วารสารโครงการหลวง ปีที่ 20 พ.ศ 2559

Page 1



สารบัญ ปที่ 20 ฉบับที่ 3 ป พ.ศ. 2559

บทบรรณาธิการ กิจกรรมเดน ดี-สนุก

2 3 6

• เยือนถิ่นผาตั้งดินแดนแหงขุนเขา ชมทะเลหมอก 2 ประเทศ

วัตถุประสงค เพื่อนำเสนอขาวสาร ความเคลื่อนไหวในดานตาง ๆ ของ มูลนิธิโครงการหลวง รวมทั้งเผยแพรผลงานทางวิชาการ แนะนำผลิตผลและผลิตภัณฑของมูลนิธิฯ เพื่อประโยชนตอ บุคลากรและผูสนใจทั่วไป

มูลนิธิโครงการหลวง เลขที่ 65 หมู 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 โทรศัพท 053-810765-8 โทรสาร 053-324000 http://www.royalprojectthailand.com E-mail : pr.rpf@hotmail.com

พิมพที่ บริษัท ทรีโอ แอดเวอรไทซิ่ง แอนด มีเดีย จำกัด 412/31 เชียงใหมแลนด ถ.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท 053-272079, 053-272081 E-mail : trio_cm@hotmail.com, iamtrio@gmail.com

บริษัท เอ็น พี เอส สยาม สอบบัญชี จำกัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300

ดี-อรอย

10

กาวใหม

14

ชุมชนนาอยู

20

บุคคลในเรื่อง

26

คลินิกพืช

29

เกร็ดและแกนโครงการหลวง

34

นิทานชาวดอย

39

• โจกขาวดอยใสบีทรูทเสิรฟกับหมูบะชอปวยเหล็ง สลัดมะระขาวเสิรฟกับกุงกามแดงและผักรวม

• สตรอเบอรี่พันธุพระราชทาน 88 • ชุมชนบานหวยน้ำกืน • เกษตรอินทรียบานเมืองอาง ความปลอดภัยจากตนน้ำสูปลายน้ำ • ปลวกและการปองกันกำจัด • เรื่องเลาจากหนังสือ หนูๆ ๆ ๆ • ตนขาวนำโชค


2

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

คณะผูจัดทำ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ หมอมเจาภีศเดช รัชนี

ที่ปรึกษา

คุณหญิงประจิตต กำภู ณ อยุธยา วิจิตร ถนอมถิ่น สุทัศน ปลื้มปญญา ดร.ณรงคชัย พิพัฒนธนวงศ

บรรณาธิการ

พรนันทน เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ผูชวยบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ EDITOR TALK

จุรีพร ชำนาญพล

กองบรรณาธิการ จารุวรรณ ยิ้มหิ้น มณทิรา ภิรมยศรี ดร.กุลธนี ผิวนิล ดร.อัญชัญ ชมภูพวง รัตนวารี ทองสงโสม สรัลรัศมิ์ กิจชาลารัตน ประไพพักตร คำเกิด ปวริศา กาญจนธารากุล วิภาดา จำรัสคำ

ศิลปกรรม

ประภาศรี พวงเงินมาก

พิสูจนอักษร อดุลย ชมพล สายชม ธเนศนิตย

สวัสดีแฟนคลับโครงการหลวงทุกทานคะ ตองขอขอบพระคุณทุกทานที่ติดตามขาวสาร สนั บสนุ นสิ นค า โครงการหลวง ดี อร อ ย และร วม ทองเที่ยวถิ่นชาวดอยโครงการหลวง ดี สนุก มาโดย ตลอด เพื่อใหเกิดความตอเนื่องในฤดูกาลทองเที่ยว ปลายฝนเข า สู ต น หนาวนี้ จึ ง ขอแนะนํ า ดอยผาตั้ ง ดินแดนแหงขุนเขากั้นเขตแดน 2 ประเทศ ไทย-ลาว ประตู ส ยามและทะเลหมอกที่ ส วยในระดั บ ต น ๆ ของแหลงทองเทีย่ วในประเทศไทย นอกจาก “ดี สนุก” ทองเที่ยวโครงการหลวงแลว ยังมีความ “ดี อรอย ที่จะขอแนะนํา นั่นคือ สตรอเบอรี่พันธุพระราชทาน 88 สตรอเบอรี่พันธุใหมลาสุดของโครงการหลวง ที่มี กลิ่นหอม รสชาติหวาน อรอยถูกปากผูบริโภคแนนอน รอซื้อกันไดในปลายปนี้


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

3

กิจกรรมเดน : Activities 5 สิงหาคม 2559 พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชา ทินดั ดามาตุ เสด็จไปทรงเปดงาน "โครงการหลวง 47" ซึง่ มูลนิธิ โครงการหลวงจัดขึ้นระหวางวันที่ 5-14 สิงหาคม 2559 ภายใตแนวความคิด "THE MIRACLE OF ROYAL PROJECT" เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องใน โอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ป และสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด

31 พฤษภาคม - 5 มิถุนายน 2559 มูลนิธิโครงการหลวง รวมกับ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) จัดงาน “Royal Project Signature dish” เพื่ อ สนั บ สนุ น และส ง เสริ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ ด า นอาหารจาก มูลนิธิโครงการหลวง โดยภายในงาน มีรานอาหารซึ่ง เปนเมนูไฮไลทที่ถูกคัดสรรมาจากโครงการหลวง 6 ดอย ไดแก สถานีเกษตรหลวงอางขาง อําเภอฝาง ศูนยพัฒนา โครงการหลวงหนองหอย (ม อ นแจ ม ) อํ า เภอแม ริ ม ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงเริง (สวนกุหลาบหวยผักไผ) อ.หางดง สถานีเกษตรหลวงอินทนนท อําเภอจอมทอง ศู น ย พั ฒ นาโครงการหลวงขุ น วาง อํ า เภอแม ว าง และ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงตีนตก อําเภอแมออน จังหวัด เชียงใหม ณ บริเวณลานกิจกรรมชั้น 1 ศูนยการคาเซ็น ทรัลพลาซา สาขาแจงวัฒนะ กรุงเทพฯ


4

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

4 -8 มิถุนายน 2559 มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงร ว มจั ด แสดงนิ ท รรศการ ในงาน Royal Bhutan Flower Exhibition 2016 ณ บริเวณ Paro Ugyen Pelri Palace ประเทศภูฏาน

13-16 มิถุนายน 2559 หมอมเจา ภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง และ คณะผูบริหาร เดินทางไปสาธารณรัฐจีน (ไตหวัน) เพื่อลงนาม ในบันทึกความเขาใจความรวมมือทางวิชาการ กับ International Cooperation and Development Fund (ICDF) และ National Chung Hsing University (NCHU) ระยะ 3 ป (ค.ศ. 2017-2019) พรอมทัง้ ไดเดินทางไปเยีย่ มชมกิจกรรมตางๆ ของ Veterans Affairs Commission (VAC) ไดแก Fushou Shan Farm และ Wu Ling Farm


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

5

5-7 กรกฎาคม 2559 มูลนิธิโครงการหลวง รวมกับศูนยการคาสยามพารากอนกําหนดจะจัดงาน “ROYAL PROJECT MARKET @ SIAM PARAGON ประจําป 2559” ขึ้น ณ ศูนยการคาสยามพารากอน กรุงเทพฯ ระหวาง วันที่ 22-26 กันยายน 2559 เพื่อเปนการประชาสัมพันธงาน จึงไดจัดกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร โดยนําสื่อมวลชนเยี่ยมชมกระบวนการผลิตพืชไร ไมผล และเห็ดชนิดตางๆ ในพื้นที่ของศูนยพัฒนา โครงการหลวงในจังหวัดเชียงใหม

6 -19 กรกฎาคม 2559 คณาจารย และนั ก ศึ ก ษา จาก National Chung Hsing University จาก สาธารณรั ฐ จี น (ไตหวัน) เขาเฝาหมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิ โครงการหลวง ณ สํานักงานมูลนิธิโครงการหลวง และเยี่ ย มชมการดํ า เนิ น งานในพื้ น ที่ ข องมู ล นิ ธิ โครงการหลวง


6

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

ดี-สนุก : Travel

เรื่องโดย นางสาวปริศนา ดวงนาค นักศึกษาฝกงาน สาขาการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เยือนถิ่นผาตั้งดินแดนแหงขุนเขา ชมทะเลหมอก 2 ประเทศ ศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงผาตัง้ ตัง้ อยูท ตี่ าํ บลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย มุง เนนการพัฒนา ดานการเกษตร การฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พัฒนาและสงเสริมเกษตรกร ใหมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น อีกทั้งยังมีแหลงทองเที่ยวภายในพื้นที่ของศูนย ที่พรอมตอนรับแขกผู มาเยือนใหมาสัมผัสธรรมชาติและไดพักผอน เกษตรกรจึงมีรายไดจากการทองเที่ยวเพิ่มขึ้น

"ดอยผาตั้ง" หนึ่งในสถานที่ทองเที่ยว

ของจั ง หวั ด เชี ย งราย ตั้ ง อยู ภ ายในพื้ น ที่ ข อง ศูนยพัฒนาโครงการหลวงผาตั้ง เปนยอดดอย ที่ตั้งอยูบนเทือกเขาดอยผาหมนสวนหนึ่งของ ทิ ว เขาหลวงพระบาง ซึ่ ง กั้ น เขตแดนระหว า ง ประเทศไทยและประเทศลาว ในอดีตบริเวณ บานผาตั้งเปนพื้นที่ที่รัฐบาลจัดสรรใหทหารจีน สังกัดกองทัพที่ 8 กองพล 93 มาตัง้ ถิน่ ฐาน ทําให มีหมูบานชาวจีนฮอ มง และเยาอยูรวมกัน


