตกลงและสัญญาทีเ่ ปนธรรมกอน จึงจะดำเนินการไดตามกฎหมาย

All Rights Reserved. This publication is protected under Copyright Law.


วารสาร “ยุตธิ รรมคขู นาน (Thai Justice Watch)” เปนวารสารราย 6 เดือน มีวตั ถุประสงคสำคัญในการ เผยแพรขอ มูลขาวสารทางวิชาการทีเ่ กีย่ วของกับความเปนธรรมทางสังคม (Social Justice) ในเชิงสหวิทยา การ ดวยความเปนกลางตรงไปตรงมาและผานการคัดกรองการตีพมิ พโดยคณะผทู รงคุณวุฒทิ มี่ คี วามรู ความชำนาญเฉพาะดาน การพิจารณาตีพมิ พบทความขอเขียนตางๆ ในวารสารยุตธิ รรมคขู นานเปดกวางใหผสู นใจโดยทัว่ ไปสามารถ สงบทความขอเขียนของทานไดโดยตรงผานเว็ปไซตของศูนยศกึ ษาวิจยั www.thaijustice.org หรือ email: a.wanichwiwatana@gmail.com ไดตลอดเวลา ในรูปแบบการเขียนเชิงวิชาการและระบบการอางอิง (references) ทีเ่ ปนมาตรฐานสากลทัว่ ไป ทัง้ นีห้ ากทานผใู ดประสงคจะบริจาคหรือใหการสนับสนุนการดำเนินงานของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ สามารถโอน เงินผานบัญชีธนาคารในนาม “คณะบุคคลศูนยศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย” ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสภากาชาดไทย บัญชีออมทรัพยเลขที่ 045-2-98700-2 ซึง่ ในนามของศูนย ศึกษาวิจยั ฯ ขอใหสตั ยาบันทีจ่ ะดำเนินกิจกรรมทุกประการบนพืน้ ฐานแหงประโยชนของสังคมสวนรวมเพือ่ ความเปนธรรมของสังคมเปนทีต่ งั้

ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น กรรมการผอู ำนวยการศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย บรรณาธิการ


วารสารยุตธิ รรมคขู นานฉบับนี้ นับเปนฉบับที่ 2 แลว นับจากการเปดตัวศูนยศกึ ษาวิจยั กระบวนการยุตธิ รรม ไทยขึ้นอยางเปนทางการพรอมดวยการจัดพิมพวารสารฉบับปฐมฤกษเมื่อกวา 6 เดือนที่ผานมา ทั้งนี้ สถานการณของบานเมืองทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปไมสง ผลกระทบใดๆ ตอจุดยืนและความมงุ มัน่ ในการทำหนาที่ ทางดานวิชาการเพือ่ สรางเสริมสนับสนุนใหเกิด “ความเปนธรรมทางสังคม (social justice)” อันเปนวัตถุ ประสงคสำคัญประการหนึง่ ของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ดังนัน้ การดำเนินงานจัดพิมพวารสารในฉบับที่ 2 ซึง่ ถือเปนยางกาวเขาสปู ท ี่ 2 ของการบริหารขับเคลือ่ น ศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ใหกา วหนาพัฒนายิง่ ๆ ขึน้ ไป ดังที่ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรี และรัฐบุรษุ ในฐานะประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิข์ องศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ไดกรุณากลาวคำอำนวยพรเนือ่ งใน งานเปดตัวของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ เมือ่ วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน 2549 ความตอนหนึง่ วา “ศูนยฯ นีจ้ ะตอง มงุ มัน่ และแนวแนในวัตถุประสงคทตี่ งั้ ไวอยางมัน่ คง เพือ่ กอใหเกิดศรัทธา เชือ่ ถือ เปนทีส่ นใจและ ยอมรับของคนไทยทัง้ มวล” ดวยเหตุนเี้ อง ทางศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ จึงมิไดเพิกเฉยตอความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในสังคม พยายามศึกษา คนควา เฝาติดตามสถานการณดา นตางๆ อยางระมัดระวัง เพือ่ ไมใหสญ ู เสียความเปนกลาง และนำเสนอ กิจกรรมทีเ่ ปนประโยชนตอ สังคมในดานตางๆ เมือ่ มีโอกาสอำนวยให อาทิเชน การจัดสัมมนาระดมสมอง เกีย่ วกับการปรับโครงสรางสำนักงานตำรวจแหงชาติ ซึง่ เปนการใหบริการสังคมภายใตศกั ยภาพทีก่ รรมการ บริหารฯ พรอมดวยอาสาสมัครรวมกันดำเนินการเพือ่ ตอบแทนคืนสสู งั คมโดยไมคดิ มูลคา ดวยเงินทุนของ ศูนยศกึ ษาฯ ทีไ่ ดมาจากการรับบริจาคและเงินสนับสนุนสวนบุคคลของคณะกรรมการบริหารอีกจำนวนหนึง่ อยางไรก็ดี ในนามของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ขอแสดงความขอบพระคุณเปนอยางสูงตอ สำนักราชเลขาธิการ และทานราชเลขาธิการ ทีไ่ ดกรุณานำความกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ เพื่ออัญเชิญมาประดับบนปกหนาและภายในวารสาร อีกทั้งยังไดกรุณาอนุญาตใหใชตราสัญลักษณ งานเฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ประดับ บนมุมปกดานขวาบนของวารสารอีกดวย ซึ่งทั้งหมดนี้ไดรับความชวยเหลือในการประสานงานจาก คุณฐานิสร วัชโรทัย วิทยากร 8 สำนักราช เลขาธิการ ชวยราชการรองเลขาธิการพระราชวัง กระทัง่ ทุกสิง่ ทีป่ ระสงคสามารถสำเร็จลุลว งดวยดี นอกจากนัน้ ทางศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ตองกราบขอบพระคุณ บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) โดย คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ ทานกรรมการผจู ดั การใหญ ทีไ่ ดเห็นความสำคัญและใหการสนับสนุนการดำเนินงานจัดพิมพ วารสารในครัง้ นี้ กระทัง่ ทำใหผลงานของผทู รงคุณวุฒริ ะดับชาติทกี่ รุณาใหเกียรติเอือ้ เฟอ บทความใหแกศนู ย ศึกษาวิจยั ฯ ไดรบั การตีพมิ พอยางตอเนือ่ ง โดยในฉบับนีไ้ ดนำคำบรรยายพิเศษจากงานเปดตัวของศูนย


ศึกษาวิจยั ฯ ของ ทานอาจารย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนาและทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ ของศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ในหัวขอ “กาวนีแ้ ละกาวตอไปบนความพอเพียง” มาลงตีพมิ พในวารสารฯ และมี ประโยชนอยางยิง่ ตอการดำเนินชีวติ ของประชาชนในสังคมปจจุบนั ทีก่ ารพึง่ พาตนเองถือเปนหลักสำคัญ นอกจากนั้นยังไดรับความกรุณาจากทานอาจารย ดร.อุทิศ ขาวเธียร ประธานคณะกรรมการสภาวิจัย แหงชาติ สาขาสังคมวิทยา และรองเลขาธิการสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ทีไ่ ดใหเกียรตินำเสนอบทความวาดวย “การแกไขปญหาทุจริตคอรัปชัน่ ” ลงตีพมิ พในวารสารยุตธิ รรมคขู นาน ฉบับนีเ้ ปนแหงแรกอีกดวย พรอมกันนีเ้ นือ้ หาอืน่ ๆ ภายในวารสารยังบรรจุดว ยขอเขียนบทความของผทู รง คุณวุฒผิ มู ชี อื่ เสียงเปนทีร่ จู กั อยางมากมายอีกเชนเคย ความสำเร็จในวันนี้ยอมไมอาจเกิดขึ้นได หากปราศจากแรงบันดาลใจและความมุงมั่นของ คณะกรรมการบริหารทุกทาน ตลอดทัง้ ความเมตตาจาก ทานประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ คณะที่ ปรึกษากิตติมศักดิแ์ ละผทู รงคุณวุฒขิ องศูนยศกึ ษาวิจยั ฯ ทุกทาน ทีไ่ ดใหความกรุณา ชีแ้ นะแนว ทางการดำเนินงานและสนับสนุนกิจกรรมในทุกๆ ดานของศูนยศกึ ษาฯ มาโดยตลอด ซึง่ ศูนย ศึกษาวิจยั ฯ จะยึดมัน่ ในอุดมการณและรักษาดุลยภาพมาตรฐานแหงจริยธรรมในการสรางสรร สงเสริมสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมดานตางๆ เพือ่ ใหเกิด “ความเปนธรรมในสังคมไทย” ใหเกิด ขึน้ ไดอยางแทจริง

ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น กรรมการผอู ำนวยการศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย บรรณาธิการ



หนา กาวนีแ้ ละกาวตอไปบนความพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

1

Sino-British Seminar on the Application Standards and Limitations of the Death Penalty Professor Roger Hood

15

การทุจริตคอรรปั ชัน่ ของไทยและแนวคิดการแกไขเบือ้ งตน ดร.อุทศิ ขาวเธียร

31

ระบบคณะลูกขุนในคดีอาญาของประเทศญีป่ นุ ชาติ ชัยเดชสุรยิ ะ

45

ความรูเรื่องการสื่อสาร และมาตราการการรักษาความปลอดภัยในการสื่อสาร เขตขัณฑ ดำรงไทย

57

สภาพการณและปญหาอุปสรรคในการปฏิรูประบบราชการเพื่อวิวัฒนสูหลัก “ธรรมาภิบาล” ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น

71

ผลการสัมมนาเรื่อง “ปรับโครงสรางตำรวจเพื่อประชาชนหรือเพื่อใคร” ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น

79



ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล



คำบรรยายพิเศษ โดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล* ทำไมตองเศรษฐกิจพอเพียง ในปจจุบนั มีการพูดถึงเรือ่ งความพอเพียงจนดูเหมือนเปนกระแส เชน นวัตกรรมแหงความพอเพียง ศิลปแหง ความพอเพียง การแพทยแบบพอเพียง ฯลฯ การเขาใจ และการปฎิบตั ติ นใหถกู ตองจึงเปนเรือ่ งสำคัญวา การทำตัวใหดเู ขากับกระแส การบรรยายในครัง้ นีเ้ พือ่ ใหเขาใจเหตุผลทีน่ ำไปสแู นวคิดเศรษฐกิจพอเพียง อัน จะทำใหทา นมีความเขาใจ และปฏิบตั ติ นไดอยางถูกตองตามแนวคิดนี้ ซึง่ กอนอืน่ เราจะตองรจู กั โลก รจู กั ตนเอง แลวจึงจะนำไปสกู ารทำความเขาใจแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ทำความรจู กั โลก เราจะมาทำความรจู กั โลกในแผนภูมแิ ผนเดียว โลกเกิดเมือ่ ประมาณ 4,600 ลานป ในระยะเวลาประมาณ 4,600 ลานปทผี่ า นมามีเหตุการณ(ในทำนอง ทีอ่ าจจะเรียกวา)โลกแตกได ซึง่ ในประวัตศิ าสตรของโลกจะพบ วาโลกผานเหตุการณในทำนองนีม้ าแลวถึง 5 ครัง้ แตเปนทีน่ า สังเกตวาระยะของการเกิดเหตุการณแบบนีน้ นั้ กระชัน้ ขึน้ มาเรือ่ ย หากจะอธิบายใหเกิดความเขาใจทีช่ ดั เจนขึน้ จึงไดมกี ารเปรียบเทียบเวลาทีผ่ า นมาของโลก ใหเปนเวลาใน 1 ปปฏิทนิ (ดังทีแ่ สดงในแผนภูม)ิ จะเห็นวาโลกมีววิ ฒ ั นาการในชวงแรกทีช่ า มาก เมือ่ เริม่ แรกมีสงิ่ มีชวี ติ สัตวเซลเดียว กอนทีจ่ ะมีการพัฒนาเปนสัตว และพืชอืน่ ๆ ประมาณปลายเดือนมีนาคม (3,500 ลานปกอ น) จึงมีสงิ่ มีชวี ติ ทีส่ ามารถสังเคราะหแสงเปนอาหาร และ พลังงานได แตกวาจะมีสงิ่ มีชวี ติ ทีม่ กี ระดูกสันหลังตองรอจนถึงวันที่ 19 พ.ย. (500 ลานปกอ น) 27 พ.ย. (438 ลานปกอ น) การสูญพันธคุ รัง้ ใหญที่ 1 3 ธ.ค. (367 ลานปกอ น) การสูญพันธคุ รัง้ ใหญที่ 2 12 ธ.ค. (248ลานปกอ น) การสูญพันธคุ รัง้ ใหญที่ 3 15 ธ.ค. (209ลานปกอ น) การสูญพันธคุ รัง้ ใหญที่ 4 27 ธ.ค. (65 ลานปกอ น) การสูญพันธคุ รัง้ ใหญที่ 5 การสูญพันธคุ รัง้ ใหญนนั้ นักมานุษยวิทยานิยามวาหมายถึงสิง่ มีชวี ติ สายพันธชุ นิดตางๆ กวา 90% สูญพันธไุ ป เมือ่ 31 ธ.ค. เวลา 15.00 น. (ประมาณ 2 ลานปกอ น) ไดเกิดสิง่ มีชวี ติ สายพันธทุ เี่ รียกวามนุษย ซึง่ อาศัยอยใู น * 1

เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา และที่ปรึกษากิติมศักดิ์ศูนยศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย หัวขอการบรรยายนี้เปนการถอดคำบรรยายที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ไดกรุณาใหเกียรติบรรยายพิเศษเนื่องในงานเปดตัว “ศูนยศึกษาวิจัยและพัฒนา กระบวนการยุติธรรมไทย” เมื่อวันพุธที่ 29 พฤศจิกายน 2549 ณ หอประชุมใหญ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (ถอดคำบรรยายและทำอางอิงคำสำคัญ โดย เขตขัณฑ ดำรงไทย กรรมการบริหารศูนยศึกษาวิจัยฯ)

1

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ทงุ โลง หรืออาศัยอยใู นถ้ำ แลวเพียงไมทนั จะขามคืน คือ เมือ่ 2 วินาทีกอ นเทีย่ งคืน (ประมาณ 200 ปกอ น) สิง่ มีชวี ติ นีไ้ ดพฒ ั นาเทคโนโลยีการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม การพัฒนานีท้ ำใหเกิดการอุปโภค บริโภคอยางมาก มาย เชน การใชออกซิเจนหายใจ และขับถายของเสียเปนคารบอนไดออกไซดออกมา ซึง่ ของทีบ่ ริโภคเขา ไปจะถูกขับถายออกมาเปนของเสีย หรือขยะ มนุษยนนั้ บริโภคทรัพยากรธรรมชาติ แลวก็ขบั ถายของเสีย กลับสูธรรมชาติ การบริโภคของมนุษย ทำใหมนุษยเปนทั้งผูบริโภค และทำลาย แตที่นาเปนหวงคือ ขณะนีม้ นุษยบริโภคในอัตรา 3:1 หมายความวาเราใชทรัพยากรธรรมชาติไป 3 สวน แตธรรมชาติกลับสราง ทรัพยากรใหมกลับมาได 1 สวน นัน่ คือ มนุษยกำลังบริโภคเกินพอดี เมือ่ เราบริโภคเกินพอดีกจ็ ะมีปญ  หา การเอารัดเอาเปรียบกัน ปญหาการแกงแยงทรัพยากร ฯลฯ เรากำลังบริโภคเกินทุนทีม่ อี ยู ซึง่ การบริโภคทีเ่ กิน พอดีทำใหมปี ญ  หาในทุกดาน ทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิง่ แวดลอม ในตอนนีโ้ ลกเรามีเพียงขัว้ เดียว ตางจากสมัยกอนทีม่ ที นุ นิยม เสรีนยิ ม สังคมนิยม คอมมิวนิสต สมัยปจจุบนั เราถูกกระตนุ ใหเกิดการบริโภค ทัง้ นีเ้ พราะระบบทุนนิยมมงุ แสวงหากำไร การจะทำกำไรจะตองมีความตอง การ(อุปสงค - Demand) มีการโฆษณาเพือ่ กระตนุ ความอยาก วันนีม้ คี วามอยาก 1 ชิน้ พรงุ นีจ้ ะทำกำไรให ไดมากกวาเดิม (การขยายตัวของเศรษฐกิจ) ตองทำใหมคี วามอยากเพิม่ เปน 2 ชิน้ ถาหากหยุดความตองการ โลกระบบเศรษฐกิจทุนนิยม เสรีนยิ มจะพังเสียหาย เมือ่ ระบบเศรษฐกิจเปนแบบนีจ้ งึ มีการกระตนุ ความอยาก คิดคน สรรหาสิง่ อำนวยความสะดวกมาสนองเพือ่ ใหการบริโภคเพิม่ แตการพัฒนานีก้ ม็ กี ารทำลายแฝงมาดวย เราจะมาดูตวั อยางในสิง่ ทีใ่ กลตวั และเปนสวนหนึง่ ของชีวติ คือ พลังงาน ในอดีตสมัยที่วิทยาศาสตร และเทคโนโลยียังไมพัฒนาเทาที่ควร เราเริ่มมีการวิวัฒนะกันจริง ก็ประมาณป ค.ศ. 1950 ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2503) กอนหนานัน้ การบริโภค การใชพลังงาน จะคอยๆ เพิม่ อยางคอยเปนคอยไปตามปริมาณประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ แตเมือ่ มีการพัฒนาวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ทำใหมสี งิ่ อำนวยความสะดวกเพิม่ ขึน้ ก็จะเห็นไดวา การบริโภคมีเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วในอัตรา เรงทีเ่ ร็วยิง่ ขึน้ (ดูเสนกราฟในแผนภูม)ิ ทัว่ โลกพยายามเรงการเจริญเติบโต (รวยก็ดี เศรษฐกิจพอเพียงก็ไมใชทำใหจน แตเปนการจัดการใหเจริญ แบบยัง่ ยืน ไมใชรวยแลวลม โตแลวแตก) ทุกๆ เปอรเซ็นตของการเจริญเติบโตจะมีความสัมพันธกบั ปราก ฎการณกาซเรือนกระจก (โลกรอน) ซึง่ ปรากฎการณนเี้ ริม่ เปนทีก่ งั วลมากขึน้ ทุกที เราอาจจะยังไมเปนหวง อะไรนักในตอนนี้ แตวา เมือ่ อุณหภูมสิ งู ขึน้ น้ำแข็งทีข่ วั้ โลกจะละลาย ทำใหน้ำทะเลสูงขึน้ น้ำในแหลงงน้ำ ระเหยไปในบรรยายกาศมากขึน้ ทำใหฝนตกมากขึน้ น้ำจะทวมมากขึน้ ไมใชทว มเฉพาะทีป่ ระเทศไทยเทา นัน้ อเมริกา ยุโรปก็มนี ้ำทวมมากขึน้ มีนกั วิทยาศาสตรลองคำนวณดูพบวา ถาอุณหภูมโิ ลกเพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ ปละ 1 – 2 องศา ภายใน 100 ป ชายหาดทะเลของประเทศไทยจะอยทู นี่ ครสวรรค หรือตัวอยางทีฝ่ รัง่ เศส เมือ่ 2 ปทแี่ ลวคลืน่ ความรอนทำใหมผี เู สียชีวติ 10,000 กวาคน ธรรมชาติเริม่ เตือนเราแลว ปจจุบนั เราอยกู นั อยางฝนธรรมชาติ เราตัดไมทำลายปา ฟองน้ำธรรมชาติทดี่ ดู ซับน้ำก็ไมมี แทนทีจ่ ะปรับตัว ใหเขากับธรรมชาติ พระเจาอยหู วั ทรงสอนใหเมือ่ สมัยทีถ่ วายงานในป พ.ศ. 2524 บทเรียนบทแรก คือ ตอง ใหความเคารพภูมสิ งั คม (ภูมปิ ระเทศ และสังคม) หรือทีค่ นโบราณใหยดึ เอา ดิน น้ำ ลม ไฟ ในอดีตคนไทย ปลูกบานแบบรอรับน้ำทวม มีใตถนุ บานสูง โลง แตปจ จุบนั เราสรางบานเลียนแบบฝรัง่ (ปลูกบานทรงสเปน ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

2


ทีส่ เปนแหงแลงเกือบเปนทะเลทราย) ไมเหมาะกับประเทศไทย เพราะมนุษยในแตละภูมภิ าคคิดไมเหมือน กัน ประเพณี คานิยม ไมเหมือนกัน มีสภาพภูมปิ ระเทศ สังคมตางกัน นีห่ ยิบมาพูดเฉพาะเรือ่ งพลังงาน ยังไมไดพดู เรือ่ งดิน เรือ่ งน้ำทีม่ คี วามเสียหาย พอเจริญสูงขีดไมมอี ะไรให กิน ทีญ ่ ปี่ นุ มีรา นสะดวกซือ้ ขายออกซิเจนกระปอง พัฒนาสุดขีด จนกระทัง่ ตองซือ้ อากาศหายใจ ซึง่ เปนเรือ่ ง ประหลาด ยิง่ เจริญแตยงิ่ ขาดแคลน แตตอนจนทุกอยางมีพรอมสมบูรณ ทำความรจู กั ตนเอง พวกเรามัวแตพะวงเรือ่ งเศรษฐกิจ กลัววิกฤตเศรษฐกิจอยางบทเรียนเมือ่ 10 ปทแี่ ลวทีฟ่ องสบแู ตก ขอเรียน ในฐานะอดีตทีเ่ ปนเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมชาติ ความเจริญแบบนัน้ เปนเรือ่ งหลอกตา ทีจ่ ริงแลวฟองสบทู แี่ ตกนัน้ ไมใชการแตกครัง้ แรก เคยแตกมาแลวหลายครัง้ ครัง้ นัน้ เปนครัง้ ที่ 3 หรือครัง้ 4 การแตกแตละครัง้ ก็มผี ลกระทบมากบางนอยบาง แตแตกมาเปนระยะๆ ตอนแตกก็ไมไดแตกตอนซูบซีด แตแตกตอนกำลังพองโต โตแลวแตก เปนเรือ่ งสัจจะธรรม ลูกโปงเปาเกินพอเพียงก็ระเบิดใสหนา ถาเปา ใหพอดีกเ็ ลนไดนาน เปานอยไปก็ไดลกู โปงเหีย่ วๆ เรือ่ งความพอเพียงเปนเรือ่ งสัจจะธรรม แตคนทีม่ กี เิ ลส ตัณหาครอบงำมองไมเห็นสัจจะธรรมนี้ 2 ปกอ น เคยพูดวาระวังนะ 4 ลิตรรอย ใครๆ ก็หวั เราะ บอกวาอาจารยสเุ มธชอบขู แลวถึงตอนนีน้ ้ำมัน 3 ลิตรรอย และก็อาจจะขึน้ ไปถึง 2 ลิตรรอยก็ได เพราะเปนธรรมดาของ(น้ำมัน)มีแคนนั้ พอมีการใชเพิม่ ขึน้ ๆ ของทีม่ นั เปนของหายาก มีจำกัดก็ตอ งแพงขึน้ ไมจำเปนตองไปเรียนเศรษฐศาสตรมนุษยทมี่ สี ามัญสำนึกก็พอ จะเขาใจได วิกฤตทีเ่ กิดขึน้ เปนระยะพอจะเรียงลำดับไดดงั นี้ พ.ศ. 2516 วิกฤตเศรษฐกิจน้ำมันแพง พ.ศ. 2522 วิกฤตเศรษฐกิจลดคาเงินบาท2 พ.ศ. 2524 วิกฤตเศรษฐกิจลดคาเงินบาท พ.ศ. 2528 วิกฤตเศรษฐกิจขาดดุล(ชำระเงิน) - เปนหนี้ พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจลดคาเงินบาท – เปลีย่ นการคำนวณคาเงินบาทจากระบบตะกราเงินบาท3เปนระบบ คาเงินบาทลอยตัว4 2 การลดคาเงินบาท คือ การกำหนดใหคาเงินบาทเมื่อเทียบกับเงินตราสกุลตางประเทศมีคาลดลง เชน ใหเปลี่ยนอัตราการแลกเปลี่ยนจาก 20 บาทตอ 1ดอลลารสหรัฐอเมริกาเปน 25 บาทตอ 1 สหรัฐอเมริกา แตเมือ่ ลดคาเงินแลวธนาคารแหงประเทศไทยจะยังคงควบคุมเพือ่ กำหนดใหอตั ราแลกเปลีย่ น คงอยูที่อัตราที่กำหนดใหม 3 ระบบตะกราเงินบาท คือ การกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนตราระหวางเงินบาทกับสกุลเงินตราตางประเทศโดยอางอิงกับสกุลเงินตราตางประเทศที่เปน คูคาที่สำคัญๆ ของไทย เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สหราชอาณาจักรอังกฤษ ฝรั่งเศส ฯลฯ โดยธนาคารแหงประเทศไทยจะนำขอมูลมูลคาการคา และ การลงทุนที่มีระหวางกันของไทยกับประเทศคูคามาชวยในการกำหนดคาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราคากลางคาหนึ่งสำหรับใชอางอิง ประเทศไหนที่มี มูลคาการทำธุรกรรมทางการเงินมากก็จะไดรับอัตราเปอรเซ็นตน้ำหนักในการคำนวณในระบบตะกรามาก ทำใหไดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่คอน ขางเหมาะสมสำหรับทุกประเทศทีค่ า ขายกับไทย แทนทีก่ ารผูกติดกับอัตราแลกเปลีย่ นของประเทศใดประเทศหนึง่ ซึง่ อาจจะทำใหประเทศไทยเหมาะ ที่จะแขงขันกับประเทศอื่นๆ ในสกุลเงินประเทศนั้นแตเสียเปรียบในการแขงขันในสกุลเงินอื่นๆ 4 ระบบคาเงินบาทลอยตัว คือ การยกเลิกบทบาทในการกำหนดควบคุมอัตราแลกเปลีย่ นเงินบาทกับอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราสกุลตางประเทศ โดยปลอย ใหอัตราแลกเปลี่ยนระหวางสกุลเงินถูกกำหนดโดยความตองการของตลาด สวนจะปลอยใหการเปลี่ยนแปลงของคาเงินในแตละวันมีการเคลื่อน ไหวอยางเสรี หรือจะมีกรอบการเคลื่อนไหว มีการแทรกแซงเพื่อลดความผันผวนลงบางเพื่อไมใหกระทบธุรกิจบางภาคที่อาจจะปรับตัวไมทัน แลว แตความเหมาะสม หรือนโยบายของฝายบริหารนโยบายเศรษฐกิจ

3

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ซึ่งนี่ชี้ใหเห็นวาบทเรียนของโลกวา ไมมีทางที่ธรรมชาติจะสนองตอบความฟุงเฟอของเราได เพราะเรา บริโภคเกินความพอดี มากเกินไป ดูของในบานแตละคนมีสมบัตกิ ชี่ นิ้ สุภาพสตรีมเี สือ้ ผาเต็มตู แลวก็ยงั ซือ้ ใสเติมไปเรือ่ ยๆ ไมรวู า ไดใสหมดทุกตัวหรือเปลา มีเทาอยสู องขาง แตมรี องเทากีค่ ู มนุษยสว นใหญกว็ นเวียน อยใู นกิเลส ตัณหา เวียนวายตายเกิดในวงเวียนนี้ มีแตความทุกข ตอนวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติแผนที่ 8 ผมขอใหหยุดเรือ่ งความเจริญเติบโตการพัฒนา ผมขอใหใชคำวาคนเปนศูนยกลางการพัฒนา หันกลับมาสนใจคน ซึง่ การพัฒนาคนนีไ้ มใชกำลังคน หรือ ขีดความสามารถเทานัน้ แตคนเปนทุกมิติ บทบาทของคนในสังคม มีความยุตธิ รรม ความดี ความถูกตอง เกิดขึ้นในสังคม หยุดเอามาตรวัดความร่ำรวย กอนจะออกจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมชาติ ผม(อาจารยสเุ มธ) ขอใหเขาชวยหามาตรวัดใหม ชวยใชมาตรวัดอยดู มี สี ขุ เพราะมาตรวัดความร่ำรวยมัน หลอกเรา พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ทรงรับสัง่ ไวตงั้ แต พ.ศ. 2517 “ขอใหทกุ คนมีความปรารถนาทีจ่ ะให เมืองไทย พออยพู อกิน” การอยดู กี นิ ดี ไมจำเปนตองกินของแพง ของแพงไมใชของดี เนือ้ แพงๆ ชิน้ ละ 400 บาททีว่ า กันเขาปากแลว ยยุ ละลาย ละลายแลวไปไหนก็ไปอยเู กาะตามผนังเสนเลือด สุดทายก็ตอ งไปทำบายพาส ทำบอลลูน สวนหู ฉลามกินไปก็ไปเพิม่ คลอเลสเตอรอล แลวเปนโรคความดันโลหิตสูง แลวก็ตอ งกินยาละลายไขมัน ตองอด ขาว เพราะอวนเกินไป พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ทรงรับสัง่ มา 60 ปกอ นฝรัง่ จะสนใจ แตคนไทยไม สนใจมัวแตตามกนฝรัง่ ตองใหฝรัง่ ออกมาพูดเรือ่ งGross National Happiness ถึงจะมาตืน่ เตนศึกษากันใหญ ทีพ่ ระองคตรัสไวตงั้ แตวนั ทีข่ นึ้ ครองราชย “เพือ่ ประโยชนสขุ แหงมหาชนชาวสยาม” ซึง่ หมายถึงใหรวย และ มีความสุข หรืออีกเรือ่ งก็ คือ แนวคิดเรือ่ ง Good Governance ซึง่ ก็ตอ งทะเลาะกันเสียกอนจึงไดคำทีเ่ รียกกัน วา ธรรมาภิบาล แตพระเจาอยหู วั ทรงรับสัง่ ดวยคำงายๆ “เราจะครองแผนดินโดยธรรม” ธรรมะ คือ ความ ยุตธิ รรม ความดีงาม ความถูกตอง “ธรรม” ของพระเจาอยหู วั คือ กฎเกณฑของผบู ริหารทีจ่ ะตองปฎิบตั ิ หรือ ทศพิธราชธรรม ในขณะนีท้ วั่ โลกเริม่ หันกลับมาสนใจวิธกี ารจัดการวาทำอยางไรจะทำใหโลกนีด้ ำรงอยไู ด บริโภคไป 1 ชดเชย กลับมา 1 ใหเราอยไู ด ลูกหลานอยไู ด เหลนโหลนก็อยไู ดตลอดไป เราตองจัดการโลกใบนี้ ตองทำใหได ตัวอยางวิธกี ารประหยัด จัดการเพือ่ การประหยัดพลังงานในประเทศไทย แคเปลีย่ นหลอดไฟเปนหลอด ประหยัดพลังงาน (เปลีย่ นหลอดอวนเปนหลอดผอม) จำนวน 230 ลานหลอดการเปลีย่ นหลอดไฟนีส้ ามารถ ประหยัดพลังงานไดถงึ ปละ 300 เมกะวัตตหรือเทากับโรงงานผลิตไฟฟาแมเมาะ 1 โรง เครือ่ งปรับอากาศ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ปละ 400,000 เครือ่ ง ทำใหเกิดความตองการพลังงานไฟฟาเพิม่ ขึน้ 600 เมกะวัตตซงึ่ หมายถึงตอง การโรงไฟฟาแมเมาะเพิม่ ขึน้ 2 โรง ตองจัดสรรงบลงทุนกอสราง 15,000 ลานบาท แลวเราจะสนองตอบความ ตองการนีไ้ ดอยางไร ถึงเวลาตองเปลีย่ นวิธคี ดิ วิธจี ดั การไมใชมคี วามตองการเทาไรก็ตอ งสนองตอบเทานัน้ เราจะตองคิดวาทัง้ ประเทศมีขดี ความสามารถผลิตพลังงานใหไดเทานี้ เราตองหาวิธจี ดั การตัวเอง ปรับตัวเขา มาหาสิง่ ทีม่ อี ยใู หพอเพียงใหได เชน มีความจำเปนอะไรทีต่ อ งเปดทีวี 24 ชัว่ โมง ถามีความจำเปนบังคับวา เราผลิตพลังงานไฟฟาไดเทานี้ พอแคเปดทีวไี ดวนั ละ 10 ชัว่ โมง พลังงานทีเ่ หลือตองใชเพือ่ กิจกรรมทาง ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

