Royal project journal, August 2015

Page 1



สารบัญ ปที่ 19 ฉบับที่ 2 ป พ.ศ. 2558

บทบรรณาธิการ คนและขาว ดี-สนุก

2 3 9

• ชุมชนนาเที่ยวโครงการหลวง

แนะนําผลิตภัณฑ ผลิตผล

15

• กิมจิผักกาดขาว

วัตถุประสงค เพื่อนำเสนอขาวสาร ความเคลื่อนไหวในดานตางๆ ของ มูลนิธิโครงการหลวง รวมทั้งเผยแพรผลงานทางวิชาการ แนะนำผลิตผลและผลิตภัณฑของมูลนิธิฯ เพื่อประโยชนตอ บุคลากรและผูสนใจทั่วไป

มูลนิธิโครงการหลวง เลขที่ 65 หมู 1 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200 โทรศัพท 053-810765-8 โทรสาร 053-324000 http://www.royalprojectthailand.com E-mail : pr.rpf@hotmail.com

พิมพที่ บริษัท ทรีโอ แอดเวอรไทซิ่ง แอนด มีเดีย จำกัด 412/31 เชียงใหมแลนด ถ.ชางคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100 โทรศัพท 053-272079, 053-272081 E-mail : trio_cm@hotmail.com, iamtrio@gmail.com

ดี-อรอย

16

• ไกเบรสซอสพีช

กาวใหม

18

• การสงเสริมและพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ สำหรับใชในครัวเรือนบนพื้นที่สูง

สุขภาพดี

23

• หนทางสูหัวใจที่แข็งแรง

งานวิจัยใชไดจริง

27

• บรรจุภัณฑปองกันความเสียหายเชิงกล สำหรับสตรอเบอรี่สดโครงการหลวง

วิถีชนเผา

34

• ไทใหญชีวิตที่ผูกพันกับพุทธะ

คลินิกพืช

38

• ใชสารกำจัดวัชพืชอยางไรใหปลอดภัย

บุคคลในเรื่อง

43

• เกษตรกรตัวอยางที่เริ่มปลูกเสาวรสของหมูบานงาแมง

ลัดเลาะรานโครงการหลวง

45

• สโมสรสถานีเกษตรหลวงปางดะ

เกร็ดและแกนโครงการหลวง บริษัท เอ็น พี เอส สยาม สอบบัญชี จำกัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300

• อางขางและแชงกรีลาในเมืองไทย

47


คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ หมอมเจาภีศเดช รัชนี

ที่ปรึกษา คุณหญิงประจิตต กำภู ณ อยุธยา วิจิตร ถนอมถิ่น สุทัศน ปลื้มปญญา

บรรณาธิการ พรนันทน เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ผูชวยบรรณาธิการ จุรีพร ชำนาญพล

บทบรรณาธิการ EDITOR TALK

กองบรรณาธิการ ดร.วีรพันธ กันแกว ดร.วชิระ เกตุเพชร ดร.กุลธนี ผิวนิล ดร.อัญชัญ ชมภูพวง กาญจนา วิชิตตระกูลถาวร จารุทัศ สนิทวงศ ณ อยุธยา สรัลรัศมิ์ กิจชาลารัตน ประไพพักตร คำเกิด มาโนช ปราครุฑ จุทรีมาศ ชัยชนะ ศิริลักษณ อธิคมวิศิษฐ จันทิรา แสงวัฒนะ

ศิลปกรรม วารุณี สุริยะ ประภาศรี พวงเงินมาก

พิสูจนอักษร อดุลย ชมพล สายชม ธเนศนิตย

“มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงมุ ง หาสิ่ ง ใหม ๆ ที่ เ ป น ประโยชน แ ก ชุ ม ชนชาวเขาและชาวเรา”ตลอดการ พัฒนากวา 40 ป ผลการพัฒนาทัง้ ดานเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่ ง แวดล อ มเป น ข อ พิ สู จ น ถึ ง ความสํ า เร็ จ ของ โครงการหลวงที่ดําเนินงานตามแนวทางพระราชทาน ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยู ปจจุบันชุมชนชาว เขาหลายแห ง ได พั ฒ นาเป น แหล ง ท อ งเที่ ย วเรี ย นรู การเกษตรที่สูง และศึกษาวัฒนธรรมชนเผา ผลิตผล คุ ณ ภาพจากแปลงเกษตรกรกระจายสู ผู บ ริ โ ภคทั้ ง ประเทศมากมายกวา 1,000 รายการ องคความรู ขอมูล คําแนะนําที่นาสนใจและเปนประโยชน ในทุกๆดาน ของโครงการหลวง ไดหมุนเวียนมานําเสนอในวารสาร โครงการหลวงอยางตอเนื่อง พบกับวารสารรูปโฉมใหมในฉบับหนา


Royal Project Foundation

2 เมษายน 2558 หมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง เปนผูแทนพระองคในการพระราชทานเหรียญ รัตนาภรณ ชั้นที่ 4 แกบุคลากรและอาสาสมัครของมูลนิธิโครงการหลวง ประกอบดวย รศ.ดร.อุณารุจ บุญประกอบ ผูป ระสานงานไมผลเขตหนาว มูลนิธโิ ครงการหลวง ดร.ณรงคชยั พิพฒ ั นธนวงศ ผูอ าํ นวย การฝายตลาดและผูป ระสานงานไมผลขนาดเล็ก มูลนิธโิ ครงการหลวง นายสมชาย เขียวแดง ผูอ าํ นวยการ สถานีเกษตรหลวงอางขาง/อินทนนท ดร.คุณหญิงโกมุท อุนศรีสง หัวหนาโครงการประมง มูลนิธิ โครงการหลวงการหลวง และ ดร.อัญชัญ ชมภูพวง ผูป ระสานงานพัฒนาและสงเสริมผัก มูลนิธโิ ครงการหลวง ณ หองประชุมดอยคําอาคารฝกอบรม สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน)

10 พฤษภาคม 2558 นายหยาง จิง มนตรีแหงรัฐสาธารณรัฐประชาชนจีน พรอมคณะจํานวน 16 คน เขาเยี่ยมชมการดําเนินงาน ของมูลนิธิโครงการหลวง ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม