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

7

ดอยผาตั้ ง นั บ เป น สถานที่ ท อ งเที่ ย ว ที่ มี ค วามโดดเด น ทั้ ง ความงดงามทาง ธรรมชาติ ความหลากหลายของชาติพันธุและ ประวั ติ ศ าสตร ก ารสู ร บ ด ว ยภู มิ ป ระเทศ ที่ ตั้ ง อยู บ นเทื อ กเขาสู ง ทํ า ให ด อยผาตั้ ง มี สภาพภูมอิ ากาศทีห่ นาวเย็น ชาวบานประกอบ อาชี พ ทางการเกษตรโดยเน น ปลู ก พื ช เมื อ ง หนาว ทั้งผลไม ผัก และดอกไมหลากหลาย พันธุ ดอยผาตั้งมีจุดทองเที่ยวที่นาสนใจหลายจุดที่สามารถเที่ยวชมไดตลอดทั้งป จุดแรกคือบริเวณ จุดชมวิวผาบองประตูสยาม ที่เรียกวาผาบองนั้นเนื่องจากมีลักษณะเปนหนาผาหินปูนมีชองขนาดใหญ ทะลุถึงกันทั้งสองดานเหมือนประตู และคําวาบองนั้นมีความหมายวา ชอง หรือ รู นั้นเอง หากเราเดิน ลอดชองผาบองไปก็เปนอาณาเขตของลาว ผาบองจึงเปรียบเสมือนประตูจากประเทศไทยสูประเทศลาว เรียกกันวา "ผาบองประตูสยาม" “ผาบ อ ง” ยั ง ถู ก ขนานนามว า เป น “ประตู รั ก แห ง ขุ น เขา” มี เรื่ อ งราวที่ เ ล า สื บ ต อ กั น มาว า ในอดี ต นั้ น หนุ ม สาวต อ ง ชวยเหลือกันในการเดินทางผานชองเขา เพื่ อ ทํ า มาหาเลี้ ย งชี พ เกิ ด เป น ตํ า นาน ความรักแกคนรุนหลังวาถาคูรักจับมือกัน แลวเดินลอดผานชองเขาแหงนี้ไปดวยกัน เชื่ อ ว า จะช ว ยเสริ ม ความรั ก ของทั้ ง คู ใหแข็งแกรงดั่งภูผา จากชองผาบองเดินขึ้นไปอีกประมาณ 15 เมตรจะเปนเนินประดิษฐานพระพุทธมังคลานุภาพ ลาภสุ ข สั น ติ แ ละศาลาทรงเก ง จี น ที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ เป น อนุ ส รณ ส ถานให น ายพลหลี่ ผู นํ า ทหารจี น คณะชาติกองทัพที่ 3 ในอดีต หลังจากที่นายพลหลี่ไดรวมสงกําลังพลทหารยึดพื้นที่ดอยผาหมน และ ดอยยาว คืนจากผูกอการรายเปนผลสําเร็จ


8

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

ถัดจากศาลาทรงเกงจีนไปไมไกลนักจะมีหินปลายแหลมรูปทรงสูงๆ ขึ้นสลับซับซอนแทรกอยูในปา หญาสีเขียว มองดูคลายภูเขาในประเทศจีน จึงมีชื่อเรียกวาปาหินแหงนี้วา "ปาหินยูนนาน" อีกหนึ่งจุดชมวิวที่อยูไมไกลจากผาบองประตูสยามคือ จุดชมวิวชองผาขาด มีลักษณะเปนผาหิน ขนาดใหญที่ขาดแยกจากกันเปนชอง ในตอนบายหลังจากที่เมฆหมอกจางหายไปแลว จากบริเวณนี้ สามารถมองเห็นทิวทัศนของประเทศลาวและแมนํ้าโขงไดอยางชัดเจน เดิ น จากจุ ด ชมวิ ว ช อ งผาขาดลั ด เลาะป า หญ า สี เขี ย วขึ้ น เนิ น ไปจะพบเนิ น เขาลู ก หนึ่ ง เรี ย กว า จุดชมทะเลหมอกเนิน 102 เปนจุดที่สามารถชมทะเลหมอกและพระอาทิตยขึ้นที่กวางไกลสุดสายตา ทางฝงประเทศลาว และเปนจุดชมพระอาทิตยตกที่งดงามทางฝงไทย จากบริเวณนี้สามารถมองเห็น จุดหมายปลายทางสุดทายสําหรับการเดินทางคือ จุดชมทะเลหมอกเนิน 103 ที่กลาวไดวาเปนจุดชมวิว ที่สวยงามกวาทุกจุด บนดอยผาตั้ง มีกอนหินขนาดใหญตั้งอยูบนเนิน จากหนาผาสามารถชมวิวทิวทัศน ไดแบบ 360 องศา มองเห็นสันเขาคดเคี้ยว ทิวเขาสลับซับซอนเบื้องหนา ระหวางทางจากเนิน 102 ไปเนิน 103 รายลอมไปดวยตนหญาเขียวขจีและดอกไมปาสีสันสวยงาม นอกจากนี้ยังมีฐานปนกลหนัก หรือปนใหญที่ใชสูรบเมื่อครั้งอดีตหลงเหลืออยู

สําหรับใครที่เที่ยวแลวติดใจอยากอยูตอใหนานขึ้น ที่นี่ยังมีบานพักรีสอรท สถานที่กางเต็นทและ รานอาหารไวบริการอีกดวย หากคุณกําลังมองหาสถานที่และกิจกรรมสําหรับพักผอน ในวันหยุดสบายๆ ทามกลางทิวทัศน ทุงหญาและทิวเขาสลับซับซอน พรอมสัมผัสทะเลหมอกและสายลมเย็นๆ ลองมาที่ดอยผาตั้งสักครั้ง แลวคุณจะกลับบานไปพรอมกับรางกายและจิตใจที่เปยมพลังแนนอน


วารสารโครงการหลวง

การเดินทาง จากจั ง หวั ด เชี ย งราย ใช เ ส น ทางเชี ย งรายเวียงชัย-พญาเม็งราย-บานตา (ทางหลวงหมายเลข 1233, 1173 และ 1152) 50 กิโลเมตร บานตาบ า นท า เจริ ญ (ทางหลวง 1020) 45 กิ โ ลเมตร บานทาเจริญ-เวียงแกน-ปางหัด (ทางหลวง 1155) 17 กิโลเมตร และปางหัด-ดอยผาตัง้ อีก 15 กิโลเมตร แลวเดินเทาตอไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร จึงจะถึง จุดชมวิว 103 สภาพเสนทางบางชวงสูงชัน เปนพืน้ ที่ ซึ่งอยูในความดูแลของกองทัพภาคที่ 3

ROYAL PROJECT JOURNAL

ผาตั้ง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่

ศูนยพัฒนาโครงการหลวงผาตั้ง ตําบลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย โทร .086-181-6675,095-402-4290

กิจกรรมทองเที่ยว

ที่พัก ศูนยฯผาตั้ง

• ชมพระอาทิตยขึ้นตอนเชา ณ ดอย ผาตั้ง และเดินชมธรรมชาติรับฟงเรื่องราว ประวั ติ ศ าสตร ข องดอยผาตั้ ง จากไกด ทองถิ่น • ชมสวนสตรอเบอรี่ของเกษตรกร ชวง เดือน ธันวาคม-มีนาคม ของทุกปชาวบานจะ ปลูกสตรอเบอรีเ่ พือ่ จําหนาย แกนกั ทองเทีย่ ว เดินชมสวนและเลือกชิมสตรอเบอรี่สดๆ

ภายในศู น ย ไม ม ี ท ี ่ พ ั ก บริ ก ารแก นักทองเที่ยว ที่พักแนะนําใกลศูนยฯ ไดแก ผาตั้ ง ฮิ ล ล , บ า นกาแฟ, เหมยฮั ว รี ส อร ท , ชิว ชิว เกสเฮาส และพัชรี รีสอรท

รานอาหาร

รานคาของที่ระลึก

ภายในศูนยไมมีรานอาหารมีแตใกลๆ กับศูนย ที่นักทองเที่ยวนิยมไปรับประทาน ไดแก รานบานดิน และผาสุก ชิว ชิว เกสเฮาส สวนมากจะเปนอาหารจีนยูนนาน

มีรานคาจําหนายของที่ระลึก บริเวณ ทางขึ้ น ดอยผาตั้ ง และในชุ ม ชน ได แ ก สตรอเบอรี่ ผลผลิ ต ทางการเกษตรตาม ฤดู ก าล กาแฟสด ชา เสื้ อ และหมวก งานหัตถกรรมชาวเขา

9


10

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

โจกขาวดอยใสบีทรูทเสิรฟกับหมูบะชอปวยเหล็ง สูตรโดย ขาบ-สุทธิพงษ สุริยะ ฟูดสไตลิสตและเจาของ ขาบสตูดิโอ

สวนผสม ขาวดอยนึ่งสุก 500 บีทรูทหั่นชิ้น 80 หมูสันในบด 200 ปวยเหล็ง 30 ไขไก 2 ถั่วลันเตาหวานตมสุก 30 หอมหัวใหญสับละเอียด 1 กระเทียมสับละเอียด 2 ตนหอมญี่ปุน 20 หอมเจียว 20 นํ้าซุป 4 นํ้ามันพืช 2 ซอสหอยนางรม, ซีอิ๊วขาว, นํ้าตาล พริกไทย, เกลือ, ตามชอบ

