จดหมายข่าวโครงการหลวง ประจำเดือน กรกฎาคม 2558

Page 1

ปที่ 23 ฉบับที่ 7 ประจําเดือน กรกฏาคม 2558

วันที่ 13 มิถุนายน 2558 คณะเจาหนาที่จาก National Biodiversity Center, Ministry of Agriculture and Forest ราชอาณาจักรภูฏาน จํานวน 4 คน เขาศึกษาดูงาน ดานการ จัดภู มิ ทั ศ น และ การจั ด สวน เพื่ อ เรี ย นรู  จ ากโครงการของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวดานพืชสวนและไมดอกไมประดับ ณ สถานีเกษตรหลวงอางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม และวันที่ 17 มิถุนายน 2558 คณะไดเดินทางไปเยี่ยมชมและดูงานเพื่อเรียนรู เทคนิคการขยายพันธุพืชโดยวิธี micro-propagation และการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อในกลวยไม และไมดอกไมประดับ ของมูลนิธิ โครงการหลวง ณ สถานี ฯ อินทนนท อ.จอมทอง จ.เชียงใหม


ขาวทั่วไป

NEWS UPDATE

อบรม การปลูกผักโดยไมใชดิน การเลี้ยงไสเดือนดินกําจัดขยะอินทรีย เพื่อผลิตปุยมูลไสเดือน วันที่ 20-21 มิถุนายน 2558 รศ.ดร.อานัฐ ตันโช หั ว หน า โครงก ารกอง ทุ น ปุ  ย หมั ก มู ล ไส เ ดื อ น มู ล นิ ธิ โครงการหลวง และคณะรวมกับศูนยวิจัยและพัฒนา ไสเดือนดิน ไดจัดโครงการฝกอบรมเรื่อง การปลูกผัก โดยไมใชดิน (Hydroponics) หลังบาน และทางการคา และ การเลี้ยงไสเดือนดินกําจัดขยะอินทรียเพื่อผลิตปุย มูลไสเดือน ณ หองประชุม กุหลาบควีนสิริกิติ์ (ชั้น5) อาคารศูนยกลวยไมและไมดอกไมประดับ มหาวิทยาลัย แมโจ และพรอมทั้งไดนําคณะผูเขาอบรม จํานวน 127 คน เขาศึกษาดูงานที่โรงงานผลิตปุยมาตรฐาน IFOAM ระดับ อุตสาหกรรม ณ ฟารมมหาวิทยาลัยแมโจ 907 ไร

2


อบรม “การบริหารจัดการสําหรับกลุม เตรียมความพรอมหัวหนาศูนย/หัวหนาหนวยงาน” ม หลั ก สู ต ร การบ ริ ห าร วั น ที่ 16-2 0 มิ ถุ น ายน 2558 มู ล นิ ธิ โ ครงก ารหล วง ได จั ด การฝ  ก อบร เพี่ อ พั ฒ นาส มรรถ นะห ลั ก จั ด การสํ า หรั บ กลุ  ม เตรี ย มคว ามพ ร อ มหั ว หน า ศู น ย / หั ว หน า หน ว ยงาน วามรู  และ การมี ส  ว นร ว ม ของบุ ค ลากร 4 ด า น คื อ การคิ ด สิ่ ง ใหม การมุ  ง ผลสั ม ฤทธิ์ การจั ด การค นะด  า นกา รบริ ห ารจั ด การ ให แ ก เจ า หน า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารทั่ ว ไป และ นั ก วิ ช าการ การพั ฒ นาส มรรถ การพัฒนาสมรรถนะเฉพาะ ใหแกกลุมเตรียมความพรอมสําหรับหัวหนาศูนย ฯ/หัวหนาหนวยงาน ิและความเขาใจตอองคกร ดาน ใหแกกลุมผูประสานงานโครงการ SAP และการเสริมสรางทัศนคต คน โดยค ณะไ ด เ ดิ น ทางไ ป ให แ ก เจ า หน า ที่ ใ หม โดยมี บุ ค ลาก รเข า ร ว มรั บ การฝ  ก อบร มทั้ ง สิ้ น 25 จํ า กั ด (252 5) จ.ฉะ เชิ ง เทรา ศึ ก ษาดู ง านก ารดํ า เนิ น งานข อง บริ ษั ท โตโย ต า มอเต อร ประ เทศไ ทย ากัด จ. ชลบุรี ดวย บริษัทเบทาโกร จํากัด (มหาชน) จ.ลพบุรี และ บริษัทเด็นโซ ประเทศไทย จํ

