จดหมายข่าวโครงการหลวง มิถุนายน 2561

Page 1

ปที่ 26 ฉบับที่ 6 ประจําเดือน มิถุนายน 2561

องคมนตรี และ คณะกรรมการบริหารมูลนิธิโครงการหลวง ตรวจเยี่ยมงานคัดบรรจุและแปรรูปผลิตภัณฑ โครงการหลวง

1


ขาวทั่วไป NEWS UPDATE

องคมนตรีและกรรมการมูลนิธโิ ครงการหลวง ตรวจเยีย่ มการปฏิบตั งิ านโครงการหลวง วันที่ 24 พฤษภาคม 2561 คณะองคมนตรีและกรรมการมูลนิธโิ ครงการหลวง ประกอบดวย พล.อ.กัมปนาท รุดดิษฐ องคมนตรี พล.ร.อ.พงษเทพ หนูเทพ องคมนตรี พรอมดวย พล.ร.อ.ปวิตร รุจเิ ทศ รอง ผบ.นถปภ.รอ. และคุณจันทนี ธนรักษ รองราชเลขานุการในพระองค พรอมคณะ เดินทางไปตรวจเยีย่ มและติดตามการดําเนินงานแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ โครงการหลวง ณ อาคารแปรรูปและพัฒนาผลิตภัณฑ อาคารคัดบรรจุผลิตผล ในศูนยผลิตผลโครงการหลวง ต.แมเหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม แวะเยี่ยมชมรานจําหนายสินคาโครงการหลวง สาขาแมเหียะ รวมทั้งเยี่ยมชมกระบวนการผลิตกาแฟอาราบิกา และ การผลิตผลิตภัณฑจากสมุนไพรโครงการหลวง ภายในโรงงานแปรรูป ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยมี พล.ท.วิจกั ขฐ สิรบิ รรสพ แมทพั ภาคที่ 3 พล.ต.สาธิต ศรีสวุ รรณ ผูบ ญั ชาการมณฑลทหารบกที่ 33 พล.ต.ท.พูลทรัพย ประเสริฐศักดิ์ ผูบ ญ ั ชาการตํารวจภูธรภาค 5 นายศุภชัย เอีย่ มสุวรรณ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย และ นายปวิณ ชํานิประศาสน ผูว า ราชการ จังหวัดเชียงใหม พรอมทั้งอาสาสมัคร และเจาหนาที่โครงการหลวง ใหการตอนรับ

2


คายพัฒนายุวเกษตรโครงการหลวง 2561 เมือ่ วันที่ 3-4 และ 10-11 พฤษภาคม 2561 งานพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข มูลนิธโิ ครงการหลวง ไดจดั คาย พัฒนายุวเกษตรกรโครงการหลวง กลุมศูนยที่ 7 ขึ้น โดยไดแบงเปน 2 กลุม คือกลุม 1 วันที่ 3 - 4 พฤษภาคม 2561 ณ ศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงหนองหอย อ.แมรมิ จ.เชียงใหม มีตวั แทนยุวเกษตรกรโครงการหลวงในพืน้ ทีศ่ นู ยฯ หนองหอย แมสาใหม แมหลอด และแมแพะ จํานวน 41 คน และ กลุม 2 วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2561 ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ อ.สะเมิง จ.เชียงใหม มีตวั แทนยุวเกษตรกรโครงการหลวงในพืน้ ที่ สถานีฯ ปางดะศูนยฯ ทุง เริง ทุง เรา หวยเสีย้ ว มอนเงาะ จํานวน 44 คนเขารวมกิจกรรม ซึง่ ประกอบดวย การรับฟงการบรรยายการดําเนินงานของมูลนิธโิ ครงการหลวง การเขา ฐานเรียนรูแ ละฝกปฏิบตั งิ านดานเกษตร ไดแก กลุม 1 ฐานวิทยาการหลังการเก็บเกีย่ วผลผลิต ฐานการสงเสริมการผลิต พืชผัก ฐานการสงเสริมการผลิตไมผลขนาดเล็ก ฐานการสงเสริมปศุสัตวและปุยหมัก กลุม 2 ฐานการเพาะกลาพืชผัก ฐานการขยายพันธุไ มผล ฐานการสงเสริมการผลิตไมผลขนาดเล็ก ฐานการจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว ฐานงานอารักขาพืช, งานวิเคราะหสารเคมีตกคางฯ ฐานการสงเสริมการผลิตไผรวมถึงการวางแผนการดําเนินงานของกลุม ยุวเกษตรและเรียนรู วิธีบันทึกรายงานการทํางานเพื่อจัดเก็บเปนขอมูลรายบุคคลของสมาชิกยุวเกษตรกรโครงการหลวง