กรัม กรัม กรัม กรัม ฟอง กรัม หัว หัว กรัม กรัม ถวย ชอนโตะ


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

11

วิธีทำ นําขาวดอยนึ่งสุกใสลงไปในเครื่องบดผสมอาหารพรอมกับบีทรูท เติมนํ้าซุปลงไปเล็กนอย ทําการ ปน สวนผสมใหเนียนละเอียด พักไวจากนัน้ นําหมูสนั ในบดและไขไกใสลงในชาม ตามดวย ผักปวยเหล็งสับ ตนหอมญี่ปุนสับ ปรุงรสดวย ซอสหอยนางรม ซีอิ๊วขาว นํ้าตาล พริกไทยและเกลือตามชอบนวดใหสวน ผสมเปนเนือ้ เดียวกัน แลวนําไปแชเย็นเพือ่ ใหสว นผสมเซ็ตตัว จากนัน้ นําเอามาปน เปนกอนกลมขนาดเล็ก พักไว เตรียมหมอใบใหญใสนํ้ามันลงไป ตามดวยกระเทียมสับ และหอมหัวใหญสับ ผัดใหมีกลิ่นหอม ใส หมูบะชอปวยเหล็งลงไปผัดใหสุกแลวตักขึ้น จากนั้นจึงนําขาวดอยปนบีทรูทเทใสหมอใบเดิมตามดวยนํ้า ซุปลงไป ปรุงรสตามชอบแลวนําหมูบะชอที่สุกและหอมเจียวลงไปในหมออีกครั้งคนใหสวนผสมเขากัน ตักใสถวยโรยหนาดวยถั่วลันเตาหวานหั่นเสน กอนเสิรฟ แหลงที่มา : จากหนังสือ โครงการหลวง 43 การสาธิตการประกอบอาหาร ลักษณะขาวไรบนพื้นที่สูง ของเกษตรกรชาวไทยภูเขา ซึ่งปลูกในสภาพ พื้นที่ความสูงจากระดับนํ้าทะเล 700-1,200 เมตร ลักษณะพันธุขาวไร ที่ปลูกจะมีความแตกตางกันตามลักษณะความสูงของพื้นที่ปลูกและที่อยู อาศั ย ของชาวเขา ซึ่ ง มี ค วามหลากหลายของพั น ธุ ข า วผสมผสานในชนิ ด ข า วที่ ป ลู ก ของเกษตรกร ซึ่ ง เป น ภู มิ ป ญ ญาและวิ ถี ใ นการปลู ก ข า วให เพียงพอกับการบริโภคตลอดทั้งป และลดความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศบนที่สูง โดยใชพันธุขาวที่ปลูกที่มีลักษณะแตกตางกัน ผสมในการปลูกของแตละพื้นที่และชนเผา จึงมีลักษณะพันธุขาวที่มีความ หลากหลายของสีเมล็ดขาว ตลอดทั้งขนาดความสั้น-ยาว ของเมล็ดขาวใน ขาวที่ปลูกในพื้นที่เดียวกัน ซึ่งทําใหขาวที่เก็บเกี่ยวมีลักษณะผสมผสานสี แตกตางกัน ทําใหการหุงตมขาวกลองมีสสี นั หลากหลายแตกตางและเมล็ดขาว ทั้งนุม เหนียว และรวน ผสมกันอยูในขาวที่หุงตม ซึ่งเปนเอกลักษณของพันธุ ขาวชาวไทยภูเขาบนพื้นที่สูง


12

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

สลัดมะระขาวเสิรฟกับกุงกามแดงและผักรวม สูตรโดย ขาบ-สุทธิพงษ สุริยะ ฟูดสไตลิสตและเจาของ ขาบสตูดิโอ

สวนผสม

น้ำยำ

มะระขาว 150 กรัม กุงกามแดงหรือกุงแมนํ้า 100 กรัม แตงกวายุโรป 80 กรัม มะเขือเทศเชอรรี่ 80 กรัม โอคลีฟเขียว 30 กรัม แรดิชชิโอ 30 กรัม หอมหัวใหญ 1 หัว แครอทหั่นแวนลวกสุก 30 กรัม กระเทียมสับ, หอมแดงเจียว, ถั่วลิสงบด ตามชอบ

นํ้าปลา นํ้ามะขามเปยก ซอสพริก นํ้าตาลทราย นํ้ามะพราว

3 2 1 1 ½

ชอนโตะ ชอนโตะ ชอนโตะ ชอนโตะ ถวย


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

13

วิธีทำ นํามะระขาวมาผาครึ่งตามยาวขูดเอาใสออกแลวหั่นชิ้นเล็ก จากนั้น นําไปขยํากับเกลือเพื่อลดความขมแลวจึงคอยนําไปตมใหสุกลางนํ้าสะอาด พักไว สําหรับกุงกามแดงหรือกุงแมนํ้า นําไปแกะเปลือกลวกใหสุกแลวนํา ขึ้นมาพักไว จากนั้นนําแตงกวายุโรปและหอมหัวใหญมาหั่น สําหรับนํ้ายํา ใหเตรียมชามใบใหญ ใสสว นผสมทัง้ หมดลงไปปรุงรสตามชอบใหไดรสเปรีย้ ว หวาน เค็ม และเผ็ดเล็กนอย นํานํ้ายําไปแชเย็นไว

วิธีเสิรฟ ใสมะระขาวลงจานตามดวยผักตางๆ และวาง กุงกามแดงหรือกุงแมนํ้าไวบนสุด ราดดวยนํ้ายํา ที่ออกนํามาจากตูเย็น โรยหนาดวยถั่วลิสงบด และหอมเจียว พรอมรับประทาน

ในทางโภชนาการมะระเปนผักที่มีคุณคาทางอาหารสูง มีฤทธิ์ทางยา มีความเชื่อวาความขม ของมะระเปนสมุนไพรรักษาโรคและบํารุงโลหิต ยาขมชวยเจริญอาหาร บํารุงนํ้าดี แกโรคปวด ตามขอ ขับพยาธิในทอง นํ้าคั้นจากผลมะระเปนยาระบาย ผลมะระนํามาหั่นตากแหงชงกับนํ้ารอน ใชดื่มแทนนํ้าชา แกโรคเบาหวาน

แหลงที่มา : จากหนังสือ โครงการหลวง 43 การสาธิตการประกอบอาหาร : คุณประโยชน จากเว็บไซต http://hkm.hrdi.or.th/


14

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

กาวใหม : Feature

สตรอเบอรี่พันธุพระราชทาน 88 คณะผูวิจัย : ณรงคชัย พิพัฒนธนวงศ1, Hiroshi Akagi2, ประภัสสร ณะคํา3, พรปวีณ ปนดอนตอง3, ศิวาภรณ หยองเอน3 และเวช เตจะ1

ขอมูลประจําพันธุทางพฤษศาสตร ชนิดพืช : สตรอเบอรี่ (Strawberry : Fragaria x ananassa Duch.) ชื่อพันธุ/สายพันธุ : พระราชทาน 88 (Pharachatan 88)

แหลงที่มาและประวัติของพันธุ สตรอเบอรี่พันธุ พระราชทาน 88 หรือ รหัส No.2 เปนลูกผสมระหวางพันธุพระราชทาน 80 และพันธุพระราชทาน 60 โดยไดทําการผสมพันธุ ในโครงการวิจัย โครงการปรับปรุงพันธุและทดสอบ พันธุสตรอเบอรี่ เมื่อปลายป พ.ศ. 2550 (รหัสโครงการที่ 3025-3637 ปงบประมาณ 2551 งบประมาณ วิจัยของมูลนิธิโครงการหลวง) และ ตั้งแตป 2552 เปนตนมา ไดขยายพันธุโดยการผลิตตนไหลและปลูก ทดสอบพันธุเพื่อคัดเลือกสายพันธุ ในโครงการวิจัย โครงการปรับปรุงพันธุและทดสอบพันธุสตรอเบอรี่ (ระหวางป พ.ศ. 2552-2559 งบประมาณวิจัยของสถานีเกษตรหลวงอางขาง) ในพื้นที่แปลงทดลองของ สถานีเกษตรหลวงอางขาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

15

ประเภท : เปนสตรอเบอรี่รับประทานผลสด ระบบราก : ตนที่สมบูรณโดยปกติมีรากหลัก

ประมาณ 20-30 ราก และมีรากแขนงเล็กๆ ถือวา เปนตนที่มีระบบรากที่ดี ราก Primary root เริ่ม เจริญจากสวนลําตนและเจริญอยางรวดเร็วจน อาจมีความยาวหลายนิ้ว เนื้อเยื่อตรงกลางราก (Stele) เปนสีขาวและชี้ถึงความสมบูรณของตน รากโดยทั่วไปมีอายุประมาณ 1 ป

ตน : Crown หรือ ลําตน ปกติมีขนาดยาวประมาณ 2 เซนติเมตร และสวนนอกจะถูกปกคลุมโดยการ

ซอนกันของสวนที่เรียกวาหูใบ (Stipules) ความสูงของทรงพุม 25-30 เซนติเมตร ความกวางทรงพุม 20-30 เซนติเมตร และมีการแตกของลําตนสาขา (Branch crown) ในระดับดี

ใบ : ใบสวนใหญเปน 3 ใบยอย (Trifoliate) แตในใบออนจะมีใบยอย 3-4 ใบ รูปทรงรี ขอบใบหยัก

คลายฟนเลื่อย สีเขียวปานกลางถึงเขียวเขม ใบยอยกวาง 4-6 เซนติเมตร ยาว 5-7 เซนติเมตร จํานวนใบ มากกวา 40 ใบตอตน มีกานใบหนาและความยาวปานกลางเฉลี่ย 11-13 เซนติเมตร