4


เศรษฐกิจอื่นๆ ที่มีประโยชนมากกวา ซึ่งวิธีคิดแบบใหมนี้เริ่มแพรกระจายไปทั่วโลก เชน การคืนสูวิถี ธรรมชาติ (Back to Nature) , การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน หรือ การพัฒนาทีส่ มดุล (Sustainable Development), การ พัฒนาทีอ่ นุรกั ษสงิ่ แวดลอม (Green Development) ซึง่ ในเมืองไทยเมือ่ พวกเราประสบปญหา เจอวิกฤตตางๆ พระเจาอยหู วั จึงทรงแนะใหใชเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ทีพ่ ระองคทรงสอนเกีย่ วกับเศรษฐกิจพอเพียงมี 3 คำใหญเทานัน้ ● ● ●

พอประมาณ มีเหตุมผี ล มีภมู คิ มุ กัน

ซึ่งการปฎิบัติสามารถนำไปปฎิบัติไดในทุกระดับตั้งแตระดับประเทศ ทั้งระดับองคกร หนวยงาน มหาวิทยาลัยจนถึงระดับบุคคล โดยจะมีลำดับขัน้ ในการปฎิบตั ดิ งั นี้ 1) รจู กั ตนเอง คนโบราณพูดวาใหรจู กั ประมาณตน (Assessment) การจะรจู กั ตนเอง ตองดูทตี่ นเองวา ตัวเอง มีสมบัติ มีมรดกอะไรบาง มีทนุ อะไรบาง ประมาณเสนกลางวาเสนกลางของตัวเองอยทู ไี่ หน ไมใชมรี อ ยบาท ใชรอ ยบาท ตองใชใหสมฐานะ ระดับชีวติ แตละคนไมเหมือนกัน อาจจะขับรถสปอรตก็ได แตไมใชไปกมู า ซือ้ ตองไมกนิ ทุน ถาคนไหนขีดความสามารถไมถงึ ก็อยาทำอะไรเกินตัว ไปกหู นีม้ าใชจา ยในสิง่ ฟมุ เฟอย ไม เปนประโยชนและไมจำเปน 2) ใชเหตุผล ใหดสู งิ คโปรเปนตัวอยาง ทำไมสิงคโปรไมทำเกษตร เพราะเขาไมมดี นิ เขาประมาณตน พบวา เขาไมมอี ะไรเลย มีแตทรัพยากรคนเทานัน้ มีแตเกาะกับกอนหิน น้ำกินยังไมมี ตองไปขอซือ้ น้ำใช(จาก มาเลเซีย) ดังนัน้ เขาจึงพัฒนาคน ทำใหคนเขาทำตัวเปนนายหนา คนกลางคาขายหากำไรแทน แตละประเทศ จะตองเลือกดำเนินการตามลักษณะทีแ่ ตละประเทศจะเอือ้ อำนวย อยางเราเกงเรือ่ งเกษตร ตอนทีเ่ กิดวิกฤต เศรษฐกิจทีผ่ า นมา บริษทั ทีท่ ำเกีย่ วกับอาหารแทบจะไมกระทบ ขาดทุนนิดหนอย แตขณะนัน้ เราไมพอใจ ไมเอา อยากเปนนิคส (NICs - Newly Industrialised Countries) คือ ประเทศอุตสาหกรรมใหม แตเราลืมไป นิคสนะหมายถึงอีกคำ (NICs - Narok Is Coming Soon) นรกกำลังมา นรกมันมากอน ราวๆ ป พ.ศ. 2512 นัน้ ประเทศไทยเปน 1 ใน 7 ทีม่ อี าหารเหลือกินเหลือใช แตพวกเรากลมุ ใจอยากพัฒนาอุตสาหกรรม อยาก รวยเร็วๆ โตเร็วๆ โดยทีล่ มื ไปวารวยเร็วๆ ก็ลม เร็วๆ โตเร็วเกินไปก็แตกเร็ว จะทำอะไรตองใชสติปญ  ญา ทำให พอดี 3) มีภมู คิ มุ กัน การจะทำอะไรตองระมัดระวัง ไมใชมเี ทาไรใชใหหมด พรงุ นีอ้ ะไรจะเกิดขึน้ ก็ไมรู ตองระมัด ระวังพระพุทธเจากอนจะดับขันธปรินพิ พานไดทงิ้ สมบัตไิ วใหพวกเราพุทธศาสนิกชนวา ทานทัง้ หลายพึง ตัง้ อยใู นความไมประมาทวันนีพ้ ระเจาอยหู วั ทรงสอนวา ทำอะไรใหมภี มู คิ มุ กัน ซึง่ เหมือนกันกับคำสอนของ 5

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


พระพุทธเจาแลวนีก่ ท็ นั สมัยสอดคลองกับแนวคิดพวกฝรัง่ ตลาดหลักทรัพยบงั คับวาตองมีการบริหารความ เสีย่ ง (Risk Management) นีเ่ ปนคำสำคัญ 3 คำ ใชไดในทุกระดับ ทัง้ กับตัวเองจนถึงระดับชาติ ถาทำไดดงั นี้ ความร่ำรวยจะอยยู งั่ ยืน อาจจะไมรวยมากแตจะรวยยัง่ ยืน รวยเรือ่ ยๆ เงือ่ นไขสำคัญ คือ ตอง รอบรู รอบคอบ และทีส่ ำคัญ คือ ไมไกง ไมทุจริตคอรรัปชั่น ถาทุกหนวยทำไดอยางนี้ เราก็จะรวย รวยชาๆ แตมั่นคง และสุดทายก็คือ ประโยชนสขุ การสรางความพอดี 5 ประการ การจะแปลงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใหไปสกู ารปฎิบตั จิ ะตองสรางความพอดี 5 ประการ คือ 1) ความพอดีทางดานจิตใจ เราตองไมดทู คี่ นอืน่ ตองดูทตี่ วั เราเอง ตองมีจติ ใจเข็มแข็ง ไมใชหลงไปตามกิเลส ตัณหา หลงทำตามกระแส ไมใชไปเทีย่ วตามกระแสซือ้ นาฬิกาเรือนลาน โรแหลก ซือ้ ทีกระเปาก็แหลกตาม การสรางความพอดีตอ งมีจติ ใจเข็มแข็ง มีจติ สำนึกทีด่ ี เอือ้ อาทรตอกัน ประนีประนอม คิดถึงประโยชนสว น รวมเปนหลัก 2) ความพอดีดา นสังคม เราไมอยคู นเดียวในโลก เราดีคนเดียวยังไมพอ แตเราจะตองมีความสัมพันธกบั คนอืน่ เราตองชวยเหลือ เกือ้ กูลกัน รรู กั สามัคคี สรางความเข็มแข็งใหครอบครัว และชุมชน 3) ความพอดีดา นทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม เราตองเลิกนิสยั การใชทรัพยากรอยางลางผลาญ กิน ทิง้ กินขวาง เดีย๋ วนีร้ า นอาหารหันมาใชตะเกียบแบบใชครัง้ เดียวแลวทิง้ สินคาใชครัง้ เดียวแลวทิง้ มีเต็มไปหมด ทุนนิยมทำใหเราเคยตัว สะดวก ทำใหเรามีชวี ติ แบบฟงุ เฟอ ฟมุ เฟอย เพราะฉะนัน้ การจะสรางความพอดี ในเรือ่ งนี้ เราตองรจู กั ใช จัดการอยางฉลาด และรอบคอบ อยาเปนแคนกั อนุรกั ษ เอาแตอนุรกั ษแลวไมใชกไ็ ม ได ตองบริหารจัดการใหเปน ใหมอี ยใู หเราใชไดอยางไมรจู บ ไมใชเก็บไว ตองใช แตใชไหไดแบบไมรจู บ ใชไปหนึ่งชดเชยกลับมาหนึ่ง ไมใชใชไปสามชดเชยกลับมาหนึ่ง เลือกใชทรัพยากรทีอยูใหเปน ใหเกิด ประโยชนสงู สุด ไมสรางขยะ สรางความฟมุ เฟอย 4) ความพอดีดา นเทคโนโลยี การใชเทคโนโลยีทมี่ คี วามเหมาะสม ไมใชปด ประเทศอยอู ยางลาหลัง ตองปรับ ปรุงดวยเทคโนโลยี ตองคัดสรรเทคโนโลยีทจี่ ะใชใหเกิดประโยชนจริงๆ สอดคลองกับความสำคัญ กอ ประโยชนกบั คนหมมู าก ไมใชเทคโนโลยีทสี่ นองตัณหา สิน้ เปลืองพลังงาน 5) ความพอดีดา นเศรษฐกิจ ความพอดีดา นเศรษฐกิจนัน้ จะตองมงุ ลดรายจายกอน มีรายไดเทาไร ตองจัดการ ใหได ไมใชดตู วั อยางทีค่ นอืน่ ตองมีอยพู อกิน พอใช ไมใชจา ยเกินตัว หารายไดใหอยไู ด คอยเปนคอยไป หลีกเลีย่ งการกอหนี้

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

6


ความพอดีทงั้ 5 ประการนีจ้ ะตองสรางใหได ถาสรางไดชวี ติ จะมีความสุข กอนจบขอฝากแนวในการบริหาร สิ่งที่สำคัญที่สุดในการบริหาร คือ ความดีความถูกตอง ใหยึดวิธี ปฎิบตั ทิ ศพิธราชธรรมเปนหลัก ซึง่ มีทงั้ สิน้ 10 ประการ คือ ทาน (ทานํ) ศีล (ศีล)ํ บริจาค (ปริจาคํ) ความซือ่ ตรง (อาชชวํ) ความออนโยน (มัททวํ) ความเพียร (ตปํ) ความไมโกรธ (อกฺโกธ) ความไมเบียดเบียน (อวิหสึ ฺจ) ความอดทน (ขนฺต ิ จฺ ) ความยุตธิ รรม (อวิโรธนํ) ทาน ศีล ปริจาคะ อาชชวะ มัททวัง ตปะ อโกรธะ อวิหงิ สา ขันติ อวิโรธนะ

คือ การให การเสียสละ ใหถอื ศีลหา(อยางนอย) ทุกศาสนาลวนมีขอ กำหนดใหถอื ศีล ไมวา จะเปน ศาสนาพุทธ ศาสนา คริสต ศาสนาอิสลาม หมายถึงการให คลายกับทาน หมายถึง การให การเสียสละ แตปริจาคะ หมายถึง การใหทมี่ ี ลักษณะการใหประโยชนเล็ก เพือ่ ประโยชนทใี่ หญ (เสียสละความสุขสวนตน เพือ่ ความสุขสวนรวม) หมายถึง ความซือ่ สัตย สุจริต อยาโกง ความสุภาพ เรียบรอย ออนนอม ถอมตน มีเจตนารมณอยางแรงกลา ทำความดี ทำถูกตอง ขจัดกิเลสตัณหา ขจัดความเกียจคราน ไมโกรธ จิตวาง ควบคุมอารมณ ทีบ่ า เมืองแยอยางทุกวันนีเ้ พราะโกรธะ คือ ไมเบียดเบียนกัน พอเบียดเบียนกันจะกอกรรมไมรจู บ ไมมใี ครไดรบั ความสุข ตองอดทน ชีวติ คนไมไดโรยดวยกลีบกุหลาบ ทุกขสขุ จะตองมา เหมือนพระมหาชนก รวู า ฝง ชีวติ อยขู า งหนา ตองวายอยางเดียว หนาทีข่ องเราทุกคน ไมวา จะร่ำรวย มัง่ มี ดีจน ตองวายไป ขางหนา คือ ทำแตสงิ่ ทีถ่ กู ตอง ไมยอมทำผิดแมแตนดิ เดียว ทำผิดไมได ผิดในทีน่ ตี้ อ งไมเพียงแตไมผดิ กฎหมายเทานัน้ ตองไมผดิ ธรรมนองคลองธรรม ธรรม ประเพณี ไมใชอา งวาถูกกฎหมาย ธรรม ขอนี้ มันอยทู เี่ จตนา แมวา จะถูกกฎหมายแตเจตนาโกง ก็ถอื วา โกง “หากทุกทานยึดทศพิธราชธรรมแลวนำไปปฏิบตั ชิ วี ติ จะมีความสุข” 7

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550



400

Millions of terajoules per year

300

200

100 traditional fuels 1900

1930

1960 9

1990 ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


Change in temperature ( Cํ ) 4 3 2 1 0 1950

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

2000

2050

10

2100


11

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550



Professor Roger Hood



Organised by the Research Centre of Criminal Jurisprudence of Renmin University of China and the Cultural and Educational Section of the British Embassy Beijing 11 to 12 March 20051

The enigma of the ‘most serious’ offences Roger Hood Professor Emeritus of Criminology, University of Oxford and Emeritus Fellow, All Souls College Oxford

Introduction So many excellent, well-informed articles were published on international aspects of the death penalty by Chinese scholars in the publication edited by Professor Zhao Bingzhi The Road of the Abolition of the Death Penalty in China, that it has not been easy to find a topic for this presentation, especially without repeating my own contribution to that book. 2 However, I thought that it might be useful to begin by placing the wording of section 6(2) of the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR) – ‘in countries which have not abolished the death penalty, sentence may be imposed only for the most serious crimes …’ – in its historical context. I do so in the hope that this will help to explain why such a vague, relativistic and ambiguous formulation was employed at the time that the Covenant was drafted. Secondly, I shall remind you, briefly, how the situation as regards the scope and practice of capital punishment has changed since section 6(2) was drafted and how these changes have necessitated a constant reappraisal of the meaning that should be attached to section 6(2) in the light of a ‘new wave’ of abolition. Third, I want to inform you of how capital punishment came to be abolished in the United Kingdom and the part played by the failed attempt to try to define, within the crime of

Table 1 has since been updated See Roger Hood ‘From Restriction to Abolition of the Death Penalty: An Historical and Comparative Note’ in Zhao Bingzhi (ed.) The Road of the Abolition of the Death Penalty in China. Regarding the Abolition of the Non-Violent Crime at the Present Stage, Renmin University of China, Series of Criminal Jurisprudence (44), Press of the Chinese People’s Public Security University, 2004, pp. 77-82.

1 2

15

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


murder, a category of the ‘most serious’. Contemporary attitudes towards capital punishment in the UK are also discussed. Last, I want to return to a theme on which I have talked previously on my visits to China. This is the necessity for open review, research and publication of statistics so as to inform the public of the manifold problems of the enforcement of capital punishment within a legal structure that is seeking to embrace the concepts of the rule of law and respect for human rights.

Placing section 6(2) in context One cannot appreciate how the concept ‘the most serious offences’ was chosen without recalling the situation as regards the extent of abolition of capital punishment at the time section 6(2) was drafted. As William Schabas informs us, the procedure for drafting the ICCPR began in a Drafting Committee of the United Nations Commission for Human Rights as long ago as the spring of 1947. Seven years were spent by the Committee in drafting the Covenant before it was sent to the General Assembly by way of the Economic and Social Council in 1954 and a further 12 years passed before it was adopted by the General Assembly of the United Nations in 1966. As Schabas goes on to explain, it was not Article 6 that held up the proceedings – the wording had been agreed in 1957 and was not subsequently amended. What took the time was the thornier question of whether the Covenant should include under ‘the right to life’ the complete abolition of capital punishment.3 Several countries, led by South American nations, supported abolition but in 1957, the year section 6 was finally approved, abolitionist countries accounted for only a minority of the then 82 United Nations member States. A mere 10 countries had abolished capital punishment for all crimes in all circumstances: seven of them being in South America, with (West) Germany (which did not become a member state of the UN until 1973) being the only large European State that had done so.4 In addition a further nine western European countries had abolished capital punishment for murder and other ‘ordinary’ crimes in peacetime.5. By 1966, the year that the Covenant was approved by the United Nations General Assembly,

3

William A. Schabas, The Abolition of the Death Penalty in International Law, Cambridge University Press, 3rd ed. 2002, 45-77.

Venezuela (1863), San Marino (1865), Costa Rica (1877), Ecuador (1906) Uruguay (1907), Colombia (1910), Panama (1922), Iceland (1928), Federal Republic of Germany (1949), Honduras (1956) 4

Portugal (1867), Netherlands (1870), Norway (1905), Sweden (1921), Denmark (1933) Switzerland (1942), Italy (1947), Finland (1949), Austria (1950). Plus nine states of the USA, two in Australia and 24 in Mexico. Switzerland was not a memberstate of the UN in 1957, it became one in 2002. 5

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

16


there were still only 24 abolitionist states. And, as is well-known, it was to be another 10 years before the ICCPR came into force on 23 March 1976. Although the number of countries that had achieved abolition was relatively small, it cannot be denied that there was a wider sympathy for the idea that abolition should be the goal of all countries that supported the concept of human rights. Thus, the Chairman of the Working Party on the drafting of Article 6 stated: “it is interesting to note that the expression: ‘in countries which have not abolished the death penalty’ was intended to show the direction (my emphasis) in which the drafters of the Covenant hoped that the situation would develop,” as was the addition of Article 6(6), namely that ‘Nothing in this article shall be invoked to delay or prevent the abolition of capital punishment by any State party to the present Covenant.’6 Yet the belief that capital punishment might be necessary in certain circumstances was still strongly held. Indeed, Marc Ancel, the distinguished French jurist, had stated in 1962, as if it were not to be doubted: “Even the most convinced abolitionists realise that there may be special circumstances, or particularly troublous times, which justify the introduction of the death penalty for a limited period.”7 In these circumstances, it was hardly surprising that in seeking a consensus from countries, most of which still retained capital punishment, it was not possible to define more precisely those offences for which capital punishment could be retained. Certainly some countries would have preferred a clearer enumeration of the crimes for which it would remain permissible to impose the death penalty instead of relying on the concept of ‘most serious’.8 This is probably because they recognised that ‘most serious’ could be interpreted differently according to national culture, tradition and political complexion – the very antithesis of the notion of an attempt to create a universal declaration and definition of human rights. It seems to me therefore, that it is not sensible to try to look to the wording of section 6(2) for any help in interpreting the offences to which capital punishment might still be applied

6

Schabas, n. 2, p. 68.

7

Marc Ancel, The Death Penalty in European Countries. Report. Council of Europe, 1962, p. 3.

8

Schabas, n. 2 p. 105

17

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


in countries that have not abolished it. The term is a product only of its time. It was a ‘marker’ for the policy of moving towards abolition through restriction, nothing more specific than that. Indeed, it was long after section 6(2) had been drafted in 1957 that the General Assembly of the United Nations in Resolution 2857 of 1971 for the first time called specifically for ‘the progressive restriction of the number of offences for which the death penalty might be imposed, with a view to its abolition.’ It is noteworthy too that the resolution had to be repeated – reinforced – in 1977. The very notion of ‘progressive restriction’ makes it clear that the degree of ‘seriousness’ that would justify the death penalty would need to be evaluated and re-evaluated always in a narrowing of definition until abolition was eventually achieved. In reaching judgements about what would be an acceptable use of the death penalty reference would need to be made not only to changes in the practices of nations as they affected the norms that defined acceptable forms and levels of state punishments, but also to the development of the concept of human rights itself. Just as an almost universally agreed norm has developed that juveniles should be exempted from capital punishment other norms are in process of being established – for example, that where the death penalty is enforced it should never be mandatory, allowing discretion for the circumstances of the case to be considered. Thus, the Human Rights Committee in Carpo v The Philippines (No. 1077/2002) held that the mandatory imposition of the death penalty for the broadly defined offence of murder by Article 48 of the Revised Penal Code of the Philippines violated Article 6 of the ICCPR.9 The same process of dynamic interpretation must be followed in the interpretation of the concept of ‘most serious’. As you know, in 1984, the Economic and Social Council of the UN published ‘Safeguards Guaranteeing the Protection of the Rights of Those Facing the Death Penalty’. Safeguard 1 stipulated that the scope of the ‘most serious crimes’ ‘should not go beyond intentional crimes with lethal or other extremely grave consequences’. While this was some improvement it hardly went very far, as might be expected when the majority of countries still retained capital punishment at that time. The term ‘other extremely grave consequences’ was particularly open to broad interpretation. The Human Rights Committee of the UN has, of course, stated that this ‘must be read restrictively to mean that the death penalty should be a quite exceptional measure’ and in line with this has, in resolutions and judgments called for it not to be used for non-violent financial crimes, non-violent religious practices or expressions of conscience, for sexual relations between consenting adults, drug related

9

Views adopted 28 March 2003

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

18


offences, illicit sex, vague categories of offences relating to internal and external security and aggravated robbery where no death ensued.10 Recently, the Human Rights Committee with respect to Vietnam noted that, “notwithstanding the reduction of the number of crimes that carry the death penalty from 44 to 29” it could be imposed for “opposition to order and national security violations”, both of which “are excessively vague and inconsistent with Article 6(2) of the Covenant”.11 My own view is that countries that retain the death penalty should move to restrict it to the most serious offences of murder and thus I have recommended that Safeguard 1 should now read: In countries which have not abolished the death penalty, capital punishment may be imposed only for the most serious offences of culpable homicide (murder), but it may not be mandatory for such crimes.12 But this, of course, should not be a justification for retaining capital punishment for murder.

The new abolition dynamic Between the drafting of the ICCPR and the present day there has been an enormous change in attitudes towards and state practices as regards capital punishment. Between 1957 and the end of March 2005 the number of abolitionist countries had increased from 19 to 94. Eighty-five of them (90 per cent) had abolished it completely for all offences in all circumstances, in peacetime and wartime, in civil and in military life. At least another 39 countries may be counted as abolitionist de facto (ADF), having not executed any persons for 10 years or more or having committed themselves more recently to cease executions, such as the Russian Federation, Kazakhstan and Kyrgyzstan. Altogether at least 24 – more than half – of these 39 countries appear fully committed never to carry out executions again, even though the death penalty remains for the time-being on their statute books. There were only 61 countries that were known to have executed any persons at all in the past 10 years and have not proclaimed a moratorium on executions – those that might be called ‘actively retentionist’. The pace of this change in recent years has been remarkable, as can be seen in the Table below, which compares the situation at the end of 1988, 1999

10

Schabas, n. 2, pp. 106-111.

11

UN doc. A/57/40 Vol.1, 2002, 82(7), p. 68. A/54/40/, Para 128

12

Roger Hood, The Death Penalty. A Worldwide Perspective. Oxford University Press, 3rd edition, 2002, p. 77.

19

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


and March 2005. In just 16 years the proportion of actively retentionist countries has fallen from 56 to 31 per cent and the abolitionists increased from 28 per cent to 49 per cent. Status of the death penalty at the end of 1988, 1998 and March 2005 Completely abolitionist

Abolitionist for Retentionist but ordinary crimes ADF

Actively retentionist

31 December 1988 (180 countries)

35 (19%)

17 (9%)

27 (15%)

101 (56%)

31st December 1998 (193 countries)

70 (36%)

11 (6%)

34 (18%)

78 (40%)

31 March 2005

85 (44%)

9 (5%)

39 (20%)

61 (31%)

But even amongst those that remain ‘actively retentionist’ no more than 43 have executed anyone within the last five years. And, as far as can be ascertained, some 16 of these countries executed no more than 10 people (an average of no more than two a year). According to the figures published by Amnesty International, only 18 countries are known to have carried out 20 or more judicial executions within the past five years and only eight are known to have executed at least a 100 (an average of 20 persons a year): China, Democratic Republic of the Congo, Iran, Saudi Arabia, Singapore, USA, Vietnam and Yemen. Furthermore, almost every country has shown a falling rate of executions in recent years.13 To take some examples: the number of executions in Belarus fell from 29 in 1999 to five in 2002 and one in 2003. In China, during the ‘strike hard’ campaign against criminality in 2001, Amnesty International recorded news of 2,468 executions, but recorded only 763 executions in 2003. We know, of course, that these are not the real totals, but they may reflect a downward trend. Forty-one executions were carried out in the province of Taiwan in 1999 and 2000, but only 7 in 2003. The figures for Singapore show a similar trend – 43 in 1999 to 19 in 2003. In the USA the number declined from a peak of 98 in 1999 to 65 in 2003. Executions are now confined to a relatively few US states. Over the five years 1999 to 2003 just 25 of the 38 states with the death penalty carried out an execution and only 11 of them did so in 2003. Indeed, two-thirds of all executions in the USA have taken place in six states, one third of them in Texas. The common picture of the USA as a whole supporting capital punishment is thus rather misleading.

13

Vietnam appears to be an exception, although no official figures have been published

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

20


Thus, there is evidence to suggest that where the abolitionist movement has not persuaded retentionist countries to abandon capital punishment it has had the effect of modifying the frequency with which they have recourse to executions. In line with the aspiration of United Nations policy, several countries have restricted the scope of capital punishment in recent years, often as a prelude to – or in conjunction with – a moratorium on executions, with a view to moving towards complete abolition.14 For example, in Uzbekistan, the death penalty is now available for only two crimes – murder with aggravated circumstances and terrorism – compared with 13 as recently as 1998.15. The new Belarus Criminal Code of 1999 appointed the death penalty for 15 fewer offences (in 14 rather than 29 Articles) than had the Code of 1960, and can now only be imposed ‘when it is dictated by special aggravating circumstances as well as an exceptional danger posed by the offender.16 In 2001, the Human Rights Committee, on receiving the report from the Democratic People’ s Republic of Korea welcomed the reduction of capital offences from 33 to 5 “as well as the readiness … confirmed by the delegation, further to review the issue of capital punishment with a view to its abolition”.17 Thus, it appears that further progress has been made with reducing the range of offences subject to capital punishment and in the further elimination of mandatory capital statutes. Another useful index is whether countries that had abolished the death penalty reintroduced it. This has not happened since the Philippines did do in 1993 and the American States of Kansas and New York in 1994 and 1995 respectively.18 It is also highly significant that the death penalty was excluded as a punishment by the UN Security Council when it established General Assembly Resolution 2857 (XXVI) and 32/61 In 2001 Uzbekistan abolished capital punishment for treason, criminal conspiracy, illegal sale of large quantities of narcotics, and rape of a female less than 14 years of age; in 2003 for aggression against another state and genocide. See Organisation for Security and Co-operation in Europe (OSCE) The Death Penalty in the OSCE Area, Background Paper 2004/1, p. 44. 14 15

16

UN doc.E/CN. 4/2003/106, Annex II.3

The death penalty was retained for conspiracy against state power; high treason; terrorism; anti-national treachery and intentional murder. However, the Committee was concerned that four of these were essentially political offences which were couched in such broad terms that a subjective interpretation of them might lead to the death penalty not being confined to ‘the most serious crimes’, UN doc./56/40 Vol. 1 (2000-2001) pp. 99-10 17

In neither state has there been an execution. In 2004 the Kansas Supreme Court invalidated a provision of the death penalty relating to the way that juries were instructed and in the same year the New York Court of Appeals also invalidated a provision relating to jury instruction of that state’s death penalty law. See the report of The Committee on Capital Punishment of the Association of the Bar of the City of New York, Empire State Injustice … How New York’s Death Penalty System Fails to Meet Standards for Accuracy and Fairness, January 2005. Available at www.deathpenaltyinfo.org In both Kansas and New York the death penalty may therefore not be imposed until there has been a reconsideration of the law. 18

21

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


the International Criminal Tribunal for the Former Yugoslavia in 1993 and the International Criminal Tribunal for Rwanda in 1994. Nor is it available as a sanction for genocide, other grave crimes against humanity and war crimes in the Statute of the International Criminal Court established in 1998. Of particular significance was the adoption, in Vilnius on 3rd May 2002 of Protocol No 13 to the European Convention for the Protection of Human Rights (ECHR): “Convinced that everyone’s right to life is a basic value in a democratic society and that the abolition of the death penalty is essential for the protection of this right and for the full recognition of the inherent dignity of all human beings” the member states resolved “to take the final step to abolish the death penalty in all circumstances, including acts committed in time of war or the imminent threat of war”. By February 2005, 30 countries had ratified the protocol and a further 13 had signed it. The only States so far not to have acceded to this treaty are Armenia, Azerbaijan and Russia. Altogether, by the end of 2004, 74 countries had ratified one or other of the international treaties or conventions which bars the imposition of capital punishment.19 The overall conclusion must be not only of a decline in the numbers of countries with the death penalty on their statute books, but even in the countries that have retained it, a decline in the frequency with which they have recourse to executions. In all but a handful of countries judicial executions take place only rarely. It is clear that the concept of ‘the most serious’ must be interpreted in the light of this movement towards a customary international legal culture that either opposes the death penalty completely or regards it as a sanction to be used only extremely rarely.

An Inevitably Slow Process? – Lessons to be learned from the British experience As I pointed out in my contribution to Renmin University’s recent publication The Road to Abolition, Chinese commentators have often noted that several European countries reached the stage of abolition through a process of gradually reducing the scope of crimes for which the death penalty was appointed until it remained solely for murder, and then further reduced the kinds of murder to which capital punishment could apply until total abolition was achieved. Here they were following the analysis of Marc Ancel, who in his 1962 report had stated that ‘the process of abolishing capital punishment has gone through much the same

19 Either Protocol No 2 to the ICCPR, Protocol No 6 or No 13 to the ECHR, the Protocol to the American Convention on Human Rights, or (having already abolished the death penalty) the American Convention on Human Rights – Article 4(3) of which forbids them to reintroduce it.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

22


stages [i.e. the stages mentioned above] everywhere.’ Nevertheless, Ancel was wise enough, perhaps it would be better to say sufficiently prescient, to add that there was no ‘uniform rule in this connection’. How right he was. I shall not repeat the evidence published in my earlier article: but there are plenty of examples in recent times where abolition has been achieved at a remarkably swift pace without going through all these stages, or even if they have been gone through, the whole process has been achieved within a relatively few years, not the century or so it took the first European abolitionist countries to reach this goal. The experience of the United Kingdom is especially relevant to the issue of how difficult it is to try to retain capital punishment by defining a special category of crimes that are so serious that capital punishment is justified for them, without introducing anomalies and injustices that undermine public confidence in the administration of criminal justice. By the early 1840s murder had become in practice the only crime for which people in England and Wales were executed. With the gradual establishment of a modern form of bureaucratic government and the expansion of democracy, the old ‘bloody code’ of criminal justice based on haphazard and random enforcement backed up by the terror of capital punishment was being replaced by a system of policing to try to ensure more certainty of punishment, proportionate to the crime committed. By 1861 capital punishment had been abolished in law for all crimes save murder and crimes against the state – treason, piracy and arson in Her Majesty’s dockyards – which were only in practice enforced (and then very rarely) in wartime. But murder (for which the death penalty was mandatory) could, of course take many forms and soon efforts were being made to define more precisely which types of murder, in what circumstances and by what types of perpetrators, merited capital punishment. Attempts made in the 1860s and 1870s to redefine in a more restricted way the common law of murder or to divide murders into those that were ‘capital’ and those that were not, proved to be futile. No agreement could be reached on how this could be done.20 Nor did the judges wish to be given the power to exercise discretion, for as the Lord Chancellor put it, the sentence of death would “become the sentence of the Judge and not of the law … [this] would place the judges in a position of very considerable embarrassment, and perhaps See Leon Radzinowicz and Roger Hood, A History of English Criminal Law, vol. 5, The Emergence of Penal Policy, London: Stevens, 1986, pp. 661-671. 20

23

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


impair the respect in which they are held.” It was thus clear that the judiciary recognised that public opinion did not always favour capital punishment.21 So, in order to restrict the death penalty to “real murder”, the system of clemency known as the Royal Prerogative of Mercy, exercised in practice by the Home Secretary [the nearest English equivalent to the Minister of Justice], was widely employed. Between 1900 and 1949 1,080 males and 130 females were sentenced to death of whom 461 males (43%) and 117 females (90%) were reprieved and their sentences commuted to life imprisonment.22 After attempts had been made to abolish capital punishment in the first half of the twentieth century a compromise was again suggested whereby only the most serious types of murder should be classified as ‘capital’. But there was no agreement on how this could be achieved. The problem was that there were competing criteria for deciding which crimes should be capital. Should they be ‘the most serious’ as defined by the degree of moral outrage and disgust they evoked? Or should they be those that could be deterred by the threat of execution – murders carried out by calculating criminals? It was soon realised that many crimes that were morally outrageous were committed in circumstances where thought of the punitive consequences were far from the perpetrator’s mind, whereas many that might be deterred were not crimes that evoked the greatest outrage. Wherever the line was drawn there were bound to be anomalies that were morally and legally unsupportable. In an attempt to find a solution the Labour government established a Royal Commission in 1949 to review not whether capital punishment should be abolished completely, but whether ‘liability to suffer capital punishment for murder … should be limited or modified, and if so, to what extent and by what means”.23 After lengthy consideration of a great deal of evidence the Commission, when it reported in 1953, rejected the idea that it was possible to define in statute those murders that were ‘death worthy’ and those that were not. In a telling passage the Commission stated: “it is impracticable to frame a statutory definition of murder which would effectively limit the scope of capital punishment and would not have over-riding disadvantages in other respects … the quest is chimerical and must be abandoned”24

21

Ibid. p. 677.