คายพัฒนายุวเกษตรกรโครงการหลวง เริ่มดําเนินงานเมื่อป 2560 ตาม โครงการยุวเกษตรกรโครงการหลวง เพือ่ สนับสนุนและสงเสริมเยาวชนระหวาง อายุ 14-25 ที่มีความสนใจใหมีความรู ทักษะในการทําการเกษตรทั้งทฤษฎี และฝกปฏิบตั กิ าร ไดเรียนรูพ ระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ตอการดําเนินงานของมูลนิธโิ ครงการหลวง มีการปลูกฝงจิตสํานึกในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และการดํารงชีวิตภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งใน ป 2561 จะดําเนินการ จัดอบรมทัง้ สิน้ 9 กลุม คาดวาจะมีเยาวชนใหความสนใจเขารวมโครงการ กวา 500 คน โดยไดรบั การสนับสนุนงบประมาณสวนหนึง่ จากสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) การทางพิเศษ แหงประเทศไทยและมูลนิธิกลุมอีซูซุ

3


สัมมนาแผนยุทธศาสตรและการบริหารและการตลาด เมือ่ วันที่ 8-11 พฤษภาคม 2561 ฝายตลาด มูลนิธโิ ครงการหลวง จัดสัมมนาแผนยุทธศาสตรและการบริหารและ การตลาด การนําเสนอผลการดําเนินงานฝายตลาด ป 2561 และนําเสนอแผนการดําเนินงานฝายตลาดตามแผน ยุทธศาสตร 3 ป (ป 2562-2564) ของสวนงานตางๆ ของฝายตลาด และไดเขาศึกษาดูงานที่สวนสมุนไพรสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต.มาบขา กิ่ง อ.นิคมพัฒนาฯ จ.ระยอง เพื่อดูงานการเกษตรในโรงเรือน ดวยนวัตกรรมการใชพลังงานความเย็นจากกระบวนการแยกกาซธรรมชาติ และโครงการศูนยบริการการพัฒนาปลวกแดง ตามพระราชดําริ จากนั้นไดเดินทางไปสถานีพัฒนาทรัพยากรปาชายเลน ที่ 1 (ระยอง) ต.เนินฆอ อ.แกลง จ.ระยอง ทํากิจกรรมปลูกตนตนโกงกางเพื่ออนุรักษธรรมชาติชายฝงทะเล

4


โครงการหลวงรวมงานมหัศจรรยพืชพันธุโครงการหลวง จากดอยสูเมือง ที่ลําปาง เมือ่ วันที่ 9-13 พฤษภาคม 2561 มูลนิธโิ ครงการหลวง รวมกับศูนย การคาเซ็นทรัลพลาซา ลําปาง สืบสาน รักษา ตอยอดงานโครงการหลวง นําสินคาดี อรอย สูเ มืองรถมา ในงาน “มหัศจรรยพชื พันธุโ ครงการหลวง จากดอยสูเ มือง” มีการจัดจําหนายสินคาคุณภาพ ทัง้ ผักผลไมเมืองหนาว สินคาสมุนไพรแปรรูป ผลิตภัณฑดอกไมแหง สินคาหัตถกรรม และ ผลิตภัณฑตา งๆ จากมูลนิธโิ ครงการหลวง และไฮไลตพเิ ศษ “ลูกพีช” และ “ลูกพลัม” ผลไมเมืองหนาวที่นํามาจําหนายเฉพาะในงาน และการจัด แสดงนิทรรศการโครงการหลวง ในแนวคิด “ชวยชาวเขา ชวยชาวเรา ชวยชาวโลก” บริเวณ ชัน้ 1 ลานรถมา ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา ลําปาง

5


ขาวจากดอย N E W S

U P D A T E

Í‹Ò§¢Ò§

วันที่ 2-8 พฤษภาคม 2561 งานพัฒนาและสง เสรมิ อาชีพสถานีเกษตรหลวงอางขางรวมกับโครงกา รพัฒนา เยาวชนบนพื้นที่สูง สถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องคการมหาชน) จัดอบรมงานซอมรถจักรย าน และ เครอื่ งยนตขนาดเล็กเพือ่ การประกอบอาชีพ ให แกเยาวชน จากหมูบานสงเสริมของสถานีฯ อางขาง จํานว น 20 คน เพื่อเปนการเสริมสรางความรู ความเขาใจ และทักษะ การซอมรถจักรยานยนตและเครื่องยนตขนาดเล ็ก และ สามารถนําความรูไ ปใชป ระกอบอาชพี ได โดยมี คณาจารย จากวิทยาลัยการอาชีพฝางเปนวิทยากรใหความ รู 6