ดอก : ชอดอกสมบูรณประกอบดวย 1 ดอกของดอก Primary, 2 ดอกของดอก Secondary,

4 ดอกของดอก Tertiary, และ 8 ดอกของดอก Quaternary แตอาจพบชอดอกหลายๆ รูปแบบ ดอกเกือบทั้งหมดเปนดอกสมบูรณเพศ (Perfect-flowered หรือ Hermaphrodite) ชอดอกตั้งตรง โผลพนจากทรงพุม จํานวนชอดอกมากกวา 10 ชอตอตน เสนผาศูนยกลางดอก 2-3 เซนติเมตร เกสร ตัวเมียถูกจัดเรียงแบบเวียนอยางมีระเบียบบนสวนของฐานรองดอก ซึ่งสังเกตจากลักษณะของเมล็ด ที่ อ ยู บ นผลถู ก จั ด เวี ย นอย า งมี ร ะเบี ย บเช น กั น ละอองเกสรตั ว ผู ท นทานต อ สภาพอากาศร อ นและ เย็นไดดีเกสรตัวผู 20-25 อัน สีของกลีบดอกเปนสีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียวออนถึงเขียว ขนาดใหญ จํานวน 10-12 กลีบ

............................................................................................................................................................... 1คณะเกษตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และอาสาสมัครนักวิจัยมูลนิธิโครงการหลวง, 2อาสาสมัคร นักวิจัยมูลนิธิโครงการหลวง, 3มูลนิธิโครงการหลวง


16

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

ผล : ส ว นฐานของดอกเรี ย กว า Receptacle

หรื อ ฐานรองดอกซึ่ ง พั ฒ นาไปเป น ส ว นที่ ส ามารถ รับประทานไดเปนเนื้อของผล ตําแหนงของเมล็ดอยู ระดับเดียวกับผิวผล หรือสูงกวาเล็กนอย ไมมีขนติด ที่ผิวดานนอกผล นํ้าหนักผลเฉลี่ย 17-20 กรัม ขนาด กวางและยาวเฉลีย่ มากกวา 2.5 เซนติเมตร โดยทัว่ ไป เปนรูปทรงกรวย (Conic) ถึงทรงกลมปลายแหลม (Globose conic) ผิวผลสีสมแดงถึงแดงสด เนื้อผล สีแดงสลับขาว ความแนนของเนื้อผล (Firmness) คอนขางดี รสชาติดมี าก รสหวานและมีกลิน่ หอมและ หอมจัดเมือ่ ผลสุกเต็มที่ โดยเฉพาะเมือ่ รับประทานจะ สัมผัสไดถึงกลิ่นหอมของสตรอเบอรี่มากยิ่งขึ้น

ลักษณะอื่นๆ จัดเปนสตรอเบอรี่ประเภทวันสั้น (Short day type) และตองการความหนาวเย็นปานกลาง (ประมาณ 15-18 ° C) เปนชวงเวลา 20-30 วันสําหรับกระตุนใหเกิดการสรางตาดอกของเนื้อเยื่อเจริญ ที่ปลายยอดของลําตน ระยะเวลาจากดอกบานถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตเทากับ 60 วัน (พันธุเบา) ดังนั้น เพื่อเปนการรวมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมี พระชนมายุครบ 88 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม 2558 ทางมูลนิธิโครงการหลวง จึงไดขอพระบรม ราชานุญาตใชชื่อ สตรอเบอรี่สายพันธุใหมนี้วา พันธุพระราชทาน 88 สําหรับใชในการสงเสริมใหกับ เกษตรกรผูปลูกสตรอเบอรี่ และเพื่อความเปนสิริมงคลสืบตอไป


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

ลักษณะดอก

ลักษณะผล

ลักษณะผล

ลักษณะผล

17


เคปกูสเบอรี่ เคปกูสเบอรี่ หรือ “โทงเทงฝรั่ง” เปนผลไมในกลุมเบอรี่ผลกลมเล็ก เมื่อผลสุก จะเปนสีเหลืองอมสม ซอนอยูในกลีบบางๆ สีเหลืองออนคลายเยื่อกระดาษ หากผา เขาไปดูเนื้อดานในผลสุกเนื้อเปนสีเหลือง ฉํ่า รสชาติออกเปรี้ยวอมหวาน มีกลิ่นหอม อุดมไปดวยวิตามินซี วิตามินเอ และจากผลของการคนพบในทางการแพทยในยุค ปจจุบันรายงานวา ผลเคปกูสเบอรี่สดถูกพบวาเปนแหลงธรรมชาติที่ดีของสารตอตาน อนุมูลอิสระ (antioxidants) สามารถลดการเจริญเติบโตของเซลลมะเร็ง และหยุดยั้ง การเจริญเติบโตของเซลลเนื้องอกไดอยางชัดเจน

เคปกู ส เบอรี่ ส ว นมาก จะนิ ย มทานเป น ผลสดๆ หรือไมกน็ าํ มาชุบช็อคโกแลต และ จุ ม นํ้ า ผึ้ ง ใส ใ นสลั ด ทํานํ้าผลไม หรือแยม

มีจําหนายที่รานโครงการหลวง (ตามฤดูกาล) แหลงที่มาจาก: www.emaginfo.com และ http://www.thairath.co.th


สตรอเบอรี่พันธุพระราชทาน 88 สตรอเบอรี่พันธุพระราชทาน 88 เป น ลู ก ผสมระหว า งพั น ธุ พ ระราชทาน 80 กับพันธุพระราชทาน 60 โดยไดรับ พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว เพื่อเฉลิมพระเกียรติใน โอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษา 5 ธันวาคม 2558

รูปรางของผลคลายหัวใจมากกวาสายพันธุอื่น ผิวสวย ไมมขี นติดผิวผล ขนาดของผลคอนขางสมํา่ เสมอ สีสมแดงถึงแดงสด เนื้อละเอียดแนน สีแดงสลับขาว หวานกว า สายพั น ธุ อื่ น แทบจะไม มี ร สเปรี้ ย วติ ด กลิ่นหอมโดดเดนกวาทุกสายพันธุที่เคยมีมา ที่สําคัญ รับประทานแลว เนื้อสตรอเบอรี่แทบละลายในปาก ผสานกับความหอมหวานที่มิอาจพบไดในสายพันธุอื่น


20

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

ชุมชนนาอยู

ชุมชน บานหวยน้ำกืน ประวัติ-ความเปนมาของหมูบาน เมื่อราวประมาณป พ.ศ. 2425 ไดมีกลุมคนจากบานสาขันหอม ต.แมเจดีย เขามาหาของปาและไดพบ ตนเมี่ยง (ชา) ขึ้น จึงไดชักชวนกันมาถางหญาบริเวณตนเมี่ยง และตั้งรกรากอยูบริเวณทิศใตของหมูบาน หางจากหมูบานปจจุบันประมาณ 200 เมตร มีครอบครัว ประมาณ 5 ครัวเรือน โดย มีพออุยหนาน ปนตา พออุยคํา พีระ พออุยกา วิตา ซึ่งมีตนตระกูล กาวิโล เปนแกนนําในการจัดตั้งหมูบาน ตอมาไดมีผูคนเขามาอยูมากขึ้นประกอบกับหมูบานเดิมมีพื้นที่แคบ เมือ่ ป พ.ศ. 2475 จึงไดยา ยจากหมูบ า นเดิมมาอยูใ นพืน้ ทีห่ มูบ า นในปจจุบนั จากนัน้ ไดมกี ารจัดตัง้ หมูบ า น ขึน้ ซึง่ ประกอบดวยหมูบ า นหวยนํา้ กืน, บานปางมะกาด, บานปางกุลา, บานปางมอนวัด, บานปางแมเจดีย, บานปางกลาง, ไดจดั ตัง้ หมูบ า นขึน้ มา ใชชือ่ วา หมูบ า นปางมะกาด หมู 8 ตําบลแมเจดีย อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย และมีการจัดตั้งผูใหญบานขึ้น ประมาณป พ.ศ. 2543 บานหวยนํ้ากืน ไดขอแยก หมูบานและไดรับการอนุมัติจากทางราชการใหจัดตั้งหมูบาน เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2543 เปนหมูบานหวยนํ้ากืน หมู 13 ตําบลแมเจดีย อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย สังกัดองคการบริหาร สวนตําบลแมเจดีย


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

21

บานหวยนํ้ากืน เปนหมูบานขนาดเล็กอยูทามกลาง หุบเขา ลักษณะพื้นที่เปนแองกระทะ อยูในความดูแลของ เขตอุทยานแหงชาติขุนแจ เปนเขตอนุรักษปาไมเกรดเอ ฤดู ห นาวมี อ ากาศหนาวมาก บางป อุ ณ หภู มิ 0 องศา ระยะหางจากตัวอําเภอเวียงปาเปา ประมาณ 53 กิโลเมตร เปนหมูบานที่อยูไกลจากตัวอําเภอมากที่สุด จากทั้งหมด 16 หมูบาน มีบาน 170 กวาหลังคาเรือน ประชากรใน หมูบาน 300 กวาคน เปนคนเมืองทั้งหมด อาชีพสวนใหญ ของชาวบ า น คื อ การทํ า ชาและเมี่ ย ง นอกจากนี้ ยั ง ทํ า สวนกาแฟ เลี้ยงผึ้ง สําหรับศูนยพัฒนาโครงการหลวง ห ว ยโป ง ได เข า ไปช ว ยส ง เสริ ม ในเรื่ อ งการเกษตร เช น การปลูกเคปกูสเบอรี่ การปลูกพืชสมุนไพร เชน โรสแมรี่ ซอเรล ทายม มาจอแรม การปลูกซิมบิ​ิเดียม และกลวยไม และดวยความที่หมูบานหวยนํ้ากืน ตั้งอยูกลางหุบเขามีอากาศหนาวเย็นตลอดทั้งป มีแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติ แหลงทองเทีย่ วทางการเกษตร และทางวัฒนธรรม เปนแหลงตนนํา้ ลําธาร มีปาไมธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่สมบูรณ มีสัตวปาหายากหลายชนิดไวใหศึกษา รวมทั้งชาวบานยังมี อัธยาศัยดี ยิ้มแยมแจมใส จึงทําใหชาวบานมีรายไดจากการทองเที่ยวและการทําโฮมสเตย นับวาเปน รายไดอีกทางหนึ่งนอกเหนือจากการทําการเกษตร