22

Report of the Royal Commission on Capital Punishment 1949-1953 (Cmd. 8932, 1953), p. 9.

23

For an excellent and well-told account of the issues faced by the Royal Commission by an insider member, see Sir Leon Radzinowicz, Adventures in Criminology, London: Routledge, 1998, chapter 10 at p. 252.

24

See n. 22, para 483, p. 167 and Conclusion 39 p. 278.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

24


The Commission concluded that the only workable solution would be to leave the decision to the discretion of the jury. But recognizing that many would find this ‘unBritish’ solution unpalatable and unworkable, it stated boldly: “If this view were to prevail, the conclusion to our mind would be inescapable that in this country a stage has been reached where little more can be done effectively to limit the liability to suffer the death penalty and that the real issue is now whether capital punishment should be retained or abolished”. A Conservative government was then in power. Ignoring the Commission’s warnings it went ahead with legislation – the Homicide Act of 1957 – which aimed to define a narrow group of mandatory ‘capital murders’. This ‘most serious’ group consisted of murders committed in the course or furtherance of theft or robbery, by using firearms or explosives, of police or prison officers, or multiple murders. These were the type of murders which it was believed would be likely to be committed by ‘professional criminals’ – not as a result of emotional turmoil or sudden loss of control but as a result of premeditated intent. Under this formula, most killers of young children for sexual purposes were spared, as were most who committed violent crimes, unless they committed theft before or afterwards; those who shot their lovers committed capital murder but not those who strangled, bludgeoned or poisoned them to death. So many anomalies occurred that considerable public sympathy welled up for some of those who had committed crimes that were subject to capital punishment yet were less heinous than those committed by others whose offences did not fall under the definition of ‘capital murder’. There was the infamous cases of Ruth Ellis executed for a crime passionel because she used a pistol rather than another instrument, and Derek Bentley, a young man of limited intelligence who was later exonerated, who was executed as an accessory to a shooting of a policeman even though he was in police custody at the time and his accomplice who shot the policeman was too young to be hanged. These and other cases, combined with concerns about the possible execution of an innocent man, Timothy Evans (who was in fact later exonerated), produced a healthy parliamentary majority –the Labour Party was in power – for abolishing the death penalty for murder in 1965 for a trial period of five years, even in the conservative dominated House of Lords. Abolition was confirmed in December 1969.25 Over the following 30 years some Conservative members of parliament tried repeatedly – 13 times in all – to persuade the House of Commons to reintroduce the death penalty for certain categories of murder. such as causing death through terrorist acts in 1982 and 1983 or the murder

25

By 343 votes to 185. See Leon Radzinowicz (1999), n. 23, pp. 245-279 at 272-3.

25

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


of a child in 1987. They were defeated for the same reasons that the homicide act was scrapped; namely that to pick one or two classes of murder out as deserving of death, when there might be equally heinous offences committed in categories of murder not subject to capital punishment, would inevitably produce anomalies and a sense of injustice. But what put an end to these debates was a shocking spate of wrongful and unsafe convictions for just such offences. The most notable were the cases of the ‘Birmingham Six’, the ‘Guildford Four’ and the Price Sisters, all wrongfully convicted of murder through ‘terrorist bombings’, and Stefan Kisko, a man of limited intelligence, wrongfully convicted of a child sex murder. All would certainly have attracted the death penalty had it been available. This persuaded many who had previously supported the reintroduction of capital punishment to change their minds: most prominent among them was the then Conservative Home Secretary, Michael Howard, now the leader of the Conservative Party. On the last occasion – 10 years ago in 1994 – that the question of the reintroduction of capital punishment was debated in the British Parliament the motion was defeated by a very large majority.26 Subsequently, an amendment to criminal justice legislation in 1998 abolished capital punishment for piracy for which it had remained unused for very many years as well as for treason.27 This was followed in the same year by abolition for all offences under military law. It should be stressed however, that de facto abolition had been achieved in 1965, the last execution in the United Kingdom having been carried out 40 years ago in 1964.

The United Kingdom has now ratified Protocols No. 6 and 13 of the European Convention of Human Rights and the Second Optional Protocol to the ICCPR, confirming its commitment not to reintroduce the death penalty for any offences. There is now no serious or major support for reintroduction in Parliament or in the Press, nor is the cry for the return of the death penalty frequently heard from the families of victims of murder, even after notorious murders. All the judges who appeared as witnesses before the Royal Commission of 1949-53 were in favour of retaining the death penalty as the mandatory punishment for murder. I do not know of even one High Court judge who would hold this view nowadays. The subject appears to have passed into history. It has become clear that there would always be an unbridgeable gap between those who believe that ‘some persons may deserve to die’ for the crimes they commit, and those who believe, on good grounds, that a state system for the administration of capital punishment cannot be devised

See Gavin Drewry, ‘The Politics of Capital Punishment’ in G. Drewry, G. and C. Blake (eds), Law and the Spirit of Inquiry (1999), pp. 137 at 151 and 154. Also, Lord Windlesham, Responses to Crime, vol 3 (1996), pp. 60-61. 26

27

The last person executed for treason was the wartime propagandist for Germany ‘Lord Haw Haw’ who was hanged in 1946.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

26


which would meet the high ideals of equal, effective, procedurally correct and humane justice that civilized democratic societies seek to implement. Does China need to go through all the stages of this painful process? For it is not, as sometimes suggested, a ‘necessary’ process. Rather should not those countries yet to abolish the death penalty learn from the lessons of those who began the process towards abolition much earlier? And, in any case, is the experience of those countries which abolished the death penalty within the context of an ‘internal’ debate about the reform of the criminal justice system really relevant? The ‘new wave’ of abolition has a different basis – the recognition of universal principles of human rights that take precedence over utilitarian considerations and out-trump ‘public opinion’. It is this recognition of the need to build and reinforce what the South African Constitutional Court called a ‘human rights culture’ that has been the dynamic force behind the unprecedented speed with which countries have embraced the abolition of capital punishment over the last 15 to 20 years.

The power of information After reviewing the evidence relating to the influence of data on public opinion in my book The Death Penalty: a World-wide Perspective (3rd ed. 2002), I came to the conclusion that the better citizens were informed about the nature, use and consequences of capital punishment the more they were likely to prefer alternatives to it. I therefore concluded that “governments have a duty to make sure that all their citizens have the opportunity to base their views about the death penalty on a rational appreciation of the facts”. Furthermore, it seems axiomatic to me that information on the way in which a criminal justice system operates, and in particular the outcomes of its operations, should be made available to the public which the system serves. The system should be accountable and its operation as transparent as possible. Only if the public, as well as policy makers and academic commentators, are well-informed will it be possible to judge how justice is in practice being administered and whether what is observed can be justified. This seems to me incontrovertible, especially when human life is at stake. It cannot be regarded as satisfactory that no one knows – at least officially –how many citizens of a country are sentenced to death and how many of them are executed and how practices vary in relation to different offences and in different parts of a country. In none of the persuasive articles on the case for abolishing the death penalty for various categories of economic crime published in The Road of Abolition of the Death Penalty in China have the authors been able to provide any information on how many people are actually sentenced to death and executed for such crimes. Surely it would help to know if the numbers are large or small, whether the practice

27

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


is based on consistent criteria or, as one suspects from studies in other countries, entirely arbitrary and discriminatory. If that were shown, it would undoubtedly influence the debate. In conducting a review for the United Nations I was faced with estimates of the number of executions which varied enormously. According to the NGO ‘Hands Off Cain’, there were at least 3,138 executions in China in 2002 but Amnesty International through its search of newspaper reports had recorded only a third as many – 1,060. Hands Off Cain reported, on the basis of information emanating from ‘a judicial source’ in China, that at least 5,000 people were executed in 2003, whereas Amnesty’s figure was 763. This is an extraordinary state of affairs. How can one pursue a rational debate without data that can be relied upon? Furthermore, without properly complied information it is not possible to ascertain, for each category of crime, how many death sentences of an ‘immediate’ kind are reduced to a suspended death sentence at the trial of second instance (the appeal stage). Nor, if I may say so, is the method of reporting and counting crimes very helpful when it comes to classifying crimes in a way that can be compared with international trends. The method of counting by motive rather than result is especially problematic in understanding the use of capital punishment. In Europe and America a robbery resulting in death would be classified as a homicide, a rape resulting in death as a homicide, whereas in China they would be counted as robbery and rape. Even if statistics were published, this method would not allow one to calculate how many people were executed for crimes that did or did not result in a homicide. Thus, it is once more necessary to state how important it is for countries to take heed of and to implement Resolution 1989/64 of the Economic and Social Council so as to ensure the annual (if possible) publication for each category of offence for which the death penalty is authorized, the number of persons sentenced to death, the number of executions actually carried out, the number of persons under sentence of death, the number of death sentences reversed or commuted on appeal and the number of instances in which clemency had been granted. This should be backed up by a far greater willingness of the authorities to allow researchers to investigate in more detail than any official statistics could provide, for what specific criminal events, for what types of offender and in what circumstances, capital punishment is being employed in practice. The fact that researchers are beginning to uncover how capital punishment is enforced in China is to be greatly welcomed and I am confident that their findings will prove to be of immense value to decision makers in government as China proceeds along The Road to Abolition.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

28


ดร.อุทศิ ขาวเธียร



ดร.อุทศิ ขาวเธียร*

บทนำ การพั ฒ นาประเทศแม น จะเกิ ด ผลสำเร็ จ จากการมี แ ผนพั ฒ นาและมี ร ะบบบริ ห ารจั ด การที่ มี ประสิทธิภาพ มีบคุ ลากรทีม่ สี มรรถนะมีความสามารถ อยางไรก็ตามผลพวงของการพัฒนาสุดทายอาจจะไม ตกถึงสังคมสวนรวม ไมไดถงึ กลมุ เปาหมาย แตจะหายหกตกหลนไประหวางทาง หากประเทศชาติมกี าร ทุจริตคอรรปั ชัน่ รุนแรง ผลพวงของการพัฒนาจะไมเกิดผลกระทบกับคนสวนใหญ และการพัฒนาประเทศ ไมกา วหนาในทีส่ ดุ วิสยั ทัศนของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที1่ 0 ทีม่ งุ ใหเกิดความอยเู ย็นเปนสุขจะไม ประสบผลสำเร็จไดเชนกัน ถาไมคำนึงถึงการปองกันและปราบปรามการทุจริต ซึง่ เกีย่ วของสัมพันธกบั การ พัฒนาประชาธิปไตยและวัฒนธรรมธรรมาภิบาล การประกันความสำเร็จของการพัฒนาประเทศ จึงขึน้ อยู กับประสิทธิภาพจากการขจัดปญหาดังกลาวมิใหเกิดขึน้ จนเปนสวนหนึง่ ของวิถกี ารดำเนินชีวติ ในสังคมไทย โดยการสรางกระบวนการเรียนรู ปลูกฝงจิตสำนึกการดำเนินชีวติ อยางมีเหตุผล ยอมรับกติกาการอยรู ว มกัน อยางสุจริตชน ตระหนักในสิทธิหนาทีเ่ สรีภาพ และความเสมอภาค โดยไมแสวงหาอำนาจและใชอำนาจอยาง ไมเปนธรรมและเอาเปรียบ รวมทัง้ มีอดุ มการณ คานิยมทีส่ นับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข ตลอดจนคานิยมทีไ่ มยอมรับการทุจริตประพฤติมชิ อบ จำเปนอยางยิง่ ทีป่ ระชาชน โดยเฉพาะอยางยิง่ เยาวชนและผนู ำในสังคมทุกระดับ จะตองตระหนักถึง ภัยจากปญหาคอรรปั ชัน่ ทีม่ ผี ลกระทบตออนาคตของประเทศและสมัครใจมีสว นรวมในการปองกันและ ปราบปรามอยางแทจริง ทัง้ นีก้ ารเพิม่ ประสิทธิภาพกลไกกระบวนการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐเพือ่ การ ปองกันปราบปรามทุจริตจะไดผล รวมทัง้ การเมืองจะเขมแข็งและเปนอิสระและเปนธรรมมากขึน้ ไดก็ เพราะ มีการสนับสนุนและความรวมมือของประชาชนเปนปจจัยสำคัญ

โครงสรางการทุจริต การทุจริตในอดีตสวนใหญมกั เปนเรือ่ งของปจเจกชนหรือกลมุ คนไมกคี่ นรวมมือกัน เปนการกระทำ เพือ่ ผลประโยชนหรือบางครัง้ อาจเปนการแกไขปญหาความขัดสนของตนเอง และแมจะยังคงมีปญ  หาการ ทุจริตประพฤติมีชอบโดยปจเจกชน หรือคนกลุมนอยอยูแตผลกระทบไมรุนแรงเทากับการทุจริตในยุค ปจจุบนั ซึง่ เปนการทุจริตแบบครบวงจร เปนวัฏจักรและเครือขายทุจริตคอรรปั ชัน่ เกิดขึน้ ทุกระดับและอยาง เปนระบบ เปนกระบวนการรวมมือของกลมุ นักการเมือง ขาราชการ และนักนักธุรกิจทัง้ ในและตางประเทศ เปนวัฏจักรและเครือขายทุจริตคอรรปั ชัน่ จากการทีก่ ฎหมายออนแอ ขาดประสิทธิภาพในทางปฎิบตั ิ เนน * รองเลขาธิการสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) และอนุกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.

31

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


การปราบปรามทุจริต โดยการตัดสินแบบอิงหลักฐานทีจ่ ะเขาถึงผกู ระทำผิดไดยากมาก และกระบวนการ ดำเนินการโดยทัว่ ไปไมสามารถจะเขาถึงนายใหญและผมู อี ทิ ธิพลตางๆ ประกอบกับผเู สียหายสวนใหญไม กลาเขาแจงความรองเรียนหรือเปนพยาน การรณรงคปราบปรามเปนไปอยางฉาบฉวยของทางราชการเพือ่ ผลประโยชนเฉพาะหนาไมตอ เนือ่ ง และเปนการเลือกปราบเฉพาะลูกแถว ทัง้ หมดนีท้ ำใหผมู อี ทิ ธิพลและ นายใหญ (ในคราบของขาราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ)สามารถอยรู อดไดและเติบโตดวย อีกทัง้ สามารถ รอมชอมและตอรองกันเพื่อผลประโยชนทางการเมืองจนเปนกลุมอิทธิพลที่สามารถประสานเครือขาย ผลประโยชนได นำไปสคู วามไดเปรียบในการไตเตาทางการเมืองทัง้ ระดับทองถิน่ และระดับชาติ บุคลา กรของเครือ่ ขายสามารถแสวงหาอำนาจมีบทบาทหนาทีแ่ ละอำนาจทางการเมืองทีจ่ ะคมุ ครองและเสริมเครือ ขายการประพฤติมชิ อบใหอยเู หนือกฎหมายทัง้ ในและนอกรัฐสภา เกิดการใชอำนาจผูกขาดอยางไมเปน ธรรมนำไปสู การประกอบและ/หรือสนับสนุนธุรกิจนอกกฎหมายทีท่ ำรายไดสงู กวา โดยใชการประกอบ ธุรกิจอืน่ บังหนา ทัง้ นีเ้ ครือขายทุจริตคอรรปั ชัน่ จะมีการขยายอิทธิพลและอำนาจและเสริมสมรรถนะการ ประพฤติมิชอบไดอยางกวางขวาง มีการแทรกแซงทางการบริหารและองคกรตรวจสอบ ทั้งการกอ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจและสังคม การแขงขันทางธุรกิจทีไ่ มยตุ ธิ รรม การขมขู ประทุษรายทางสิทธิ ทาง รางกายและทรัพยสนิ การเรียกเก็บคาคมุ ครอง คาฮัว้ หนุ ลม สวย ซึง่ เปนการลิดรอนระบอบประชาธิปไตย เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนตลอดจนระบบการบริหารของรัฐใหเสื่อมประสิทธิภาพ ทำใหการพัฒนา ถดถอย รวมทัง้ ทำใหเกิดการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ สุจริตชนขาดความเชือ่ มัน่ ในการประกอบการที่ สุจริตและขาดความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ

วัฏจักรและเครือขายทุจริตคอรรปั ชัน่ การอางหลักกฎหมาย ขาดหลักฐานเขาถึงนายใหญ การรณรงคอยางฉาบฉวย เพื่อผลเฉพาะหนา

การดำเนินคดีตองการผูเสียหาย รองเรียนและพยาน การเลือกปราบ เพียงเฉพาะลูกแถว

ผูมีอิทธิพลและนายใหญ (ในคราบของขาราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ) รอดไดและเติบโตทุกกรณี

การรอมชอมและตอรองกัน เพื่อผลทางการเมือง

ขาราชการและนักการเมือง จากวงการทุจริต

กลุมอิทธิผล ผูใหญ ที่สามารถประสานเครือขาย ผลประโยชนได กลุมผลประโยชน ประจำถิ่น “นักเลง”

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

การประกอบธุรกิจบังหนา (อาทิ บริษัทกอสราง นายหนา บริษัทรักษาความปลอดภัย ฯลฯ)

ความไดเปรียบ ในการไตเตาทางการเมือง ทั้งระดับทองถิ่นและระดับชาติ

บทบาทหนาที่และอำนาจ ทางการเมืองที่จะคุมครอง และเสริมขายการประพฤติมิชอบ ที่อยูเหนือกฎหมาย ทั้งในและนอกรัฐสภา

การขยายอิทธิพลและอำนาจและสมรรถนะ การประพฤติมิชอบไดอยางกวางขวาง การกออาชญากรรม ทั้งทางสังคมและทางเศรษฐกิจ การขมขู ประทุษราย ทางสิทธิ รางกาย และทรัพยสิน

32

การแขงขันทางธุรกิจ ที่ไมยุติธรรม การเรียกเก็บคาคุมครอง คาฮั้ว หุมลม สวย

การริดรอนระบบประชาธิปไตย การระเมิดสิทธิมนุษยชนและ ระบบการบริหารเสื่อม ประสิทธิภาพการพัฒนาถดถอย การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ

การประกอบ และหรือสนับสนุน ธุรกิจนอกกฎหมาย ที่ทำรายไดสูงกวา

ขาดความเชื่อมั่น ในการประกอบการสุจริต ความปลอดภัยชีวิตและทรัพยสิน ทุกระดับ

อุทิศ / อกพ. ก.ค. 48


สังคมไทยและปญหาคอรรปั ชัน่ ประชาชนคนไทยสวนมากทีต่ อ งทำมาหากินและเผชิญกับปญหาปากทองทัง้ ของตนเองและครอบ ครัว มักจะเบือ่ หนายและวางเฉยไมมปี ฏิกริ ยิ าตอพฤติกรรมการใชอำนาจหนาทีท่ ไี่ มถกู ตอง และยังละเลย ชินชาตอการคอรรปั ชัน่ ทัง้ รายยอยและการทุจริตโดยทัว่ ไป การเผิกเฉยชินชาของสังคมตอพฤติกรรมการ ทุจริตคอรรปั ชัน่ นำไปสคู วามเสือ่ มของสังคม ภาคราชการถูกแทรกแซง กดดัน ลิดรอนอำนาจ การคมุ ครอง สิทธิสาธารณะลดลง ความยุตธิ รรมถดถอย และยังมีคนไทยอีกสวนแปลความเกีย่ วกับการคอรรปั ชัน่ ผิดดาน บางแปลวาการใหสนิ บนเปนความมีน้ำใจ หรือนักการเมืองอาจอางวาจำเปนตองหาทุนเขาพรรค เพือ่ การเขา มาชวยบริหารทางการเมือง ทำใหเกิดการทุจริตตออำนาจหนาที่ มีการใชอำนาจและดุลพินจิ เพือ่ ผลประโยชน แกตนและพรรคพวก การเผิกเฉยและยอมรับของสังคมยังเปดโอกาศใหทรัพยสนิ จากการทุจริตเปนกำลังทุน ทีส่ ามารถใชจา ยอยางเชนเดียวกับเงินสุจริตได และผทู จุ ริตยังไดรบั การค้ำจุนใหอยรู อดโดยงาย การเมืองแบบ ปนเปอ นนำไปสกู ารเกิดความเสีย่ งและวิกฤตศรัทธาตอระบบและรัฐบาล นอกจากนีก้ ารเมินเฉย และยอม รับของคนสวนใหญยงั กอมุมมองวิตถารทีว่ า การทุจริตอาจเปนประโยชนบา งตอเศรษฐกิจและการคอรรปั ชัน่ อาจชวยกระตนุ ใหการทำงานของหนวยงานของรัฐมีประสิทธิภาพขึน้ ทีว่ า “เงินมางานวิง่ เงินนิง่ งานสะดุด” ยังมีสาเหตุเกีย่ วโยงทีส่ ำคัญและเปดโอกาสใหเกิดการใชอำนาจเพือ่ ประโยชนทไี่ มเปนธรรม อทิระบบการ ปกครองการบริหารภาครัฐของไทยทีก่ ระจุกตัวอำนาจในการปกครองทัง้ สวนกลางและสวนภูมภิ าคมากเกิน จำเปน อันเปนโครงสรางระบบทีเ่ อือ้ ตอการคอรรปั ชัน่ ทัง้ ทางดานกฎหมายและวัฒนธรรมทีม่ มี าแตดงั่ เดิมเดิม นอกจากนีว้ งการสังคมและหนวยงานหลายแหงของไทยเรายังมีความสับสนและการพิจารณาแตเพียงวาการ คอรรปั ชัน่ มีสาเหตุหลักจากปญหาจริยธรรมและความโลภเทานัน้ ทำใหมาเนนทีก่ ารเสริมสรางจริยธรรม การ ยกระดับจริยธรรม และไมสนใจกับการดำเนินการแกไขปญหาอยางควบคทู งั้ ทางการปองกันและปราบปราม อยางสมดุล การดำเนินการของภาครัฐสวนใหญจงึ ไมใหความสนใจเปนพิเศษตอการประสานงานระหวาง หนวยปองกันและหนวยปราบปราม ทำใหปญ  หาการคอรรปั ชัน่ ยังคงอยแู ละขยายตัวอยางมาก เกิดความสูญ เสียและผลกระทบตอประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทำลายความเชือ่ มัน่ ตอระบบยุตธิ รรม เพิม่ ภาระทางการเงินและการจัดการแกวงการธุรกิจ ลดโอกาสการแขงขันในสากล ทัง้ หมดทัง้ ปวงจนทาย ทีส่ ดุ อาจจะนำไปสู ภาวะขาดเสถียรภาพของรัฐบาลและทำใหกลไกไมสามารถขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศ ไปได

33

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


สถานการณ การแปลความ การคอรรัปชั่น ผิดดาน เปนความมีน้ำใจ อางอยางมีอคดี; จำเปนตองหาทุนเขาพรรค เพื่อการชวย บริหารทางการเมือง

ประชาคมมักไมมีปฏิกริยาตอพฤติกรรม การใช-วาง อำนาจ-หนาที่ ไมถูกตอง

ทุจริตตออำนาจหนาที่ใชอำนาจและดุลพินิจ เพื่อผลประโยชนแกตนและพรรคพวก

ทรัพยสินจากทุจริต

มุมมองวิตถาร; การทุจริตอาจเปนประโยชนบางตอเศรษฐกิจ และการคอรรัปชั่นอาจชวยกระตุนใหการทำงานของหนวยรัฐ มีประสิทธิภาพขึ้นบาง (“เงินมางานวิ่ง เงินนิ่งงานสะดุด”)

ระบบการปกครองการบริหาร ภาครัฐที่กระจุกอำนาจเกินไป

ประชาคมละเลยตอการคอรรัปชั่น รายยอยและการทุจริตโดยทั่วไป

เกิดความสูญเสียและผลกระทบ ตอประสิทธิภาพ ของระบบเศรษฐกิจประเทศ; -ทำลายความเชื่อมั่นตอระบอบความยุติธรรม -เพิ่มภาระทางการเงินและจัดการแกวงการธุรกิจ -ลดโอกาสการแขงขันในสากล

ผูทุจริตไดรับ การค้ำจุนใหอยูรอด เนนมาตรการลงโทษผูกระทำผิด

ความสับสน; พิจารณาวาการคอรรัปชั่น มีสาเหตุหลักจากปญหาจริยธรรมและ ความโลภเทานั้น โครงสรางระบบที่เอื้อตอการคอรรัปชั่น ทั้งทางดานกฎหมายและวัฒนธรรมเดิม

สังคมเสื่อม; ภาคราชการถูก แทรก กดดัน ริดรอนอำนาจ การคุมครองสิทธิสาธารณะลดลง ความยุติธรรมถดถอย

เนนมาตรการเสริมและ ยกระดับจริยธรรม

ความเสี่ยง;วิกฤตศรัทธา ตอคน ระบบและรัฐบาล

ภาวะขาด เสถียรภาพ ของรัฐบาล

ปญหาคอรรัปชั่นคง อยูและขยายตัว

ผูเรียนรูดานจริยธรรมอาจแปรปรวนในภาวะสับสนทางวัฒนธรรมและระบบ อุทิศ / อกพ. มีค. 47

แนวคิดเบือ้ งตนของการแกไขปญหาทุจริตคอรรปั ชัน แนวทางการแกไขปญหาทุจริตคอรรัปชั่นอาจตองแกไขที่ระบบการปกครองการบริหารภาครัฐที่ กระจุกตัวอำนาจมากเกินไป โครงสรางระบบทีเ่ อือ้ ตอการคอรรปั ชัน่ นีเ้ ปนปญหาทัง้ ทางดานกฎหมายและ วัฒนธรรมเปนแนวทางปฎิบตั ทิ สี่ งั คมชินชามาแตเดิม ตองแกไขดวยการลดและกระจายอำนาจการกำกับ อำนาจการปกครอง และสนับสนุนระบบการเมืองและรัฐบาลทีเ่ นนการมีสว นรวม กระจายอำนาจจากสวน กลางสทู อ งถิน่ โดยใหประชาชนมีสว นรวมในการตรวจสอบในทุกขัน้ ตอนควบคกู บั การถวงดุล คานอำนาจ รัฐอยางโปรงใสสมเหตุสมผล ตองทำใหประชาชนสวนใหญสามารถเขาถึงความรแู ละการศึกษา ตลอดจนได รับการปลูกจิตสำนึกใหมคี วามรับผิดชอบตอผลประโยชนสาธารณะกระทัง่ เปนปกติวสิ ยั สามารถรวมกัน สรางภูมคิ มุ กันทางคานิยม วัฒนธรรม มิใหยอมรับพฤติกรรมการใชอำนาจผูกขาดผลประโยชนทไี่ มเปน ธรรมตอสังคมสวนรวม สวนในภาครัฐจะตองเนนการปรับกฎระเบียบเพือ่ ลดอำนาจการกำกับควบคุมทีไ่ ม จำเปน โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบทางการที่เนนการกำกับควบคุมธุรกิจและระบบตลาด ตองมีการปฏิรูป กฎระเบียบเพื่อเสริมสิทธิเสรีภาพ ทบทวนปญหาสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพของสาธารณชน นำไปสู ระบอบสังคมทีส่ ง เสริมเศรษฐกิจเปดและสิทธิเสรีภาพในการอยรู ว มกันอยางสันติ มีการทบทวนสมดุลของ สภาวะเศรษฐกิจและสังคม และสิง่ แวดลอมทีด่ ี ใหผผู ลิตและผบู ริโภคตางมีอำนาจตอรองทีส่ มเหตุสมผล รวมทัง้ สรางเสริมกลไก เครือ่ งมือในการปราบปรามคอรรปั ชัน่ ระดับตางๆ ใหสามารถทำงานรวมกันระหวาง ประชาชน ภาคเอกชน ภาครัฐและสือ่ มวลชนอยางตอเนือ่ ง ในการปองกันและขจัดระบบธุรกิจการเมืองที่ ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

34


ใชกระแสทุนนิยมไปในทางทุจริต ไมใหกลมุ ชนใดพรรคใดใชอำนาจผูกขาดและแทรกแซงการบริหารอยาง ไมเปนธรรม มีการปรับปรุงโครงสรางและบทบาทขององคกรอิสระใหสามารถปองกันและปราบปรามการ ทุจริตทัดเทียมตางประเทศ ตลอดจนปฏิรปู กฎหมายดานสิทธิเสรีภาพทีเ่ กีย่ วของกับการทุจริต และบังคับใช กฎหมายดานการปราบปรามทุจริตฯอยางเสมอภาคและเปนธรรม ทัง้ นีก้ ลไกและเครือขายทีม่ บี ทบาทหนาที่ เกีย่ วของกับการปองกันและปราบปรามทุจริตคอรรปั ชัน่ จะตองเขาใจวาหัวใจของการปราบปรามการทุจริต ประพฤติมชิ อบ คือ “ประชาชน”โดยผานกระบวนการมีสว นรวมเทานัน้ ทีจ่ ะทำใหเกิดสังคมทีค่ อรรปั ชัน่ ลด ลงและมีสทิ ธิเสรีภาพขยายเพิม่ ขึน้

แนวคิดการแกไขปญหา ผูทุจริตไดรับ การค้ำจุนใหอยูรอด

ระบบการปกครองการบริหาร ภาครัฐที่กระจุกอำนาจเกินไป ความสับสน; พิจารณาวาการคอรรัปชั่น มีสาเหตุหลักจากปญหาจริยธรรมและ ความโลภเทานั้น โครงสรางระบบที่เอื้อตอการคอรรัปชั่น ทั้งทางดานกฎหมายและวัฒนธรรมเดิม

เนนมาตรการลงโทษผูกระทำผิด เนนมาตรการเสริมและ ยกระดับจริยธรรม

ความเสี่ยง;วิกฤตศรัทธา ตอคน ระบบและรัฐบาล ปญหาคอรรัปชั่นคง อยูและขยายตัว

ผูเรียนรูดานจริยธรรมอาจแปรปรวนในภาวะสับสนทางวัฒนธรรมและระบบ

ทบทวนปญหาสิทธิมนุษยชนและ อิสรภาพของสาธารณะชน

ลดและกระจายอำนาจการกำกับ-ปกครอง และหนุนระบบการเมือง-รัฐบาลที่เนนการมีสวนรวม ทบทวนแกไข; ระบบทางการ ที่เนนการกำกับควบคุมธุรกิจและระบบตลาด ภาครัฐเนนการออกกฎระเบียบเพื่อกำกับควบคุม เนนการออกใบอนุญาตและสัมปทานรูปแบบ ตางๆ