3


ผลการออกปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครั้งที่ 345/63 วันที่ 20 มิถุนายน 2558 มหาวิทยาลัยเชียงใหม-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง นําโดย รศ.นพ.คม สุคนธสรรพ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมูลนิธิโรงพยาบาล สวนดอก พรอมดวย คณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และขาราชการหนวยงานตาง ๆ ไดออกปฏิบัติงานบริการหนวย แพทยเคลือ่ นที่ ใหแกราษฎรชนเผา ลาหู ไทใหญ มูเซอ และจีนฮอ ณ โรงเรียนโครงการหลวงแกนอย ตําบลเมืองนะ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม โดยการประสานงานของงานพัฒนาการศึกษา และสาธารณสุข โดยใหบริการตรวจรักษา จายยาและใหคําปรึกษา ในการดูแลสุขภาพอนามัย 115 ราย ฝงเข็มรักษาตามอาการโรค 31 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเตานม 79 ราย ทันตกรรม 80 ราย ตัดผม 75 ราย แจกแวนสายตายาวสําหรับผูสูงอายุ 127 ราย แจกเครือ่ งอุปโภค บริโภค 150 ราย จัดยาให โรงเรียน วัดและศูนย ฯ จํานวน 10 ชุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม-ประชาอาสา พั ฒ นาโครงการหลวง กํ า หนดจะออกปฏิ บั ติ ง านครั้ ง ต อ ไป ในวันที่ 18–19 กรกฎาคม 2558 ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวง ปางอุง ต.แมศึก อ.แมแจม จ.เชียงใหม

4


คายพัฒนาเยาวชนโครงการหลวง ประจําป 2558 วันที่ 10-12 มิถุนายน 2558 งานพัฒนาการศึกษาและ สาธารณสุข มูลนิธิโครงการหลวง โดยการรวมมือและสนับสนุน งบประมาณจากสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) และมูลนิธิกลุมอีซูซุ ไดจัดคายพัฒนาเยาวชนโครงการหลวงขึ้น ณ หองกัลปพฤกษ อุทยานหลวงราชพฤกษ มีเยาวชนที่เขารับ การอบรมทั้งสิ้น 60 คน จาก 13 ศูนยพัฒนาโครงการหลวง และ 1 พื้นที่โครงการขยายผล ไดแก สถานีเกษตรหลวงอางขาง สถานีเกษตรหลวงอินทนนท ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแกนอย ศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยลึก ศูนยพัฒนาโครงการหลวง หนองเขี ย ว ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงแม แ ฮ ศู น ย พั ฒ นา โครงการหลวงทุ  ง หลวง ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงขุ น วาง ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงขุ น แปะ ศู น ย พั ฒ นาโครงการ หลวงแมลานอย ศูนยพัฒนาโครงการหลวงพระบาทหวยตม ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงห ว ยนํ้ า ริ น ศู น ย พั ฒ นาโครงการ หลวงแมทาเหนือและโครงการขยายผลโครงการหลวงปากลวย