22

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

ชุมชนบานหวยนํ้ากืน มีการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนอยูดีมีสุขและการรวมกลุม ของชุมชน ไดแก การพัฒนากิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในครัวเรือน เชน มีการทําบัญชีครัวเรือน การปลูกผักสวนครัว และการเลี้ยงสัตวในชุมชน การพัฒนาการรวมกลุมของชุมชน ไดแก การเสริม สรางความเขมแข็งของกลุมคณะกรรมการชุมชน การพัฒนาการแบงบทบาทหนาที่คณะกรรมการ ตามหมวด การเสริมสรางองคความรูเรื่องการบริหารจัดการใหกับกลุมที่มีอยูแลวในชุมชน และกลุม ผูทําการเกษตร เชนกลุมชา กลุมกาแฟ กลุมไมดอก การฟนฟูกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงหมูหลุม เพื่อผลิต แกสชีวภาพ ทําใหชุมชนบานหวยนํ้ากืน ไดเปนหมูบานตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง และเปนแหลง เรี ย นรู ดู ง านให กั บ ชุ ม ชนอื่ น ๆ เช น การเรี ย นรู ก ารจั ด การหมู บ า น สิ่ ง แวดล อ มดี ปลอดมลภาวะ การเรียนรูเรื่องการบริหารจัดการกลุม ทั้งกลุมคณะกรรมการชุมชน และกลุมวิสาหกิจ การเรียนรูเรื่อง อาชีพที่เปนมิตรกับปา การเรียนรูเรื่อง การใชพลังงานทดแทน รวมถึงการเรียนรูเรื่องการทองเที่ยว เชิงเกษตรโดยชุมชน นอกจากนี้ยังรวมกับหนวยงานตางๆ ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม เชนการทําฝายชะลอนํ้า ทําแนวปองกันไฟปา การปลูกปา การทําโรงไฟฟาพลังนํ้า เปนตน จากความสําเร็จของชุมชนบานหวยนํ้ากืน ทําใหได รับรางวัลรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 การประกวดหมูบาน สะอาดชุมชนเขมแข็ง ประจําป พ.ศ. 2555 รางวัลชนะเลิศ อั น ดั บ ที่ 1 การประกวดหมู บ า นสะอาดชุ ม ชนเข ม แข็ ง ประจําป พ.ศ. 2556 ไดรับมาตรฐานโฮมสเตยไทย ป 2557 รางวัลชุมชนเขมแข็งปลอดยาเสพติด อําเภอเวียงปาเปา ประจําป 2557 รางวัลชนะเลิศระดับอําเภอเวียงปาเปา และรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับจังหวัดเชียงราย ตามโครงการคัดเลือกหมูบานดีเดน (บานสวย เมืองสุข) ประจําป พ.ศ. 2558 เปน 1 ใน 9 แหลงทองเที่ยวตนแบบ นํารองดานการสื่อความหมาย ป 2558 ไดเขาประกวด รางวัลอุตสาหกรรมทองเทีย่ วไทย (กินรี) ครัง้ ที่ 10 ประจําป 2558 และไดเขาประกวดหมูบ า นแผนดินธรรมแผนดินทอง ดานเศรษฐกิจพอเพียงระดับอําเภอ ป 2558


สลัดผักโครงการหลวง สําหรับผูที่ชื่นชอบการรับประทานผัก รานโครงการหลวงสาขาสุเทพ ไดนําผักสดนานาชนิดตามฤดูกาล ที่สด สะอาด และปลอดภัย อุดมไปดวยแรธาตุ วิตามิน เกลือแร แอนตี้ออกซิแดนซ และเสนใยอาหารที่จําเปนตอรางกาย เพื่อเปน เกราะปองกันและเสริมสรางใหมีสุขภาพดี แคลอรี่ตํ่า มารวบรวมไว ใหคุณนํามาผสมผสานความอรอยคูกับนํ้าสลัดในรสชาติที่หลากหลาย ไมวาจะเปน นํ้าขน นํ้าใส นํ้าสลัดญี่ปุน นํ้ายําไทย และนํ้าฟกทอง มีทั้งสลัดบารและสลัดกลองใหทานไดเลือกรับประทาน


ครัวโครงการหลวง Royal Project Kitchen

ในบรรยากาศแบบสบายๆ ฟงเพลงเบาๆ ทามกลางตนไม ดอกไมนานาพันธุ บริการอาหารและเครื่องดื่มหลากหลายรูปแบบ โดยใชวัตถุดิบจากโครงการหลวง ที่สด สะอาด ปลอดภัย สงตรงมาจากยอดดอย รับจัดเบรค และบุฟเฟตอาหารกลางวัน ตั้งแต 40 ทาน - 120 ทาน

ครัวโครงการหลวง ตั้งอยูในบริเวณอุทยานหลวงราชพฤกษ (โซนดานขางติดถนน) เสนเดียวกับทางไปวัดพระธาตุดอยคํา รานตั้งอยูซายมือกอนถึงทางขึ้นวัดพระธาตุดอยคํา รานเปดเวลา 08.00 น. - 17.00 น. (เปดใหบริการทุกวัน) ติดตอสอบถามและจองโตะไดที่เบอรโทรศัพท 052-080-660


เพียงแอปเดียว

อาง

ขาง

เที่ยวครบ นําทางไปทุกที่ แอปพลิเคชั่น “โครงการหลวง” ไกดนําทางประจําตัว พรอมพาทานเดินทางไปยัง 38 เสนทางความสุขของโครงการหลวง ไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

ดาวนโหลดไดแลววันนี้ผาน App Store แอปพลิเคชั่น “องคความรูการทองเที่ยวโครงการหลวง” (เวอรชั่น1.0) สําหรับมือถือระบบปฎิบัติการ ios

อินทนนท


26

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

บุคคลในเรื่อง : People in the news เรียบเรียงโดย นางสาวปริศนา ดวงนาค นักศึกษาฝกงาน สาขาการทองเที่ยว คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เกษตรอินทรียบานเมืองอาง ความปลอดภัยจากตนน้ำสูปลายน้ำ บ า นเมื อ งอาง เป น ชุ ม ชนปกาเกอะญอ อยูในตําบลบานหลวง อําเภอจอมทอง จังหวัด เชียงใหม พื้นที่สวนใหญของหมูบานเปนพื้นที่ ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง ซึง่ เปนแหลงตนนํา้ ที่ ไ หลลงสู แ ม นํ้ า ป ง บ า นเมื อ งอางได รั บ การ สงเสริมจากสถานีเกษตรหลวงอินทนนทใหปลูก ผักอินทรีย โดยการปลูกผักอินทรียนั้นจะไมใช สารเคมี เนนใชภูมิปญญาชาวบาน ใชปุยคอก ที่ผลิตเอง นายวัชรินทร พจนบัณฑิต อายุ 44 ป หนึ่งในเกษตรกรผูปลูกผักอินทรียบานเมืองอางและอีกหนึ่ง ตําแหนงคือ พอหลวงบาน นับตั้งแตที่โครงการหลวงเขามาใหความรูเรื่องการปลูกผักอินทรีย พอหลวง วัชรินทร ก็ไดทุมเทแรงกายแรงใจในการดูแลทุกขสุขของชาวบาน และเปนแกนนําสําคัญในการสงเสริม การปลูกผักอินทรียในบานเมืองอาง


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

27

“บานเมืองอางมี 6 หยอมบาน ประชากร 580 คนผมจะเขาไปหา ทุกหมูบาน ทุกเดือนจะมีการประชุม กันอยู ผมจะไปกับเจาหนาที่”

พ อ หลวงวั ช ริ น ทร เ ล า ให ฟ ง ว า ก อ น ที่ โ ครงการหลวงจะมาส ง เสริ ม อาชี พ ปลู ก ผักอินทรีย เดิมชาวบานเมืองอาง มีอาชีพ ทําไร ทํานา เลีย้ งสัตวและรับจาง ซึง่ แทบไมมี รายไดเลย “รายไดกอนที่ทางโครงการหลวงจะเขามาชวยผมสํารวจทั้งปรายไดอยูที่ 4,000-5,000 บาทตอป เพราะชาวบานที่นี่ยังไมมีรายได หลักๆ ก็คือรับจางและหาของปา ตอนนี้รายไดตอเดือนเฉลี่ยแลวคือ ถามี 1 โรงเรือนก็ประมาณ 5,000 บาทตอเดือน ถามี 3 โรงเรือนก็ 15,000 บาทตอเดือน” ที่บานเมืองอางเกษตรกรจะมีการชวยเหลือซึ่งกันและกัน อยางการใชพื้นที่เพาะปลูกก็จะใชรวมกัน ไมมีการใหเชาหรือซื้อขายกัน เพื่อใหเกษตรกรที่ไมมีพื้นที่สามารถมีรายไดดูแลครอบครัวได โดยจะแบง พื้นที่ใหครัวเรือนละ 3 โรงเรือน (1 โรงเรือนมีพื้นที่ 180 ตารางเมตร)