N E W S • U P D A T E


4

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

22-23 พฤษภาคม 2558

Royal Project Foundation

นายจรั ม พร โชติ ก เสถี ย ร กรรมการผู อํ า นวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) พรอมดวย ผูบริหารระดับ สูงในฝายตาง ๆ เยีย่ มชมการดําเนินงานของมูลนิธโิ ครงการหลวง ไดแก งานวิจัยไมผลและการเพาะเลี้ยงไกเบรส ณ สถานีเกษตร หลวงปางดะ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม การเพาะเลี้ยงปลา เรนโบวเทราต ปลาสเตอรเจี้ยน ที่หนวยวิจัยประมงบนพื้นที่สูง ดอยอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม แปลงปลูกผัก ของเกษตรกรของศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงแมแฮ อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม และ ขบวนการการผลิตกาแฟ โรงงานผลิตกาแฟ โครงการหลวง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

พฤษภาคม-สิงหาคม 2558 มหาวิทยาลัยเชียงใหม-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง โดย คณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และอาสาสมัคร ไดออกปฏิบัติงานบริการหนวย แพทยเคลื่อนที่แกราษฎรชนเผา ในพื้นที่ของมูลนิธิโครงการหลวง ในชวงเดือน พฤษภาคม-สิงหาคม จํานวน 4 ศูนย ไดแก ศูนยพัฒนาโครงการหลวงพระบาท หวยตม อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมแพะ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแกนอย อําเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม และศูนยพัฒนาโครงการหลวงปางอุง อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

5

10-12 มิถุนายน 2558 มูลนิธิโครงการหลวง รวมกับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) และมูลนิธิกลุมอีซูซุไดจัดคายพัฒนาเยาวชน โครงการหลวง โดยมีเยาวชนทีเ่ ขารับการอบรมรวม 60 คน จาก 13 ศูนยพัฒนาโครงการหลวง และ 1 พื้นที่โครงการขยายผล กิจกรรม ในครั้งนี้เยาวชนไดมีโอกาสเรียนรู ทักษะการเปนผูนําที่ดี การพูด ในที่ชุมชน ฝกวิเคราะหชุมชนและสิ่งแวดลอม รวมทั้งไดฝกเขียน โครงการสําหรับขอรับทุนสนับสนุนงบประมาณ ณ หองกัลปพฤกษ อุทยานหลวงราชพฤกษ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

N E W S • U P D A T E 7-17 มิถุนายน 2558 คณะเจาหนาที่และผูเชี่ยวชาญประจําโครงการ UNODC ประเทศเมียนมาร จํานวน 11 คน เยีย่ มชมการดําเนินงานในพืน้ ที่ ของมูลนิธโิ ครงการหลวง จํานวน 8 แหง ไดแก สถานีเกษตรหลวง อินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม สถานีเกษตรหลวง ปางดะ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม สถานีเกษตรหลวงอางขาง อําเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมแฮ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงทุงหลวง ศูนยพัฒนาโครงการหลวง ขุนวาง อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม ศูนยพัฒนาโครงการ หลวงแมโถ อําเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม ศูนยพัฒนาโครงการ หลวงหนองเขียว อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม และศูนย ผลิตผลโครงการหลวงเชียงใหม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม


ผลิตภัณฑบำรุงผิวกาย และเจลอาบน้ำ ¤Ø³¤‹Ò¨Ò¡¹éíÒÁѹ¸ÃÃÁªÒµÔ Ê¡Ñ´¨Ò¡¾×ªº¹¾×é¹·ÕèÊÙ§ Zanthoxylum Shower Gel & Zanthoxylum Body Lotion

Coffee Shower Gel & Coffee Body Lotion

เจลอาบนํ้า ที่มีสวนผสมของนํ้ามันหอมระเหย ธรรมชาติจากมะแขวน ออนโยนตอผิว ทําใหรูสึกผอน คลาย ชวยใหผวิ สะอาด สดชืน่ พรอมบํารุงผิวกายดวย โลชั่น ที่มีสวนผสมของนํ้ามันธรรมชาติจากอะโวคา โด Shea Butter และมะแขวน ซึมซาบเร็ว ไมเหนียว เหนอะหนะ ทําใหผวิ เนียนนุม ชุม ชืน่ เหมาะสําหรับทุก สภาพผิว

เจลอาบนํ้า สารสกัดจากกาแฟ ที่ออนโยนตอผิว ชวยใหผิวสะอาด สดชื่น รูสึกกระปรี้กระเปรา พรอม บํารุงผิวกายดวยโลชัน่ สูตรกาแฟ มีสว นผสมของนํา้ มัน ธรรมชาติจากอะโวคาโด Shea Butter และกาแฟ ซึมซาบเร็ว ไมเหนียวเหนอะหนะ ทําใหผวิ เนียนนุม ชุม ชืน่ เหมาะสําหรับทุกสภาพผิว

ÁÕ¨íÒ˹‹Ò·ÕèÌҹâ¤Ã§¡ÒÃËÅǧ


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

7

เพียง APP เดียว เที่ยวครบ นำทางไปทุกที่

แอปพลิเคชั่น “โครงการหลวง” ไกดนําทาง ประจําตัว ที่รวบรวมขอมูลตางๆ ไมวาจะเปนราย ละเอียด พิกัด แผนที่นําทาง และภาพถายของ สถานี/ศูนยพัฒนาโครงการหลวง พรอมทั้งชอง ทางในการติดตอกับเจาหนาที่โดยตรง นอกจาก นั้นยังมีรายละเอียดของกิจกรรมตางๆ เกี่ยวกับ โครงการหลวงอีกดวย เมื่อทานเปดแอปพลิเคชั่น “โครงการหลวง” ก็จะพบกับหนาจอแสดงขอมูลและขาวสารของทาง โครงการหลวงแตละศูนย และยังสามารถคลิกดูมี เมนูหลักตางๆ ที่ปรากฏอยูดานซายมือบนหนาจอ รายละเอียดสถานที่

เมือ่ ทานคลิกเขาไปดูรายละเอียดสถานที่ ทานจะพบขอมูลและแผนทีข่ องศูนยฯ โครงการหลวงนัน้ ๆ และยังสามารถโทร หรือสงขอความสอบถามผานอีเมล และ imessage อีกทัง้ สามารถเชือ่ มตอไปยังเว็บไซต ของมูลนิธิโครงการหลวง และสามารถแชรขอมูลผาน Facebook และ Twitter ไดอีกดวย