ÍÔ¹·¹¹·

วันที่ 10-11 พฤษภาคม 2561 กลุม เกษตรกรไมดอกและนัก วิชาการสงเสริมเกษตร จ.นครราชสีมา จํานวน 70 ทาน ศึกษาดูงานไม ดอก ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท และ หนวยวิจยั ขุนหวยแหง โดยไดศกึ ษาเรียนรูก ระบวนการ ปลูกไมดอกตัง้ แตเริม่ ตน การจัดการภายในแปลงจนถึงกระบวนการจัดสง เพือ่ นําความรูด า นการ ผลิตไปเพิม่ มูลคา และสงเสริมการปลูกไมดอกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอไป

7


คลินิกพืช NEWS UPDATE

แมลงวันแตง

mel o n f l y ชื่อวิทยาศาสตร : Bactoceracucurbitae จัดเปนแมลงวันผลไมอีกชนิดหนึ่งที่สรางความเสียหายใหกับผลผลิต การเกษตรของโลก ทําความเสียหายแกพืชผักมากที่สุดโดยเฉพาะพืชใน ตระกูลแตง (Cucurbitaceae) ลักษณะไขมีสีขาว ยาวรีคลายเมล็ดขาวสาร ตัวหนอนมีลําตัวบางใสสีขาวหรือสีครีม ไมมีระยางคยื่นออกมาจากลําตัว มีปากอยูท างดานหนาสุดของลําตัว ตัวหนอนจะกินเนือ้ ผลของพืชเปนอาหาร เมื่อตัวหนอนโตเต็มที่จะดีดตัวออกจากผลพืชที่อาศัยและทิ้งตัวลงดินเพื่อ พัฒนาเปนดักแด ดักแดมลี กั ษณะปอมรีคลายตุม ไมมสี ว นทีเ่ ปนรยางคยนื่ ออกมา ในระยะที่เขาดักแดใหมๆ จะมีสีขาวหรือสีเหลืองออน หลังจากเขาดักแดได 1-2 วัน จะเปลีย่ นเปนสีนาํ้ ตาลปนเหลืองทอง เมือ่ อายุมากขึน้ จะเปลีย่ นเปน สีนํ้าตาลเขมซึ่งเปนระยะที่ดักแดใกลจะฟกออกมาเปนตัวเต็มวัย

8


ลักษณะของตัวเต็มวัยบริเวณหัวมี ตารวมโตสีนาํ้ ตาลปนแดง ลําตัวเปนสีนาํ้ ตาลแดง บริเวณกึง่ กลางสันหลังอกดานบน และขางลําตัวมีแถบสีเหลืองลากตามความยาวของลําตัว 3 แถบ ปกมีลักษณะเปนแผนบางๆ ที่บริเวณปลายปกจะมี จุดสีนํ้าตาลไหมและมีแถบตามขวางบริเวณขอบปลายปก สวนปกคูหลังจะลดรูปไปเปนปุม สวนทองดานบนจะมองเห็น เสนสีดาํ ใหญพาดตามขวางของสวนทอง 1 เสน มองดูคลายกับเปนเสนแบงปลอง และตรงกลางเสนจะมีเสนสีดาํ เชือ่ มตอ ไปจนถึงปลายสุดของสวนทองปลองสุดทาย ในเพศเมียจะปรากฏอวัยวะวางไข (ovipositor) ชัดเจนที่ปลายสวนทอง โดยทัว่ ไปตัวเต็มวัยจะมีอายุประมาณ 5 เดือน จะเริม่ ผสมพันธุห ลังจากออกจากดักแดแลว 10-12 วัน แมลงวันแตงเพศเมีย หลังจากไดรับการผสมพันธุแลว ตลอดอายุขัยสามารถวางไขไดมากกวา 1,000 ฟอง

รูปภาพที่ 1 แสดง (ก) ระยะหนอน (ข) ระยะดักแด และ (ค) ตัวเต็มวัย ลักษณะการทําลายผลทีถ่ กู แมลงวันแตงทําลายจะมีสไี มสมํา่ เสมอและรวงกอนผลสุก ถาหากสังเกตดูจะพบรูเล็กๆ อยูกึ่งกลางผล ซึ่งเกิดจากตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไขภายในผลของพืชผัก เมื่อไขฟกเปนตัวหนอนก็จะชอนไชกัดกินเนื้อ ของผลทําใหผลผลิตมีรอยแผลเนาอยูภ ายใน และทําใหแมลงและเชือ้ โรคอืน่ ๆ เขาทําลายตอจนผลผลิตเสียหายไมสามารถ จําหนายได มักพบในพืชอาศัยเชน มะเขือเทศ มะละกอ แตงโม ตําลึง แตงกวาฟกทอง บวบ มะระ