28

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

แปลงของพอหลวงจะปลูก 3 ชนิดคือ กวางตุง เบบี้ ฮ อ งเต แ ละผั ก สลั ด ผั ก เหล า นี้ จ ะเป น ผั ก อายุ สั้ น ใชระยะเวลาในการเพาะกลา 7 วัน ระยะเวลาในการ ปลูกไมเกิน 25 วันก็สามารถเก็บผลผลิตได โดยชาวบาน จะมาชวยกันเก็บผลผลิตโดยไมเกี่ยงวาเปนของใคร พอหลวงวัชรินทรบอกวาหลังจากโครงการหลวงได เขามาสนับสนุนใหบานเมืองอางปลูกผักอินทรียชาวบาน ก็ มี ร ายได ดู แ ลครอบครั ว ทํ า ให ชุ ม ชนสามารถพึ่ ง พา ตนเองได “รูสึกวาดี ภาคภูมิใจนะที่มีโครงการดีๆ เพราะวา ในอดีตของเรานั้นก็ยอมรับนะวาเราไมมีรายได ทุกคน ต อ งแสวงหาต อ งกระจายกั น ดู ค รั บ คื อ ต อ งดิ้ น รน แตตอนนี้เราก็เริ่มเขามาเปนกลุมก็ดูแลกันมีปญหาอะไร ก็ชวยกันแกไข มีความสามัคคีกัน มีรายไดเพิ่มขึ้น” พอหลวงวัชรินทรไดใหคําตอบถึงประโยชนของการปลูกผักอินทรียวานอกจากจะทําใหไดผลผลิตที่ ไมมีสารพิษตกคาง ทําใหคนในชุมชนมีอาชีพที่มั่นคงแลว ยังเปนการสงความปลอดภัยไปสูผูบริโภคและ เปนการรักษาสภาพแวดลอมดวย “ก็โอเคครับ เพราะหนึ่งเราตองมองถึงสุขภาพของคนในชุมชน ไมไดใชสารเคมีเลย สองสิ่งแวดลอม ที่ดี เราตองอยาลืมวาเราเปนคนตนนํ้า เราตองนึกถึงคนปลายนํ้าถาเราไมใชสารเคมีอยางนอยเราไมโดน คนขางลางก็จะไมไดผลกระทบ”


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

29

คลินิกพืช : Plant clinic ปลวกและการปองกันกำจัด ปลวก (Termite) เปนแมลงที่มีความสําคัญตอสิ่งแวดลอม ซึ่งมีทั้งคุณประโยชนและโทษเปน อยางมาก ปลวกนั้นเปนแมลงที่ตองการเซลลูโลสเปนอาหารในการดํารงชีวิต และเซลลูโลสเปนสวน ประกอบสําคัญของเนื้อไม ดังนั้นปลวกจึงมีประโยชนตอสิ่งแวดลอม ชวยยอยสลายอินทรียวัตถุตางๆ เชน เศษซากไม กิ่งไม ใบไมใหทับถมกันแลวเกิดเปนฮิวมัสในดินสรางความอุดมสมบูรณแกพื้นดินและ กอใหเกิดระบบการหมุนเวียนของธาตุอาหาร แตกระนั้นปลวกก็มีโทษในการทําลายและกัดกินเนื้อไม สิ่งของที่มีไมเปนสวนประกอบ สิ่งของในบานเรือน รวมถึงทําลายรากและลําตนของไมผล ไมยืนตน ที่ใชเวลาปลูกมาหลายปใหตาย จึงทําใหแมลงชนิดนี้มีความสําคัญในดานของการเปนศัตรูพืช ปลวกเปนแมลงที่ชอบอยูรวมกันเปนสังคมใหญ มีนิสัยชอบอยูในที่มืด อับชื้น ประชากรปลวก มีการแบงหนาที่ตามวรรณะ มีทั้งหมด 3 วรรณะ คือ 1. วรรณะกรรมกร ตัวเล็กสีขาวนวล ไมมีปก ไมมีตา ทําหนาที่สรางรังทําความสะอาดรัง ดูแลไขและซอมแซมรังที่ถูกทําลาย 2. วรรณะสืบพันธุ เปนแมลงเมา ตัวเต็มวัยมีปก ลําตันมีสีนํ้าตาลอมเหลืองไปจนถึงดํา เมื่ออากาศเหมาะสมจะบินออกจากรัง ผสมพันธุ แลวสรางรังใหม และ 3. วรรณะทหาร มีตัวขนาดใหญกวาวรรณะกรรมกร กรามใหญ ยาว และแข็งแรง เพื่อใชในการตอสูกับศัตรู ปลวกที่สรางความเสียหายที่สําคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทยแบงได 2 ประเภท ไดแก ปลวกไมแหง Cyptotermes thailandis และปลวกใตดิน ที่สําคัญ คือ Coptotermes havilandi ซึ่งกัดกินรากออย (พิสุทธิ์, 2550) เสาวรสหวาน (มูลนิธิโครงการหลวง, 2555) เกิดจาก ปลวกชนิดนี้และปลวกใตดินชนิด C.gestroi นับวาเปนปลวกที่มีผลกระทบทางเศรษฐกิจสูงที่สุดของ ประเทศไทยเพราะรอยละ 90 ของอาคารที่ถูกทําลาย

ภาพที่ 1 ปลวกวรรณะทหาร (ซาย) และ ปลวกวรรณะสืบพันธุ (ขวา)


30

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

การปองกันกําจัด ปลวกชอบอาศัยอยูใ นชองใตดนิ เขาทําลายอาคารบานเรือน ตามรอยตอ รอยแตก ของพื้นคอนกรีตและผนังอาคาร สามารถใชไสเดือนฝอย Steinernema carpocapsae ฉีดพนลงในดิน หรือราดลงบนทางเดิน เพื่อใหไสเดือนฝอยเคลื่อนหาปลวก ตามทางเดินของปลวกที่อยูใตดินซึ่งจําเปน ตองอาศัยนํ้าเปนตัวนําพาไป แตอีกวิธีที่ไดรับความนิยม สะดวกและมีประสิทธิภาพสูงในการปองกัน กําจัดปลวกคือการใชสารเคมีกําจัดแมลง ซึ่งสามารถใชแนวทางเชนเดียวกับการปองกันกําจัดปลวกใน อาคารบานเรือนดังนี้ ขุดดินในบริเวณที่มีปลวกใหเปนรองยาวตามแนวอุโมงคทางเดินของปลวกประมาณ 1 เมตร ใหมีความลึก 10-20 ซม. แลวใชสารเคมีกําจัดแมลง ฟโปรนิล 5% w/v SC ผสมนํ้าอัตรา 200 มิลลิลิตร หรือ คลอรไพริฟอส 40% w/v EC อัตรา 100 มิลลิลิตรตอนํ้า 20 ลิตร ใชเครื่องพนแรงดันฉีดพนอัดสารละลายลงในรองดินที่ทําไวประมาณ 5 ลิตรตอรอง เพื่อใหดิน บริเวณนั้นดูดซับสารเคมี ทําการกลบดินที่ทําการฉีดพนสารกําจัดปลวกไวแลว เพื่อปองกันไมใหเกิดอันตรายกับสิ่งมีชีวิต อืน่ ทีอ่ ยูใ กล แลวทําแบบเดียวกันบริเวณรอบทีพ่ บรังหรือแนวทางเดินของปลวก เพือ่ เพิม่ โอกาส ใหปลวกไดรับสารเคมี วิธีการนี้มีหลักการคือ ใหปลวกไดรับสารเคมีผานพื้นดินที่มีสารกําจัดแมลงเขมขน แลวนําสารเคมี นั้นติดตัวไปแพรกระจายใหปลวกตัวอื่นภายในรัง ทําใหปลวกตายทั้งรังได ผูทําการกําจัดควรเพิ่ม โอกาสใหรังปลวกไดสารเคมีโดยการเพิ่มจุดราดหรือพนสารเคมีตามทางเดินของปลวก เพื่อใหได ประสิทธิภาพและสามารถกําจัดไดรวดเร็วยิ่งขึ้น

ภาพที่ 2 ปลวกไดรับสารเคมีกําจัดแมลงแลวนําไปติดตอสูปลวกตัวอื่น


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

31

เอกสารอางอิง งานพัฒนาและสงเสริมการผลิตไมผลขนาดเล็ก มูลนิธิโครงการหลวง. 2555. การปลูกเสาวรสหวาน. มูลนิธิโครงการหลวงและสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน). หนา 55. พิสุทธิ์ เอกอํานวย, 2550. โรคและแมลงของพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ. สวนสัตวแมลงสยาม (Siam Insect Zoo). หนา 326 กลุมกีฏและสัตววิทยา, 2553. คําแนะนําการปองกันกําจัดแมลงและสัตวศัตรูพืช ป 2553. เอกการ วิชาการเกษตร. กลุมกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ. หนา 303 The Fumapest Group. 2016. Summary of Professional Termite Control Methods. (ระบบ ออนไลน)http://www.termite.com/termite-control.html ศูนยวิจัยกีฏวิทยาปาไมที่ 2. 2559. บทบาทของแมลงตอระบบนิเวศ. (ระบบออนไลน). http://www. dnp.go.th/FOREMIC/WEB%20SITE2/de_termites.php


รานโครงการหลวงสาขาสุเทพ เปดจําหนายไมดอกไมประดับกระถาง สมุนไพรกระถาง เฟนกระถาง หลากหลายชนิด วัสดุการปลูกและผลิตภัณฑดูแลตนไม อยูทางดานทิศตะวันออกของรานโครงการหลวงสาขาสุเทพ