8

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

จังหวัด แอปพลิเคชัน่ นีม้ กี ารแบงศูนยฯ ตางๆ ของโครงการหลวงในแตละจังหวัด เอาไว ไดแก จังหวัดพะเยา จังหวัดลําพูน จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม จังหวัดแมฮองสอน ทําใหทานสามารถหาขอมูลของศูนยฯ โครงการหลวงโดย เลือกตามจังหวัดและที่ตั้งนั้นๆ ได สถานที่แนะนำ เพื่ อ ให ง า ยและสะดวกต อ การตั ด สิ น ใจ ทานสามารถเลือกหาขอมูลที่ทางแอปพลิเคชั่น แนะนําไวไดเชนกัน

พิกัด/แผนที่ ทานสามารถเลือกใชงานการคนหาศูนยตางๆ ของโครงการหลวงเฉพาะที่ และสามารถเลือกชมได เฉพาะบริเวณที่ทานเลือกเอง อีกทั้งยังสามารถขอขอมูล และเสนทางของศูนยตางๆ จากการที่ไดปกหมุด ไวบนแผนที่สําหรับเดินทางจากตําแหนงหนึ่งไปอีกตําแหนงหนึ่ง จากตําแหนงที่เราอยู ณ ปจจุบัน เมนู คนหา ทานสามารถคนหาศูนยของโครงการหลวง โดยใชชื่อหรือที่อยู และสามารถกําหนดรัศมี หรือ เลือกคนหาตามจังหวัด ไดแก จังหวัดพะเยา จังหวัด ลําพูน จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม จังหวัด แมฮองสอน ไดอีกดวย เพียงแคคลิกแอปพลิเคชัน่ “โครงการหลวง” ทานก็สามารถเดินทางไปยังศูนยตางๆ ของ มูลนิธิโครงการหลวงไดทั่วทั้ง 38 เสนทาง ความสุขของโครงการหลวง ไดอยางสะดวก และรวดเร็ว...

ดาวนโหลดไดแลววันนี้


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

9

ดี-สนุก : Travel

ผลจากการพั ฒ นาแหล ง ท อ งเที่ ย วในพื้ น ที่ โครงการหลวง จนหลายแหงเปนที่รูจักของกลุมนัก ทองเที่ยวมากมาย วารสารโครงการหลวงฉบับนี้จึง อยากแนะนําใหทานผูอานรูจักกับรูปแบบการทอง เที่ยวแบบยั่งยืนในพื้นที่ชุมชนโครงการหลวง ซึ่ง ปจจุบันหลายชุมชนไดหันมาทําการทองเที่ยวเพื่อ เปนรายไดเสริม สรางงานสรางอาชีพจากการบริการ นักทองเทีย่ ว เชน ทีพ่ กั จําหนายอาหาร ของทีร่ ะลึก นักทองเที่ยวสามารถเที่ยวชม แปลงผลผลิต พืชผัก ไมผล และไมดอกไมประดับเมืองหนาว และพืชทอง ถิ่นหายาก ชมวิถีชีวิตของชาวไทยภูเขาหลากหลาย เผา ที่มีเอกลักษณ วัฒนธรรมในการดํารงชีพตาม พื้นที่อยูอาศัย พรอมชมแหลงทองเที่ยวทางธรรม ชาติ นํ้าตก ทิวทัศนที่สวยงาม ตอนรับและนําเที่ยว

ทํากิจกรรมตางๆโดยกลุมวิทยากร นักสื่อความ หมายของชุมชนหรือไกดทองถิ่น ดวยความรวมมือของคนในชุมชน โดยการ สนับสนุนจากมูลนิธิโครงการหลวง สถาบันวิจัย และพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) และหนวย งานที่เกี่ยวของ ไดเขามาชวยเหลือดําเนินกิจกรรม ตางๆ เพื่อการจัดตั้งกลุมทองเที่ยวโดยชุมชน สราง ชุมชนใหมีบริการที่ไดมาตรฐาน โฮมสเตยไทยของ สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว กระทรวงการทอง เทีย่ วและกีฬา ทําใหวนั นีม้ ชี มุ ชนหลายแหงในพืน้ ที่ โครงการหลวงไดการรับรองมาตรฐานโฮมสเตยไทย และรางวัลดานการทองเที่ยว สงผลใหชุมชนมีราย ไดเพิ่มขึ้นจากการตอนรับนักทองเที่ยวและการ จําหนายผลผลิตชุมชน


10

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

“บานหวยนํ้ากืน ปาตนนํ้า แหลงเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง”

กลุมทองเที่ยวบานหวยนํ้ากืน ศูนยพัฒนา โครงการหลวงหวยโปง อ.เวียงปาเปา จ.เชียงราย เป น หมู บ า นขนาดเล็ ก อยู ท า มกลางหุ บ เขา ใน เขตอุทยานแหงชาติขุนแจ ระยะทางจากตัวเมือง เชียงใหม เพียง 68 กิโลเมตร เปนแหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติ และวัฒนธรรม มีปาไมธรรมชาติที่ สมบูรณ เปนพื้นที่ศึกษาโลกของแมลงหลากหลาย ชนิดไวใหศึกษา

กิจกรรมทองเทีย่ ว: ทองเทีย่ วตามเสนทางศึกษา

ธรรมชาติ ดอยมด – ดอยชาง ชมกุหลาบพันป เรียนรู ขัน้ ตอนการทําชาหยดนํา้ํ คาง การทําชาแบบโบราณ โดยใชมอื คัว่ ชมกระบวนการผลิตเมีย่ งการประดิษฐ ผลิตภัณฑจากลูกมะพราว

การเดินทาง: ระยะทางจากตัวเมืองเชียงใหม 68

กม. ใชเวลาเดินทางประมาณ 1.30 ชั่วโมง ตาม ทางหลวงหมายเลข 118 เชียงใหม – เชียงราย ระหวาง กม.ที่ 54 – 55 แยกซายมือเขาบานขุนลาว ไปยังบานหวยนํ้ากืนระยะทางประมาณ 14 กม. เปนทางคอนกรีตสลับกับทางดินลูกรังเปนระยะๆ (ในฤดูฝนการเดินทางคอนขางลําบาก) รถเกงไม สามารถเขาได

การติ ด ต อ : โฮมสเตย บ า นห ว ยนํ้ า กื น ม.13

ตําบลแมเจดีย อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย นายจันทรแดง สุลัยยะ ประธานกลุมโฮมสเตย โทร. 053-317972 ศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยโปง โทร. 087-1901272


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

11

“ชิมกาแฟ ชมผาทอขนแกะ ที่โฮมสเตย บานหวยหอม”