การปฏิรูปกฎระเบียบ เพื่อเสริมสิทธิเสรีภาพ

ระบอบสังคมที่สงเสริมเศรษฐกิจเปด และสิทธิเสรีภาพในการอยูรวมกันอยางสันติ

สังคมที่คอรรัปชั่นลดลง และสิทธิเสรีภาพ ขยายเพิ่ม

ทบทวนสมดุลของสภาวะเศรษฐกิจและสังคม (ผูผลิตและผูบริโภคตางมีอำนาจการตอรองที่สมดุล) อุทิศ / อกพ. มีค. 47

แนวทางชีน้ ำภายใตแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับปจจุบนั ไดชแี้ นะบทบาทการประสานงานระหวางภาค รัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการปองกันปราบปรามทุจริตคอรรปั ชัน่ ซึง่ มีสาระสำคํญเสนอแนะให ภาครัฐสามารถเขารวมกระบวนการปองกันปราบปรามคอรรปั ชัน่ อยางไดผลหาก (๑) ภาครัฐเนนบทบาทหลักในการรณรงคสรางกระบวนการเรียนรู ปลูกฝงจิตสำนึก คา นิยมตามหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข เสริมสรางวัฒนธรรม ประชาธิปไตยและจิตสำนึกธรรมาภิบาลใหแกประชาชนทุกระดับ ทุกภาคสวน และทุกสถาบัน/หนวยงาน องคกรอยางตอเนือ่ งจริงจัง โดย 35

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


(๑.๑) สนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาผนู ำ สรางกลมุ แกนนำในระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และทุกภาคสวนในสังคม ใหเปนศูนยกลางการรณรงคสรางกระบวนการเรียนรใู นเรือ่ งการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบ (๑.๒) สงเสริมความรวมมือระหวางภาคราชการ บาน สถาบันทางศาสนา โรงเรียน และสือ่ ในการปลูกฝงจิตสำนึกเด็ก เยาวชน ประชาชนในเรือ่ งธรรมาภิบาล สรางความตระหนักและตอตาน การทุจริตประพฤติมชิ อบ โดยสรางเยาวชนธรรมาภิบาลตอตานคอรรปั ชัน่ ในโรงเรียนและชุมชน จัดสรร งบประมาณ การเผยแพรประชาสัมพันธเรือ่ งธรรมาภิบาลแก สถาบันทางศาสนา โรงเรียน และสือ่ (๒) สนับสนุนสถาบันการศึกษาทัง้ ในและนอกระบบโรงเรียน สถาบันอุดมศึกษา และ สถาบันวิชาการตางๆ สรางองคความรูใหแกประชาชนและเยาวชน ใหเขาใจสิทธิ หนาที่ในระบอบ ประชาธิปไตย และยึดถือปฏิบตั ใิ นวิถชี วี ติ โดย (๒.๑) จัดทำหลักสูตรวิชาวาดวยการพัฒนาองคความรเู กีย่ วกับธรรมาภิบาลและการปองกัน และปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบ และเผยแพรตอ สาธารณชน เพือ่ กระตนุ สังคมใหตนื่ ตัว ตระหนัก และเขารวมในการตรวจสอบปญหาทีเ่ กีย่ วกับธรรมาภิบาลและการทุจริตประพฤติมชิ อบ ตลอดจนพัฒนา เครือขายทีแ่ นนแฟนกับสือ่ ภาคประชาสังคม และองคกรเอกชน เพือ่ ทีจ่ ะปอนขอมูลทีถ่ กู ตองและครบถวน ใหแกแนวรวมในการตอตานทุจริตประพฤติมชิ อบ รวมทัง้ การจัดใหมกี จิ กรรมฝกอบรม เวทีสมั มนาแลก เปลีย่ นเรียนรู เปดพืน้ ทีส่ าธารณะทางสังคมเกีย่ วกับสิทธิหนาทีใ่ นระบอบประชาธิปไตย คุณธรรมกับวิถี สังคมไทย ความรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ เสริมสรางวัฒนธรรม ประชาธิปไตย (๒.๒) ศึกษาวิจยั และสรางนวัตกรรม เพือ่ ชีน้ ำใหเกิดการเรียนรแู ละวิเคราะหหาแนวทาง การพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตย วัฒนธรรมธรรมาภิบาลทีเ่ หมาะสมกับการดำเนินวิถชี วี ติ ของสังคมไทย (๓) เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการเขาถึงอำนาจการตัดสินใจโดยให ประชาชนมีสว นรวมในการตรวจสอบในทุกขัน้ ตอนควบคกู บั การถวงดุล คานอำนาจรัฐอยางโปรงใสสมเหตุ สมผลในการพัฒนาประเทศในรูปของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการรวมกับภาครัฐ พรอมทัง้ ใหมสี ทิ ธิ์ รับรขู อ มูลขาวสารอยางเทาเทียมกัน รวมทัง้ จัดทำแผนพัฒนาผนู ำทางสังคมในทุกระดับ เพือ่ ใหเปนตัวแบบ ใหเยาวชน ประชาชนไดยดึ เปนตนแบบทีด่ งี ามสืบตอไป (๔) พัฒนาระบบราชการใหมปี ระสิทธิภาพและมีความโปรงใสมากขึน้ โดย (๔.๑) ปรับบทบาท ภารกิจใหเหมาะสมกระทัดรัด และคมุ คา มีการพัฒนาการให บริการ/ ดำเนินงานในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส องคกรลักษณะพิเศษ องคกรมหาชน หนวยงานบริการ รูปแบบพิเศษ เปนตน มากขึน้ พรอมทัง้ มีการศึกษาวิจยั เพือ่ มีการปรับลดขนาดกำลังคนใหเหมาะสมเพือ่ ลด งบประมาณคาใชจา ยดานบุคลากร โดยมีการพัฒนาหลักเกณฑและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการบริหารงานของ องคกรรูปแบบพิเศษทีอ่ ยภู ายใตการกำกับของรัฐบาลดังกลาว ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

36


(๔.๒) พัฒนาศักยภาพขาราชการ/เจาหนาทีภ่ าครัฐอยางตอเนือ่ งตัง้ แตเขารับราชการ และในระหวางรับราชการเปนระยะๆ อยางสม่ำเสมอ เพือ่ สรางความเขาใจและตระหนักถึงความสำคัญของ ธรรมาภิบาลและการมีสว นรวมของประชาชน โดยเนนในประเด็นสำคัญๆ คือ การ ปลูกฝงขาราชการใหมี จิตสำนึกสาธารณะ ไมกระทำการทุจริตประพฤติมชิ อบ คำนึงถึงประโยชนของสาธารณะ พรอมรับผิดชอบ ตอสวนรวม และสามารถแยกเรือ่ งสวนตัวออกจากสวนรวม พรอมทัง้ พัฒนาระบบประเมินผลการเสริมสราง ธรรมาภิบาลทัง้ ในระดับองคกรและและในระดับบุคคล โดยผตู รวจราชการประจำกระทรวงและหนวยงาน ตรวจสอบภายในเปนผปู ระเมินเบือ้ งตน และนำผลการประเมินไปใชประกอบการพิจารณาการจัดสรรรางวัล ประจำปของสวนราชการ การพิจารณาความดีความชอบในระดับเจาหนาที่ และรายงานผลการปฏิบตั ริ าชกา รขององคกรตอสาธารณะ (๕) กระจายอำนาจจากสวนกลางใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพิม่ ขึน้ โดยสวนกลาง ปรับบทบาทจากการควบคุมมาเปนการอำนวยความสะดวก กำหนดมาตรฐานการบริการและสนับสนุนทาง เทคนิควิชาการ ควบคกู บั การสงเสริมพัฒนาองคกรปกครองสวนทองถิน่ ใหพงึ่ ตนเอง สามารถจัดเก็บรายได ของตนเอง จัดบริการสาธารณะไดทนั ตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมในทองถิน่ พรอมทัง้ พัฒนาขีด ความสามารถของประชาชนใหมสี ว นรวม เขารวมเปนหนุ สวนในการพัฒนาทองถิน่ ของตนและมีสว นรวม ในการตรวจสอบในทุกขัน้ ตอนและมีระบบการติดตามประเมินผลทีม่ ปี ระสิทธิภาพควบคกู บั การถวงดุล คานอำนาจอยางโปรงใสสมเหตุสมผล จะทำใหสามารถปองปรามการกระทำทุจริตได (๖) ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณ ใหตอบสนองและสนับสนุนภารกิจของกลุม จังหวัด/จังหวัด และสนับสนุนใหปรับสถานะจังหวัดเปนหนวยขอรับการสนับสนุนงบประมาณไดในระยะ ตอไป พรอมทัง้ ปรับบทบาทหนวยงานระดับกระทรวง กรม และจังหวัด โดยกระทรวงควรปรับบทบาทเปน หนวยกำหนดยุทธศาสตร นโยบายและชีน้ ำเปาหมายการพัฒนา กรมหรือกลมุ ภารกิจ ควรปรับบทบาทเปน หนวยสนับสนุนความรวู ทิ ยาการใหมและบริหารจัดการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ และจังหวัดควรปรับบทบาทเปน เจาภาพบริหารจัดการภารกิจราชการทุกเรือ่ งในพืน้ ทีจ่ งั หวัด รวมทัง้ มีบทบาทสนับสนุนชวยเหลือองคกรทอง ถิน่ กระจายอำนาจจากสวนกลางสทู อ งถิน่ โดยใหประชาชนมีสว นรวมในการตรวจสอบในทุกขัน้ ตอนการ ใชจา ยงบประมาณ ประชาชนสวนใหญสามารถเขาถึงความรแู ละการศึกษา ตลอดจนไดรบั การปลูกจิตสำนึก ใหมคี วามรับผิดชอบตอผลประโยชนสาธารณะ (๗) ปฏิรปู กฎหมาย กฎระเบียบ และขัน้ ตอน กระบวนการเกีย่ วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม โดยการเปดโอกาสใหภาคีและกลมุ ตางๆ เขามามีสว นรวมโดยการตรวจสอบกฎหมายทีม่ ลี กั ษณะ การสรางความไมสมดุลในการจัดสรรผลประโยชน กฎหมายทีเ่ ปดโอกาสการใชดลุ ยพินจิ ของเจาหนาทีม่ าก เกินไป การสรางความเขมแข็งของกลไกการบังคับใชกฎหมาย โดยเฉพาะกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการประ กอบธุรกิจเพือ่ ปองกันไมใหเกิดการกระทำอันไมเปนธรรมในการประกอบธุรกิจ (๘) จัดทำการวิเคราะหโครงการและผลกระทบกอนเริ่มโครงการ สำหรับโครงการ/ มาตรการของรัฐทีม่ ลี กั ษณะของการใหการสงเสริมหรืออุดหนุนแกธรุ กิจเอกชน และใหระบุผทู จี่ ะไดรบั 37

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ผลประโยชนโดยตรง และผทู จี่ ะไดรบั ผลโดยออม รวมทัง้ มีการติดตามประเมินผลและเผยแพรผลกระทบ ของโครงการตอสาธารณชน เพิม่ เติมขอกำหนดเกีย่ วกับคุณสมบัตทิ หี่ า มมิใหมคี วามสัมพันธในลักษณะญาติ พีน่ อ ง โดยใหขยายครอบคลุมถึงความสัมพันธเชิงธุรกิจดวย เพือ่ ปองกันปญหาในเรือ่ งการขัดกันระหวาง ผลประโยชนสว นตัวและผลประโยชนสว นรวมและปญหาการทุจริตคอรรปั ชัน่ ในขณะเดียวกันการออกกฎ/ ระเบียบของกระทรวงตองมีการรับฟงขอคิดเห็นของผมู สี ว นไดเสียทัง้ ทางตรงและทางออม (๙) บทบาทขององค ก รอิ ส ระภายใต รั ฐ ธรรมนู ญ องค ก รอิ ส ระภายใต รั ฐ ธรรมนู ญ (คณะกรรมการการเลือกตัง้ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ คณะกรรมการตรวจ เงินแผนดิน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ผตู รวจการแผนดินรัฐสภา และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน) ควร มีบทบาทสนับสนุนการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบในภาครัฐและภาคการเมือง โดย การติดตามตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของเจาหนาทีร่ ฐั และนักการเมืองใหมคี วามโปรงใส สุจริต และสราง ความเปนธรรมใหกบั ผทู เี่ กีย่ วของ โดยรัฐสนับสนุนงบประมาณการบริหารจัดการและการดำเนินงานให อยางเพียงพอ บทบาทภาคเอกชนและประชาชน นอกจากบทบาทของภาครัฐแลว แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ยังชีแ้ นะบทบาทภาค เอกชนควรมีบทบาทรวมอยางสำคัญโดยเฉพาะอยางยิง่ การประกอบธุรกิจดวยความโปรงใส มีจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ และซือ่ สัตยตอ ภาคีทเี่ กีย่ วของทุกภาคสวน รวมทัง้ มีบทบาทในการจัด ฝกอบรมผปู ระกอบการธุรกิจใหมคี วามรคู วามเขาใจในหลักการบรรษัทภิบาล รณรงคสรางความรคู วามเขา ใจใหธรุ กิจเอกชน ผบู ริหาร / กรรมการ ผถู อื หนุ ตลอดจนประชาชนทัว่ ไป รถู งึ ประโยชนในการ “กำกับ ดูแลธุรกิจทีด่ ”ี วาจะนำมาซึง่ ความไดเปรียบเชิงแขงขันทางธุรกิจ และกอใหเกิดภาพลักษณทดี่ ใี นดานความ โปรงใส กำกับควบคุมภาคธุรกิจในสังกัดใหดำเนินธุรกิจอยางมีธรรมาภิบาล มีความซือ่ สัตย สุจริต ไมเอา เปรียบผบู ริโภค และมีจติ สำนึกรับผิดชอบตอสังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที๑่ ๐ ยังกลาวถึงบทบาทภาคสือ่ มวลชนในการ ปองกันปราบปรามการคอรรปั ชัน่ (๒.๑) เผยแพรความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประชาธิปไตย วัฒนธรรมธรรมาภิบาล และวัฒนธรรมตอตานการทุจริตประพฤติมชิ อบ ผานสือ่ ทุกประเภทในรูปแบบทีห่ ลากหลาย เขาใจงาย โดย สอดแทรกในขาว ละคร บทเพลง และการละเลนพืน้ เมือง (๒.๒) มีสว นรวมกับภาคประชาสังคมและนักวิชาการตรวจสอบภาครัฐไดอยางเขม แข็ง และไดรบั ความไวเนือ้ เชือ่ ใจจากสังคม โดยมีการกำหนดมาตรฐานการนำเสนอขาว มีการควบคุมการ ปฏิบตั งิ านภายใตจรรยาบรรณทางวิชาชีพทีเ่ ขมงวด รักษาความเปนกลาง ความเปนอิสระในการเสนอขาว (๒.๓) พัฒนาความสามารถในการรายงานขาวในเชิงสืบสวนทีม่ ปี ระเด็นเชิงลึก มี การตรวจสอบขอมูลทีไ่ ดรบั และคนหาขอมูลและขอเท็จจริงอยางครบถวน ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

38


ดังไดกลาวแลววาภาคประชาชนเปนสวนทีม่ คี วามสำคัญสูงสุดในกระบวนการปองกันและปราบ ปรามปญหาคอรรปั ชัน่ โดยประชาชนควรถือเปนภาระความรับผิดชอบในการ (๑) ศึกษาเรียนรใู นเรือ่ งในสิทธิ หนาที่ ความรับผิดชอบ พัฒนาความรสู กึ ในการ เปนเจาของ หรือใหเกิดจิตสำนึกในการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบ ปกปอง ดูแล และ มีสว นรวมในการพัฒนาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข สามารถเขา รวมแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคในเวทีสาธารณะ และสามารถเขารวมกำหนดและตัดสินใจนโยบาย สาธารณะทีม่ ผี ลกระทบตอประชาชน (๒) รวมตัวกันเปนองคกรตางๆ ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสรางเครือขาย การทำงานรวมกันทีเ่ ขมแข็ง และรวมกันจัดตัง้ องคการอิสระตางๆ เชน องคการอิสระดานการตอตานการ ทุจริตประพฤติมชิ อบ องคการอิสระคมุ ครองผบู ริโภค เปนตน และเขารวมเปนกรรมการ อนุกรรมการของ ภาครัฐ เพือ่ สามารถเขารวมในการกำหนดนโยบาย การวางแผน การตรวจสอบและถวงดุลการใชอำนาจรัฐ (๓) กลมุ ประชาคมในชุมชนควร เขามีสว นรวมอยางสำคัญในกระบวนการ บริหารการพัฒนาในชุมชนทองถิน่ โดยเจาหนาทีภ่ าครัฐในระดับจังหวัดและประชาชนรวมกันตกลงใจ จัด ทำยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด และเขารวมกับองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพือ่ ใหการจัดทำโครงการและ การจัดสรรงบประมาณสอดคลองกับความตองการของชุมชน และใหชมุ ชนเปนแกนหลักรวมติดตามตรวจ สอบการดำเนินงานใหโปรงใส สุจริต และเปนธรรม

แกนนำการปองกันปราบปรามการคอรัปชัน่ การปองกันปราบปรามการคอรัปชัน่ ของภาครัฐประเทศไทยจะละเลยไมกลาวถึงบทบาท การดำเนินการรวมกันของประชาชนและป.ป.ช.ซึง่ จะเปนแกนนำทีส่ ำคัญไมได องคกรทีเ่ กีย่ วของกับการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบ จะตองพยายาม ใหมกี ารประสานงานและวางแผนรวมกัน ใหเกิดยุทธศาสตรการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติ มิชอบระดับชาติ เพือ่ ใชเปนเครือ่ งมือประสานงานปองกันและปราบปรามรวมกัน สำนักงานคณะกรรมการปองกันปราบปรามการทุจริตคอรัปชัน่ แหงชาติ อาจเปนแกนหลัก ของกระบวนการยกรางยุทธศาสตรการปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบระดับชาติ ดังกลาว และยังจะตองแปลงยุทธศาสตรชาติเปนแผนการดำเนินการเฉพาะของสำนักงานฯเองโดยมีแผนการทำงาน ระยะสัน้ ทีอ่ าจเนนการปราบปรามการทุจริตประพฤติมชิ อบควบคกู บั แนวทาง แผนการทำงานระยะยาวที่ ตองเนนการปองกันการทุจริตประพฤติมชิ อบดวยควบคกู นั ไป โดนจำเปนตองสนับสนุนและสงเสริมการ ศึกษา วิจยั ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตใหสงั คมไดรบั องคความรแู ละตระหนักในภยันตรายที่ แทจริงของการทุจริตคอรรปั ชัน่ อยางถูกตองและรเู ทาทัน โดยมีกลไกในทางปฏิบตั ทิ สี่ ำคัญควรเปนกลไก เครือ่ ขายทัง้ ของภาคประชาชนและภาครัฐ โดย ป.ป.ช.ตองสามารถกำหนดทิศทางและแนวทางการดำเนิน งานรวมกันของภาคีทกุ ฝายใหเปนทีย่ อมรับของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของทัง้ ภาคประชาชนและภาครัฐได 39

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


การดำเนินการหลักๆของ ป.ป.ช.ควรเกิดจากการรวมมือกัน ใหเปนขอตกลงในเรื่องการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตภายใตการประสานความรวมมือกันขององคกรภาคประชาชนและองคกร ภาครัฐ โดยใหประชาชนมีบทบาทหลักและเปนกลไกเสริมความเขมแข็งของ กระบวนการ ตลอดจนสนับ สนุนแนวทางการกระจายบทบาทและอำนาจแกกลไกทุกระดับใหสามารถทำงานครอบคลุมภารกิจรวมทัง้ การติดตามตรวจสอบและเฝาระวังการทุจริตอยางทันการณ มีการรวมมือกับหนวยงานระดับทองถิน่ และ องคกรอิสระเพื่อเขาถึงประชาชน โดยป.ป.ช.จะตองมุงสงเสริมกระบวนการสรางจิตสำนึกกระตุนให ประชาชนมีสว นรวมในการปองกันการทุจริต และสรางเครือขายดำเนินงาน ประสานและเชือ่ มโยงเครือขาย ทัง้ ภาครัฐ เอกชน องคกร หนวยงานตางๆ เพือ่ ลดการทุจริตทุกระดับสังคม ป.ป.ช.ควรสนับสนุนการวิจยั และระบบการศึกษาทุกระดับ เพือ่ สรางองคความรเู กีย่ วกับการ ตานภัยทุจริตแกผนู ำภาคประชาชน เอกชน และการเมือง รวมทัง้ ปรับทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมในการตอ ตานการทุจริตเพื่อกระตุนใหเกิดแนวรวมในการตานทุจริตในสังคมและเปนแกนนำปลูกจิตสำนึกแกผู นำระดับทองถิน่ และผนู ำศาสนา รณรงคประชาสัมพันธตา นการทุจริตเชิงรุก เพือ่ กระตนุ ใหสงั คมมีการตอ ตานการทุจริต โดยการปรับกลไกและวิธกี ารทำงานในภาคเอกชนและวงการเมืองเพือ่ เปนแนวรวมภายใต ขอบเขตรูปแบบใหมทสี่ ามารถปองกันนักการเมืองแทรกแซงการทำงานของ ป.ป.ช. และสามารถปฏิบตั กิ าร ปองกันปราบปรามการทุจริตทีค่ รบวงจรในทุกระดับของการบริหารจัดการ การจัดเวทีกลางในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ประสบการณและการระดมความคิดเห็นใน การปองกันและปราบปรามการทุจริต จะเปนการเปดโอกาสใหเครือขายประชาชนไดเขามามีสว นรวมในการ กำหนดมาตรการและจัดทำแผนแมบทในการปองกันและปราบปรามการทุจริตฯ และ เสริมสรางจริยธรรม คุณธรรมใหกบั ประชาชนมีความพรอมในการทำหนาที่

บทสรุป การพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ตองใหความสำคัญอยางยิง่ กับการเสริมสราง ธรรมาภิบาล และการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบมิใหเกิด “ระบอบธุระกิจการ เมือง” ขึน้ ในการบริหารจัดการประเทศ โดยใหประชาชนเปนแกนการมีสว นรวมของกระบวนการแกไข ปญหาคอรรปั ชัน่ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางดำเนินการ การปองกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบควรจะมุงใหความสำคัญกับการพัฒนา ศักยภาพของ “คน” ในทุกกลมุ ทุกภาคสวนของสังคมไทย ใหมพี นื้ ฐานทางจิตใจทีย่ ดึ มัน่ ใน “คุณธรรม” มี ความซือ่ สัตยสจุ ริต และ “ความรอบร”ู อันเปนเงือ่ นไขทีจ่ ะทำใหเกิดการประพฤติปฏิบตั ติ นไดอยาง “มีเหตุ มีผล” รจู กั สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองไทยตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริยท รงเปนประมุข สามารถผนึกพลังเปนเครือขายทีเ่ ขมแข็ง มีบทบาทและมีสว นรวมในการสนับสนุน การขับเคลือ่ นการบริหารจัดการและพัฒนาประเทศเพิม่ ขึน้ พรอมทัง้ ใหความสำคัญกับการเสริมสรางความ แข็งแกรงใหกบั ระบบโครงสราง กลไก และกระบวนการบริหารจัดการประเทศ บนหลักธรรมาภิบาลและ ประชาธิปไตย โดยตองมีการปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐทั้งระบบราชการและรัฐวิสาหกิจใหมี ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

40


ประสิทธิภาพโปรงใส เนนบทบาทในการอำนวยความสะดวกกำกับดูแล แทนการควบคุมและสัง่ การ เนน การทำงานรวมกับภาคสวนตางๆ ในลักษณะหนุ สวนการพัฒนา ขณะเดียวกันตองลดบทบาทอำนาจของ ราชการในสวนกลาง และเพิม่ บทบาท มอบอำนาจและกระจายอำนาจการตัดสินใจ การดำเนินการ การ กระจายการจัดสรรทรัพยากรใหแกราชการ สวนทองถิน่ และชุมชน ใหมศี กั ยภาพความสามารถรับผิดชอบ การพัฒนาในพืน้ ทีไ่ ดอยางสอดคลองกับความตองการของประชาชนและภูมสิ งั คม โดยใหประชาชนมีสว น รวมในการตรวจสอบในทุกขั้นตอนควบคูกับการถวงดุล คานอำนาจรัฐอยางโปรงใสสมเหตุสมผล ประชาชนสวนใหญสามารถเขาถึงความรแู ละการศึกษา ตลอดจนไดรบั การปลูกจิตสำนึกใหมคี วามรับผิด ชอบตอผลประโยชนสาธารณะกระทัง่ เปนปกติวสิ ยั สามารถรวมกันสรางภูมคิ มุ กันทางคานิยม วัฒนธรรม มิใหยอมรับพฤติกรรมทีไ่ มเปนธรรมตอสังคมสวนรวม ทัง้ นีว้ งการทางวิชาการตองสนับสนุนและมีการ ศึกษา วิจยั ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตใหสงั คมไดรบั องคความรแู ละตระหนักในภยันตรายที่ แทจริงของการทุจริตคอรรปั ชัน่ อยางถูกตองและรเู ทาทัน ควบคไู ปกับการสงเสริมบทบาทภาคเอกชนและ การปฏิรปู ธุรกิจเอกชนใหเขมแข็ง สุจริต โปรงใส ลดการผูกขาด เปนธรรมกับผบู ริโภคและธุรกิจคแู ขง พรอม ทัง้ เรงปฏิรปู กฎหมาย กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วของกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพือ่ สราง “สมดุล” ในการจัด สรรและกระจายผลประโยชนจากการพัฒนาใหทวั่ ถึงและเปนธรรม สงผลใหการบริหารจัดการและการ พัฒนาประเทศเกิดดุลยภาพทัง้ ในมิตขิ องเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอม และความมัน่ คง ปราศจากการทุจริตคอรรปั ชัน่ ซึง่ จะนำไปสสู นั ติสขุ และความยัง่ ยืนในการอยเู ย็นเปนสุขตลอดไป

41

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550



ชาติ ชัยเดชสุรยิ ะ



ชาติ ชัยเดชสุรยิ ะ*

1. บทนำ

เปนเรือ่ งทีน่ า สนใจอยางยิง่ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ จะนำระบบคณะลูกขุนมาใชในคดีอาญาตัง้ แตเดือน พฤษภาคม ค.ศ.2009 (พ.ศ.2552) เปนตนไป ทีก่ ลาววานาสนใจอยางยิง่ ก็ดว ยเหตุผลสองประการ กลาว คือ 1.1 เปนทีท่ ราบกันดีวา โดยทัว่ ไปแลวระบบคณะลูกขุนในคดีอาญาเปนรูปแบบการพิจารณา คดีซงึ่ ใชกนั ในกลมุ ประเทศทีใ่ ชระบบ Common Law เชน ประเทศอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา เปนตน ดังนั้นการที่ประเทศญี่ปุนซึ่งเปนประเทศที่วางระบบกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามแบบประเทศ ภาคพืน้ ยุโรปซึง่ ใชระบบ Civil Law จะนำระบบคณะลูกขุนมาใชนนั้ จึงดูเหมือนจะเปนการเปลีย่ นแปลง ระบบการพิจารณาคดีอาญาในศาลของประเทศญี่ปุนมากพอสมควร 1.2 ระบบคณะลูกขุนที่ประเทศญี่ปุนจะนำมาใชนั้นมีความแตกตางจากระบบคณะลูกขุนใน ระบบ Common Law อยมู าก คลายกับเปนระบบผสมผสานซึง่ อาจถือไดวา เปนนวัตกรรมทีเ่ ปนการริเริม่ สรางสรรคใหม จึงมีความนาสนใจมากยิง่ ขึน้ ไปอีก ซึง่ จะกลาวในรายละเอียดตอไป บทความนีจ้ ะนำเสนอขอมูลเกีย่ วกับลักษณะของระบบคณะลูกขุนทีป่ ระเทศญีป่ นุ จะนำมาใชดงั กลาวนัน้ ในแงมมุ ตางๆ โดยลำดับ

2. ทีม่ าและแนวคิดเบือ้ งตนของการจัดใหมรี ะบบคณะลูกขุนในประเทศญีป่ นุ ในอดีต ประเทศญี่ปุนเคยนำระบบคณะลูกขุนมาใชในคดีอาญาบางประเภทนั้นเมื่อระหวางป ค.ศ.1923-1943 (พ.ศ.2466-2486)1 แตดว ยปญหาในทางปฏิบตั บิ างประการ (เชน การทีไ่ มใหสทิ ธิคคู วาม ในการอุทธรณคำตัดสินของคณะลูกขุน ทำใหสาธารณชนเกิดกระแสคัดคาน2) จึงเปนเหตุใหตอ งยกเลิก ไป จนกระทัง่ เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม ค.ศ.2004 (พ.ศ.2547) ไดมปี ระกาศการตรากฎหมายวาดวยการใช ระบบคณะลูกขุนในวิธพี จิ ารณาความของศาลคดีอาญา (The Law for Implementation of the Saiban-in System in Criminal Court Procedures) โดยใหมีผลใชบังคับจริงตั้งแตเดือนพฤษภาคม ค.ศ.2009 (พ.ศ.2552) เปนตนไป คณะลูกขุนดังกลาวมีคำเรียกในญีป่ นุ วา “Saiban-in” ซึง่ มีแนวคิดเบือ้ งตนทีส่ ำคัญ คือ3 2.1 เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมอยางสำคัญและเปนกิจจะลักษณะมากขึ้นในกระบวนการ ยุตธิ รรมทางอาญา โดยเฉพาะอยางยิง่ ในขัน้ ตอนของศาลยุตธิ รรม ตามระบบของประเทศญีป่ นุ ทีเ่ ปนอยู * อัยการผูเชี่ยวชาญ สำนักงานอัยการสูงสุด, นบ. (จุฬา), นบท., นม. (จุฬา), LLM. in Criminal Justice with Merit, (Kent at Canterbury), LLM. with Distinction (Edinburgh) 1 <http://lsr.nellco.org/cgi/viewcontent.cgi?article=1041&context=bc/bclsfp> 2 Takasuki Masaki, The new lay-judge system in Japan: A comparison with the jury system in NSW, presented at the ANJel international conference in Japanese law on “Japanese law on trial” held at the University of Sydney, Australia, 23 February 2005, <http://law.anu.edu.au/ anjel/documents/23Feb2005Conf/takasugi2005.pdf.> 3 Supreme Court of Japan, Ministry of Justice, Japan Federation of Bar Associations, Start of the Saiban-in System, 2006