โดยมี นายสุ ทั ศ น ปลื้ ม ป ญ ญา หั ว หน า ฝ า ย พัฒนาเปนประธานการเปดอบรม โดยมีวัตถุประสงค ในการอบรมเพื่ อ เสริ ม สร า งภาวะความเป น ผู  นํ า แก เ ยาวชนชาวเขาและเกิ ด การรวมกลุ  ม เยาวชน ในชุ ม ชน ,ส ง เสริ ม แนวทางการจั ด กิ จ กรรมที่ เ ป น ประโยชน ต  อ กลุ  ม เยาวชนในชุ ม ชน และเพื่ อ ให เยาวชนมี ค วามตระหนั ก และรู  เ ท า ทั น สภาวะ สิ่ ง แวดล อ มและสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลง โดยเยาวชน ไดมีโอกาสเรียนรู อาทิ เรื่องการเปนผูนําที่ดี การพูด ในที่ ชุ ม ชน ฝ ก วิ เ คราะห ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง ได ฝ  ก เขี ย นโครงการสํ า หรั บ ขอรั บ ทุ น สนับสนุนงบประมาณโดยทุกชุมชนที่ผานการอนุมัติ จะได รั บ งบประมาณไปดํ า เนิ น กิ จ กรรมในชุ ม ชน ของตนเองตอไป

5


คณะ UNODC จากประเทศเมียนมาร เรียนรูงานโครงการหลวง หนวยงาน UNODC ประจําประเทศเมียนมาร ดําเนินโครงการ ความรวมมือทางวิชาการไทย-เมียนมาร ในพื้นที่รัฐฉาน ของประเทศ เมียนมาร ไดการประสานงานขอความรวมมือจากมูลนิธิโครงการหลวง และ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ในการนําองคความรูของมูลนิธิ โครงการหลวง ดานการพัฒนาพืชทดแทนพืชเสพติด รวมทั้งการพัฒนา พื้ น ที่ สู ง อย า งยั่ ง ยื น เพื่ อ นํ า ไปประ ยุ ก ต ใช ใ นการพั ฒ นาอาชี พ และ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของเก ษตรกร ในพื้ น ที่ เ ป า หมายใ นประเ ทศเมี ย นมาร โดยไดนําเกษตรกรจากประเทศเมียนมาร และเจาหนาที่ UNODC จํานวน 13 คน เขาศึกษาดูงานการวิจัยพืชเกษตร และงานสงเสริม อาชีพใหแกเกษตรกรในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท อ.จอมทอง จ.เชียงใหม ในวันที่ 11 มิถนุ ายน 2558 และสถานีเกษตรหลวงอางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม ในระหวางวันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 เพื่อ นําองคความรูโครงการหลวงดานการพัฒนาทดแทนพืชเสพติด และ การพัฒนาพื้นที่สูงอยางยั่งยืนไปประยุกตใชในการพัฒนาอาชีพและ คุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่เปาหมายตอไป

สัมมนากลุมศูนย กลุมที่ 2 วันที่ 19-21 พฤษภาคม 2558 ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค ก ารมหาชน) ร ว มกั บ ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงกลุ  ม ศู น ย ที่ 2 ประกอบดวย ศูนยพฒ ั นา ฯ ปงคา, ศูนยพฒ ั นา ฯ ผาตัง้ , ศูนยพฒ ั นา ฯ ห ว ยแล ง และศู น ย พั ฒ นาฯสะโง ะ จั ด สั ม มนาและศึ ก ษาดู ง านเรื่ อ ง “ผลการสงตรงตลาดเชียงราย รอบ 6 เดือน แนวทางการพัฒนาและ สงเสริมการผลิตและการตลาดพืชผัก เพื่อรองรับการเขาสูประชาคม อาเซี ย น (AEC)” ณ เขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด ทาเรือขนสงสินคา ริมนํา้ เมย อ.แมสอด จ.ตาก โดยมีการนําเสนอผลการดําเนินงานการสงมอบ ผลผลิตผักตลาดเชียงราย และรายงานปญหาพรอมเสนอแนวทางแกไข ปญหาของแตละศูนย และไดรับฟงการบรรยายพิเศษ เรื่องสถานการณ การนํ า เข า และส ง ออกสิ น ค า ภาคการเกษตรจากประเทศเพื่ อ นบ า น โดยนายดานศุลกากรอําเภอแมสอด และการบรรยาย เรือ่ งการคาชายแดน และเขตเศรษฐกิจพิเศษแมสอด – เมียวดี สูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดย หอการคาจังหวัดตาก เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนา และสงเสริม การผลิตและการตลาดพืชผักเพือ่ รองรับการเขาสูป ระชาคมอาเซียน (AEC)