กลุ ม ท อ งเที่ ย วบ า นห ว ยห อ ม ศู น ย พั ฒ นา โครงการหลวงแมลานอย อ.แมลานอย จ.แมฮอ งสอน ตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณภู เขาในเขตป า สงวนแห ง ชาติ มีทรัพยากรธรรมชาติปาไมที่อุดมสมบูรณ มีแหลง นํ้าตามธรรมชาติหลายสาย หมูบานหวยหอมโดด เดนดานวัฒนธรรมชนเผา “ปกาเกอะญอ” และ ธรรมชาติ ที่ ส วยงามโดยเฉพาะนาข า วขั้ น บั น ได อากาศหนาวเย็นตลอดทั้งป ชาวบานที่นี่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก ทําไร ทํานา ไวบริโภค ในครัวเรือน และการปลูกกาแฟอราบิกาสงมูลนิธิ โครงการหลวง มีการทอผาขนแกะทีเ่ ปนทีโ่ ดงดัง ซึง่ สรางรายไดและชือ่ เสียงใหแกหมูบ า นเปนอยางมาก

กิจกรรมทองเทีย่ ว: ชมวิวความสวยงามของนาขาว

แบบขั้นบันไดระหวางเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน ชมแปลงปลูกกาแฟอราบิกา พรอมชิมกาแฟสดรสดี ผลิตภัณฑคุณภาพจากบานหวยหอม ชมการทอ ผาขนแกะของกลุมแมบาน มีทั้งผาทอขนแกะลวน และผาทอขนแกะผสมฝายที่ยอมสีจากธรรมชาติ เรี ย นรู วิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรมการแต ง กายที่ เ ป น เอกลักษณ ชิมอาหารเมนูชนเผาปกาเกอะญอ และ ชมแปลงสาธิตการปลูกพืชผักของเกษตรกร

การเดินทาง: จากตัวเมืองเชียงใหมใชเสนทางหลวง

หมายเลข 108 สายเชียงใหม-แมฮองสอน ผาน อ.แมสะเรียง มุงหนาอําเภอแมลานอย ถึง กม.132 ใหเลี้ยวขวาไปตามเสนทาง 1266 ขึ้นดอยอีก 30 กิโลเมตร

การติดตอ: โฮมสเตยบานหวยหอม หมูที่ ๑

ต. หวยหอม อ. แมลานอย จ. แมฮองสอน นางมะลิวรรณ นักรบไพร ประธานกลุมโฮมสเตย โทร. 089-555-3900 ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมลานอย โทร. 053-619-533


12

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

"เยือนถิ่นนักบุญ

วิถีชาวปกาเกอะญอ ที่พระบาทหวยตม" กลุ ม จั ด การการท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนบ า น พระบาทหวยตม ต.นาทราย อ.ลี้ จ.ลําพูน เปน ชุมชนชาวเขาเผากะเหรี่ยงหรือปกาเกอะญอที่มี การอยูร วมกันเปนกลุม จํานวน 10 หมูบ า น มีหลวง ปูครูบาชัยยะวงษาพัฒนา นักบุญแหงลานนาเปน ผูกอตั้งหมูบาน และเปนศูนยรวมจิตใจของชุมชน คนที่นี่ถือศีลกินอาหารมังสวิรัติ มีการทําบุญฟง เทศนทกุ วันพระ ชาวกะเหรีย่ งหรือชาวปกาเกอะญอ ที่นี่นอกจากจะทําอาชีพเกษตรกรรมที่ไดรับการสง เสริมจากโครงการหลวงแลว ยังมีอาชีพหัตถกรรม ที่ขึ้นชื่อที่มีการถายทอดใหแกเยาวชน ไดแก การ ทอผา การทําเครือ่ งเงินทีเ่ ปนอุตสาหกรรมครัวเรือน

กิจกรรมทองเที่ยว: เรียนรูวิถีชีวิต การทําบุญ

ตักบาตรอาหารมังสวิรตั เิ ทานัน้ ทุกวันพระ ทองเทีย่ ว ใจบานศูนยรวมจิตใจของคนในชุมชน พระบาท ห ว ยต ม รอบพระพุ ท ธบาทเป น ภู มิ เ ดิ ม ที่ พระพุ ท ธเจ า ประทั บ รอยพระบาทไว พระธาตุ เจดียศรีเวียงชัยพุทธสถานของวัดพระพุทธบาท ห ว ยต ม เป น เจดี ย ที่ ป ด ด ว ยทองคํ า แท แ ละ เป น เจดี ย ที่ จํ า ลองศิ ล ปะการสร า งมาจากเจ ดี ย ช เวดากองของพม า เรี ย นรู ขั้ น ตอนการทอ ผาและเลือกซื้อผลิตภัณฑ ที่ศูนยวิจัย หัตถกรรม ชมการทําเครื่องเงินยอดฉัตร ตีเหล็ก การยอมสีธรรมชาติตามภูมิปญญากะเหรี่ยง และ ชมวิถีชีวิตกะเหรี่ยงโบราณบานนํ้าบอนอย

การเดินทาง: จากตัวเมืองเชียงใหมใชทางหลวง

หมายเลข 106 (สายเชี ย งใหม - ลํ า พู น ) เมื่ อ ถึ ง อํ า เภอลี้ ใ ห เ ลี้ ย วขวาเข า สู ท างหลวงหมายเลข 1087 ถึง หลักกิโลเมตรที่ 7 จะมีทาง แยกซายมือ เขาสูศูนย อีก 1 กิโลเมตร หรือจากเมืองเชียงใหม สามารถใชทางหลวงหมายเลข 108 (สายเชียงใหมแมฮอ งสอน) ผานอําเภอดอยเตาแลวเขามาทีอ่ าํ เภอ ลี้ก็ได

การติดตอ: โฮมสเตยบานพระบาทหวยตม หมูที่

8 ตําบลนาทราย อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน 51110 ทองเที่ยวโดยชุมชน คุณสุรีพร พงศากมล โทร.087-1856171 นางธีรนาถ นอยแสง โทร.083-3243063