45

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


นั้นเปนการดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ โดยที่ประชาชนอาจมีสวนรวมในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาไม มากนัก4 โดยเฉพาะอยางยิง่ หากอยใู นขัน้ ตอนการพิจารณาคดีอาญาของศาลแลว ประชาชนแทบจะไม ไดมสี ว นรวมหรือตรวจสอบการทำงานของกระบวนการยุตธิ รรมเลย การมีสว นเกีย่ วของของประชาชน ในชัน้ พิจารณาคดีอาญาของศาลมักจะเปนไดเพียงการทำหนาทีเ่ ปนพยานหรือตกเปนจำเลย ดังนัน้ การ วางระบบใหมใหประชาชนไดเขามาเปนคณะลูกขุนจึงเปนการเพิ่มบทบาทของประชาชนอยางสำคัญยิ่ง และมิไดเปนเพียงคณะลูกขุนทีท่ ำหนาทีต่ ดั สินปญหาวาจำเลยไดกระทำความผิดจริงหรือไมอยางในระบบ Common Law5 หากแตเขารวมเปนองคคณะของศาลซึง่ มีสทิ ธิรว มพิจารณากำหนดโทษทีจ่ ะลงแกจำเลย ดวยในทำนองเดียวกับผพู พิ ากษาสมทบ แตกแ็ ตกตางจากผพู พิ ากษาสมทบตรงทีค่ ดั เลือกมาทำหนาทีเ่ ปน รายคดี ซึง่ เมือ่ เสร็จคดีนนั้ แลวก็พน หนาทีไ่ ป จึงจัดเปนการผสมลักษณะ ระหวางการเปนผพู พิ ากษาสมทบ แบบทีใ่ ชกนั อยใู นหลายๆ ประเทศ (ไมวา จะเปนประเทศทีใ่ ชระบบ Common Law หรือ Civil Law6) กับ การเปนคณะลูกขุนตามแบบของระบบ Common Law อีกทัง้ ยังกำหนดดวยวาองคคณะของศาลในคดีที่ ตองมีคณะลูกขุนจะประกอบดวยคณะลูกขุน 6 คน และผพู พิ ากษาอาชีพประจำศาลนัน้ อีก 3 คน รวมเปน องคคณะ 9 คน (ในบางกรณี องคคณะของศาลในคดีทตี่ อ งมีคณะลูกขุน อาจประกอบดวยคณะลูกขุน 4 คนและผพู พิ ากษาอาชีพประจำศาลนัน้ อีก 1 คน รวมเปนองคคณะ 5 คน) ทำหนาทีพ่ จิ ารณาพิพากษาคดีนนั้ จึงมีการเรียกระบบคณะลูกขุนของประเทศญีป่ นุ นีว้ า ระบบคณะลูกขุนแบบผสม (mixed-jury system) 2.2 การนำระบบนี้มาใชอยูบนสมมุติฐานวาการที่ประชาชนไดรับการคัดเลือกใหเขามา ทำหนาทีร่ ว มเปนองคคณะในศาลเพือ่ การพิจารณาพิพากษาคดีอาญา โดยเฉพาะทีเ่ ปนคดีความผิดรายแรง นัน้ จะทำใหการพิจารณาพิพากษาของศาลมีความรอบคอบและตรวจสอบไดมากขึน้ เพราะการพิจารณา ชัง่ น้ำหนักพยานหลักฐานและการกำหนดโทษจะมาจากการหารืออยางรอบดานรวมกันระหวางผพู พิ ากษา อาชีพกับคณะลูกขุน ซึง่ การทำหนาทีข่ องคณะลูกขุนนีจ้ ะเปนการสะทอนมุมมองของประชาชนทีไ่ มใชนกั กฎหมาย อีกทัง้ ยังมีสว นเกือ้ หนุนพืน้ ฐานของระบอบประชาธิปไตยซึง่ เนนการมีสว นรวมและการตรวจ สอบไดจากประชาชน และมีความคาดหวังวาการรวมดวยชวยกันดังกลาวจะนำไปสูการพัฒนาใหเปน “ระบบกระบวนการยุตธิ รรมทีม่ คี วามเปนมิตรมากขึน้ ความรวดเร็วมากขึน้ และความเชือ่ ถือไดมากขึน้ ” (friendlier, faster, and more reliable justice system)

3. หลักเกณฑเกีย่ วกับการใชระบบคณะลูกขุนในประเทศญีป่ นุ

ตามกฎหมายวาดวยการใชระบบคณะลูกขุนในวิธีพิจารณาความของศาลคดีอาญา ไดกำหนด หลักเกณฑเกีย่ วกับการใชระบบคณะลูกขุน โดยมีสาระสำคัญสรุปไดดงั นี้ 4

5 6

Kunihiro Horiuchi, “Criminal Justice in Japan” in UNAFEI, Criminal Justice Profiles of Asia- Investigation, Prosecution, and Trial (Tokyo: UNAFEI, 1995), pp.69-106, <http://www.answers.com/topic/criminal-justice-system-of-japan>, <http://www.iap.nl.com/ speeches_asia_conference_2003/prosecution-criminal-justice-system-in-japan-by-juichiro-tachi.html>, ในระบบของประเทศญี่ปุนที่เปนอยู ประชาชนอาจมีสว นตรวจสอบการทำงานของกระบวนการยุตธิ รรมอยบู า งก็ในชัน้ อัยการ กลาวคือ แมโดยทัว่ ไปประชาชนผเู สียหายไมมสี ทิ ธิยนื่ ฟอง คดีอาญาตอศาลเอง เนื่องจากการฟองคดีอาญาในประเทศญี่ปุนเปนอำนาจหนาที่ของอัยการโดยเฉพาะ แตผูเสียหายก็อาจขอตรวจสอบคำสั่งไมฟอง ของอัยการไดโดยการรองขอไปยัง “คณะกรรมการทบทวนคำสั่งอัยการ” (Prosecution Review Commissions) ซึ่งคัดเลือกมาจากประชาชนผูมีสิทธิ เลือกตั้งจำนวน 11 คนประจำทองถิ่นนั้นๆ ใหพิจารณาแจงใหอัยการพิจารณาทบทวนคำสั่งไมฟองคดีนั้นใหมอีกครั้งหนึ่ง Andrew Sanders and Richard Young, Criminal Justice (London: Butterworths, 2000), pp.551-608, Andrew Ashworth, The Criminal ProcessAn Evaluative Study (Oxford: Oxford University Press, 1988), pp.256-259 http://en.wikipedia.org/wiki/Judiciary_of_Germany, http://www.ojp.usdoj.gov/bjs/pub/ascii/wfbcjger.txt, http://www.om.fi/Etusivu/Julkaisut/Esitteet/Karajaoikeudenlautamies/Lautamiehenvastuu?lang=en, http://en.wikipedia.org/wiki/Judge

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

46


3.1 ประเภทของคดีอาญาที่จะมีการใชระบบคณะลูกขุน ไดแก คดีความผิดรายแรงซึ่งมี อัตราโทษประหารชีวิตหรือโทษจำคุกตามเกณฑที่กำหนด หรือคดีตามที่ระบุไวใน The Courts Act, section 26(2)(2) และผเู สียหายไดถงึ แกความตายจากการกระทำความผิดนัน้ เชน ความผิดฐานฆาผอู นื่ , ปลนทรัพยจนเปนเหตุใหผอู นื่ ถึงแกความตายหรือไดรบั บาดเจ็บ, ทำรายรางกายผอู นื่ จนเปนเหตุใหถงึ แก ความตาย, ขับรถโดยประมาทและในขณะเมาสุราเปนเหตุใหผอู นื่ ถึงแกความตาย, วางเพลิงเผาเคหสถาน, ลักพาตัวบุคคลเพือ่ เรียกคาไถ, ละทิง้ เด็กทีอ่ ยใู นปกครองจนเปนเหตุใหเด็กนัน้ ถึงแกความตาย เปนตน 3.2 คุณสมบัตแิ ละลักษณะตองหามสำหรับบุคคลทีจ่ ะไดรบั การคัดเลือกใหเปนลูกขุน มีขอ กำหนดใน 5 ประการ กลาวคือ ประการที่ 1 เกีย่ วกับคุณสมบัตนิ นั้ อาจกลาวไดวา มงุ หมายทีป่ ระชาชนธรรมดา โดยไม ไดตงั้ คุณสมบัตไิ วสงู นัก ตามหลักเกณฑทวี่ างไวกค็ อื จะตองเปนพลเมืองญีป่ นุ ทีม่ อี ายุตงั้ แต 20 ปขนึ้ ไปและเปนผมู สี ทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร ประการที่ 2 เกีย่ วกับลักษณะตองหามนัน้ ตามหลักเกณฑทกี่ ำหนดไวไดแก จะตองไม เปนผทู เี่ รียนไมจบการศึกษาภาคบังคับ, จะตองไมเปนผทู เี่ คยตองคำพิพากษาใหลงโทษถึงขัน้ จำคุกมากอน, จะตองไมเปนผซู งึ่ อยรู ะหวางถูกดำเนินคดีอาญาในความผิดทีม่ อี ตั ราโทษจำคุกหรืออยรู ะหวางถูกจับกุม หรือคุมขัง, และจะตองไมเปนผทู พี่ กิ ารทางกายหรือทางจิตถึงขัน้ ทีจ่ ะเปนอุปสรรคตอการทำหนาทีล่ กู ขุน ประการที่ 3 เกีย่ วกับขอจำกัดทางวิชาชีพนัน้ ตามหลักเกณฑทกี่ ำหนดไวไดแก จะตอง ไมเปนผทู มี่ อี าชีพเปนขาราชการ, สมาชิกรัฐสภา, รัฐมนตรี, เจาหนาทีบ่ ริหารของรัฐบาล, ผมู วี ชิ าชีพทาง กฎหมาย (เชน ผพู พิ ากษา, อัยการ หรือทนายความ), อาจารยผสู อนวิชากฎหมายในมหาวิทยาลัย, ผบู ริหาร องคการบริหารสวนทองถิน่ , หรือทหาร ประการที่ 4 เกีย่ วกับขอจำกัดอันเนือ่ งมาจากมีสว นเกีย่ วของกับคดีนนั้ ตามหลักเกณฑ ทีก่ ำหนดไวไดแก จะตองไมเปนจำเลยหรือผเู สียหายหรือพยานในคดีนนั้ , สมาชิกในครอบครัวหรือบุคคล ทีอ่ าศัยอยรู ว มกันกับจำเลยหรือผเู สียหาย, ผแู ทนหรือทีป่ รึกษาหรือผเู ชีย่ วชาญหรือเจาหนาทีท่ มี่ สี ว นเกีย่ ว ของกับคดีนั้น ประการที่ 5 เกีย่ วกับขอจำกัดอืน่ ๆ ตามหลักเกณฑทกี่ ำหนดไวไดแก จะตองไมเปน บุคคลที่ศาลเห็นวามีความเปนไปไดที่จะมีอคติอันจะสงผลใหการพิจารณาพิพากษาคดีนั้นไมเปนธรรม 3.3 ขออางในการขอถอนตัวโดยประสงคจะไมเปนลูกขุน โดยหลักการแลว ผทู ไี่ ดรบั การคัด เลือกจะตองยอมรับการแตงตัง้ ใหเปนลูกขุนนัน้ เพราะถือเปนหนาทีส่ ำคัญของพลเมืองตามวัตถุประสงค ของการจัดใหมรี ะบบคณะลูกขุนในคดีอาญา อยางไรก็ดี กฎหมายก็ไดเปดโอกาสใหผทู มี่ เี หตุจำเปนอาจ ยกเหตุนั้นมาเปนขออางในการขอถอนตัวโดยประสงคจะไมเปนลูกขุนได แตทั้งนี้ศาลจะทำหนาที่ พิจารณาดวยวาขออางดังกลาวฟงขึน้ หรือไม และสัง่ อนุญาตหรือไมอนุญาตตอไป ขออางดังกลาวทีเ่ ปน ไปไดตามกฎหมาย ไดแก เปนผทู อี่ ยใู นวัยชราแลว (คือตัง้ แต 70 ปขนึ้ ไป) ทำใหไมสะดวกแกการทำหนาที่ ลูกขุน, เปนสมาชิกสภาทองถิ่นและอยูในระหวางสมัยประชุม, เปนนักเรียนหรือนักศึกษา, เปนผูที่เคย ทำหนาทีล่ กู ขุนหรือเคยเปนพนักงานสอบสวนคดีอาญาในชวง 5 ปทผี่ า นมา, เปนผทู เี่ คยไดรบั หมายเรียก ของศาลใหไปรับการคัดเลือกเปนลูกขุนในปทผี่ า นมา, หรือเปนผทู มี่ หี ลักฐานวามีปญ  หาความจำเปนอัน จะทำใหไมสามารถปฏิบตั หิ นาทีเ่ ปนลูกขุนได เชน อยรู ะหวางปวยหนักหรือไดรบั อันตรายสาหัส, มีความ จำเปนตองดูแลคนในครอบครัวซึง่ ชวยตัวเองไมได, มีความจำเปนอยางยิง่ ทีต่ อ งดูแลธุรกิจสวนตัวซึง่ หาก 47

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ตองเปนลูกขุนจะไมมผี ใู ดดูแลธุรกิจนัน้ แทน, หรืออยรู ะหวางมีภาระหนาทีจ่ ดั งานศพของคนในครอบครัว เปนตน 3.4 วิธกี ารคัดเลือกคณะลูกขุน มีหลักการเบือ้ งตนวา จะตองมีการจัดทำบัญชีรายชือ่ “ผมู โี อกาส จะถูกเรียกใหมารับการคัดเลือกเปนคณะลูกขุน” โดยยึดถือตามบัญชีรายชือ่ ผมู สี ทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาผู แทนราษฎรเปนหลัก และการคัดเลือกคณะลูกขุนจะดำเนินการเปนรายคดีๆ ไป ซึง่ การเรียกจะเปนไปตาม ลำดับในบัญชีรายชื่อนั้นและจะตองผานกระบวนการคัดเลือกในศาลนั้นๆ ซึ่งมีขั้นตอนรวม 4 ขั้นตอน กลาวคือ ขัน้ ตอนที่ 1 ในทุกๆ ป จะตองมีการจัดเตรียมบัญชีรายชือ่ “ผมู โี อกาสจะถูกเรียกใหมารับ การคัดเลือกเปนคณะลูกขุน” ของปถดั ไปเตรียมไวลว งหนา ซึง่ จะจัดเตรียมจากบัญชีรายชือ่ ผมู สี ทิ ธิเลือก ตัง้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรดังกลาว โดยศาลแตละทองทีม่ หี นาทีร่ บั ผิดชอบในการจัดทำบัญชีรายชือ่ “ผู มีโอกาสจะถูกเรียกใหมารับการคัดเลือกเปนคณะลูกขุน” ของศาลนัน้ ๆ เอง ขัน้ ตอนที่ 2 ในคดีอาญาทีเ่ ขาหลักเกณฑวา จะตองมีคณะลูกขุนเขารวมในการพิจารณา พิพากษาดวยนัน้ ก็จะตองเขาสกู ระบวนการคัดเลือกคณะลูกขุน โดยคดีนนั้ ๆ ศาลจะออกหมายเรียกบุคคล ที่ปรากฏรายชื่อในบัญชีรายชื่อดังกลาวจำนวนหนึ่งเรียงตามลำดับใหไปยังศาลนั้นตามวันและเวลาที่ กำหนด ขัน้ ตอนที่ 3 เมือ่ บุคคลผไู ดรบั หมายเรียกไดไปยังศาลตามกำหนดแลว ก็จะมีการซักถาม และตรวจสอบขอมูลของบุคคลนัน้ วาเขาขายตองหามตามกฎหมายมิใหเปนลูกขุนหรือไม หรือในกรณีที่ บุคคลนัน้ ประสงคจะขอถอนตัวจากกระบวนการคัดเลือกโดยอางเหตุความจำเปนนัน้ ก็จะมีการตรวจสอบ วาขออางนัน้ ฟงขึน้ หรือไม ซึง่ ศาลก็จะทำหนาทีค่ ดั บุคคลทีเ่ ขาขายตองหามหรือประสงคจะขอถอนตัวโดย มีขอ อางอันฟงขึน้ นัน้ ออกจากกระบวนการคัดเลือก จากนัน้ ทางอัยการโจทกและทนายจำเลยก็จะมีสทิ ธิ ตัง้ ขอรังเกียจสำหรับบุคคลทีเ่ หลืออยนู นั้ เพือ่ การคัดออกนัน้ อีก จนกระทัง่ เหลือจำนวนบุคคลเทาจำนวน คณะลูกขุนตามทีก่ ฎหมายกำหนดใหมสี ำหรับคดีนนั้ ๆ (6 คน หรือ 4 คน แลวแตกรณี) ทัง้ นี้ ในการตัง้ ขอรังเกียจโดยคคู วามดังกลาวในระบบของประเทศญีป่ นุ นี้ คคู วามสามารถสอบถามขอมูลเกีย่ วกับคุณวุฒิ หรือความเชี่ยวชาญของผูจะไดรับการคัดเลือกใหเปนลูกขุนนั้นกอนได เพื่อใหไดบุคคลที่เหมาะสมกับ คดีนนั้ (ซึง่ แตกตางจากในระบบ Common Law ซึง่ มีขอ หามถามขอมูลของผทู จี่ ะไดรบั การคัดเลือกใหเปน ลูกขุนนั้นในประเด็นดังกลาว7) ขั้นตอนที่ 4 บุคคลที่ถูกคัดออกดังกลาวเปนอันพนภาระหนาที่ไปสำหรับในคราวนั้น สวนบุคคลที่ไมถูกคัดออกและอยูในจำนวนพอดีที่จะเปนคณะลูกขุนในคดีนั้น ก็จะไดรับการแตงตั้งให เปนคณะลูกขุนเพื่อเขารวมกับผูพิพากษาอาชีพในการเปนองคคณะพิจารณาพิพากษาคดีนั้น 3.5 หนาทีข่ องบุคคลทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ ใหเปนคณะลูกขุน มีอยู 3 ประการทีส่ ำคัญ กลาวคือ ประการที่ 1 มีหนาทีเ่ ขารวมในการพิจารณาคดีนนั้ นับตัง้ แตไดรบั การแตงตัง้ คณะลูก ขุนจะตองทำงานรวมกันกับคณะผูพิพากษาอาชีพประจำศาลนั้นซึ่งประกอบกันเปนองคคณะในคดีนั้น การพิจารณาคดีอาญาในศาลโดยสวนใหญจะเปนไปอยางตอเนือ่ งโดยไมมกี ารเลือ่ นคดีทใี่ ชเวลายาวนาน การสืบพยานในศาลจะมีการสงพยานหลักฐานตอศาล ซึ่งจะมีการตรวจสอบทั้งโดยการซักถามและซัก คาน และลูกขุนในระบบของประเทศญี่ปุนนี้แตละคนอาจถามพยานไดโดยตรงโดยความเห็นชอบของ 7

อางแลวในเชิงอรรถที่ 5

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

48


ศาล (ซึง่ แตกตางจากลูกขุนในระบบ Common Law ซึง่ ไมอาจถามพยานได โดยหากมีขอ สงสัยอยากจะ ไดขอเท็จจริงจากพยานในประเด็นใดก็จะตองสงคำถามนั้นใหผูพิพากษาในคดีนั้นเปนผูพิจารณาถาม พยานให8) ประการที่ 2 มีหนาทีร่ ว มพินจิ พิเคราะหและวินจิ ฉัย โดยหลังจากทีค่ ดีนนั้ มีการสืบพยาน เสร็จสิน้ แลว คณะผพู พิ ากษาอาชีพและคณะลูกขุนของคดีนนั้ ก็จะปรึกษาหารือรวมกันเพือ่ วินจิ ฉัยวาจำเลย ไดกระทำความผิดตามฟองจริงหรือไม และหากกระทำความผิดจริงจะสมควรไดรับโทษสถานใด ซึ่ง ก็ยอ มจะตองมีการแสดงเหตุผลของความเห็นในการปรึกษาหารือกันนัน้ ซึง่ ทัง้ ผพู พิ ากษาอาชีพและลูกขุน แตละคนในคดีนนั้ ตางมีสทิ ธิออกเสียงลงมติไดคนละ 1 เสียงเทากัน ในกรณีทกี่ ารออกเสียงลงมติได ผลทีไ่ มเปนเอกฉันท ก็ใหถอื เอาเสียงขางมาก แตเสียงขางมากดังกลาวจะตองมาจากผพู พิ ากษาอาชีพอยาง นอย 1 เสียง และมาจากลูกขุนอยางนอย 1 เสียงดวย ประการที่ 3 เมือ่ ไดมติทชี่ ขี้ าดคำวินจิ ฉัยนัน้ แลว ผพู พิ ากษาอาชีพคนทีท่ ำหนาทีเ่ ปนหัว หนาคณะในคดีนั้นก็จะอานคำพิพากษาคดีนั้นในศาลตามมติดังกลาว ซึ่งหลังจากมีการอานคำพิพากษา คดีนนั้ แลว ก็เปนอันวาคณะลูกขุนของคดีนนั้ พนจากหนาทีก่ ารเปนคณะลูกขุนนับตัง้ แตนนั้ ไป อนึง่ ในระหวางคณะลูกขุนกับผพู พิ ากษาอาชีพในระบบของประเทศญีป่ นุ นี้ ไดมกี ารแบง แยกหนาทีก่ นั ประการหนึง่ คือ เฉพาะผพู พิ ากษาอาชีพเทานัน้ ทีม่ อี ำนาจพิจารณาปญหาขอกฎหมายและ วินิจฉัยหลักเกณฑเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความในคดีนั้น

4. ประเด็นตางๆ ทีอ่ าจทำใหพลเมืองญีป่ นุ กังวลตอการเปนลูกขุน หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ ไดแก สำนักงานศาลยุตธิ รรม, กระทรวงยุตธิ รรม และเนติบณ ั ฑิตยสภา ของประเทศญีป่ นุ ไดมกี ารจัดทำขอมูลชีแ้ จงในประเด็นตางๆ เพือ่ เปนการเตรียมความพรอมตอการบังคับ ใชระบบคณะลูกขุนในคดีอาญาซึง่ จะเริม่ ตนตัง้ แตป ค.ศ.2009 (พ.ศ.2552) ดังกลาว โดยไดชแี้ จงประเด็น ทีพ่ ลเมืองญีป่ นุ อาจมีความกังวลตอการเปนลูกขุนในคดีอาญานัน้ ดังนี้ 4.1 ปญหาวา มีแนวโนมความเปนไปไดมากนอยเพียงใดที่จะไดรับหมายเรียกจากศาลใหไป รับการคัดเลือกเปนคณะลูกขุน คำตอบคือ ในทางปฏิบตั จิ ะมีโอกาสนอยมาก เนือ่ งจากตามสถิตคิ ดีอาญา ในชวงทีผ่ า นมา เชน ในป ค.ศ.2003 (พ.ศ.2546) จำนวนคดีอาญาในศาลทัง้ ประเทศญีป่ นุ ทีอ่ ยใู นขายอาจ ใชระบบคณะลูกขุน (เทียบตามหลักเกณฑประเภทคดีอาญาทีจ่ ะมีการใชระบบคณะลูกขุน ดังกลาวใน 3.1 ขางตน) มีเพียง 3,089 คดี9 ซึง่ จำนวนพลเมืองญีป่ นุ ทีม่ สี ทิ ธิเลือกตัง้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎรในป ค.ศ.2003 (พ.ศ.2546) มีประมาณ 122.3 ลานคน จึงอาจคำนวณโดยประมาณการไดวา โอกาสทีบ่ คุ คลจะไดรบั หมาย เรียกจากศาลใหไปรับการคัดเลือกเปนคณะลูกขุนนัน้ อยใู นอัตรา 1 คนตอ 330-660 คน และประมาณการ ไดวา ในคดีอาญาแตละคดีทจี่ ะตองใชคณะลูกขุน ซึง่ ตองการลูกขุนเพียง 6 คน หรือ 4 คนนัน้ จะมีผทู เี่ ขา มารับการคัดเลือกถึง 50-100 คน อีกทั้งในกรณีที่ไดรับการคัดเลือกและแตงตั้งใหทำหนาที่ลูกขุนใน คดีอาญาคดีหนึง่ แลว จะตองลวงพนไป 5 ปจงึ จะมีโอกาสไดรบั หมายเรียกจากศาลใหไปรับการคัดเลือก 8 9

อางแลวในเชิงอรรถที่ 5 Supreme Court of Japan, Ministry of Justice, Japan Federation of Bar Associations, Ibid, ในจำนวน 3,089 คดี ตามสถิติในป ค.ศ.2003 (พ.ศ.2546) ดังกลาว จำแนกไดเปนคดีปลนทรัพย 810 คดี, คดีฆา 768 คดี, คดีวางเพลิงเผาเคหสถาน 337 คดี, คดีขมขืนและเปนเหตุใหถึงแกความตายหรือ บาดเจ็บ 299 คดี, คดีทำรายรางกายเปนเหตุใหถึงแกความตาย 261 คดี กับคดีประเภทอื่นๆ

49

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


เปนคณะลูกขุนในคดีใหมไดอกี ดังนัน้ จึงเปนไปอยางทีก่ ลาวแลววาโอกาสทีบ่ คุ คลจะไดรบั การคัดเลือก และแตงตัง้ ใหเปนคณะลูกขุนตามความเปนจริงนัน้ จะมีไมมากนักและไมบอ ยครัง้ จึงเปนภารกิจทีไ่ มได สรางภาระมากเกินไป หากแตเปนเรือ่ งนาภาคภูมใิ จทีจ่ ะไดทำหนาทีส่ ำคัญของการเปนพลเมืองทีด่ แี ละมี สวนรวมในการใหความยุติธรรมแกมนุษยรวมทองถิ่นที่ตนอาศัยอยูดวย 4.2 ปญหาวาผูที่จะไดรับการแตงตั้งใหทำหนาที่คณะลูกขุนในคดีอาญาจำเปนตองเปนผูที่มี ความรเู ชีย่ วชาญทางดานกฎหมายหรือไม คำตอบคือ ไมมคี วามจำเปนใดๆ เลยทีจ่ ะตองมีความรเู ชีย่ วชาญ ทางดานกฎหมาย ทั้งนี้ เพราะไดมีการวางระบบใหผูพิพากษาอาชีพที่รวมอยูในองคคณะนั้นมีหนาที่ จะตองอธิบายใหคณะลูกขุนไดเขาใจโดยละเอียดเกีย่ วกับหลักเกณฑพนื้ ฐานทางกฎหมายและวิธพี จิ ารณา ความอาญาในศาลในสวนที่จำเปนสำหรับการทำหนาที่คณะลูกขุนนั้น นอกจากนี้ในการทำหนาที่ พิจารณาพิพากษาคดีของคณะลูกขุนก็จะตองกระทำรวมกับผพู พิ ากษาอาชีพในองคคณะคดีนนั้ โดยตลอด กระบวนพิจารณาของคดีนั้น อีกทั้งในทางปฏิบัติ ทั้งอัยการโจทกและทนายจำเลยก็จะสนับสนุนการ ทำหนาที่ของคณะลูกขุนดวย และในสวนของการวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายและหลักเกณฑวิธีพิจารณา ความก็เปนอำนาจหนาทีข่ องผพู พิ ากษาอาชีพโดยเฉพาะ ดังกลาวแลวใน 3.5 ขางตน ดังนัน้ ผทู เี่ ปนลูกขุน จึงไมตองกังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้ 4.3 ปญหาวากระบวนพิจารณาคดีอาญาในศาลจะใชเวลาอันยาวนานหรือไม คำตอบคือ โดย ทัว่ ไปแลว ไมไดใชเวลายาวนานมาก แตจะใชเวลาเทาใดก็ขนึ้ อยกู บั ลักษณะและเหตุปจ จัยทีเ่ กีย่ วของใน คดีนนั้ ๆ ซึง่ แตละคดีกไ็ มเหมือนกัน แตอยางไรก็ดี จากทางปฏิบตั ิทผี่ า นมา การสืบพยานคดีอาญาในศาล ญี่ปุนโดยสวนใหญใชเวลาไมกี่วันก็แลวเสร็จ ซึ่งในระบบที่จะใชคณะลูกขุนนี้ ก็จะมีการเตรียมการ รองรับใหการพิจารณาคดีอาญาเปนไปอยางรวดเร็วเชนกัน เพื่อไมใหเปนภาระแกผูที่เปนลูกขุนนั้นมาก จนเกินไป 4.4 ปญหาวาผูที่เปนลูกขุนจะมีความเสี่ยงที่อาจไดรับภยันตรายหรือถูกคุกคามเนื่องจากการ ปฏิบตั หิ นาทีน่ นั้ หรือไม คำตอบคือ ไดมกี ารจัดมาตรการปองกันเพือ่ คมุ ครองความปลอดภัยของผเู ปน ลูกขุน โดยกฎหมายกำหนดหลักเกณฑไวอยางนอย ๔ ประการ กลาวคือ ประการที่ 1 กำหนดใหศาลจะตองปกปดขอมูลสวนบุคคลของผเู ปนลูกขุน โดยเฉพาะชือ่ และที่อยูของบุคคลนั้นใหเปนความลับ ประการที่ 2 กำหนดวาบรรดาความเห็นของผเู ปนลูกขุนแตละคนทีแ่ สดงไวในระหวาง การปรึกษาหารือเพื่อมีคำวินิจฉัยในคดีนั้นจะตองไมมีการเปดเผยไปยังสาธารณชนเชนกัน ประการที่ 3 กฎหมายยังกำหนดมาตรการลงโทษทางอาญาแกผทู ไี่ ดกระทำการคุกคามขม ขูลูกขุนหรือคนในครอบครัวหรือญาติของลูกขุนนั้น ประการที่ 4 ในกรณีที่มีพฤติการณพิเศษวามีความเปนไดสูงที่ผูเปนลูกขุนหรือคนใน ครอบครัวหรือญาติของลูกขุนจะถูกคุกคามขมขู ศาลอาจดำเนินกระบวนพิจารณาคดีนั้นโดยไมตองมี คณะลูกขุนก็ได 4.5 ปญหาวา ผทู เี่ ปนลูกขุนมีสทิ ธิไดรบั คาตอบแทนและคาใชจา ยทีเ่ สียไปในการทำหนาทีล่ กู ขุนนัน้ หรือไม คำตอบคือ ไดมกี ารกำหนดหลักเกณฑใหผทู เี่ ปนลูกขุนมีสทิ ธิไดรบั คาพาหนะและคาตอบ แทนรายวันของทุกวันที่ปฏิบัติหนาที่ลูกขุนในคดีนั้นโดยเปนไปตามอัตราที่กฎหมายกำหนด

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

50


4.6 ปญหาวา ผทู เี่ ปนลูกขุนมีสทิ ธิขอลางานประจำตอนายจางเพือ่ มาทำหนาทีล่ กู ขุนนัน้ หรือไม คำตอบคือ ตามกฎหมายไดกำหนดหลักเกณฑไววา นายจางจะตองอนุญาตใหลูกจางไดลางานเพื่อไป ทำหนาที่ลูกขุน และนายจางไมอาจไลลูกจางออกจากงานหรือเลือกปฏิบัติในทางที่มิชอบตอลูกจางโดย เหตุที่ลูกจางผูนั้นลางานเพื่อไปปฏิบัติหนาที่เปนลูกขุน