เปดตั้งแตเวลา 08.00-17.00 น. (อาทิตย-ศุกร) ทานใดสนใจไปเลือกซื้อเลือกชมกันไดนะคะ


ไฮเดรนเยีย มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงได ส ง เสริ ม ให เกษตรกรชาวไทยภูเขา ปลูกดอกไฮเดรนเยีย เพือ่ จําหนายเปนไมตดั ดอก ซึง่ เปนทางเลือก อีกทางหนึ่งของเกษตรกร ดอกไฮเดรนเยียเปนดอกไมหลากหลายสีสัน มีทั้ง สีขาว สีชมพู สีมวง สีฟา และ สีเขียว สวนมากจะเปนไมพุม และไมเลื้อย ความโดดเดนของ ไฮเดรนเยียสวนใหญนยิ มปลูกเพือ่ ความสวยงามของดอก เนือ่ งจากชอดอก ที่มีขนาดใหญประกอบกับสีสันสวยงาม ดอกไฮเดรนเยีย “ดอกไมแหงหัวใจดานชา” วากันวาไมควรมอบดอกไมนี้ใหแกผูใด นอกจากอยากจะ ตัดพอผูรับวา เขาหรือเธอ ชางเปนคนใจดานชาเสียเหลือเกิน แตในอีกความหมายหนึ่ง ก็วาดอกไฮเดรนเยีย หมายถึง “คําขอบคุณ”…Thank you for understanding...ขอบคุณที่เขาใจกัน

มีจําหนายที่รานโครงการหลวง (ตามฤดูกาล)

แหลงที่มาจาก: https://www.gotoknow.org/posts/444494


34

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

เกร็ดและแกนโครงการหลวง

เรื่องเลาจากหนังสือ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและโครงการหลวง บทนิพนธของหมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง

หนูๆ ๆ ๆ ครั้งแรกที่ผูเขียนไดยินเรื่องหนูก็เดือนกันยายน 2513 เมื่อไดรับจดหมายวา “กะเหรี่ยงสูงอายุคนหนึ่งจากแมสามแลบมารายงานอยางนํ้าตาคลอหนวยวา ชาวกะเหรี่ยงรอบๆ หมูบานเขากําลังอดขาว และเหตุการณรุนแรงขนาดจะเสียชีวิตก็ไดเพราะเหตุหนูทําลายขาวในนามา ตั้งแตเมื่อปกอน” บริเวณที่ถูกหนูทําลายขาวนี้อยูในเขตอําเภอแมลานอย ตั้งแตแมนํ้าสาละวินมาทางทิศตะวันออก ขามแมนํ้ายวม ไปจรดอําเภอฮอดในเชียงใหม รายงานอีกฉบับหนึ่งแจงวา “พ.ศ. 2511 เปนปแรกที่หนูเริ่มกัดกินตนขาว แตไมไดรับความเสียหายมาก ปตอไปเสียหายมาก ขึ้น คือ เก็บเกี่ยวได 100 ถังหลังที่ถูกหนูกิน แทนที่จะได 200-250 ถัง ตามธรรมดา หนูเหลานี้อยูในดิน กัดกินตนขาว ตัง้ แตตน สูงหนึง่ คืบไปจนถึงบริเวณเก็บเกีย่ ว พ.ศ. 2513 ตนขาวไดรบั ความเสียหายมากกวา ปกอนๆ เพราะหนูมีมากขึ้น” ผูที่หิวแตอีกไมนานก็จะไดรับประทานอาหารคงจะไมซาบซึ้งในเรื่องที่กลาวมานี้เทากับผูที่ทองแสบ มานาน เพราะฉะนั้นกอนที่จะอานตอไป โปรดหลับตานึกภาพเอาวา ขาวซักเม็ดก็ไมตกถึงทองมาหลาย วันแลว เพื่อบรรเทาความทุกขยาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานเงิน 5,000 บาท และพวก แบบติสทจึงสมทบอีก 8,000 บาท สําหรับซื้อขาวแจกที่แมสามแลบ แตเพราะจะขนขาวไปที่นั่นตองใช ชางซึ่งชา ไมทันใจคนอดขาว เราจึงเพิ่มจุดแจกจายอีกแหงหนึ่งที่อําเภอแมสะเรียงเอง ถึงแมผูที่ไดรับขาว พระราชทานจะตองแบกกลับบานเองก็ตาม โครงการหลวงไดรบั จดหมายลงวันที่ 14 ตุลาคม เปนภาษาอังกฤษทีก่ ะเหรีย่ งเขียนซึง่ ถาแปลเปนไทย ก็จะขาดรสชาติไป ตนฉบับมีดังนี้คือ


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

35

“May our relief committee of five members acting on behalf of those distraught Karen hilltribesmen of Mea Sariang, humbly tender our heartfelt gratitude to His Royal Majesty for the gracious gift recived. The suffering was great but the relief was divine, for which act of infinite kindness we, His Majesty’s humble subjects will forever remain grateful and herein pledge our humble allegiance.” ป 2514 มีจดหมายขอความทํานองเดียวกันเปนภาษาไทยดังนี้ คือ “ไดรับทราบจากชาวเขาและนายแฮ ซึ่งผูนี้เปนผูรวมงานสายของ มว.512 (ตชด.) เยี่ยมในหมูบาน ชาวเขาตางๆ ที่ไดรับพระราชทานขาวกลาววาชาวเขามีความปติยินดีและมีความรูสึกซาบซึ้งในพระมหา กรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ซึ่งไดใหความเมตตา แจกขาวสารเพื่อแกไขในความอดอยากขาดแคลนบางรายรอดจากความตายไดครั้งนี้ ชาวเขาทุกคนจึง ถวายพระพรใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถจงทรงพระเจริญ และขออวยพร ใหเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกนายจงเจริญและมีความผาสุกทุกๆ ทั่วถึงกันดวย” พวกเราไดคิดวาปแรกพระราชทาน 5,000 บาท ซื้อขาว 217 ถัง และปที่สอง 607 กระสอบ เทากับ 3,945 ถัง ปที่สามขาวพระราชทานจะเพิ่มเปนเทาไรไมทราบ จึงควรที่เราจะตองทําอยางอื่นแกเสียกอน เชน กําจัดหนู เปนตน


36

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

ทําอยางไรดีกับหนูๆ สําหรับโครงการหลวง งายมาก เพียงแตไปพูดกับหนวยปราบศัตรูพชื เชียงใหมเทานัน้ แตผลก็ปรากฏ ออกมาตามรายงานดังนี้คือ

ผูเขียนไมควรจะเอย แตวารายงานขางบนนี้แสดงใหปรากฏอยางชัดแจงวาผูอํานวยการนั้นถาเปน ของโครงการหลวงเสียอยางละก็ สบายมาก


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

37

แลวจะสบายทางไหนตอ เมื่อถามพรรคพวกดู ผูเขียนก็ทราบวา ถาเราจะกําจัดหนูที่นั่นที่โนนไมมากแหงแลวถึงจะไดผลดี หนูจากที่อื่นก็จะเขามาหากินและเพิ่มพูนพลเมืองโดยเร็วแบบหนูๆ ดังนั้นเราตองดําเนินการหลายๆ จุดพรอมกันไป เราตองขอนิสิต นักศึกษามาชวย ผูเขียนไป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเลาเรื่องใหเขาฟง เขาสงกรรมการมาหาผูเขียน วายินดีจะชวย กรรมการคนหนึ่งเปนสุภาพสตรีตัวเล็กๆ ผูเขียนบอก วาถาเธอจะไปรวมงานดวยก็ไมควรจะไป เพราะงานนั้นทรหดหนักนาดู สตรีผูนี้ชื่อ เตือนใจ ดีเทศน โปรดจําชื่อนี้ไวดวย

จุฬาฯ มาสํารวจ เดือนพฤศจิกายน 2514 นิสิตจุฬาฯ รวมกับ ตชด. ไปสํารวจความเสียหายจากหนู

วันที่ 1 คณะเดิน 6 ชั่วโมง

วันที่ 2 เดินทางโดยเรือหางยาวในนํ้าสาละวิน และขึ้นบกตรวจนาและเยี่ยมชาวเขา

วันที่ 4

วันที่ 3 เหมือนวันที่ 2 โปรดทราบดวยวาการเดินทาง โดยเรือหางยาวในแมนํ้าสาละวินนั้น เปนเรื่องที่นาตื่นเตนมาก เพราะนํ้าเชี่ยวกราก เต็มไปดวยวังนํ้าวนซึ่งกลาวกันวารุนแรงมาก ถึงขนาดดูดเรือใหจมหายไปได

เดิน 9 ชั่วโมง ไปขึ้นรถกลับบาน

การสํารวจมีผลทําใหเราทราบวาควรจะปราบหนูอยางจริงๆ จังๆ ในบริเวณกวางๆ


38

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

แผนการลดหนู เราทราบวาเราควรจะปราบหนูหนารอน เพราะ 1. มหาวิทยาลัยพักเรียน และ 2. เปนเวลาที่หนู ขาดแคลนอาหารตามธรรมชาติ จึงตองหิวซมซานเขามาหากินที่หมูบาน ดังนั้นเราจะเตรียมอาหาร อันโอชะไวตอนรับ ประกอบดวยปลายขาวผสมดวยปลาแหง นํ้ามันมะพราว และซิงคฟอสไฟท เราดําเนินการ 10 วัน จาก 11 เมษายน 2515 ดวยความรวมมือของนิสิตจาก 2 มจ. มจ. ละ 50 คน (มหาวิทยาลัยจุฬาฯและแมโจ) จุดปฏิบัติงานมี 35 จุด ทั่วอําเภอแมสะเรียงและแมลานอย แตละจุดใชนิสิต 2-4 คน ดูแลหมูบาน 2-4 หมูบาน งานที่ตองทําคือ เอาอาหารพิเศษไปวางลอที่ทางเขาหมูบานของหนูๆ แลวเดินกลับมานอน ที่จุดของตน ตองทําอยางนี้ทุกวัน การทีจ่ ะใหคน 100 คน เดินทางดวยรถยนตระยะใกลๆ แลวออกเดินเทานานๆ พรอมๆ กัน กระจาย ทั่วสองอําเภอซึ่งเต็มไปดวยดอยและขนเสบียงไปดวยนั้น เปนเรื่องที่ตองคิดวางแผนเปนอยางดี เรามีการ เตือนนิสิตนักศึกษาใหเอานํ้ามันสโลนไปดวย ผลงานก็คือคนไมอดขาว หนูดูจะสูญหายไป เพิ่งจะมาปรากฏตัวเมื่อปกอนนี้ เปนหนูที่มีรสนิยมสูง ชอบกินผลไมราคาแพง เชน องุนไมมีเมล็ด และมะเดื่อหวานของเรา เปนตน