6


ขาวจากดอย NEWS UPDATE

อางขาง การอบรม GMP ประจําป พ.ศ. 2558 วันที่ 12 มิถุนายน 2558 สถานีเกษตรหลวงอางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม รวมกับ ศูนยรวบรวมผลิตผลเชียงใหม มูลนิธิโครงการหลวง และสถาบันวิจัย และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) ไดจดั กิจกรรม การอบรมการผลิตอาหาร ปลอดภัย (GMP) ในระบบโรงงานของสถานีเกษตรหลวงอางขาง ประจําป พ.ศ. 2558 ขึน้ เพือ่ เปนการทบทวนความรูเ ดิม และเพิม่ ความรูใ หมๆ ทีส่ ง ผลกับ ผูป ฏิบตั งิ านผลิตอาหารโดยตรง เชน สุขลักษณะสวนบุคคล (ขอปฏิบตั ใิ นการแตง กาย) การปองกันการปนเปอนในอาหารในดานกายภาพ ชีวภาพ และสารเคมี การปองกันสัตวพาหะนําโรค การรักษาความสะอาดดานอาคาร อุปกรณ และ เครือ่ งมือ ขอควรระวังในการปฏิบตั งิ าน การปองกัน และแกไข รวมทัง้ การซอม บํารุงรักษาชุดแตงกาย เครื่องมือ เครื่องจักรตางๆ ใหแกบุคลากรในสวนงาน ทีเ่ กีย่ วของตาง ๆ ไดแก แผนกคัดบรรจุ แผนกสมุนไพร การผลิตนํา้ ดืม่ และงาน แปรรูปชาจีน โดยมีเจาหนาที่ พนักงาน คนงาน และนักศึกษาฝกงานทีเ่ กีย่ วของ จํานวน 74 คน เขารับการอบรม

7


ลงนามความรวมมือ วิทยาลัยเกษตรเชียงรายและสถานีฯ อางขาง สถานีเกษตรหลวงอางขางไดมีการจัดการเรียนการสอนใหกับพนักงานและคนงานของสถานีฯ อางขาง รวมกับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย ตัง้ แตป พ.ศ. 2550 ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 3 ป และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส. (2 ป) ซึ่งมีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาไปแลว 1 รุน ซึ่งจากการใหความสําคัญในกิจกรรมดานการศึกษาของสถานีเกษตรหลวงอางขางตอพนักงานและคนงาน ของสถานีฯ รวมทัง้ การพัฒนาบุคลากรใหมคี วามรูค วามสามารถอยางตอเนือ่ ง สถานีเกษตรหลวงอางขางจึงไดรว มมือ กับวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย ในการทําขอตกลงความรวมมือ (MOU) จัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีใหกับพนักงานและคนงานของสถานีฯ อางขาง ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร และ สาขางานเกษตร โดยมีผอู าํ นวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย นายเทพชัย รมโพธิ์ และ ผูอ าํ นวยการสถานีเกษตรหลวง อางขาง นายสมชาย เขียวแดง เปนผูลงนามขอตกลงดังกลาว ณ อาคารหอประชุม สถานีเกษตรหลวงอางขางใน วันที่ 25 มิถุนายน 2558 โดยในปการศึกษา 2558 นี้ ไดเปดสอน หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส. รวมจํานวน 59 คน

เพื่อใหผูเรียนไดมีโอกาสทางการศึกษาเรียนรูสูการปฏิบัติจริง สอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม และเพื่อสงเสริมและพัฒนา อาชีพเกษตรกรบนพื้นที่สูง โดยผูเรียนใชเวลาสวนหนึ่งเรียนภาคปฏิบัติในสถานี เกษตรหลวงอ า งขาง ทํ า ให เ กิ ด การพั ฒ นาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู  ป ระสบการณ ในการผลิต และพัฒนากําลังคน ยกระดับความรู ความสามารถใหกบั พนักงานของ สถานีฯอางขางตอไปในอนาคต