5. บทสรุปและขอสังเกต จากทีก่ ลาวมาทัง้ หมดขางตน อาจสรุปเปนขอสังเกตบางประการไดดงั นี้ 5.1 ขอเปรียบเทียบระหวางคณะลูกขุนในระบบของประเทศญี่ปุน, คณะลูกขุนในระบบ Common Law, และผพู พิ ากษาสมทบ เห็นวามีทงั้ ขอคลายคลึงและขอแตกตาง จำแนกไดเปน 4 ประเด็น กลาวคือ ประเด็นที่ 1 เรือ่ งทีม่ าและกระบวนการคัดเลือก คณะลูกขุนในระบบของประเทศญีป่ นุ กับ คณะลูกขุนในระบบ Common Law สำหรับประเด็นนี้มีลักษณะทำนองเดียวกัน คือคัดเลือกจาก ประชาชนธรรมดาในทองถิน่ และไมไดกำหนดวาจะตองมีความรเู ชีย่ วชาญพิเศษ แตกตางจากผพู พิ ากษา สมทบซึง่ โดยหลักการแลวควรจะตองมีความรเู ปนพิเศษในเรือ่ งซึง่ โดยลักษณะประเภทของศาลนัน้ ตอง การคุณสมบัติเฉพาะเชนนั้น ประเด็นที่ 2 เรือ่ งบทบาทหนาที่ คณะลูกขุนในระบบของประเทศญีป่ นุ ทำหนาทีค่ ลาย คลึงกันกับผพู พิ ากษาสมทบ โดยทำหนาทีใ่ นการพิจารณาพิพากษาคดีรว มกันกับผพู พิ ากษาอาชีพในองค คณะคดีนนั้ และรวมวินจิ ฉัยทัง้ ในประเด็นวาจำเลยกระทำความผิดหรือไม และในกรณีทไี่ ดความวากระทำ ความผิดจำเลยควรไดรบั โทษสถานใด อีกทัง้ ในการพิจารณาคดีกม็ สี ทิ ธิซกั ถามพยานไดดว ยโดยความเห็น ชอบของผพู พิ ากษาอาชีพในคดีนนั้ ซึง่ จะแตกตางจากคณะลูกขุนในระบบ Common Law ซึง่ มีบทบาท เพียงการฟงการสืบพยานจนเสร็จสิน้ แลวปรึกษาหารือกันในระหวางคณะลูกขุนเพือ่ แจงมติแกผพู พิ ากษา อาชีพในคดีนั้นวาคณะลูกขุนเห็นวาจำเลยกระทำความผิดหรือไมโดยไมตองแสดงเหตุผลใดๆ และผู พิพากษาอาชีพในคดีนั้นก็จะทำหนาที่พิพากษากำหนดโทษที่จะลงแกจำเลยในกรณีที่คณะลูกขุนแจงมติ วาเห็นวาจำเลยกระทำความผิด จึงเห็นไดวาคณะลูกขุนในระบบของประเทศญี่ปุนจะมีบทบาทหนาที่ กวางขวางกวาคณะลูกขุนในระบบ Common Law ประเด็นที่ 3 เรือ่ งระยะเวลาของการปฏิบตั หิ นาที่ คณะลูกขุนในระบบของประเทศญีป่ นุ จะเปนทำนองเดียวกันกับคณะลูกขุนในระบบ Common Law ตรงทีม่ กี ารคัดเลือกมาทำหนาทีเ่ ปนรายคดี เมือ่ เสร็จคดีนนั้ แลวก็พน หนาทีไ่ ป หากมีคดีใหมทตี่ อ งใชคณะลูกขุนก็จะตองมีการคัดเลือกคณะลูกขุน ชุดใหม ซึ่งแตกตางจากผูพิพากษาสมทบ โดยผูพิพากษาสมทบจะมีวาระการดำรงตำแหนงประจำศาล นัน้ ๆ จึงเขารวมเปนองคคณะในการพิจารณาพิพากษาคดีตา งๆ ไดหลายๆ คดีไปจนกวาจะพนวาระไป ประเด็นที่ 4 เรือ่ งการเปดเผยขอมูลของบุคคล คณะลูกขุนในระบบของประเทศญีป่ นุ จะเปนทำนองเดียวกันกับคณะลูกขุนในระบบ Common Law ตรงทีก่ ฎหมายจะกำหนดหามมิใหมกี ารเปด เผยชือ่ และทีอ่ ยตู ลอดจนความเห็นของบุคคลผเู ปนลูกขุนทีม่ ใี นคดีนนั้ ตอสาธารณชน โดยขอหามดังกลาว มีเพือ่ คมุ ครองความปลอดภัยของบุคคลผเู ปนลูกขุนนัน้ เอง ซึง่ แตกตางจากผพู พิ ากษาสมทบ โดยในระบบ ที่ใชผูพิพากษาสมทบจะไมมีขอหามดังกลาว เนื่องจากโดยหลักการแลว ผูที่เปนผูพิพากษาสมทบไมได ถูกเกณฑใหมาเปน หากแตสมัครเขามารับการคัดเลือกและแตงตัง้ อีกทัง้ มีสถานะเปนผพู พิ ากษาและตอง 51

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ทำหนาทีต่ อ เนือ่ งประจำศาลนัน้ ๆ ตามวาระของการดำรงตำแหนงดังกลาว แตอยางไรก็ดี ในกระบวนการ คัดเลือกคณะลูกขุนในระบบของประเทศญีป่ นุ นี้ ไดเปดโอกาสใหคคู วามสอบถามขอมูลเกีย่ วกับคุณวุฒิ หรือความเชีย่ วชาญของผทู จี่ ะไดรบั การคัดเลือกเพือ่ จะหาผทู เี่ หมาะสมแทจริงในการเขามาเปนคณะลูกขุน ทำหนาทีร่ ว มพิจารณาพิพากษาคดีนนั้ ซึง่ แตกตางจากกระบวนการคัดเลือกคณะลูกขุนในระบบ Common Law ซึง่ ไมอนุญาตใหคคู วามสอบถามขอมูลดังกลาว ทัง้ นีเ้ พือ่ การรักษาความปลอดภัยอยางเครงครัดให แกผูจะเปนลูกขุนนั้น 5.2 ขอพิจารณาในเชิงคาดการณ แมวา ระบบคณะลูกขุนของประเทศญีป่ นุ ยังมิไดเริม่ ใชใน ขณะนี้ จึงยังไมอาจมีการประเมินผลได แตในเชิงคาดการณเบือ้ งตนก็เห็นวามีทงั้ ขอดีและขอทีอ่ าจเปน อุปสรรคของระบบ ซึง่ มีความเปนไปได กลาวคือ ประการที่ 1 การมีคณะลูกขุนรวมเปนองคคณะกับผูพิพากษาอาชีพในการพิจารณา พิพากษาคดีอยางในระบบทีป่ ระเทศญีป่ นุ คิดคนขึน้ นี้ มีขอ ดีตรงทีเ่ ปนการสงเสริมใหภาคประชาชนเขา ไปมีสว นรวมใชอำนาจหนาทีแ่ ละตรวจสอบการทำงานของกระบวนการยุตธิ รรมโดยตรง และมีการหมุน เวียนบุคคลผเู ขาไปทำหนาทีน่ นั้ เพือ่ กระจายการมีสว นรวมไปในวงกวาง โดยไมจำกัดวงแคบอยางในกรณี ของระบบทีใ่ ชผพู พิ ากษาสมทบ อีกทัง้ การทีค่ ดั เลือกเปนรายคดีและใหคณะลูกขุนทำหนาทีท่ งั้ พิจารณา และพิพากษาคดีรว มกับผพู พิ ากษาอาชีพโดยทีจ่ ำนวนคณะลูกขุนมีมากกวาจำนวนผพู พิ ากษาอาชีพในองค คณะนัน้ ก็อาจเปนมาตรการใหคณะลูกขุนมีอสิ ระในการใชดลุ พินจิ ตามสมควรโดยไมตอ งถูกครอบงำจาก ผพู พิ ากษาอาชีพ นอกจากนี้ การวางระบบใหประชาชนไดหมุนเวียนกันไปทำหนาทีด่ า นการตัดสินขอ พิพาททางอาญา ก็อาจเปนปจจัยเกือ้ หนุนพืน้ ฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการสราง เสริมความตระหนักของคนในชุมชนทองถิน่ ในการรวมกันปองกันอาชญากรรมในทางหนึง่ ควบคไู ปกับ การมีสว นชวยใหบรรยากาศในการพิจารณาคดีอาญาในศาลมีความเปนมิตรและใกลชดิ กับประชาชนมากขึน้ ประการที่ 2 ในสวนที่ระบบของประเทศญี่ปุนอนุญาตใหคูความมีสิทธิสอบถามขอมูล เรือ่ งคุณวุฒหิ รือความเชีย่ วชาญของผทู จี่ ะไดรบั การคัดเลือกใหเปนลูกขุนนัน้ ในแงหนึง่ อาจมีสว นทำให ผทู จี่ ะไดรบั การคัดเลือกใหเปนลูกขุนในคดีนนั้ เกิดความรสู กึ วาความปลอดภัยมีลดลง เพราะมีการเปดเผย ขอมูลสวนบุคคลใหเปนทีร่ บั รขู องคคู วามมากขึน้ แตกอ็ าจมีมมุ มองอีกแงหนึง่ วา ในคดีทเี่ ปนอาชญากรรม ทางเศรษฐกิจและมีขอ เท็จจริงและขอกฎหมายอันสลับซับซอนมากๆ นัน้ หากคณะลูกขุนทีไ่ ดรบั การคัด เลือกมาเปนคนที่คูความไดชวยกันกลั่นกรองแลววาเปนผูมีคุณวุฒิหรือความเชี่ยวชาญที่จำเปนสำหรับ คดีนนั้ ก็อาจจะเปนประโยชนตอ การทำหนาทีค่ ณะลูกขุนซึง่ จะตองรวมในการชัง่ น้ำหนักพยานหลักฐาน และวินจิ ฉัยความผิดในคดีนนั้ ซึง่ ยอมจะเปนผลดีตอ การอำนวยความยุตธิ รรมในคดีนนั้ ประการที่ 3 เกีย่ วกับสิทธิในการอุทธรณคำพิพากษา สำหรับระบบของประเทศญีป่ นุ ที่ จะใชคณะลูกขุนนี้ โดยหลักการทัว่ ไปยังคงใชหลักเกณฑเกีย่ วกับการอุทธรณเชนเดียวกันกับคดีทใี่ ชแต ผพู พิ ากษาอาชีพ ซึง่ แตกตางจากเมือ่ ครัง้ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ นำระบบคณะลูกขุนมาใชเมือ่ ระหวางป ค.ศ.19231943 (พ.ศ.2466-2486) ซึ่งจำกัดสิทธิของคูความในการอุทธรณคำตัดสินของคณะลูกขุนอยางมากใน ทำนองเดียวกับในระบบ Common Law ดังนัน้ จึงนับวาในระบบใหมนไี้ ดมกี ารคำนึงถึงการแกไขปญหา ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตอยูพอสมควร ประการที่ 4 ในระบบ Common Law นัน้ ผพู พิ ากษาอาชีพทีน่ งั่ พิจารณาในคดีนนั้ จะตอง กลาวสรุปประเด็นของพยานหลักฐานในคดีนนั้ ใหคณะลูกขุนฟงกอนทีจ่ ะใหคณะลูกขุนไดแยกไปประชุม ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

52


ปรึกษาหารือกันเพือ่ วินจิ ฉัยวาจำเลยไดกระทำความผิดจริงหรือไม ซึง่ หากคคู วามเห็นวาผพู พิ ากษาอาชีพ ทีน่ งั่ พิจารณาในคดีนนั้ กลาวสรุปประเด็นโดยไมถกู ตองก็มสี ทิ ธิคดั คานและอุทธรณตอ ศาลอุทธรณได แต ในระบบของประเทศญีป่ นุ ยังมิไดกำหนดหลักเกณฑทชี่ ดั เจนในสวนนี้ ซึง่ อาจจะตองมีการพัฒนาตอไป ในอนาคต รวมทัง้ ควรทีจ่ ะมีมาตรการในทางปฏิบตั ใิ หผพู พิ ากษาอาชีพในองคคณะคดีนนั้ เปดโอกาสให คณะลูกขุนไดแสดงความคิดเห็นในการปรึกษาหารือกันนั้นไดอยางเต็มที่โดยไมไปชี้นำ10 ทั้งนี้เพื่อให คณะลูกขุนไดทำหนาที่เต็มตามบทบาทหนาที่และสมตามวัตถุประสงคของการจัดวางระบบที่เปนนวัต กรรมใหมนี้ ประการที่ 5 ปจจัยสำคัญประการหนึง่ ทีช่ ว ยใหประเทศญีป่ นุ สามารถจะนำระบบคณะลูก ขุนมาใชในคดีอาญาได ก็คือการที่ปริมาณคดีอาญาที่อยูในหลักเกณฑที่จะนำระบบคณะลูกขุนมาใชใน ประเทศญีป่ นุ นีม้ ไี มมากนัก ซึง่ มีมลู ฐานมาจากการทีก่ ระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาของประเทศญีป่ นุ ได มีการวางระบบพื้นฐานใหมีการกลั่นกรองคดีอาญาในชั้นอัยการอยางจริงจังและมีประสิทธิภาพ โดยวิธี การชะลอการฟอง (suspension of prosecution)11 ซึง่ ประเทศอืน่ ๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ ประเทศทีย่ งั ไมเคย ใชระบบคณะลูกขุนมากอน หากจะนำระบบคณะลูกขุนแบบผสมที่จะใชในประเทศญี่ปุนนี้มาใชบาง ก็อาจจำเปนที่จะตองพัฒนาระบบการกลั่นกรองคดีอาญาดังกลาวกอนหรือควบคูกันไปดวย

10 11

อางแลวในเชิงอรรถที่ 2 อางแลวในเชิงอรรถที่ 4

53

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550



เขตขัณฑ ดำรงไทย



เขตขัณฑ ดำรงไทย* ในปจจุบนั นีก้ ารสือ่ สารไดมบี ทบาทในชีวติ ประจำวันของมนุษยเปนอยางมาก เมือ่ สังคมมีความ เจริญกาวหนาในดานตางๆ ทัง้ ในดานเศรษฐกิจ ธุรกิจ การคา การลงทุน การพัฒนาในดานคมนาคม ขนสง การขยายตัวของชุมชน ยิง่ ทำใหมคี วามตองการในการติดตอสือ่ สารมากขึน้ มีความซับซอนและ ขยายตัวมากขึน้ อีกดวย อีกทัง้ การกาวเขามามีบทบาทของคอมพิวเตอรอยางกวางขวางในทุกวงการ ยิง่ ชวยเรงใหเกิดความตองการ เกิดการพัฒนา และเกิดความซับซอนในดานการสือ่ สารมากขึน้ เปนลำดับ ทำใหเกิดเปนเครือขายการสื่อสารทางอิเลกทรอนิกสขนาดใหญมากมาย ทั้งที่เปนเครือขายสาธารณะ ทีใ่ หบริการการสือ่ สารแกประชาชนทัว่ ไป หรือเปนเครือขายเฉพาะสำหรับหนวยงาน เชน เครือขายสือ่ สารเฉพาะสำหรับการทำธุรกรรมภายในองคกรของธนาคาร ในประเทศไทยหากมองยอนหลังไปประมาณ 20 ปกอ น การสือ่ สารนัน้ ถือเปนเรือ่ งของความ มั่นคง ที่มีความละเอียดออน มีหนวยงานทางราชการเฉพาะทำหนาที่ใหบริการดานการสื่อสาร และ ควบคุมความปลอดภัย มัน่ คงของประเทศทางดานการสือ่ สาร แตเนือ่ งดวยความทีเ่ ปนหนวยงานราชการ มีขั้นตอนที่ตองปฏิบัติตามระเบียบราชการมาก ทำใหไมสามารถตอบสนองตอความตองการของการ สือ่ สาร และความคลองตัวของการสือ่ สารทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทำใหทางราชการเริม่ มีการใหสมั ปทาน มีการ ผอนคลายกฎระเบียบทางดานการสื่อสารลง ทำใหเอกชนเริ่มเขามามีบทบาทในการขยายเครือขายให บริการการสือ่ สาร ซึง่ การผอนคลายกฎระเบียบตางๆ ลงแมวา จะมีขอ ดีอยมู ากมาย เชนชวยใหการพัฒนา ดานการสื่อสารของประเทศมีการเจริญกาวหนา มีความซับซอน และทันสมัยทัดเทียมกับนานา อารยประเทศเปนไปไดอยางรวดเร็วมากขึน้ ประชาชนสามารถเขาถึงอุปกรณสอื่ สารทันสมัยไดสะดวก รวดเร็ว และราคาถูกไดมากขึน้ แตกม็ ขี อ เสียทีต่ ามหลายประการดวยกัน เชน อุปกรณสอื่ สารบางประเภท ทีใ่ นอดีตเคยเปนอุปกรณสอื่ สารทีจ่ ำกัดใหใชเฉพาะในหนวยราชการบางหนวย ปจจุบนั เปนทีแ่ พรหลาย โดยทัว่ ไปในทองตลาด สามารถหาซือ้ มาเปนเจาของไดโดยไมมกี ฎระเบียบใดๆ ควบคุมอีกตอไป นี่จึงเปนเหตุใหบรรดาอาชญากรที่หาผลประโยชนจากการขยายตัวการสื่อสารที่มีความเจริญ กาวหนา มีความซับซอน ประกอบอาชญากรรมตอระบบเครือขายคอมพิวเตอรมมี ากขึน้ เปนเงาตามตัว ไปดวย ซึง่ การกออาชญากรรมนีม้ ตี งั้ แตอาชญากรรมแบบธรรมดาทีส่ ดุ เชน การขโมยโทรศัพทเคลือ่ น ที่ หรือการขโมยเครือ่ งคอมพิวเตอรแบบพกพา (Notebook Computer) หรือเปนกออาชญากรรมทีม่ ี ความซับซอน และไมใชการกระทำซึง่ หนา อาทิเชน กรณีการลักลอบดักจับขอมูลการใชบตั รเครดิตผาน ทางการสือ่ สาร แลวนำขอมูลนัน้ มาสรางบัตรเครดิตปลอมเพือ่ นำไปใชในการจับจายซือ้ สินคาจากหางราน ตางๆ หรือ การเจาะระบบเครือขายของมหาวิทยาลัยเพือ่ ขโมยฐานขอมูลของบุคลากรของ มหาวิทยาลัย * กรรมการบริหารศูนยศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย

57

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


เพื่อนำขอมูลนั้นไปใชแสวงหาผลประโยชนอื่นตอไป ที่ซ้ำรายยิ่งไปกวานั้นโอกาสที่ อาชญากรที่กอ อาชญากรรมคอมพิวเตอรจะถูกจับมาดำเนินคดี และลงโทษแทบไมมเี ลย อวิวาล ลิธาน จากบริษทั วิจยั ในกลมุ บริษทั การเนอรประมาณนอยกวา 1 ใน 700 ทีอ่ าชญกรรมทีเ่ กีย่ วของกับ อาชญกรรม เอกลักษณ บุคคลจะถูกตัดสินลงโทษ1 ดังนั้นบทความนี้จึงมุงอธิบายเพื่อสรางความรูความเขาใจในหลักการเบื้องตนของการสื่อสาร และมาตราการการรักษาความปลอดภัยในการสือ่ สาร โดยจะเริม่ ดวยการทำความรจู กั เทคโนโลยีทเี่ ปน รากฐานของการสือ่ สารทางอิเลกทรอนิกส คือ โทรศัพท และวิทยุ การขยายขอบเขตของการเชือ่ มตอ สือ่ สารเปนเครือขาย และกลายเปนเครือขายทีส่ ามารถสือ่ สารไดทงั้ เสียง และขอมูล และสุดทายจะได กลาวถึงมาตราการรักษาความปลอดภัยในการสื่อสารในอันที่จะปองกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร

การสือ่ สาร ระบบโทรศัพท หลักการในการสือ่ สารดวยโทรศัพทมหี ลักการพืน้ ฐานทีง่ า ยมาก หลายทานอาจจะเคยทดลองเลน เมือ่ ครัง้ ยังเปนเด็กดวยการทำโทรศัพทถว ยกระดาษ คือ การนำถวยกระดาษสองถวยเชือ่ มตอกันโดยมี เสนดาย หรือเสนลวดเปนสือ่ นำเสียงพูด แลวผลัดกันพูดกรอกลงไปในถวยกระดาษขณะทีอ่ กี ฝายแนบ หูกบั ถวยอีกใบเพือ่ ฟงเสียงทีว่ งิ่ ผานตามเสนดาย หรือเสนลวด ซึง่ โทรศัพทกม็ วี ธิ กี ารทำงานทีค่ ลายกัน คือ การเปลีย่ นเสียงพูดใหเปนสัญญาณไฟฟาเพือ่ สงไปตามสายจนไปถึงปลายทางทีซ่ งึ่ จะทำหนาทีเ่ ปลีย่ น สัญญาณไฟฟาใหกลับเปนเสียงดังเดิม วิธนี มี้ ขี อ ดีกวาการทำของเลนแบบถวยกระดาษ คือ มีระยะความ ผิดเพีย้ นของสัญญาณนอยกวา และระยะทางทีส่ ามารถติดตอสือ่ สารไดไกลกวา

ระบบวิทยุ หลักการสื่อสารในระบบวิทยุนั้นจะเปลี่ยนเสียงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาแลวนำคลื่นแมเหล็ก ไฟฟาที่ไดไปผสมกับคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่เปนคลื่นความถี่เฉพาะเพื่อทำหนาที่เปนคลื่นพาหะแลวสง กระจายแพรไปในอากาศเมือ่ เครือ่ งรับหมุนไปรับคลืน่ พาหะทีค่ วามถีเ่ ฉพาะนัน้ ก็จะไดคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ทัง้ หมดทีอ่ ยใู นความถีน่ นั้ แลวจึงเขาสกู ระบวนการแยกคลืน่ พาหะออกจากคลืน่ แมเหล็กไฟาถูกแปลงมา จากคลืน่ เสียง แลวจึงแปลงคลืน่ แมเหล็กไฟฟาใหกลับเปนคลืน่ เสียงอีกครัง้ หนึง่

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

58


จากที่ไดอธิบายใหเห็นที่ระบบการสื่อสารทั้งแบบโทรศัพท และแบบวิทยุจะเห็นไดวาทั้งสอง ระบบมีขอ ดี และขอเสียแตกตางกันไป กลาวคือระบบวิทยุ หรือทีเ่ รียกวาระบบสือ่ สารแบบไรสายนัน้ มีขอ ดีกวาระบบโทรศัพท คือ การทีไ่ มจำเปนตองการเดินสายเชือ่ มตอการสือ่ สารระหวางจุด แตจะมี ขอเสีย คือ ขอบเขตของการติดตอสือ่ สารจะคอนขางใกล ถาตองการใหตดิ ตอสือ่ สารไดไกลๆ จำเปน ตองสรางสถานีสงที่สามารถสงคลื่นไดแรงๆ ซึ่งใชสิ้นเปลืองพลังงานมากดวย (ซึ่งมักจะทำใหการ สื่อสารเปนแบบทางเดียวเสียเปนสวนใหญ เชน สถานีวิทยุกระจายเสียง หรือสถานีโทรทัศน) นอก จากนี้การจะติดตอสื่อสารระหวางจุดสื่อสารนั้นจำเปนตองอยูในแนวสายตา นั้นหมายความวาถึงแม จะสรางสถานีสง ทีส่ ามารถสงคลืน่ ไดแรงมาก แตคลืน่ อาจเดินทางไปไมถงึ จุดหมายก็ไดหากถูกความโคง ของผิวโลกบัง หรือถูกกำแพงหนาๆ กัน้ คลืน่ สัญญาณไมใหผา นไปได ดังนัน้ จึงมักจะสังเกตเห็นวาสถานี วิทยุ หรือสถานีโทรทัศนมกั จะสรางหอสูงเพือ่ ติดตัง้ เครือ่ งสงสัญญาณ หรือติดตัง้ เครือ่ งสงสัญญาณบนตึก สู ง ๆ หรื อ ในกรณี ที่ เ ป น การติ ด ต อ ข า มประเทศ หรื อ ข า มทวี ป มั ก จะใช ก ารติ ด ต อ สื่ อ สารผ า น ดาวเทียม สวนกรณีการสือ่ สารแบบโทรศัพท หรือการสือ่ สารทีอ่ าศัยสารสือ่ สารนัน้ มีขอ ดี คือ อัตรา การสูญเสียความเขมของสัญญาณในสงเชือ่ มตอการสือ่ สารต่ำกวาแบบไรสาย การถูกรบกวนจากสภาพ อากาศนอยกวาจึงรัศมีการสื่อสารที่ไกลกวา แตมีขอเสีย คือ จำเปนตองการเดินสายเชื่อมตอไปถึง จึงสือ่ สารได ดังนัน้ จึงไมคอ ยจะเหมาะสมหากตองมีการเคลือ่ นยายจุดสือ่ สารอยเู สมอ หรือ พืน้ ทีท่ ี่ ตองการสื่อสารอยูในพื้นที่ทุรกันดาร แมวาการสื่อสารขามทวีปโดยสายเคเบิลใตมหาสมุทรจะชวยให สื่อสารไดเร็วกวาการสงสัญญาณผานดาวเทียม 59

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ระบบเครือขาย การเกิดขึ้นของเครือขายก็เนื่องมาจากความตองการการติดตอสื่อสารที่มากขึ้น ในที่นี้จะขอ อธิบายโดยการสมมุตใิ หระบบมีความซับซอนนอยโดยจะใชระบบโทรศัพทเอเปนตัวแทนในการอธิบาย ในกรณีทมี่ คี สู นทนาเพียง 2 ฝาย ก็จะมีคำจำเปนตองการสายเชือ่ มตอกันเพียง 1 สาย หากมีคสู นทนา เพิม่ ขึน้ อีก 1 คน สายการเชือ่ มตอก็จะตองเพิม่ อีก 2 เสน หากเพิม่ การใหบริการเปน 4 ก็จะมีความ ตองการเพิม่ สายการเชือ่ มตอจากเดิมจากทัง้ 3 จุดเดิมไปหาคสู นทนาทีเ่ พิม่ ขึน้ อีก 1 ดังนั้นหากเปนดังนี้เราก็จะสามารถคำนวณไดวามีความจำเปนตองวางสายเพิ่มขึ้นตามจำนวน หมายเลขใหบริการดังนี้ 2 3 4 5 6

หมายเลขใหบริการตองการใชสายการสือ่ สาร 1 สาย หรือ (2-1) หมายเลขใหบริการตองการใชสายการสือ่ สาร 3 สาย หรือ (3-1) + (2-1) หมายเลขใหบริการตองการใชสายการสือ่ สาร 6 สาย หรือ (4-1) + (3-1) + (2-1) หมายเลขใหบริการตองการใชสายการสือ่ สาร 10 สาย หรือ (5-1) + (4-1) + (3-1) + (2-1) หมายเลขใหบริการตองการใชสายการสือ่ สาร 15 สาย หรือ (6-1) + (5-1) + (4-1) + (3-1) + (2-1)

ซึง่ หากจำนวนหมายเลขใหบริการเปนจำนวน N จำนวนสายการเชือ่ มตอทีต่ อ งการก็ คือ จำนวน (N-1) + จำนวน (N-1-1) + จำนวน (N-1-1-1) + จำนวนทีน่ อ ยลงไปเรือ่ ยๆ จนถึงคา (3-1) + (2-1) ในทีส่ ดุ หรือเขียนใหอยใู นรูปสมการ CL = = = =

(N-1) + (N-1-1) + (N-1-1-1) + .... + (6-1) + (5-1) + (4-1) + (3-1) + (2-1) ((N-1) + (2-1)) + ((N-1-1) + (3-1)) + ((N-1-1-1) + (4-1)) + .... N + N + N + ... (จำนวนพจนทบี่ วกจะหายเหลือเพียงครึง่ หนึง่ ) N x (N-1)/2

CL คือ จำวนวนสายการสือ่ สารทีจ่ ำเปนสำหรับการสือ่ สารสำหรับทุกเลขหมายในระบบ N คือ จำนวนเลขหมายในระบบบริการ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

60


จากทีก่ ลาวไปจะเห็นวาในกรณีทมี่ หี มายเลขใหบริการในระบบมาก เชน มากกวา 10 หมาย เลขการวางสายเชือ่ มตอก็จะเริม่ เปนปญหาจึงไดมกี ารพัฒนาระบบการสลับคสู ายสัญญาณ ซึง่ การใชระบบ สลับคสู ายสัญญาณอาจจะใชพนักงานสลับสายสัญญาณ (Operator) หรือระบบสวิตชสลับคสู ายสัญญาณ (Switching Device) ทัง้ นีเ้ พราะวาโดยทัว่ ไปความตองการทีจ่ ะใชสายเชือ่ มตอสือ่ สารพรอมๆ กัน ใน เวลาเดียวกันทัง้ หมดเปนไปไดยากมาก ซึง่ การใชระบบสลับคสู ายสัญญาณนัน้ เปนการประหยัด และเพิม่ ประสิทธิภาพในการใหบริการของเครือขายดวย

เลขหมายบริการชุมสายที่ 1

เลขหมายบริการชุมสายที่ 2 61

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ในกรณีทมี่ เี ครือขายหลายเครือขายเชือ่ มตอกัน และหมายเลขบริการในแตละชุมสายมาก อาจ จะเปนไปไดวา มีการคับคัง่ ของการสือ่ สารในเครือขายบางขาย แตในขณะเดียวกันทีเ่ ครือขายอืน่ ๆ อาจ จะไมมกี ารติดตอสือ่ สารมากนัก เชน สมมุตวิ า ในขณะทีป่ ระเทศไทยเปนเวลา 18.00 นาฬิกา ทีป่ ระเทศ มาเลเซียจะเปนเวลา 20.00 นาฬิกา เครือขายในประเทศไทยจะมีการคับคัง่ ของการสือ่ สารมาก ขณะที่ ประเทศมาเลเซียจะมีความคับคัง่ ของการสือ่ สารนอยกวา จึงเปนไปไดทจี่ ะสามารถใชการสือ่ สาร ผานไป ยังเครือขายประเทศมาเลเซียกอนที่จะวิ่งกลับมายังเครือขายในประเทศไทย โดยจะใชอุปกรณ จำพวก เราทเตอร (Router) เราทเตอรจะมีเสนทางการเชือ่ มโยงระหวางแตละเครือขายเก็บไวเปนตาราง เสนทาง (Routing Table) ทำใหเราทเตอรสามารถหนาทีจ่ ดั หาเสนทาง และเลือกเสนทางทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เพือ่ การติดตอชวยใหการติดตอระหวางเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพ2 ซึง่ กรณีแบบนีจ้ ะมักจะทำกัน เปน กรณีปกติในการสือ่ สารขอมูลระหวางคอมพิวเตอร และในระบบอินเตอรเน็ต

การรักษาความปลอดภัยในการสือ่ สาร ในปจจุบนั ปญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอรทวั่ โลกมีแนวโนมเพิม่ มากขึน้ ทุกป ทัง้ นีเ้ พราะความ แพรหลายมากขึน้ ของเครือขายสือ่ สารทางคอมพิวเตอรขนาดใหญ ขอมูลทีถ่ า ยโอนในเครือขายสือ่ สาร ก็มีเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งอัตราการเขาไปใชงานอินเตอรเน็ตของประชากรในทุกประเทศทั่วโลกก็เพิ่มขึ้น ทำใหการกออาชญากรรมคอมพิวเตอรมมี ากขึน้ เปนเงาตามตัว ดังเชนตัวเลขทีร่ ายงาน ในเว็บของศูนย ฝกอบรมระบบคอมพิวเตอรเครือขายและความปลอดภัยขอมูล (ACIS Professional Center) วาจำนวน คดีดา นอาชญากรรมในประเทศเกาหลีใตมจี ำนวนทัง้ หมด 77,099 คดี ในป 2547 และเพิม่ เปน 88,731 คดี ในป 25483 ดังนัน้ ความสำคัญในการออกแบบ หรือสรางมาตราการสำหรับการรักษาความปลอดภัย ในการสื่อสารจึงมีมากขึ้นเปนลำดับ 2 3

http://www.skn.ac.th/a_cd/syllabus/router.html, เราทเตอร, 30 Apr. 2007. http://acisonline.net/article_prinya_eweek_150749.htm, กรณีศึกษาเกี่ยวกับ อาชญากรรมคอมพิวเตอร และ การใชกฎหมายการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอรในกระบวนการยุติธรรมของประเทศเกาหลีใต (Case Study : Cyber Crime and IT Law in South Korea), ปริญญา หอมเอนก, 27 Apr. 2007.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

62


มาตราการการรักษาความปลอดภัยในการสือ่ สาร4 ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารความปลอดภัยใน ระดับอุตสาหกรรมเพื่อคานาดาและนานาชาติ (Canadian and International Industrial Security Directorate - CIISD) นัน้ จะเกีย่ วของกับการปองกันความลับ และความถูกตองของขาวสารทีไ่ ดรบั การจัดลำดับชัน้ ความลับ หรือถูกปองกันในขณะทีถ่ กู สงไปในชองทางการสือ่ สาร โดยทีใ่ นขณะเดียวกัน จะตองประกันวาผูที่ไดรับอนุญาตใหสามารถเขาถึงขาวสารนั้นจะไมถูกกีดกันออกไป มาตราการการ รักษาความปลอดภัยในการสือ่ สารนีจ้ ะตองถูกบังคับใชใหครอบคลุมทัง้ ระบบการสือ่ สาร การเชือ่ มตอ และอุปกรณทเี่ กีย่ วของตางๆ โดยมีวธิ กี าร และเครือ่ งมือทีใ่ ชในการรักษาความปลอดภัย เชน การปองกัน การเขาถึงตัวทรัพยากร หรืออุปกรณในระบบ, การเขารหัสขาวสาร ระเบียบวิธรี กั ษาความปลอดภัยใน ขัน้ ตอนการสงขาวสาร และการแพรกระจายขาวสาร เพือ่ ใหเขาใจโดยกระจางจะขออธิบายโดยใชรปู ดังทีแ่ สดงในขางลางเพือ่ แสดงถึงแนวคิดในเรือ่ ง ของมาตราการการรักษาความปลอดภัยในการสือ่ สาร

จากรูปจะเห็นวาในการสื่อสารหากมีบุคคล หรือฝายที่ไมอยูในขายที่จะไดรับขอมูล หรือขาว สารสามารถเขาถึงชองทางการสือ่ สารก็จะทำใหการสือ่ สารนัน้ ไมมคี วามปลอดภัย ดังนัน้ การสือ่ สารทีมี ความปลอดภัยจะตองมีคณ ุ สมบัตใิ น 3 ประการ คือ µ

µ

4

การสือ่ สารนัน้ ตองเปนความลับ (Confidentiality) หมายถึง ขอมูล หรือขาวสารระหวาง กันของผสู ง และผรู บั จะตองไมถกู รับรโู ดยบุคคลทีไ่ มเกีย่ วของ แมขอ มูล และขาวสารนัน้ จะถูกดักจับโดยผทู ไี่ มประสงคดี แตผทู ไี่ มประสงคดนี นั้ จะตองไมรถู งึ ความหมาย หรือขอ ความสำคัญของเนือ้ หาในตัวสารทีไ่ ดไป ความถูกตองนาเชือ่ ถือของขาวสาร (Data Integrity) หมายถึง ขอมูล และขาวสารทีส่ อื่ สาร ระหวางกันของทั้งสองฝายนั้นจะตองมีความถูกตอง นาเชื่อถือสามารถยืนยันไดวาเปน ขอความทีท่ งั้ สองฝายตองการสือ่ ถึงกันจริง มิไดถกู ดัดแปลง แกไข หรือตกหลน สูญหาย ไปบางสวน หรือทัง้ หมดในระหวางการสือ่ สารถึงกัน

http://www.ciisd.gc.ca/text/os/csc-e.asp, Communication Security (COMSEC), Canadian and International Industrial Security Directorate (CIISD), 27 Apr. 2007.