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

39

นิทานชาวดอย

ตนขาวนำโชค นิทานของชาวลีซู กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว มีสามีภรรยาคูหนึ่ง ซึ่งมีฐานะยากจนมาก จึงดํารงชีวิต ดวยการขอรับบริจาคอาหารจากผูอื่น หยิบยืมเงิน อาหารและลักขโมย เปนที่รังเกียจ ของตนในหมูบานเปนอยางมาก จึงไดขับไลออกจากหมูบาน ทั้งสองจึงไปขออาศัยอยู กับพระสงฆรูปหนึ่ง ซึ่งพระรูปนี้มีญาณวิเศษ สามารถรับรูเรื่องราวตางๆ ไดและทราบดี ถึงการกระทําเรื่องราวตางๆ ของสามีภรรยาคูนี้ดี แตก็รับทั้งสองมาอยูอาศัยดวย ซึ่งมี ขอแมวาทั้งสองตองเชื่อฟงคําของหลวงพอทุกอยาง ทั้งสองจึงรับปากแตโดยดี จึงไดปลูก กระทอมอยูขางๆ กุฏิของหลวงพอ อยูมาจนกระทั่งสองสามีภรรยาไดใหกําเนิดบุตรชายคนหนึ่ง ทั้งสองจึงแจงให หลวงพอทราบ หลวงพอจึงบอกวา เจาจงนําลูกชายของเจา ไปฝงซะอยาฆาเปนอันขาด ใหฝงทั้งเปนอยางนั่นแหละ ทั้งสองสามีภรรยาไดยินที่หลวงพอบอก ก็เกิดความเสียใจ และเสียดายลูกชายเปนอยางมาก จึงพากลับบาน และกอดจูบลูกชายทั้งวัน จนกระทั่ง เย็นจึงไดนําไปฝง และบอกกับลูกชายวา เจาอยางไดคิดจองเวรจองกรรมกับพอแมเลย เปนเพราะหลวงพอสั่งใหทํา จําเปนตองทําขอใหเวรกรรมทุกอยางตกที่หลวงพอเถอะ


40

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

เมื่อฝงเสร็จแลวจึงกลับบาน หลวงพอถามวา ฝงแลวหรือ ? ทั้งคูก็ตอบวาฝงแลว จนกระทั่งมีลูกชายคนที่สอง หลวงพอใหนําไปฝงอีก และใหฝงใกลๆ กับลูกคนเดิม ทั้งคูก็ทําอยางเดิม สาปแชงหลวงพอใหเวรกรรมทุกอยางตกที่หลวงพออีกเชนเดิม พอมีลูกชายคนที่สาม หลวงพอก็ใหนําไปฝงอีก ทั้งคูก็ทําอยางเดิมโดยลูกชายทั้งสาม ถูกฝงใกลๆ กัน เย็นวันตอมา หลวงพอบอกทั้งคูวาลูกของพวกเจาอยูที่นั่นทั้งหมด ไมไดไปไหน คื น นี้ ใ ห พ วกเจ า ไปนอนที่ ห ลุ ม ฝ ง ศพลู ก ชายเจ า ให เจ า สองคนนอนตรงกลางหลุ ม ทั้งคูจึงไปนอน พอใกลจะถึงหลุมฝงศพลูกชายทั้งสาม เขาก็เห็นลูกชายทั้งสามยืนคุยกัน ดวยทาทางโกรธเกรี้ยววา ถาไมใชหลวงพอนะ ขาจะกินเนื้อเจาสองผัวเมียนั้นใหสิ้น ซาก ทั้งคูกลัวอยางมากจึงกลับไปบอกหลวงพอวา หลวงพอลูกชายของขาทั้งสามคน ที่แทจริงไมใชลูกขา พวกขาติดหนี้เขาอยูยังชดใชไมหมด พวกเขาโกรธแคนมากบอกวา หากไมใชหลวงพอชวย พวกขาจะกินเนื้อของเจากับเมียแลว หลวงพอจึงตอบวาขาบอก พวกเจาแลว แตพวกเจากับสาปแชงขา แลวตอนนี้เห็นหรือยัง ทั้งสองผัวเมียเกิดความละอายใจเปนอยางมากและรูสึกสํานึกผิดที่แอบสาปแชง หลวงพอ ทั้งทั้งที่หลวงพอรูเรื่องราวทั้งหมดที่เกิดขึ้นตลอด แตกลับไมถือโทษโกรธและ ชวยเหลือพวกตน จึงอยูรับใชหลวงพอเรื่อยมา จนกระทั่งทั้งคูสามารถเก็บเงินไดเต็ม หนึ่งกระเปา ทั้งคูจึงแจงใหหลวงพอทราบ หลวงพอบอกใหนํากระเปาเงินนั้น ไปทิ้งลง นํ้าเสียทั้งคูจึงไดนําไปลอยนํ้าในแมนํ้า ทั้งที่รูสึกเสียดายเปนอยางมาก


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

วันรุง ขึน้ ทัง้ สองไมยอมลุกจากทีน่ อนเพราะยังคงเสียดายเงินอยู จนกระทัง่ หลวงพอ ตองมาปลุกและบอกใหไปจายตลาด เพราะหากสายกวานี้แมคาจะเก็บขาวของกลับบาน กันหมด ทั้งคูจึงตอบวาพวกขาไมมีเงินเหลือแมแตบาทเดียวจะเอาเงินที่ไหนไปซื้อของ อีกหละ หลวงพอจึงนําเงินมาใหทั้งคูไปจายตลาด พอไปถึงตลาดก็สายมากแลวกับขาวและของที่ขายในตลาดหมดทุกอยาง มีเพียง ปลาทองปองตัวเดียวเทานัน้ ทีข่ ายไมออก ทัง้ คูจ งึ ซือ้ ปลาทองปองตัวนีก้ ลับมาแลวบอกกับ หลวงพอวา เหลือแคนี้แหละหลวงพอ เขาขายกันหมดแลว หลวงพอตอบกลับมาวา ดีแลวหละ พวกเจาจึงนําปลาตัวนี้ไปผาทอง ลางใหสะอาดและทําอาหารเชากิน ตอมาทั้งคูไดใหกําเนิดบุตรสาวคนหนึ่ง หลวงพอบอกทั้งคูวา ลูกสาวคนนี้พวกเจา จงเลี้ยงไวใหดีอยาใหหิวขาว หิวนม เลี้ยงแบบยุงไมใหกัด ไรไมใหตอมเลยนะ ทั้งคูก็ เลี้ยงดูลูกสาวคนนี้เปนอยางดี จนกระทั่งกลายเปนสาว ทั้งคูไดปลูกขาวไรแตพอถึงเวลา ออกรวงขาวของสองผัวเมียกลับไมยอมออกรวงยังคงเขียวขจี ตนสูงเทาขาอยู จึงนําเรื่อง ไปบอกหลวงพอวาทําอยางไรดี หลวงพอตอบวา ดีแลวปลอยไวเฉยๆ อยาไปฟนทิ้งเลย ทั้งคูก็ฟงคําหลวงพอ

41


42

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

อยู ม าวั น หนึ่ ง ช า งของกษั ต ริ ย ค ลอดลู ก และไม ย อมกิ น อะไรใดๆ นอกเสี ย จาก ตนขาวออน กษัตริยทรงทุกขใจเปนอยางมาก เพราะทรงรักชางของพระองคมากดวย จึงใหมหาดเล็กออกไปหาตนขาวออนแตหาเทาไหรก็ไมพบ แมหาจนทั่วผืนแผนดิน แลวก็ตาม เพราะชวงนั้นเปนชวงเกี่ยวขาว ยากที่จะหาตนขาวออนได จนกระทั่งไปพบ ที่ไรขาวของสองผัวเมีย มหาดเล็กจึงขอซื้อกับทั้งคู โดยบอกวาจะเอาไปใหชางของ กษัตริยที่คลอดลูกและไมยอมกินอาหารใดๆ นอกจากตนขาวออน ทั้งคูจึงไปปรึกษา หลวงพอ หลวงพอบอกใหทั้งคูขายไดเลย ทั้งคูจึงขายใหแกมหาดเล็กไป ตอมาเมื่อมหาดเล็กไดแจงใหกษัตริยทรงทราบ กษัตริยทรงแปลกใจเปนอยางมาก และตรัสวา ผัวเมียคูนี้มีบุญนัก บนผืนแผนดินนี้ไมมีใครมีขาวออนเลย มีเพียงพวกเขา ทั้งคู เขามีลูกสาวหรือเปลา มหาดเล็กรายงานวามี จึงทรงรับสั่งใหมหาดเล็กรับตัวลูกสาว ของสองผัวเมียเขาวัง และไดอภิเษกกับลูกชายของพระองค จากนั้นก็ใหสองผัวเมีย เขามาอยูในวังดวย ทั้งคูจึงมีชีวิตอยางสุขสบาย




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.