8


ปางดะ วันที่ 20 มิถนุ ายน 2558 นางสาวรุจริ า ริมผดี ผูอ าํ นวยการสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการ มหาชน) พรอมดวย Prof. Dr. Richard Hamilton Archer และ Prof. Dr. Julian Andrew Heyes คณะผูเชี่ยวชาญจาก Institute of Food and Nutrition, Massey University, New Zealand เข า ศึ ก ษาดู ง านการวิ จั ย และพั ฒ นาไม ผ ลของ โครงการหลวง ณ สถานี เ กษตรหลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม โดย นายวิพัฒน ดวงโภชน หั ว หน า สถานี เ กษตรหลวงปางดะเป น ผู  ใ ห ก าร ต อ นรั บ และนํ า ชมการดํ า เนิ น งานของสถานี ฯ

หนองหอย กรมสวัสดิการและคุม  ครองแรงงานนําคณะบุคลากรดูงาน วันที่ 9 มิถุนายน 2558 กองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน นํ า คณะบุ ค ลากรของกรมที่ ทํ า งานด า นการส ง ลู ก จ า งผู  เ สพฯ ตามโครงการเสริ ม สร า งองค ค วามรู  แ ละ เจตคติของบุคลากรของกรมฯ ตอการใหโอกาสการทํางานแกผูเสพที่ผานการบําบัดรักษา จํานวน 60 คน เขาศึกษาดูงานการดําเนินงานของมูลนิธิโครงการหลวง ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงหนองหอย อ.แมริม จ.เชียงใหม เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกันในความมั่นคงทางอาชีพแกผูใชแรงงาน โดย นายภูเบศวร เมืองมูล หัวหนาศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงหนองหอย ใหการตอนรับพรอมบรรยายสรุปและนําชมการดําเนินงาน