63

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


µ

การยืนยันตัวตนทีแ่ ทจริงของผสู ง สารและผรู บั สาร (Authentication) หมายถึง การรับรอง ยืนยันที่ระบุวาทั้งผูสงสาร และผูรับสารที่เปนบุคคลที่ถูกตองตามที่กลาวอางวาเปนผูสง และผูรับสาร ไมใชผูสง หรือผูรับถูกแอบอางเอาชื่อมาดำเนินการ เชนในกรณีที่มี อาชญกรขโมยขอมูลบัตรเครดิต แลวใชขอมูลนั้นทำรายการซื้อสินคาทางอินเตอรทั้งที่ ตัวเจาของบัตรเครดิตจริงไมรเู รือ่ งเลย

จากทีก่ ลาวในขางตนในเรือ่ งคุณสมบัตขิ องการสือ่ สารทีป่ ลอดภัย ตอไปผเู ขียนอยากอธิบายถึง วิธีการที่นิยมใชกันในเพื่อสรางความปลอดภัยใหกับการสื่อสาร

การทำใหการสือ่ สารเปนความลับ การทีจ่ ะทำใหขอ มูล และขาวสารทีจ่ ะสือ่ ถึงกันนัน้ เปนความลับนัน้ สามารถทำไดโดยอาศัยการ เขารหัสขอมูล (Cryptography) กระบวนการเขารหัสจะทำงานในลักษณะการแปลงขอมูล ขอความ หรือ ขาวสารจากขอความขาวสารที่บุคคลโดยทั่วไปสามารถเขาใจไดใหกลายเปนขอความขาวสารที่บุคคล ธรรมดาไมสามารถเขาใจได หรือไมมคี วามหมายแมจะไดรบั ขอความขาวสารนัน้ มา เวนแตจะถูกถอด รหัสใหกลับคืนมาเปนขอความขาวสารกอนจะถูกเขารหัส ซึ่งหลักการทำงานจะมีองคประกอบสำคัญ 2 สวน คือ 1) กรรมวิธใี นการเขารหัส/ถอดรหัส และ 2) กุญแจสำหรับกรรมวิธใี นการเขารหัส/ถอด ุ แจใน รหัส ในทีน่ จี้ ะขอยกตัวอยางแบบงายๆ เชน การเขารหัสโดยวิธกี ารสลับลำดับอักษร โดยมีกญ การเขารหัสเปนลำดับอักษรถัดไป 5 ลำดับ ดังนัน้ จึงสามารถสรางเปนตารางสำหรับใชในการแปลงเปน รหัสไดดังตารางขางลางนี้ อักขระปกติ

ก ค ง ช ญ ฐ ณ ถ น ผ ฟ ย ว ส อ

อักขระเขารหัส ง ช ญ ฐ ณ ถ น ผ ฟ ย ว ส อ ข ฅ

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

อักขระปกติ

ข ฅ จ ซ ฎ ฑ ด ท บ ฝ ภ ร ศ ห ฮ

64

อักขระเขารหัส จ ซ ฎ ฑ ด ท บ ฝ ภ ร ศ ห ฮ ค ฆ

อักขระปกติ

ค ฆ ฉ ฌ ฏ ฒ ต ธ ป พ ม ล ษ ฬ

อักขระเขารหัส ฉ ฌ ฏ ฒ ต ธ ป พ ม ล ษ ฬ ก ค


เมื่อนำขอความที่ตองการจะเขารหัส เชน “ทดสอบ” ผานการเขารหัสก็จะไดขอความวา “ฝบขฅภ” เมือ่ ผทู ไี่ ดรบั ขอความทราบกุญแจรหัสวา คือ “ง” ก็จะสามารถถอดรหัสไดเปนขอความที่ ถูกตอง ในกรณีภาษาไทยทีม่ สี ระ และวรรณยุกตอาจจะใชกรรมวิธใี นการเขารหัส/ถอดรหัส และกุญแจ สรางเปนตารางแยกขึน้ มาตางหากสำหรับสระและวรรณยุกต หรือจะนำสระและวรรณยุกตมาประมวล ผลรวมในกลมุ เดียวกันกับพยัญชนะทัง้ 44 ตัวก็ได ทัง้ นีข้ นึ้ กับการออกแบบ และระดับของความตอง การความปลอดภัยในการรักษาความลับ อยางไรก็ดีจะเห็นวาในกรณีที่เราใชกุญแจโดยการสลับลำดับอักษรเพียงครั้งเดียวอาจจะมีความ ปลอดภัยไมมากนัก เนื่องจากหากมีผูตองการจะทำลายการการเขารหัส มีความอดทนมากพอ ก็จะ สามารถทดลองทำลายการเขารหัสโดยการสลับลำดับของอักษรเริ่มตนจากสลับ 1 ลำดับ, 2 ลำดับ, 3 ลำดับ ตอไปเรือ่ ยๆ จนสามารถทำลายรหัสได ซึง่ โอกาสในการสลับลำดับมีเพียง 43 ลำดับเทานัน้ ในกรณีตวั อยางนี้ วิธที จี่ ะเพิม่ ความปลอดภัยในการรักษาความลับนัน่ คือการเพิม่ ขัน้ ตอนในการสลับลำดับ หรือเพิม่ จำนวนครัง้ ในการสลับลำดับ เชนเมือ่ ไดขอ ความทีเ่ ขารหัสในขัน้ แรกแลวใหนำไปเขารหัสซ้ำอีก ครัง้ โดยในครัง้ นีจ้ ะสลับลำดับใหม ซึง่ อาจจะเปนลำดับที่ 3 ดังนัน้ หากผทู ตี่ อ งการจะถอดรหัสตอง การจะทำลายรหัสโดยใชวธิ กี ารแบบทือ่ ๆ (Brute force) นักเจาะทำลายรหัสจะตองทดลองพยายามถึง 1849 รูปแบบ (43 x 43) ดังนัน้ ทานผอู า นจึงจะพอมองเห็นวายิง่ ความเปนไปไดในการสลับทีข่ องอักขระ และความยาวของกุญแจเพิม่ มากขึน้ เทาใด โอกาสทีร่ หัสจะถูกทำลายไดกจ็ ะมีนอ ยลงเทานัน้ 5 แตขอ จำกัด ทีจ่ ะจำกัดไมใหกญ ุ แจยาวไมมที สี่ นิ้ สุด คือ เวลาทีใ่ ชในการประมวลผลเพือ่ ทีจ่ ะเขารหัส และถอดรหัส เมื่อมีกุญแจรหัสที่ถูกตอง แตทวาปญหาเรือ่ งการทำใหการสือ่ สารนัน้ เปนความลับนัน้ ยังมีปญ  หาอยอู กี หนึง่ เรือ่ ง คือ การ ทีจ่ ะทำใหบคุ คลภายนอกไมสามารถทราบไดวา กุญแจรหัสคืออะไร ในกรณีทกี่ รรมวิธกี ารเขารหัสและ ถอดรหัสเปนแบบสมมาตร (Symmetrical algorithms) หมายความวากุญแจการเขารหัส และกุญแจถอด รหัสเปนกุญแจอันเดียวกัน ทำใหตอ งมีความเสีย่ งเมือ่ ตองการสงขอมูลใหทงั้ สองฝายทราบเกีย่ วกับกุญแจ รหัส ซึ่งสามารถแกไขโดยใชกรรมวิธีการเขารหัสและถอดรหัสเปนแบบอสมมาตร (Asymmetrical algorithms) โดยกรรมวิธใี นการเขารหัสและถอดรหัสใชกญ ุ แจสองดอก คือกุญแจเขารหัส และ กุญแจ ถอดรหัส สำหรับกุญแจเขารหัสที่เปนคูกับกุญแจถอดรหัสนั้นสามารถเปดเผยใหทราบไดโดยทั่วไป ดังนั้นในจึงมีชื่อเรียกวา กุญแจสาธารณะ (Public key) สวนกุญแจถอดรหัสนั้นจะไมเปนที่เปดเผย ดังนัน้ จึงเรียกวา กุญแจสวนบุคคล (Private key) ฉะนัน้ ใครก็ตามทีท่ ราบกุญแจสาธารณะจะสามารถ เขารหัสโดยกุญแจสาธารณะแลวสงขอความเขารหัสไปแตเฉพาะผูรับที่มีกุญแจสวนบุคคลเทานั้นจึง จะสามารถถอดรหัสได

ขอความปกติ 5

กุญแจสาธารณะ (ผรู บั )

กุญแจสวนบุคคล(ผรู บั )

กรรมวิธีเขารหัส

กรรมวิธีถอดรหัส ขอความเขารหัส

ขอความปกติ

ปจจุบนั ความยาวของกุญแจทีไ่ ดรบั การยอมรับวามีความปลอดภัยสูงมีความยาวรหัส 1024 บิต หรือ 128 ตัวอักขระ

65

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


การปกปองและรักษาความถูกตองของการสือ่ สาร สำหรับกรณีการของการพิสจู นยนื ยันความถูกตอง นาเชือ่ ถือวาเปนขอความทีท่ งั้ สองฝายตองการ สื่อถึงกันจริง มิไดถูกดัดแปลง แกไข หรือตกหลน สูญหาย ไปบางสวน หรือทั้งหมดในระหวาง การสือ่ สารถึงกันนัน้ สามารถทำไดโดยการใชกรรมวิธเี พือ่ ประมวลเปนผลสรุปรวมของขาวสาร (Hash function)ไดออกมาเปนขอมูล หรือขาวสารชุดหนึง่ (Checksum หรือ Digital summary) ถาจะอธิบาย ใหงา ยๆ ใหทา นผอู า นลองนึกดูวา คลายกับการสงโทรสารทีม่ กั จะมีใบปะหนาสรุปวาเอกสารทีส่ ง มีทงั้ หมดกีห่ นา และทีเ่ อกสารแตละหนาจะเขียนวาเปนหนาทีเ่ ทาไรจากทัง้ หมด เชน 1/4, 2/4, ..., 4/4 และ ทีป่ ลายเอกสารในแตละหนาจะแสดงขอความสัน้ ๆ ทีข่ นึ้ ตนในหนาถัดไป สำหรับในกรณีของ กรรมวิธี การประมวลผลสรุปรวมขาวสาร เมื่อผูรับไดรับขาวสารนั้น แลวนำขาวสารนั้นไปประมวลผลดวย กรรมวิธเี ดียวกันก็จะทราบวาผลสรุปรวมขาวสารคืออะไร และหากคาทีไ่ ดนนั้ แตกตางจาก คาทีก่ ำกับมา จากทางฝง ผสู ง ผรู บั ก็จะทราบไดทนั ทีวา ขาวสารทีไ่ ดรบั มีความผิดปกติ ไมถกู ตอง ผรู บั ก็เพียงติดตอผู สงใหสง ขาวสารเดิมซ้ำอีกครัง้ หนึง่ ขอความ -------------> กรรมวิธปี ระมวลผลสรุป-------------> ขอความ + ผลสรุปรวมขาวสาร ขอความ + ผลสรุปรวมขาวสาร(ผูสง) -------------------------> กรรมวิธปี ระมวลผลสรุป-------------> ผลสรุปรวมขาวสาร(ผูรับ)

การยืนยันตัวตนทีแ่ ทจริงของผสู ง สารและผรู บั สาร ในหัวขอสุดทายที่เราจะตองคำนึงถึงในมาตราการการรักษาความปลอดภัยในการสื่อสาร คือ การยืนยันตัวตนที่แทจริงของผูสงสาร และรับสาร ซึ่งวิธีการนี้ก็คือการใชลายมือชื่อดิจิตอล (Digital Signature) ซึง่ วิธกี ารสือ่ สารจะคลายกับการเขารหัสโดยทัว่ ไปเพียงแตในขัน้ ตอนการเขารหัส จะใชกญ ุ แจ รหัสสวนบุคคลของผสู ง เพือ่ ทำกรรมวิธกี ารเขารหัส เมือ่ ขอมูล ขาวสารไปถึงยังผรู บั สวนผรู บั จะใชกญ ุ แจ สาธารณะของผสู ง ถอดรหัสหากผลสรุปรวมขาวสารทีไ่ ดหลักการถอดรหัสได ออกมาอยางถูกตองก็จะเปน การยืนยันวาผูสงเปนผูสงขาวสารที่แทจริง ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

66


การวางมาตราการการรักษาความปลอดภัยในองครวม จากที่กลาวมาในขางตนเปนเพียงมาตราการในการรักษาความปลอดภัยในกระบวนการสื่อสาร เทานัน้ แตวา การโจมตีตอ ระบบรักษาความปลอดภัยนัน้ อาชญากรจะใชวธิ กี ารหลายรูปแบบ เชน การ วางกับดัก การลักลอบดักจับขอมูล การใชโปรแกรมเพือ่ ควบคุมเครือ่ งคอมพิวเตอรอนื่ (Bot and Drone) ฯลฯ ดังนัน้ จึงจำเปนทีผ่ ทู วี่ างระบบรักษาความปลอดภัยจะตองระลึกไวเสมอระบบรักษาความปลอดภัย จะแข็งแกรงทีส่ ดุ เทากับจุดทีอ่ อ นแอทีส่ ดุ ในระบบ ฉะนัน้ การวางนโยบายเพือ่ สรางเสริมความปลอดภัย ในเครือขายคอมพิวเตอร การใหความรแู กผปู ฏิบตั งิ าน ผใู ชงาน และผทู เี่ กีย่ วของ การตรวจสอบอุปกรณ เครือ่ งใช การควบคุมการเขาถึงและการใชงานอุปกรณตา งๆ โดยรอบคอบ และการตรวจสอบโปรแกรม ทีใ่ ชงานตางๆจึงตองไดรบั การพิจารณา และมีมาตราการควบคุมทีเ่ หมาะสม ซึง่ โดยหลักแลวจะสามารถ แบงไดเปน 3 สวน คือ6 การควบคุมการบริหารจัดการ (Administrative controls) การควบคุมการพัฒนาโปแกรม (System development controls) การควบคุมการปฏิบตั กิ าร (Processing controls) แหลงขอมูลเพื่อการอางอิงและศึกษาเพิ่มเติม Cybersecurity Today and Tomorrow: Pay Now or Pay Later, Computer Science and Telecommunication Board, Division on Engineering and Physical Sciences, National Research Council, National Academy Press, Washington, D.C. 2002. Grand Theft Identity, Steven Levy and Brad Stone, Newsweek, Page 42 – 48, 5 Sep. 2005. http://acisonline.net/article_prinya_eweek_150749.htm, กรณีศกึ ษาเกีย่ วกับ อาชญากรรมคอมพิวเตอร และ การใชกฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรในกระบวนการยุติธรรมของประเทศเกาหลีใต 6

โปรดศึกษารายละเอียดจากวารสารยุติธรรมคูขนานฉบับที่ 1, 1 พ.ย. 2549

67

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


(Case Study : Cyber Crime and IT Law in South Korea), ปริญญา หอมเอนก, 27 Apr. 2007. http://electronics.howstuffworks.com/question250.htm, Is it possible to detect if someone is illegally using my phone line?, 27 Apr. 2007. http://electronics.howstuffworks.com/telephone.htm, How Telephones Work, Marshall Brain, 27 Apr. 2007. http://electronics.howstuffworks.com/wiretapping.htm, How Wiretapping Works, Tom Harris, 27 Apr. 2007. http://www2.cs.science.cmu.ac.th/cs202/document/cs202_2.pdf, การสื่อสารขอมูลเบื้องตน (Data Communication), 6 May 2007. http://www.axis.com/documentation/whitepaper/security.pdf, Communication Security. - available techniques., Axis Communications AB, 24 Feb. 2003. http://www.ciisd.gc.ca/text/os/csc-e.asp, Communication Security (COMSEC), Canadian and International Industrial Security Directorate (CIISD), 27 Apr. 2007. http://www.pgpi.org/doc/pgpintro/, How PGP works, 17 May 2007. http://www.skn.ac.th/a_cd/syllabus/router.html, เราทเตอร, 30 Apr. 2007. Security Engineering: A Guide to Building Dependable Distributed Systems, Ross J. Anderson, John Wiley & Sons Inc., 2001. http://www.thaicert.nectec.or.th/paper/encryption/pgp.php, การเขารหัสอี-เมลและเซ็นรับรองดวย PGP, ศิรวิ รรณ อภิสริ เิ ดช, 17 May 2007.

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

68


ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น



ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น*

บทนำ

ผลพวงจากการรัฐประหารเมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2549 มีผลกระทบไมเพียงตอความแปลกแยกทางความคิด ทัศนคติของประชาชนและสังคมทุกภาคสวน แตยงั มีผลกระทบตอการบริหารราชการแผนดินอยางไมอาจ หลีกเลี่ยงได ดวยเหตุจากการมีประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดินฯ ฉบับที่ 31 ใหยกเลิกรัฐ ธรรมนูญฉบับเดิมทีเ่ รียกกันโดยทัว่ ไปวาเปนรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในป 2540 ซึง่ เปนรากฐานของ องคกรอิสระหลายตอหลายแหงและมีความกาวหนาในการเปดโอกาสใหภาคประชาชนเขามามีสว นรวมใน การกำกับตรวจสอบเฝาระวังการใชอำนาจและการบริหารจัดการภาครัฐมากขึ้นกวารัฐธรรมนูญฉบับที่ แลวๆ มา แมวา การรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมในขณะทีก่ ำลังเขียนบทความนี้ มีแนวโนมจะไดรบั การลง ประชามติยอมรับ แตยงั ไมมหี ลักประกันชัดเจนวาในทีส่ ดุ แลวผลในทางปฏิบตั ขิ องรัฐธรรมนูญฉบับใหม ซึง่ ตองอาศัยเวลาในการพิสูจนทดสอบความมีประสิทธิภาพวาจะมีสวนสงผลในทางบวกตอการขับเคลื่อน ระบบราชการอันเปนกลไกสำคัญในการตอบสนองนโยบายภาครัฐทีม่ าจากตัวแทนของประชาชนไดจริง หรือไม และจะสัมฤทธิผลในแงของการวิวฒ ั นเขาสู “ระบบการบริหารจัดการทีด่ ี หรือ ความเปนธรรมรัฐ หรือธรรมาภิบาล” ไดอยางทีส่ งั คมมีความคาดหวังหรือไม

เนือ้ หาสาระ

หลักการอันสำคัญหรือเจตนารมณ ทีม่ งุ เนนการเขาถึงธรรมาภิบาล (good governance) เปนสิง่ ทีท่ กุ หนวย งานไมวา จะเปนภาครัฐหรือเอกชนตางคาดหวังทีจ่ ะบรรลุเปาหมายดังกลาวนี้ แตปญ  หาอุปสรรคสำคัญยัง คงขึน้ อยกู บั ความเชือ่ ของชุมชน วัฒนธรรมทองถิน่ และวัฒนธรรมองคกรเองทีม่ สี ว นในการกำหนดทิศทาง และแสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมองคกรโดยภาพรวมวาสามารถตอบสนองความตองการทีแ่ ทจริงของสังคม หรือ “ลูกคา (client)” ผเู ขามาติดตอสัมพันธไดมากนอยเพียงใด ตัวอยางของความพยายามทีจ่ ะประสบความสำเร็จในการบรรลุเปาหมายสูงสุดเพือ่ จะไดรบั ความนาเชือ่ ถือ ไววางใจในการใหบริการและตอบสนองความตองการตอสังคมภายนอก ไดพบวาในปจจุบนั หลายประเทศ ไมเพียงเฉพาะภาคเอกชนแตภาครัฐก็ไดมคี วามพยายามรางขอกำหนดอันเปรียบเสมือนเปนพันธะสัญญา ระหวางรัฐกับประชาชนผูรับบริการจากรัฐในลักษณะเทียบไดกับสัตยาบัน โดยประเทศอังกฤษจะเรียก สัตยาบันดังกลาววา The Citizen’s Charter2 * 1 2 3

กรรมการผูอำนวยการศูนยศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย เปนไปตามประกาศฉบับที่ 3 เรือ่ ง “รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540” ของคณะปฏิรปู การปกครองแผนดินอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข (คปค) ลงวันที่ 19 กันยายน 2549 (อางอิงจาก หนังสือพิมพแนวหนาฉบับวันที่ 20 กันยายน 2549) J.A. Chandler (ed) The Citizen’s Charter (Darmouth, Sudney) 1996: 1 ที่มา: Howard Elcok “What Price Citizenship? Public Management and the Citizen’s Charter” in J.A. Chandler (ed) The Citizen’s Charter (Darmouth, Sydney) 1996: 25

71

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


จุดประสงคสำคัญของ The Citizen’s Charter จะกำหนดขอบเขตทีส่ ำคัญดังนี3้ 1) ในแงคณ ุ ภาพ (quality) มงุ เนนการนำเสนอโครงการใหมๆ ทีม่ กี ารปรับปรุงคุณภาพการใหบริการอยางตอเนือ่ ง 2) ทางเลือก (choice) ใหประชาชนไดมที างเลือก บนพืน้ ฐานความเชือ่ วาการเปดใหมคี แู ขงขันในการใหบริการจะชวยใหเกิดการ ปรับปรุงคุณภาพการใหบริการ 3) มาตรฐาน (standards) ประชาชนจะตองไดรับการแจงใหทราบถึง มาตรฐานที่ทุกคนจะตองไดรับและรับทราบวาหากตนเองไดรับบริการต่ำกวามาตรฐานที่ควรจะไดแลว ตนจะสามารถดำเนินการเชนไรตอไป 4) คมุ คา (value) ในฐานะทีป่ ระชาชนเปนผเู สียภาษี ประชาชนจะตอง ไดรบั ผลตอบแทนทีค่ มุ คาเงินทีเ่ สียไป การตืน่ ตัวของสังคมในการกำหนดขอบเขตมาตรฐานและคุณภาพการไดรบั บริการจากรัฐเปนสิง่ ทีส่ อดคลอง และเปนปจจัยสงเสริมการบริหารราชการใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาลโดยที่ คุณภาพการใหบริการจะเปน สิง่ สะทอนใหเห็นถึงประสิทธิภาพประสิทธิผลของการปฏิบตั งิ าน ทีเ่ สมือนหนึง่ เปนการตรวจสอบไดจาก ภายนอก (external audits) ทีจ่ ะเปนสวนเสริมและกระตนุ ใหองคกรตองพัฒนาตัวเองใหกา วหนาดวยแนว ความคิดกิจกรรมและวิธกี ารทีเ่ คลือ่ นไหวรับการเปลีย่ นแปลง (dynamic)4 อยเู สมอ อยางไรก็ตามการใชอำนาจในการบริหารราชการแผนดินทีม่ อี ยเู พือ่ ตอบสนองความตองการของสังคมอยาง เกินขอบเขตอำนาจหรือเปนไปดวยเหตุผลแอบแฝงอืน่ ๆ (hidden agenda) ในบางครัง้ อาจสงผลเสียหายและ ถือเปนการใชอำนาจในทางทีผ่ ดิ พลาด (abused) ดวยความรเู ทาไมถงึ การณหรืออาจเนือ่ งจากการพิจารณาถึง ผลของงานมากกวาวิธกี ารในการบรรลุเปาหมายนัน้ (the end justifies the means)5 ดังคำกลาวของ เจมส เมดิสนั (James Madison) รัฐบุรษุ และอดีตประธานาธิบดีคนที่ 4 ของสหรัฐอเมริกาได ใหขอ คิดถึงอำนาจแหงรัฐในความพยายามตอบสนองความตองการตางๆ ของประชาชนผรู บั บริการไวอยางนา สนใจ พอสรุปไดวา “ความยากของการบริหารจัดการภาครัฐนอกเหนือไปจาความสามารถในการปกครองผู อยใู ตปกครองใหไดแลว ยังจะตองหาทางใหรฐั สามารถควบคุมตนเองใหอยใู นกรอบกติกาอีกดวย” 6 สิง่ ทีอ่ งคกรสมัยใหมจะตองปรับตัวและปองกันปญหาทีเ่ กรงวาอาจเกิดขึน้ ไดขา งตน อาจนำตัวแบบ (models) หรือแนวความคิดที่ Jack H. Knott และ Gary J. Miller ไดนำมาเปนอุทธาหรณสำหรับประเมินทางเลือก ตางๆ ทีอ่ งคกรจะตองใชเปนแนวทางในการปฏิบตั เิ พือ่ ใหบรรลุเปาหมายวัตถุประสงคขององคการ ดังมีราย ละเอียดทีน่ า สนใจประกอบดวยประเด็นตางๆ พอสรุปไดดงั นี7้ ●

อำนาจ กับ จิตสำนึกความรับผิดชอบ (power and accountability) นับเปนเรือ่ งละเอียดออนและมักขัดแยงในตัวของมันเองระหวางอำนาจและจิตสำนึกความรับผิด ชอบตอสังคมสวนรวมทีถ่ อื เปนหัวใจสำคัญประการหนึง่ ของหลักธรรมาภิบาล ทีแ่ มวา ทุกองคกร

4 5 6 7

ที่มา: Judy Pearsall (ed) The concise Oxford Dictionary (10th edn) (Oxford University Press, Oxford) 2001: 446 James Madison “The federal Papers” (New York: The American Library of World Literature, Inc., 1961) in Jack H. Knott and Gary J. Miller Reforming Bureaucracy: The Politics of Institutional Choice (Prentice-Hall Inc, New Jersy) 1987: 254 Anthony Jay The Oxford Dictionary of Political Quotations 2nd edn (Oxford University Press, Oxford) 2001: 238 Jack H. Knott and Gary J. Miller Reforming Bureaucracy: The Politics of Institutional Choice (Prentice-Hall Inc, New Jersy) 1987: 254-274

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

72


ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ มาดวยเจตนารมณอนั บริสทุ ธิต์ อ งการบรรลุเปาหมายนี้ แตในทางปฏิบตั ิ การตัดสินใจ เลือกทีจ่ ะกระทำหรือไมกระทำสิง่ ใดของหนวยงานรัฐ จะมีผไู ดรบั ผลในทางบวกและมีผทู อี่ าจเสีย ประโยชนจากการตัดสินใจในขณะเดียวกัน ปญหาคือรัฐหรือองคกรตางๆ กับการตัดสินใจใดๆ นัน้ หลายครัง้ เปนสิง่ ทีไ่ มสามารถหลีกเลีย่ งไดและ จะตองกำหนดทิศทางเปาหมายของการเลือกดำเนินการไปในทางใดทางหนึง่ แมวา การแกปญ หาของ องคกรภาครัฐในอดีตพยายามจะหลีกหนีกฏระเบียบทีเ่ ครงครัดของระบบราชการดวยการจัดตัง้ หนวย งานอิสระและบัญญัตริ ะเบียบกฏเกณฑตา งๆ ขึน้ มาใชบงั คับเปนการเฉพาะก็ตาม แตวฏั จักรแหงปญหา ความไมลงรอยสอดรับกันระหวางอำนาจที่ใชไปกับผลกระทบที่มีตอสาธารณะในสวนที่ไมไดรับ ประโยชนโดยตรงยังคงเปนสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ อยตู ลอดเวลา จึงถือเปนประเด็นสำคัญทีอ่ งคกรตางๆ จะตองหาหนทางลดทอนหรือบรรเทาปญหาดังกลาวนีเ้ พือ่ จะไดสามารถตอบสนองและใหบริการคนสวนใหญในสังคมไดอยางเทาเทียม มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ จะชวยใหความขัดแยงทีม่ กั เกิดขึน้ ลดนอยลงอีกทางหนึง่ ดวย ●

ความเปนกลางในการบริหารจัดการตามลำดับชัน้ การบังคับบัญชาในองคการมีอยจู ริงหรือไม ประเด็นวาดวยความเปนกลาง ไมเลือกฝกฝายหรือตอบสนองฝายใดฝายหนึง่ มากกวาอีกฝายนัน้ เปน สิง่ ทีไ่ ดรบั การเรียกรองมาเปนเวลานาน เพราะกลมุ ผลประโยชนในสังคมมีอยมู ากมาย แตละกลมุ ตาง เรียกรองและมงุ ทีจ่ ะไดรบั การตอบสนองในสิง่ ทีต่ นเองหรือกลมุ ตองการใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะกระทำ ได ในขณะที่องคกรเองโดยเฉพาะองคกรภาครัฐบนพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ระบบตัวแทนนัน้ จำเปนตองอยภู ายใตการกำกับดูแลของนักการเมืองทีเ่ ปนตัวแทนประชาชนเขามา ทำหนาทีบ่ ริหารจัดการ ซึง่ นักการเมืองเองก็จำเปนตองตอบสนองหรือมีแรงจูงใจในการดำเนินการใดๆ เพือ่ ตอบสนองกลมุ ผสู นับสนุนหรือทำใหตนเองไดรบั เลือกตัง้ เขามาในโอกาสตอๆ ไป จึงกลายเปนปญหาอีกดานหนึ่งที่องคกรตางๆ จะตองนำไปพิจารณาอยางรอบคอบวา ในการ ปฏิบัติงานจริงอุปสรรควาดวยการถูกครอบงำจากปจจัยทางการเมืองที่วานี้จะสงผลอยางไรตอการ ปฏิบตั หิ นาทีใ่ หบรรลุผลสำเร็จตามเปาหมายขององคกร ตัง้ แตเรือ่ งของการจัดการงบประมาณ การ บริหารงานบุคคลใหตรงกับงานและตามความรคู วามชำนาญความสามารถทีแ่ ทจริง