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

13

“ทะเลหมอกสุดสายตา

ผานมานฟาสองวัฒนธรรม ดอยมอนเงาะ” กลุมทองเที่ยวบานเหลาพัฒนา ศูนยพัฒนา โครงการหลวงมอนเงาะ อ.แมแตง จ.เชียงใหม ชุมชนบานมอนเงาะเปนชุมชนเล็กๆ ที่ตั้งกระจาย อยูรอบปาใหญบนพื้นที่ตนนํ้าลําธาร ในลุมนํ้าปง ตอนบน บริเวณปาสงวนแหงชาติแมแตง ประชากร ที่อาศัยอยูในพื้นที่มีทั้งคนเมืองและชาวเขาเผามง มีวิถีชีวิตทําการเกษตร พึ่งพาธรรมชาติที่ผูกพันวิถี ชีวติ ของคนเมือง คือการปลูกใบเมีย่ งแทบทุกหลังคา เรือน เมี่ยงจึงถือวาเปนวัฒนธรรมการเกษตรแบบ ดั้งเดิม และไดรวมตัวกันจัดตั้งโฮมสเตยบานเหลา พัฒนา และกลุมทองเที่ยวดอยมอนเงาะขึ้น เพื่อ เปนการสรางรายไดใหคนชุมชนอีกหนึ่งทาง

กิจกรรมทองเที่ยว: ชมวิวและกางเต็นทบนยอด การเดินทาง: จากตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม ใชเสน ดอยมอนเงาะ นอนดูดาว ชมทิวทัศนพระอาทิตย ขึ้นและตก ทะเลหมอกยามเชา รวมเรียนรูวิถีชีวิต กระบวนการผลิตเมี่ยงแบบดั้งเดิม เรียนรูการเก็บ และแปรรูปเมีย่ ง อาหารขึน้ ชือ่ ของชุมชนบานเหลา วิถีวัฒนธรรมชนเผามง ชมแปลงสงเสริมการปลูก ฟกทองญี่ปุน ในระบบการปลูกแบบเขาแถว และ โรงเรือนกลวยไมตระกูลซิมบิเดียม ของศูนยพฒ ั นา โครงการหลวงมอนเงาะ เที่ยวและชิมชาสายพันธุ ดีที่ไรชาลุงเดช ผจญภัยกับกิจกรรมลองแพลํานํ้า แมแตง ที่บานสบกาย ซึ่งมีใหเลือกทั้งแพไมไผและ แพยาง ระยะทางประมาณตั้งแต 5-10 กิโลเมตร

ทางหมายเลข 107 ผานอําเภอแมริม เขาสูอําเภอ แมแตง จากนั้นเลี้ยวซายเขาสูเสนทางหมายเลข 1095 (เสนทางนี้เปนเสนทางไปอําเภอปาย จังหวัด แม ฮ อ งสอน) เข า ไปอี ก ระยะทางประมาณ 10 กิ โ ลเมตร จะเห็ น ป า ยบอกทางไปศู น ย พั ฒ นา โครงการหลวงมอนเงาะดานขวา

การติดตอ: โฮมสเตยบานเหลาพัฒนา หมูที่ 4

ตําบลเมืองกาย อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม 50150 นางพิจิตร เพชรพลอยศรี โทร 087-183-6415 หรือ 086-193-7383 ศูนยพัฒนาโครงการหลวงมอนเงาะ โทร. 095-685-2525 , 081-0251002 Facebook : Home stay ban lao/โฮมสเตยบาน เหลาพัฒนา


14

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

"ชิมกาแฟอินทรีย ชมวิวนาขาวขั้นบันได"

กลุมทองเที่ยวเชิงอนุรักษบานแมกลางหลวง สถานีเกษตรหลวงอินทนนท อ.จอมทอง จ.เชียงใหม ตั้งอยูในระยะทางกึ่งกลางระหวางสายจอมทองยอดดอยอินทนนท บานแมกลางหลวงเปนอีกหนึ่ง ชุมชนนาพัก นาเที่ยว ตั้งอยูกลางหุบเขาแวดลอม ดวยปาไมอดุ มสมบูรณ มีลาํ นํา้ แมกลางไหลผาน จึงมี การปรับใชทดี่ นิ ลาดชันไปรูปแบบนาขัน้ บันได มีชน เผาปกาเกอะญออาศัยอยูป ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลู ก กาแฟอราบิ ก า แบบอิ น ทรี ย ใ ต ร ม เงาของ ตนไมในปาธรรมชาติ เปนการอาศัยซึ่งกันและกัน และงานหัตกรรมผาทอกี่เอวของปกาเกอะญอ

กิจกรรมทองเทีย่ ว: ชมการทํานาขัน้ บันได สัมผัส

ความสวยงามที่แตกตางกันใน 4 บรรยากาศ เชน การทํานาปลูกขาวแบบเดินถอยหลัง ชวงนาขาว เขี ย วขจี ช ว งนาข า วออกรวงเหลื อ งอร า มกลาง หุบเขา ชวงหมดหนานาจะมาเห็นคันนาสีเขียวที่ สลับไปมาอยางสวยงาม ชวงฤดูการทํานา เดือน มิ ถุ น ายน-พฤศจิ ก ายน เดิ น ศึ ก ษาระบบนิ เวศธรรมชาติ-ดูนก ดินปาศึกษาธรรมชาติเรียนรูความ สําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการตาม ภูมิปญญาทองถิ่น ศึกษาดูนกประจําถิ่นในเสนทาง เดินปาดอยหัวเสือ เสนทางดูนกหวยนํา้ ขุน และเสน ทางศึกษาธรรมชาตินาํ้ ตกผาดอกเสีย้ ว เสนทางทีไ่ ด รับความนิยมไดแก ศึกษาดูนกประจําถิ่นเสนทาง เดินปาดอยหัวเสือ นํ้าตกผาดอกเสี้ยว ชิมกาแฟ อราบิกา ทีป่ ลูกแบบอินทรีย ซึง่ ชาวบานปลูก คัว่ บด ชงเองทุกขัน้ ตอนที่ "บานคุณสมศักดิ"์ ไดบรรยากาศ ดวยกานํา้ รอนทีต่ ม ดวยฟน พรอมดวยถุงกาแฟแบบ โบราณที่เตรียมไวตอนรับผูมาเยือน

การเดินทาง: จากตัวเมืองเชียงใหม ตามเสน

ทางหลวงหมายเลข 108 ผานอําเภอหางดง อําเภอ สันปาตอง และอําเภอจอมทอง ระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร แลวเดินทางขึ้นเขาไปตามเสนทาง อําเภอจอมทอง-อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ทางหลวงหมายเลข 1009 ทางเขาหมูบ า นแมกลาง หลวงซายมือ ตรงกิโลเมตรที่ 26

การติดตอ: Fanpage : ศูนยบริการทองเที่ยว

เชิงอนุรักษบานแมกลางหลวง โทร. 089-952-0983 (คุณพงษศกั ดิ์ วนาลัยนิเวศน) สถานีเกษตรหลวงอินทนนท โทร. 053-286-777


...ÃʪҵԡÅÁ¡Å‹ÍÁ...