9


คลินิกพืช CLINIC PLANT

ภัยรายจากสารกําจัดแมลง สารเคมีกําจัดแมลงไมเพียงแตเปนพิษเฉพาะกับแมลงเทานั้น ยังเปนพิษและเปนอันตรายกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีก ด ว ย เช น คนหรือสัตว ถึงแมวาสารเคมีบ างชนิ ด จะมี เ อกสารบอกว า ไม เ ป นอั ตรายกั บคน แต ก็ ไ ม ส ามารถ รั บ ประกั น ได แ น น อนถึ ง ความไม เ ป น อั น ตราย เนื่ อ งจากสารเคมี เ ป น พิ ษ กั บ แมลงก็ ย  อ มเป น พิ ษ ต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต อยางอื่นเชนกัน อาจกลาวไดวาสารเคมีทุกชนิดเปนพิษ แตมีความรุนแรงแตกตางกันไปตามชนิดและประเภทของสาร มู ล นิ ธิ ชี ว วิ ถี (Bio Thai) เผยสถานการณ ป  ญ หาสุ ข ภาพของเกษตรกรและการควบคุ ม สารกํ า จั ด ศั ต รู พื ช วา ปจจุบันมีเกษตรกรจํานวนมากที่มีผลตรวจเลือดอยูในเกณฑไมปลอดภัย และเสี่ยงตอการเกิดโรคจากการ ใช ปุ  ย เคมี แ ละสารเคมี กํ า จั ด ศั ต รู พื ช อาทิ โรคมะเร็ ง โรคเบาหวาน โรคต อ มไร ท  อ ฯลฯ ซึ่ ง จากฐานข อ มู ล ผูปวยจากระบบประกันสุขภาพแหงชาติ พบวาปจจุบันมีผูปวยจากสารเคมีดังกลาวประมาณ 8,546 ราย และยังมี ประมาณการดวยวาในความเปนจริงตัวเลขผูป ว ยจากสารเคมีอาจสูงถึง 200,000 ถึง 400,000 รายตอป สารเคมีสามารถเขาสูร า งกายได 3 ทางคือ 1. ทางปาก โดยการรับประทานเขาไปโดยไมรตู วั เชน การรับประทาน พืช ผัก ผลไม ทีม่ สี ารเคมีกาํ จัดแมลงปนเปอ นอยู การดืม่ นํา้ ในขณะกําลังพนสารพิษ การตัง้ ภาชนะใสอาหารไวใกลบริเวณ ทีม่ กี ารฉีดพนสารเคมีกาํ จัดแมลง 2. ทางระบบหายใจ โดยการไดรบั สารพิษขณะฉีดพน โดยการหายใจทางปากหรือจมูก โดยสารพิษปลิวมากับลมแลวถูกสูดเขาไป ทําใหเกิดพิษกับรางกายได 3. ทางผิวหนัง โดยการแทรกซึมของสารพิษเขาทาง ผิวหนัง เชน ละอองสารพิษปลิวถูกผิวหนัง สารพิษหกโดนผิวหนัง อันตรายจากสารพิษอาจไมแสดงอาการทันที แตอาจ สะสมไวในรางกายแลวแสดงอาการภายหลัง จนไมอาจทราบสาเหตุของอาการเจ็บปวยได ลักษณะอาการที่เกิดจาก สารเคมีกําจัดแมลงอาจมีอาการไดหลายอยาง เชน อาจเกิดฤทธิ์ทําลายระบบประสาท สายตาฟาฟาง มือสั่น ตัวสั่น บางครั้งปวดศีรษะอยางรุนแรงจนถึงชีวิตได นอกจากนี้ยังพบวาผูที่ไดรับสารพิษจากสารกําจัดศัตรูพืชมีอาการ ทีแ่ ตกตางออกไป เชน ออนเพลีย ปวดศีรษะ แนนหนาอก มองเห็นภาพไดลางเลือน มานตาหรี่ นํา้ ลายและ เหงือ่ ออกมาก คลื่นไส อาเจียน ทองรวง และปวดทอง เปนตน

10


ปจจุบนั เกษตรกรมีแนวโนมในการใชปยุ เคมีและสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื มากขึน้ เพราะการใชปยุ เคมีสามารถทําใหพชื เจริญเติบโตดี การกําจัดศัตรูพชื เห็นผลเร็วและชัดเจน และเพิม่ ผลผลิตทันกับความตองการของผูบ ริโภค นอกจากนีผ้ ผู ลิต และจําหนายสารเคมี มีการโฆษณาชวนเชือ่ ใหเห็นผลของการใชสารเคมี ทําใหเกษตรกรเชือ่ และมีความตองการใชสาร เคมีมากยิง่ ขึน้ จนไมสามารถปรับเปลีย่ นวิธกี ารผลิตโดยการลดการใชสารเคมีลงได พิษภัยจึงตกอยูก บั ผูบ ริโภค ซึง่ ผลนี้ สอดคลองกับการเจ็บปวยของคนไทยในปจจุบนั ทีป่ ว ยดวยโรคมะเร็งสูงขึน้ แซงหนาโรคอืน่ ๆ ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากการ รับประทานอาหารทีม่ สี ารพิษสูงถึง 60% ดังนั้นควรเรงปองกันปญหานี้โดยสงเสริมใหเกษตรกรหันมาใชสมุนไพรและสารชีวภาพกําจัดศัตรูอยางแพรหลาย

เอกสารอางอิง “สถานการณปญ  หาสุขภาพของเกษตรกรและการควบคุมสารกําจัดศัตรูพชื .(ออนไลน).เขาถึงไดจาก http//:www.biothai.net/document “อันตรายจากยาปราบศัตรูพชื ” (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http//:www.doctor.or.th/nord/5592

11


ปที่ 23 ฉบับที่ 7 ประจําเดือน กรกฏาคม 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.