การปรับเปลีย่ นใหเปนมืออาชีพ (professionalism) ความพยายามของนักบริหารในการยึดตัวแบบการบริหารในอดีตทีเ่ ชือ่ มัน่ ในการบริหารตามแนวความ คิดการจัดการทีอ่ ดีตประธานาธิบดี วดู โรว วิลสัน (Woodrow Wilson) ของสหรัฐอเมริกา ไดเคยเนน

8

Vincent Ostrom “The Intellectual Crisis in Public Administration” (The University of Alabama Press 1973) in Jack H. Knott and Gary J. Miller Reforming Bureaucracy: The Politics of Institutional Choice (Prentice-Hall Inc, New Jersy) 1987: 259

73

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ย้ำใหเกิดการคานอำนาจตรวจสอบซึง่ กันและกัน (Checks and Balances)8 พบวาในทางปฏิบตั จิ ริงยัง มีความลักลัน่ ยิง่ กวานัน้ นักวิชาการทางดานการจัดการบริหารสมัยใหมอาทิ Thomas Peters และ Robert Waterman9 ไดมองวาแนวความคิดแบบเดิม (classical thinkers) ใหความสำคัญกับระบบราชการ ทีเ่ ต็มไปดวยกฎระเบียบทีซ่ บั ซอนมากเกินไป ยังคงเปนปญหาที่ตองพิจารณาตอไปวา ขาราชการในฐานะเปนกลไกสำคัญในการปฏิบัติงานภาครัฐ จะสามารถแกไขปญหาทีเ่ กิดขึน้ นีไ้ ดอยางไร ในขณะทีป่ ระเด็นเกีย่ วกับความเปนมืออาชีพหรือการทำงาน ในลักษณะของความเชีย่ วชาญทีเ่ ปดโอกาสใหขา ราชการสามารถใหขอ คิดเห็นหรือสามารถมีความเปนตัว ของตัวเองทีจ่ ะตัดสินใจดำเนินการเพือ่ ผลประโยชนของคนสวนใหญในสังคม (for majority good) ไดตาม ลำพัง กำลังเปนทีส่ นใจในการนำมาใชใหเกิดผลในทางปฏิบตั ิ แตความวิตกกังวลยังคงอยทู ปี่ ญ  หาเกีย่ วเนือ่ ง กับความเปนเอกเทศ (autonomy) ตลอดทัง้ การกาวกายซ้ำซอนกัน (redundancy) ของงานทีอ่ าจมีการแยงงาน กันทำหรือเกิดปญหาความขัดแยงระหวางองคกรตามมาได ●

การใหภาคประชาชนเขามามีสว นรวมดวยการกระจายอำนาจ การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสว นรวมในการบริหารจัดการและกำหนดเปาหมายทิศทางของ องคกรภาครัฐใหสามารถตอบสนองความตองการของพวกเขาได ถือเปนเรื่องอุดมคติที่มีความ พยายามจากหลายประเทศ แมแตในประเทศไทยเองก็พยายามทีจ่ ะนำมาใชเปนเงือ่ นไขกอนทีจ่ ะมี การกำหนดนโยบายทีม่ ผี ลกระทบตอสังคมสวนรวมออกมาอยางเปนทางการ มาตรการเชน การทำประชาพิจารณ (public hearing) หรือการเปดใหมกี ารรับฟงความคิดเห็นของ ประชาชนในหลากหลายสาขาอาชีพรวมทัง้ จากผทู เี่ กีย่ วของทัง้ ในภาคประชาชน แวดวงวิชาการ และระดับนโยบาย เปนสิง่ ทีป่ ระเทศไทยไดเริม่ นำมาใชจากขอกำหนดทีป่ รากฏอยใู นรัฐธรรมนูญ ฉบับทีแ่ ลว โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญของรัฐทีส่ ง ผลกระทบตอชีวติ ความเปนอยใู นชุมชน หรือสังคม แมจะยังไมเปนทีย่ อมรับถึงประสิทธิภาพจากการดำเนินการดังกลาวมากนักก็ตาม ก็ตอ ง ถือเปนจุดเริม่ ตนทีน่ า จะมีการทบทวนพัฒนาใหเกิดผลเปนทีน่ า พอใจในทางปฏิบตั ไิ ด อยางไรก็ตามตองยอมรับวา “คานิยม” ของขาราชการ โดยเฉพาะขาราชการไทยตัง้ แตอดีตถึง ปจจุบนั ยังเปนเงือ่ นไขสำคัญประการหนึง่ ทีไ่ มวา การปฏิรปู จะมีแบบจำลองหรือตัวแบบทีด่ ี มีความ พรอมหรือสมบูรณมากนอยเพียงใด “คานิยม” ของขาราชการก็ยงั มีสว นไมมากก็นอ ยทีส่ ง ผลตอประ สิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการเพือ่ ตอบสนองความตองการของประชาชน ทัง้ ใน แงคณ ุ ภาพการใหบริการและการใชอำนาจทีเ่ กินขอบเขตอำนาจทีอ่ าจลุกลามไปถึงการประพฤติ ปฏิบตั ไิ ปในทางมิชอบในทางราชการในหลายกรณี

9

Jack H. Knott and Gary J. Miller Reforming Bureaucracy: The Politics of Institutional Choice (Prentice-Hall Inc, New Jersy) 1987: 259

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

74


โดยที่ วิรชั วัรชั นิภาวรรณ ไดยกตัวอยางคานิยม 7 ประการทีเ่ ปนอุปสรรคสำคัญตอการพัฒนา ประเทศไวเปนอุทธาหรณดงั นีค้ อื 10 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

คานิยมของการใชอำนาจหนาทีใ่ นทางมิชอบเพือ่ แสวงหาผลประโยชน คานิยมทีย่ ดึ ถือระบบพวกพองในทางมิชอบ คานิยมทีต่ อ งการเปนเจาคนนายคน คานิยมในการประจบสอพลอ คานิยมทีช่ อบความสะดวกสบายและเกียจคราน คานิยมแบบปจเจกชนนิยม คือ ยึดถือตนเองเปนหลักขาดระเบียบวินยั คานิยมในความเปนอนุรกั ษนยิ ม (ตอตานการเปลีย่ นแปลง11)

บทสรุป ดวยเหตุนี้ จึงเปนขอคิดเห็นตอการจัดวางนโยบาย และพัฒนาปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคล ขององคกรภาครัฐ ไมวา จะเปนในสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระทัง้ หลาย ทีจ่ ำเปนตองพิจารณา ทบทวนถึงเงือ่ นไขขอจำกัดตางๆ ไปพรอมๆ กับการศึกษาวิจยั แสวงหาทางออกในการปฏิรปู องคกรและ บุคลากรใหทันตอกระแสความเปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดลอมสังคมภายนอก ประการสำคัญที่สุด นอกเหนือไปจากคานิยมของระบบราชการเองที่เปนอุปสรรคขัดขวางนี้แลว ประเด็นวาดวยการพัฒนา ตนเองเขาสหู ลักธรรมาภิบาลทีก่ ลาวถึงขางตนยังเปนแรงกดดันของการปฏิรปู องคกรตางๆ ทัว่ โลก12 นับไดวา ทั้งหมดนี้จัดเปนปจจัยหลักที่จะกำหนดทิศทางของการพัฒนาปฏิรูปองคกรที่สำคัญอยางยิ่งที่นักบริหาร จัดการในทุกภาคสวนไมอาจละเลยได

10 11 12

วิรัช วัรัชนิภาวรรณ คานิยมของขาราชการไทยในยุคปฏิรูประบบราชการ (สำนักพิมพนิติธรรม กรุงเทพ) 2547: 55-72 ผูเขียน ไชยวัฒน ค้ำชู และคณะ (ผูแปล) ธรรมาภิบาล : การบริหารการปกครองที่โปรงใสดวยจริยธรรม (สำนักพิมพน้ำฝน กรุงเทพ) 2545ซ: 276

75

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550



ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น



วันจันทรที่ 16 กรกฎาคม 2550 ณ หองประชุมมาลัยหุวะนันทน คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย “10 ประเด็นหลักของการปรับโครงสรางสำนักงานตำรวจแหงชาติ เสนอโดย คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ” สรุปคัดยอประเด็นหลักเพือ่ การสัมมนาระดมสมองและสรุปผลการสัมมนา โดย ดร.อมร วาณิชวิวฒ ั น อนุกรรมการดานการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและวิชาชีพตำรวจ แหลงอางอิง: ในฐานะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริหารบุคคลและวิชาชีพตำรวจ และขอมูลจากสื่อ หลายสวน (เชน หนังสือพิมพมติชน ฉบับวันเสารที่ 14 กรกฎาคม 2550 และเอกสารอางอิงตางๆ เชน รางพระราชบัญญัติ ทีม่ กี ารนำเสนอโดย คณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ ฯลฯ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○

ประเด็นที่ 1 โครงสรางใหมกอ ใหเกิดกระจายอำนาจการบริหารงาน ●

● ●

กระจายอำนาจให กองบัญชาการตำรวจ ภูธร 1-9 และ กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีฐานะเปน นิตบิ คุ คล หัวหนาหนวยมีตำแหนงเปน “อธิบดี” ผบู ญ ั ชาการตำรวจแหงชาติ (ผบ.ตร.) จะไมมสี ภาพเหมือนเปนบุรษุ ไปรษณีย แตยงั มีอำนาจควบคุม สัง่ การ เสนอชือ่ “อธิบดี” เหมือนกระทรวงทัว่ ไป ผบ.ตร. มีหนวยงานขึน้ ตรงทีต่ อ งใชความรคู วามชำนาญเฉพาะ สำนักงานตำรวจแหงชาติ (สตช.) สามารถจัดตัง้ หนวยงานได โดยใหออกเปน พระราชกฤษฎีกา (ในระดับกองบัญชาการ) และใหออกเปนกฎกระทรวงในระดับกองบังคับการ สตช. มีอำนาจตัง้ หนวยเฉพาะกิจเพือ่ เขามาคลีค่ ลายคดีสำคัญๆ ไดเชนเดิม

ประเด็นที่ 2 โครงสรางใหมสง เสริมการมีสว นรวมของประชาชนในการบริหารงานตำรวจ ●

เสนอใหมกี ารตัง้ “คณะกรรมการนโยบายตำรวจ” ตัง้ แตระดับชาติ ภาค จังหวัด และนครบาล และ สถานีตำรวจ ทำหนาที่ กำหนดนโยบายกำกับดูแลใหตอบสนอง ความตองการ (needs) ของ ประชาชน 79

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ปรับปรุงองคประกอบของ “คณะกรรมการขาราชการตำรวจ (ก.ตร.) ในทุกระดับ ใหมสี ว นรวมจาก บุคลากรในกระบวนการยุตธิ รรมอืน่ ๆ และจากประชาชนมากขึน้ ใชประชาชนเปน “ดัชนีชวี้ ดั ” ความสำเร็จของงานตำรวจแทนทีผ่ บู งั คับบัญชา

ประเด็นที่ 3 โครงสรางใหมสรางกลไกการตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของตำรวจ ● ● ● ●

เสนอใหมี “คณะกรรมการพิจารณาเรือ่ งรองทุกขเกีย่ วกับตำรวจ” เปนหนวยงานอิสระไมขนึ้ กับ สตช. ประกอบดวยกรรมการ 5 คน ตองไมเปน ขาราชการตำรวจ ถาเคยเปนตองพนมาแลวเกิน 5 ป ใชกระบวนการสรรหาทีเ่ หมาะสม ทำงานเต็มเวลา มีอำนาจวินจิ ฉัยคำรองและเสนอแนะใหกระทำการ คำวินจิ ฉัยมีผลผูกพันองคกรเชนเดียวกับการดำเนินการทางวินยั ขององคกรตำรวจ

ประเด็นที่ 4 โครงสรางใหมใหถา ยโอนภารกิจทีไ่ มใชงานตำรวจออกไปยังหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ Core Functions งานตำรวจประกอบดวย 1 การถวายความปลอดภัยองคพระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาท ผสู ำเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ ผแู ทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ 2 การปองกันและปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา 3 การรักษาความสงบเรียบรอย และความปลอดภัยของประชาชน และความมัน่ คงของราชอาณาจักร จะปรับรูปแบบหนวยงานภารกิจสนับสนุนเชน โรงพยาบาลตำรวจ งานออกแบบสถาปตยกรรม ใหเปน หนวยบริการรูปแบบพิเศษ (S.D.U. Service Delivery Unit) เพือ่ การบริหารจัดการทีม่ คี วามคลองตัวสูงขึน้ สงเสริมระบบ “ยุตธิ รรมชุมชน (community justice)” สำหรับการไกลเกลีย่ ขอพิพาททีไ่ มรา ยแรง

ประเด็นที่ 5 ปรับปรุงพัฒนาระบบงานสอบสวน ทำใหเปนวิชาชีพ ปราศจากการแทรกแซง ● ● ●

ตัง้ หนวยงานสอบสวนสวนกลางเพือ่ พัฒนางานวิชาการดานการสอบสวนใหเปนมาตรฐาน ปรับปรุงสายงานสอบสวนใหเปนอิสระ ใหมดี ลุ ยภาพระหวางชัน้ จับกุมและสอบสวน กำหนดคาตอบแทนเทียบเคียงกับบุคลากรของหนวยงานอืน่ ในกระบวนการยุตธิ รรม

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

80


ประเด็นที่ 6 ปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของสถานีตำรวจ (โรงพัก) ทบทวนภารกิจใหม สิง่ ใดไมเกีย่ วของกับงานตำรวจ ควรมอบใหหนวยงานอืน่ ไป เชน งานทะเบียน การขออนุญาตตางๆ เนนใหชมุ ชนรวมกันดูแลแกปญ  หากันเอง แบงขนาดสถานีเปนขนาดตางๆ ( size S M L) ตามปริมาณงาน ความรับผิดชอบ เปนมาตรฐาน ใชระบบใหบริการจบไดในการติดตอครัง้ เดียว (one-stop service) เชน งานสอบสวนกับสืบสวน ควรรวมเขาดวยกัน

● ● ●

ประเด็นที่ 7 พัฒนากระบวนการสรรหา ผลิตและพัฒนาตำรวจ ยกฐานะโรงเรียนนายรอยตำรวจใหเปนสถาบันการศึกษาและวิชาการของตำรวจ ผูบัญชาการมี ฐานะเทียบเทาอธิการบดี เปนตำแหนงทีม่ วี าระแนนอน เพือ่ ความตอเนือ่ ง ไมใชเพียงผลิต นักเรียน นายรอยตำรวจดังเดิมเทานัน้ . แตจะจัดอบรมวิทยาการตำรวจดานอืน่ ๆ (police sciences) พรอมกันไป เพิม่ คุณวุฒนิ กั เรียนพลตำรวจ เดิมสำเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาปที่ 6 เมือ่ เขารับการอบรม ยาวนานถึง 18 เดือน นาจะไดรบั อนุปริญญาเปนขวัญกำลังใจใหตำรวจชัน้ ประทวนกวา 160,000 คน ทัว่ ประเทศ

ประเด็นที่ 8 ปรับปรุงเงินเดือนคาตอบแทนและสวัสดิการ ●

กำหนดเงินเดือน เงินเพิม่ พิเศษ คาตอบแทนและสวัสดิการอืน่ ๆ ใหแยกบัญชีขา ราชการตำรวจออก จากบัญชีเงินเดือนของขาราชการพลเรือนทั่วไป ใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ เศรษฐกิจ ปจจุบนั กำหนดขัน้ วิง่ เงินเดือนชัน้ ประทวนใหมขี นั้ เงินเดือนสูงสุดเทียบเทา “พันตำรวจโท” จากเดิมเพียง ระดับ รอยตำรวจเอก

ประเด็นที่ 9 สงเสริมความกาวหนาของตำรวจ ชัน้ ประทวน ●

ตำรวจชัน้ ประทวน สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอยเู ปนจำนวนมากแตไมสามารถเลือ่ น เปนสัญญาบัตรได จึงจะเพิม่ ตำแหนงสารวัตรบริการประชาชน หรือผชู ว ยสารวัตรขึน้ มารองรับ 81

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


ใหชนั้ ประทวนมีชนั้ ยศเดียวคือ “ดาบตำรวจ” ในฐานะตำแหนงผบู งั คับหมเู หมือนกันตัง้ แตชนั้ ยศ สิบตำรวจตรี (ส.ต.ต.) ถึงดาบตำรวจ

ประเด็นที่ 10 เสนอใหมกี ารจัดตัง้ หนวยงานพัฒนากระบวนการยุตธิ รรม ●

● ●

ทางคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจไดจดั ทำรางพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ “สถาบันสงเสริม หลักนิตธิ รรม” ตอนายกรัฐมนตรีเปนทีเ่ รียบรอยแลว เพือ่ ใหเกิดองคความรทู ถี่ กู ตอง ขับเคลีอ่ นการปฏิรปู กระบวนการยุตธิ รรมอยางตอเนือ่ ง เปาหมายเพือ่ การเปน “หลักนิตริ ฐั และสังคมนิตธิ รรม”

ผลของการระดมสมอง ในงานสัมมนาเรือ่ ง “ปรับโครงสรางตำรวจเพือ่ ประชาชนหรือเพือ่ ใคร” 1. มีผเู ขารวมการสัมมนาระดมสมอง จำนวน 120 คน แบงเปน เพศชาย 50 คน เพศหญิง 70 คน 2. อายุเฉลีย่ 36 ป 3. อาชีพ ....... นักเรียน/นิสติ /นักศึกษา (60) ........ นักธุรกิจ (2) ....... ขาราชการพลเรือน (6) ....... ขาราชการตำรวจ (30) ........ อัยการ (2) ....... ขาราชการอืน่ ๆ ในกระบวนการยุตธิ รรม (20) 4. การศึกษา ....... กำลังศึกษาในระดับ ........ ปริญญาตรี (60) ........ ปริญญาเอก (2) ....... สำเร็จการศึกษาระดับ ........ ปริญญาตรี (30) ........ ปริญญาโท (28) 5. ทานเห็นวาการปรับโครงสรางจะทำใหเกิดการกระจายอำนาจแกหนวยงานระดับรองลงไป ........ ใช (70%) ........ ไมใช (30%) 6. ทานเห็นวาการปรับโครงสรางจะทำใหประชาชนมีสว นรวมในการบริหารงานตำรวจในทุกระดับมากยิง่ ขึน้ ........ ใช (70%) ........ ไมใช (30%) 7. การมีคณะกรรมการพิจารณาเรือ่ งรองทุกขเกีย่ วกับตำรวจเปนอิสระจะสรางความเปนธรรมใหประชาชนได ........ ใช (50%) ........ ไมใช (50%) 8. ทานเห็นวาตำรวจควรปฏิบตั งิ านเพียงเฉพาะหนาทีห่ ลักของงานตำรวจเพือ่ บริการประชาชนไดทวั่ ถึงเปนธรรม ........ ใช (50%) ........ไมใช (50%) 9. ทานเห็นอยางไรทีจ่ ะโอนงานตรวจคนเขาเมือง ตำรวจทองเทีย่ ว ตำรวจทางหลวง ตำรวจปาไม ตำรวจน้ำ ตำรวจรถไฟ ไปใหหนวยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ ........ เห็นดวย (60%) ........ไมเห็นดวย (40 %) 10. ทานเห็นวามีหนทางจะทำใหงานสอบสวนของตำรวจมีความเปนอิสระ ปราศจากการแทรกแซงได ........ เห็นดวย (30%) ........ไมเห็นดวย (70%) ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

82


11. การเพิม่ คาตอบแทน สวัสดิการ ทีเ่ หมาะสมจะลดปญหา การฉอราษฎรบงั หลวงในองคกรตำรวจได ........ เห็นดวย (30%) ........ไมเห็นดวย (70%) 12. ทานมัน่ ใจวาการปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของสถานีตำรวจ หรือ “โรงพัก”ตามทีค่ ณะทำงานฯ เสนอมา จะทำใหเกิดประสิทธิภาพไดจริง ........ เห็นดวย (40%) ........ไมเห็นดวย ( 60 %) 13. ทานเห็นวาบทบาทของสถาบันศึกษาอบรมของตำรวจเชน โรงเรียนนายรอยตำรวจ โรงเรียนพลตำรวจ ทัง้ หลาย มีความสำคัญสงผลตอพฤติกรรมของตำรวจเมือ่ สำเร็จการศึกษาออกมาปฏิบตั งิ านจริง ........ เห็นดวย ( 60%) ........ไมเห็นดวย (40%) 14. ทานเห็นอยางไรทีจ่ ะใหตำรวจเริม่ ตนการทำงานทีช่ นั้ ยศเดียวกัน โดยการเลือ่ นยศ ชัน้ ตำแหนงใหไตเตา ขึน้ ไปตามความรคู วามชำนาญและประสบการณ ........ เห็นดวย (70 %) ........ไมเห็นดวย ( 30%) 15. ทานเห็นวา “ชุมชน” จะชวยแกปญ  หาความเปนธรรมในเบือ้ งตนใหแกสมาชิกในชุมชนไดหรือไม ......... เห็นดวย (40%) ........ไมเห็นดวย (60%) 16. การใหตำรวจชัน้ ประทวนในฐานะผใู กลชดิ ประชาชนมีความกาวหนาในวิชาชีพ จะชวยแกปญ  หาของ ตำรวจในทุกวันนีไ้ ดทางหนึง่ ......... เห็นดวย (60%) ........ไมเห็นดวย (40%) สวนที่ 2 สรุปขอเสนอแนะจากการแสดงความคิดเห็นขององคปาฐกและผเู ขารวมสัมมนาทีน่ า สนใจ ..1 ทานพิมล รัฐปตย ประธานคณะกรรมการอัยการ ( ก.อ.) “ตำรวจคือตนธารแหงกระบวนการยุตธิ รรม การใชดลุ ยพินจิ ของตำรวจมีความสำคัญมาก เพราะ หากตำรวจตัดสินใจไมวา จะนำคดีเขาสกู ระบวนการยุตธิ รรมหรือในทางตรงขามจะสงผลในทางใดทางหนึง่ ตอผเู สียหายและผถู กู กลาวหาอยางหลีกเลีย่ งไมได วัฒนธรรมองคกรและวัฒนธรรมทางสังคมเปนปจจัย ประการหนึง่ ทีน่ ำไปสกู ารฉอราษฎรบงั หลวง ประชาชนเองมีสว นสงเสริมสนับสนุนใหการทุจริตคอรัปชัน่ เกิดขึน้ ตัง้ แตความตองการความสะดวกดังตัวอยางการใหสนิ บนแกเจาหนาทีต่ ำรวจจราจร การวิง่ เตนแทรก แซงทางการเมืองและผมู อี ทิ ธิพลเกิดขึน้ อยตู ลอดเวลา ปญหามิไดมอี ยเู พียงเฉพาะในองคกรตำรวจ แตมี ปรากฏใหไดรับทราบตลอดทั้งกระบวนการยุติธรรม หากตองการแกไขปญหาคอรัปชั่นหรือการทุจริต ประพฤติมชิ อบในวงการตำรวจ ประชาชนตองเริม่ ทีก่ ารปรับตัวเองใหไดกอ น” ..2. พล.ต.อ.อชิรวิทย สุพรรณเภสัช อดีตรองผบู ญ ั ชาการตำรวจแหงชาติฝา ยบริหาร (บ.ร.) “การปรับโครงสรางตำรวจควรถามเจาของบานคือตำรวจใหรแู นชดั กอนวาปญหาอยทู ใี่ ดและควร ใหผมู ปี ระสบการณกบั งานในหนาทีไ่ ดมสี ทิ ธิมเี สียงแสดงความคิดเห็นถึงความตองการและปญหาทีแ่ ทจริง ดวย ทุกวันนีต้ ำรวจมีอำนาจนอยลง แมแตการจะดำเนินการจับกุมผใู ดก็ตอ งผานความเห็นชอบอนุมตั โิ ดย ศาลสถิตยุตธิ รรม ขณะเดียวกันกระบวนการนิตวิ ทิ ยาศาสตรกไ็ ดเขามามีบทบาทกำกับและตรวจสอบการ ทำงานของตำรวจใหเปนไปโดยสุจริตไมบดิ พริว้ ไมเพียงแตตำรวจชัน้ ประทวนแตตำรวจเกือบทุกระดับชัน้ 83

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550


โดยเฉพาะชัน้ ผนู อ ยขาดแคลนทัง้ รายไดทเี่ พียงพอและทรัพยากร ทีจ่ ำเปนในการปฏิบตั หิ นาทีใ่ หเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพ ยืนยันไดวา กวารอยละ 90 ของขาราชการตำรวจ ลวนแตจดั หาวัสดุอปุ กรณเครือ่ งใชในการ ปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยตนเอง เชน อาวุธปน หรือแมแตพาหนะในการ สืบสวนสอบสวนติดตามพยานหรือจับกุม คนราย เนือ่ งจากพาหนะมีไมเพียงพอและขาดแคลนงบประมาณ ในการจัดซือ้ น้ำมันเชือ้ เพลิง เปนตน เทียบ ไมไดกบั ตำรวจของประเทศเพือ่ นบาน เชน มาเลเซีย ทัง้ นี้ ไมตอ งการใหการปฏิรปู โครงสรางตำรวจกลายเปน ประเด็นปญหาทางการเมืองดังทีม่ องกันวาตำรวจมีสภาพเหมือน แพะรับบาป สืบเนือ่ งมาจากความตองการ แกไขปญหาจากรัฐบาลชุดทีแ่ ลว ควรใหรฐั บาลทีม่ าจากการ เลือกตัง้ ไดมโี อกาสตัดสินวินจิ ฉัยและใหตำรวจ ไดมสี ว นรวมพิจารณาวาองคกรตำรวจควรปรับปรุงโครงสราง ไปในทิศทางใด ซึง่ ตนมองวา รัฐนาจะมีปญ หา เรงดวนในเรือ่ งอืน่ ทีส่ ำคัญกวาในเวลานี”้ ..3. รศ.ดร.นิเทศ ตินณะกุล อาจารยประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร จุฬาฯ “ตำรวจขาดขวัญกำลังใจ ขาดการศึกษาอบรมในวิชาชีพทีจ่ ำเปนอยางตอเนือ่ ง การปรับโครงสราง ยังมีประเด็นจุดออนและขอคำถามตามมาในอีกหลายแงมมุ ไมวา จะเปนเรือ่ งของคณะกรรมการรับเรือ่ งราว รองทุกข คุณสมบัตแิ ละระบบกรรมวิธกี ารสรรหาใหไดมาซึง่ ตัวแทนภาคประชาชนทีจ่ ะเขามาดูแลตรวจ สอบการทำงานของเจาหนาที่ตำรวจ แนใจไดอยางไรวาจะมีความโปรงใสและไมกลับไปสูรูปแบบการ เขามาครอบงำแทรกแซงในแบบเดิมทีเ่ คยมีมา”

ความคิดเห็นบางสวนทีน่ า สนใจจากผเู ขารวมสัมมนา ● ● ●

● ●

ตำรวจทีด่ ใี นสายตาประชาชนมีนอ ยกวาตำรวจทีไ่ มดี ประชาชนยังไมไดรบั บริการจากตำรวจอยางนาพึงพอใจ การปรับโครงสรางตำรวจอยบู นฐานคติของการแกปญ  หาการเมืองทีอ่ ดีตนายกรัฐมนตรีเคยเปน เจาหนาที่ตำรวจ และนำตำรวจเขามาทำหนาที่ในหลายภาคสวน ทำใหการปรับโครงสราง ดูเหมือนเปนการแกแคนเอาคืน ไมเห็นดวยกับการเรงรัดปรับปรุงโครงสรางตำรวจในขณะทีป่ ญ  หาเรงดวนเชน การกอการราย ในสามจังหวัดชายแดนภาคใตยงั ไมไดรบั การแกไข ตำรวจมีความตัง้ ใจทีจ่ ะทำหนาทีอ่ ยางดีทสี่ ดุ แตขาดแคลนงบประมาณและทรัพยากรทีจ่ ำเปน การเมืองมีการแทรกแซงองคกรตำรวจทุกยุคทุกสมัยแมกระทัง่ ในปจจุบนั ทีเ่ ปนยุคของรัฐบาล เฉพาะกิจ เปนการยากที่จะใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการกำกับดูแลกิจการงานตำรวจเหมือนอยาง ระบบการบริหารปกครองสวนทองถิน่ ในบางประเทศ เนือ่ งจากวัฒนธรรม ประเพณีและความ เชือ่ มีความแตกตางกัน เงินเดือนตำรวจนอยมากเมือ่ เทียบกับงานในภาคเอกชนหรือแมแตในแงของขาราชการสายอืน่ ในกระบวนการยุตธิ รรม

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550

84


ตองการใหตำรวจเริม่ ตนวิชาชีพในจุดเดียวกัน ไมเห็นดวยทีจ่ ะนำคนทีผ่ า นการอบรม เพียงไม ถึงสองปเขามาจับอาวุธและมีอำนาจอยางครอบจักรวาลตามกฎหมายซึ่งกระทบตอสิทธิ เสรีภาพของประชาชนซึง่ มีอยมู ากมาย ทีก่ ำหนดใหตำรวจเปนผบู งั คับใชกฎหมายเหลานัน้ มองไมเห็นวาการมีคณะกรรมการรับเรือ่ งราวรองทุกขทจี่ ะมีการจัดตัง้ ขึน้ นัน้ จะสามารถแกไข ปญหาการทุจริตประพฤติมชิ อบของตำรวจได เนือ่ งจากยังคงเห็นไดชดั วา ในแงการรวมอำนาจ เขาสูสวนกลางยังไมหมดไปอยางแทจริงตามขอเสนอของคณะกรรมการพัฒนาระบบงาน ตำรวจ ไมเห็นดวยอยางยิง่ ทีจ่ ะยอนรอยใหตำรวจกลับไปขึน้ อยกู บั กระทรวง ทบวง กรมใดๆ อีกตอ ไป เนือ่ งจากจะเปนการเปดโอกาสใหฝา ยการเมืองสามารถเขามาแทรกแซงไดเชนทีแ่ ลวๆ มา ไมมนั่ ใจวาการเสนอใหมกี ารปรับโครงสรางตำรวจนัน้ มีวตั ถุประสงคใดนอกเหนือไปจากการ แกปญ  หาของตำรวจแอบแฝงอยหู รือไม เชน ในเรือ่ งของการแยงชิงอำนาจทีเ่ กิดขึน้ อยแู ทบใน ทุกระบบการบริหารงาน ซึง่ มักมีการอางวาเปนไปเพือ่ การถวงดุลหรือเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพ ตองการใหมตี วั แทนของตำรวจจากการเลือกตัง้ เขาไปเปนสวนหนึง่ ของคณะกรรมการชุดตางๆ ทีร่ ฐั ตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนการเปดโอกาสใหมกี ารรับฟงความคิดเห็นขอเสนอแนะตางๆ อยางรอบดาน

85

ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2550













Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.