16

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

ดีอรอย

ä¡‹àºÃÊ

“ ä¡‹·Õè¤Çä‹Òá¡‹¡ÒÃÅÔéÁÅͧ ÊÑ¡¤ÃÑé§Ë¹Öè§ã¹ªÔÇÔµ ” ไกเบรส (Bresse Chicken) คือไกทมี่ ตี น กําเนิด มาจาก ประเทศฝรั่งเศส จัดเปนไกชั้นสูง เลี้ยงใน ฟารมเปด ชาวฝรั่งเศสบอกวาไกเบรสสามารถ กินดื่ม ไดอยางเสรี ยิ่งไปกวานั้นชาวฝรั่งเศสยังถือเปน ไกของชาวฝรั่งเศสโดยแท เนื่องจากในตัวไกมีสี ของธงชาติฝรั่งเศสครบทั้ง 3 สี นั่นเอง มูลนิธิโครงการหลวง เริ่มเลี้ยงไกเบรสครั้ง แรกในป พ.ศ. 2533 โดยเชฟ นอรเบิรท คอสเนอร เชฟชาวอิตาเลียน ที่ปรึกษาโครงการหลวง และ Executive Chef ของโรงแรมโอเรียนเต็ล ไดติดตอ ไปยังเจาหนาที่ ที่สมาคมเลี้ยงไกเบรสที่รูจักกัน แตทางฝรัง่ เศสปฏิเสธ โดยใหเหตุผลวาเปนไกสงวน ไมสามารถนําออกนอกประเทศได เชฟนอรเบิรท จึงไดเลาถึงงานของโครงการหลวงของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั แลวสงวีดโี อไปใหทางฝรัง่ เศส เห็นแลวประทับใจมากจึงไดสง ไขทผี่ า นการปฏิสนธิ แลวมาให จํานวน 300 ฟอง ทางโครงการหลวงก็นาํ ไปฟกทีแ่ มโจ แตวา ฟกไมออก เมือ่ ทางฝรัง่ เศสทราบ จึงสงลูกเจี๊ยบมาให 400 ตัว

เรื่องโดย...

1. น.ส มินตรา ชูวงศวาน พระนคร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพฯ 2. น.ส จุฬาทิพย สิงหโท เขตเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรวิทยา จังหวัดสกลนคร

จากการเดิ น ทางลู ก เจี๊ ย บตายไป 4-5 ตั ว เท า นั้ น หลั ง จากนั้ น มาจึ ง มี ก ารเลี้ ย งไก เ บรสใน โครงการหลวงมาจนถึ ง ป จ จุ บั น และสามารถ ขยายการผลิ ต ไก ขุ น จํ า หน า ยได ไ ม ตํ่ า กว า 300 ตัว/เดือน สรางรายไดใหแกเกษตรกร ไมตํ่ากวา 250,000 – 300,000 บาท /ป


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

17


18

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

กาวใหม : Feature

การสงเสริมและพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพ สำหรับใชในครัวเรือนบนพื้นที่สูง รศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิพัฒน ผูประสานงานสงเสริมและพัฒนาปศุสัตว มูลนิธิโครงการหลวง ภาควิชาสัตวศาสตรและสัตวนํ้า คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประชาชนบนพื้นที่สูงประกอบดวยชาวเขาหลายชนเผากระจายอยูในจังหวัดทางภาคเหนือของ ประเทศไทย มีจํานวนรวมกวา 1.65 แสนราย (ขอมูลสํารวจเชิงลึก พ.ศ. 2551) ประชาชนเหลานี้ตั้งบาน เรือนและมีพื้นที่ทํากินครอบคลุมกวา 67.2 ลานไร ใน 20 จังหวัด เชน เชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน พะเยา ลําพูน แพร นาน ลําปาง ตาก เพชรบูรณ พิษณุโลก เปนตน สวนใหญมีวิถีชีวิตที่เรียบงาย ประกอบ อาชีพดานการเกษตรทัง้ การปลูกพืชและเลีย้ งสัตวเปนหลัก ปจจุบนั เกษตรกรเหลานีม้ กั มีปญ  หาตางๆ อาทิ 1.มีรายไดนอยเมื่อเทียบกับเกษตรกรทั่วไป เฉลี่ยมีรายไดเพียงปละ 31,126 บาทตอครัวเรือน ทั้งนี้เนื่องจากสภาพพื้นที่ทํากินเสื่อมโทรม หนา ดินพังทลาย เพราะมีการตัดตนไมทาํ ลายปาเพิม่ ขึน้ ทําใหไดผลผลิตนอย ประกอบกับระบบการผลิตมี การเพิ่มการใชสารเคมี ตนทุนการผลิตจึงสูงขึ้น แต ราคาผลผลิตยังตกตํ่า 2.ทรัพยากรธรรมชาติลดลง โดยมีทรัพยากร ป า ไม เ หลื อ เพี ย ง 25.6% ซึ่ ง เกิ ด จากการตั ด ไม ทํ า ลายป า ทํ า ให ช าวเขาเหล า นี้ ข าดแคลนวั ส ดุ สําหรับนํามาทําฟนและถาน สงผลกระทบโดยตรง ตอการดําเนินชีวิต 3.ปญหาดานพลังงาน เชน พลังงานมีราคาสูง บางสวนตองขนจากพื้นราบขึ้นไป เปนตน 4.ปญหาดานการเลี้ยงสัตว ยังไมมีระบบการ จัดการที่ดี เชน ระบบการจัดการกลิ่น มูลสัตว และ แมลงทีก่ อ ความรําคาญ/กอโรค ทําใหประชาชนบน พื้นที่สูงมีสุขอนามัยที่ไมดี นอกจากนี้ปญหาดาน

กลิ่น/มูลสัตวในชุมชนยังกอใหเกิดความขัดแยงกับ เพื่อนบานอีกดวย 5.การคมนาคมทีไ่ มสะดวก โดยกวารอยละ 80 ของหมูบานบนพื้นที่สูงมีการคมนาคมยากลําบาก ทําใหการขนสงสาธารณูปโภคตางๆ มีตนทุนสูง สง ผลใหสินคาตางๆ บนพื้นที่สูงมีราคาแพงกวาปกติ นอกจากนีก้ ารคมนาคมทีไ่ มสะดวกยังเปนอุปสรรค ตอการทํางานและการใหความชวยเหลือของหนวย งานตางๆ การผลิตกาซชีวภาพสําหรับใชในครัวเรือนได เกิดขึน้ อยางแพรหลาย และมีหลายรูปแบบ เชน บอ หมักกาซชีวภาพแบบโอง แบบฝาครอบลอย แบบ ใชวงปูนซีเมนต แบบลูกโลกของประเทศจีน และ แบบถุงบอลลูนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม (CMU balloon digester) เปนตน ซึง่ แตละรูปแบบมีขอ ดี ขอเสีย และราคาทีแ่ ตกตางกัน ผูใ ชจาํ เปนตองศึกษา หารูปแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่และความตองการ ของตนเอง