9


การปองกันและกําจัด 1. วิธีเขตกรรม เชน ทําความสะอาดแปลงปลูก โดยการเก็บผลทีร่ ว งหลนทําลาย เพือ่ ลดแหลง เพาะพันธุของแมลงวันแตง หรือทําลายพืช อาศัยที่อยูรอบๆ แปลงปลูกพืช 2. การใช นํ้ามันป โตรเลียม ไดแก เอส เค 99 83.9% อัตรา 60 มิลลิลติ ร/นํา้ 20 ลิตร พนทัว่ เวลาเชา ไมควรขณะแดดรอนจัดเพราะอาจทํา ใหพืชใหมได 3. การใช สารชีวภัณฑ ในการป องกันกําจัด เชน เชื้อราบิวเวอเรีย เชื้อราเมตาไรเซี่ยมหรือใชสารสกัดจากสมุนไพร ฉีดพนเพื่อขับไลไมใหตัวเต็มวัยของแมลงวันแตงมาวางไข เชน สะเดา ตะไครหอม 4. การห อผล ใชถุงหอหรือกระดาษหอผลผลิต เพื่อปองกันการเจาะของตัวเต็มวันเพศเมีย ควรหอคลอบคลุมทั้งผล และเริ่มหอเมื่อติดผลเล็กๆ กอนเริ่มสุก 5. การใช สารล อ ก. การใชสารลอแมลงวันผลไมตัวผู สารเคมีที่ใชเปนสารลอนี้จะสามารถดึงดูดไดเฉพาะแมลงวันแตงตัวผูเทานั้น และการใชสารลอนัน้ จะตองคํานึงถึงแมลงทีต่ อ งการใหเขามาในกับดักดวย เพราะแมลงวันแตงจะมีความเฉพาะ เจาะจงกับสารลอแตละชนิด โดยสารลอที่มีประสิทธิภาพในการดึงดูดแมลงวันแตง Bactroceracucuritae ไดดี คือ สารดึงดูดแมลงวันแตง (ศูนยอารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง) ข. การใชเหยือ่ พิษ โดยการนําเอายีสตโปรตีนออโตไลเสท (Protein autolysate) ผสมกับสารฆาแมลงมาเปนเหยือ่ ลอ แมลงวันแตงโดยใชยสี ตโปรตีนออโตไลเสท 800 ซีซี ผสมสารมาลาไธออน 83% จํานวน 280 ซีซี ผสมนํา้ 20 ลิตร พนเปนจุดๆ บริเวณรอบแปลงปลูก ไมจําเปนตองพนใหโดนผลผลิต อางอิง : ศูนยอารักขาพืช มูลนิธโิ ครงกราหลวง (2560), คําแนะนําการปองกันศัตรูพชื ในมูลนิธโิ ครงการหลวง ปพ.ศ.2560, เอกสารวิชาการ พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2560, 96 หนา รศ.ดร. จิราพร และคณะ (2558), การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑกับดักสารลอเพื่อควบคุมแมลงวันแตง Bactroceracucurbitae บนพืน้ ทีส่ งู , ผลงานวิจยั มูลนิธโิ ครงการหลวงและสถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (มหาชน) ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2558 จ.ตราด

กดติดตาม ขาวสารและกิจกรรมของมูลนิธิโครงการหลวง ไดที่

10


แนะนําของอร อย จากดอยในโครงการหลวง

ข าวโพดคลุก ควิ นั ว /ลาบควิ นั ว ข าวโพดหวานสุก คลุกกับควินวั หุงสุก ผสมกับ งาดําคัว่ รสชาติกลมกล อม ไม หวานหรือเค็ม เกินไป ให คณ ุ ค าทางอาหารสูง เหมาะกับทุกเพศ ทุกวัย ส วน ลาบควินวั คงรสชาติความจัดจ าน ของลาบได อย างไม เสียรส เสิรฟ พร อมผักสด เป นมื้อหลัก หรือ มื้อทานเล น ก็ ได มีจําหน ายที่ สวนกุหลาบหลวง ศูนย พฒ ั นาโครงการหลวง ทุ งเริง อ.หางดง จ.เชียงใหม สถานที่ สวนกุหลาบหลวง ศูนย พัฒนาโครงการหลวงทุ งเริง อ.หางดง จ.เชียงใหม

11


4. รานโครงการหลวง สาขา เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต ตั้งอยูในศูนยการคาเชียงใหม แอรพอรต โซน ชั้น G บริเวณโซนกาดหลวง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

10. รานโครงการหลวง สาขา มูลนิธิพระดาบส 384-386 ถนนสามเสน ฝงตรงขามหอสมุดแหงชาติ เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-2282-8361 เปดทําการวันจันทร-วันเสาร เวลา 07.00-19.00 น.

ปีที่ 26 ฉบับที่ 6 ประจําเดือน มิถุนายน 2561


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.