วารสารโครงการหลวง

การทําบอหมักกาซชีวภาพแบบถุงบอลลูน ซึง่ ใชถงุ พลาสติกแอลดีพอี ี (LDPE) เปนอีกรูปแบบหนึง่ ทีม่ กี ารใชอยางแพรหลายในปจจุบนั โดยมีวธิ กี ารจัด ทําอยางงายๆ ตนทุนตํา่ และเนนการใชวสั ดุทหี่ าได งายในทองถิ่น เหมาะสมกับเกษตรกรผูเลี้ยงสัตว รายยอย รวมทั้งเนนการใชประโยชนในครัวเรือน ถุงหมักนี้ใชพลาสติกชนิด LDPE ที่มีความหนา 0.3 มิลลิเมตร ซึ่งจะมีความคงทนและมีอายุการใชงาน นาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการดูแลรักษาดวย ปริมาตร ความจุของถุงหมักมีหลายขนาด ขึน้ กับจํานวนสัตว ที่เลี้ยง (ปริมาณวัตถุดิบสําหรับหมัก) และความ ตองการใชพลังงาน (กาซ) ในครัวเรือน เปนตน โดยทั่วไปจะแนะนําขนาด 8 ลูกบาศกเมตร ซึ่งเปน ขนาดเล็กสุด จะใชวสั ดุหมักจํานวน 5 ลูกบาศกเมตร และที่กักเก็บกาซชีวภาพจํานวน 3 ลูกบาศกเมตร หรื อ เท า กั บ เลี้ ย งสั ต ว จํ า พวกสุ ก ร 10-20 ตั ว โคกระบือ 10-20 โคขุนโคนม 3-5 ตัว หรือไก 100-200 ตัว หรืออาจใชขนาดใหญกวานี้ก็ไดถา เกษตรกรมีวตั ถุดบิ (มูลสัตวและขยะอินทรียท เี่ หลือ ใชจากครัวเรือน) ใสในถุงหมักไดอยางสมํ่าเสมอ อยางไรก็ดี กอนทีจ่ ะมีการสงเสริมใหเกษตรกร ชาวเขานํามูลสัตวและเศษอาหารในครัวเรือนไป ผลิตเปนกาซชีวภาพอยางจริงจังนั้น สุชนและคณะ (2554) ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและ พัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) ใหศึกษาวิจัยหา ขนาดของบอหมักกาซชีวภาพที่เหมาะสมกับครัว เรือนเกษตรกรในแตละระดับพื้นที่ ซึ่งสุชนและ คณะไดใชถุงหมักแบบบอลลูนขนาด 8, 12 และ 16 ลูกบาศกเมตร ศึกษาใน 3 พื้นที่ที่มีความสูง จากระดับนํ้าทะเลตางกัน คือ ตํ่ากวา 800, 8001,000 และมากกวา 1,000 เมตรขึ้นไป ปรากฏวา เกษตรกรที่รวมโครงการฯ ทั้ง 3 ระดับพื้นที่ (n = 20) แตละครัวเรือนมีสมาชิก 3-5 คน ใชฟนเพื่อหุง ตมวันละ 5-9 ทอน แตละทอนมีเสนผาศูนยกลาง 8-10 ซม. ยาว 60-70 ซม. หรือมีนํ้าหนัก 1.0-1.5 กก. มีการใชกาซหุงตมเสริมบางเดือนละ 0.2-1 ถัง สัตวที่เลี้ยงสวนใหญเปนสุกรลูกผสมพื้นเมืองกับ

ROYAL PROJECT JOURNAL

19

เหมยซานหรือเปยแตรง อาหารที่ใหประกอบดวย ตนกลวย ซึ่งมีทั้งแบบดิบและแบบหมัก และใหเศษ ผักจากโครงการหลวงผสมกับรําโรงสีขนาดเล็ก สวน บางรายใหอาหารสําเร็จรูป เลี้ยงเฉลี่ยครอบครัว ละ 6.2 ตัว รองลงมา คือ เลี้ยงโคพื้นเมืองแบบ ปลอยใหหากินตามธรรมชาติ เฉลี่ยครอบครัวละ 7.5 ตัว แพะนมและแกะ ซึ่งเปนของสถานีวิจัย/ ศูนยฯ (ตารางที่ 1) ปริมาณกาซชีวภาพที่ผลิตได ในสภาพที่มีแสงแดดปกติจากถุงหมักในทุกระดับ พื้นที่มีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ คือ มี คาเทากับ 0.31, 0.33 และ 0.30 m3/hr การเพิ่ม ขนาดถุงหมักจาก 8 ลูกบาศกเมตรเปน 12 และ 16 ลูกบาศกเมตร สามารถผลิตกาซชีวภาพไดมากขึ้น อยางมีนัยสําคัญ (P<0.05) คือ มีคาเทากับ 0.16, 0.37 และ 0.41 m3/hr ตามลําดับ (ตารางที่ 2) กาซชีวภาพที่ไดนี้มีกาซมีเทน (CH4) เฉลี่ย 56% กาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) หรือกาซไขเนา 378.5 ppm โดยเกษตรกรทุกรายไดนํากาซชีวภาพไปใช หุงตมแทนการใชฟนและกาซ LPG เฉลี่ยวันละ 1-2 ชัว่ โมง ขนาดถุงหมักทีเ่ หมาะสมสําหรับครัวเรือนบน พืน้ ทีส่ งู ควรเปน 12-16 ลูกบาศกเมตร โดยเก็บกาซ ชีวภาพไดวันละ 4.4-4.9 ลูกบาศกเมตร สามารถ ลดคาใชจายไดเดือนละ 400-1,000 บาท รวมทั้ง ลดการใชฟนไดเดือนละ 200-400 กิโลกรัม มีระยะ เวลาคืนทุน 5 เดือน เกษตรกรชาวเขาผูใชทุกรายมี ความพึงพอใจในระดับมากถึงมากที่สุด (ตารางที่ 3-4, องอาจและคณะ, 2555)


20

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

ตารางที่ 1 ชนิดและปริมาณสัตวที่เลี้ยงของเกษตรกรที่รวมทําบอกาซชีวภาพ ชนิดสัตวเลี้ยง จํานวนสุกรตอครอบครัว (ตัว) แมพันธุ (%) พอพันธุ (%) สุกรเล็ก-ขุน (%) จํานวนโคพื้นเมืองตอครอบครัว (ตัว) แพะนม (ตัว) แกะ (ตัว)

ปริมาณ 6.2 27.0 9.0 64.0 7.5 104 21

ตารางที่ 2 ปริมาณผลผลิตกาซชีวภาพ (m3/hr) จาก 3 ระดับความสูง และ 3 ขนาดความจุของถุงหมักแบบบอลลูน (สุชนและคณะ, 2554) ระดับความสูงจากนํ้าทะเล (ม) < 800 800-1000 >1000 เฉลี่ย

ขนาดบอหมัก (ลูกบาศกเมตร) 8 12 16 0.16 0.37 0.41 0.16 0.39 0.42 0.15 0.35 0.40 c b 0.16 0.37 0.41a

เฉลี่ย 0.31 0.33 0.30

a-c Means with the same letter are not significantly different (P<0.05)

ตารางที่ 3 การประเมินความคุมคาทางเศรษฐศาสตรของการผลิตกาซชีวภาพ แบบถุงบอลลูน (องอาจและคณะ, 2555) ขนาดถุงหมัก (ลบ.ม.) ปริมาตรของมูลสัตว + นํ้าในถุงหมัก (ลบ.ม.) ตนทุนทําถุงหมักกาซชีวภาพ ไมรวมคาแรง (บาท) ปริมาณกาซที่ผลิตไดตอวัน (ลบ.ม.) ทดแทนการใชกาซ LPG ตอเดือน (ถัง)1/ คิดเปนเงินที่ประหยัดไดตอเดือน (บาท) ระยะเวลาคุมทุน (เดือน) 1/LPG = Liquefied petroleum gas (15 กก/ถัง)

8 5 3,500 1.92 1 400 8.7

12 7.5 4,200 4.44 2.3 920 4.5

16 10 5,000 4.92 2.5 1,000 5.0


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

21

ตารางที่ 2 ปริมาณผลผลิตกาซชีวภาพ (m3/hr) จาก 3 ระดับความสูง และ 3 ขนาดความจุของถุงหมักแบบบอลลูน (สุชนและคณะ, 2554) ประเด็นความพึงพอใจ รูปแบบของบอกาซชีวภาพที่ใชถุงบอลลูน (CMU balloon digester) ปริมาณกาซที่ผลิตไดตอวัน ความสะดวกในการนํากาซชีวภาพมาใชหุงตม กลิ่นของอาหารที่ปรุงจากใชกาซชีวภาพเปนเชื้อเพลิง การลดกลิ่นเหม็นจากการเลี้ยงสัตว การปรับปรุงสภาพบริเวณรอบๆ คอกเลี้ยงสัตว เฉลี่ย

ระดับความพึงพอใจ คะแนน รอยละ 4.51 90.24 4.14 82.86 4.71 94.29 4.86 97.13 4.67 93.33 4.14 82.86 4.51 90.12

หมายเหตุ : ระดับคะแนนมีคาตั้งแต 1 ถึง 5 ซึ่งหมายความวา มีความพึงพอใจจากระดับนอยที่สุดถึงระดับมากที่สุด

ในป จ จุ บั น แม ว า จะมี ก ารทํ า บ อ หมั ก ก า ซ ชีวภาพจํานวนมาก แตในพืน้ ทีส่ งู ยังมีการจัดทําคอน ขางนอย เนื่องจากเกษตรกรขาดองคความรูในการ จัดทํา และขาดแนวทางในการนําไปใชประโยชน อีกทัง้ ยังมีหนวยงานทีใ่ หการสงเสริมการทําบอหมัก กาซชีวภาพนอย โดยมีเพียงมูลนิธิโครงการหลวง ซึ่งไดสงเสริมการทําบอหมักกาซชีวภาพในพื้นที่สูง ไปแลวจํานวน 60 บอ กระจายในพื้นที่ตางๆ เชน สถานีเกษตรหลวงอางขาง ศูนยพัฒนาโครงการ หลวงสะโงะ หวยโปง วัดจันทร หนองหอย แมทา เหนือ หวยนํ้าขุน ปาเมี่ยง และหวยเสี้ยว เปนตน โดยมีการจัดทํา 2 รูปแบบ คือ แบบถุงบอลลูน (CMU balloon digester) และแบบลูกโลกที่ นําเขาจากประเทศจีน ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ การนํากาซชีวภาพไปใชหุงตมของครัวเรือน จาก การสํารวจ พบวา ในแตละครัวเรือนสามารถลด การใชกาซ LPG ไดไมนอยกวา 1 ถังตอเดือน หรือ เทียบเทากับประหยัด (ลดรายจาย) ไดไมนอยกวา เดือนละ 400 บาท หรือเทากับปละ 4,800 บาท

ตอครัวเรือน ในรายที่ใชฟน ชวยลดการใชฟนไดไม นอยกวาเดือนละ 270 ทอน (400 กิโลกรัม/เดือน) หรือเทากับชวยลดการตัดตนไมไดไมนอยกวาปละ 4.8 ตัน/ครัวเรือน ในบางรายยังมีการแบงปนกาซ ชีวภาพใหเพื่อนบานไดใชรวมกันดวย ซึ่งสงผลให ความสัมพันธของเพื่อนบานที่มีการเลี้ยงสัตวดีขึ้น ไมทะเลาะหรือขัดแยงกัน นอกจากจะไดเรือ่ งพลังงานทดแทน และเรือ่ ง ความสัมพันธที่ดีระหวางเพื่อนบานแลวยังไดกาก ตะกอน หรือปุย อินทรียท ลี่ น จากบอหมักกาชีวภาพ ซึ่งมีธาตุอาหารชนิด N เทากับ 197.2 mg/L, P 84.5 mg/L และ K 360.4 mg/L (สุคีพ, 2558) โดยมีปริมาณเฉลี่ยวันละ 40 ลิตร หรือเทากับ 14.4 ตั น /ป / ราย ซึ่ ง สามารถนํ า ไปใช เ ป น ปุ ย สําหรับรดพืชผัก หรือใสในแปลงเกษตรไดอีกดวย โดยเฉพาะในแปลงพืชอินทรีย เปนตน ทําใหชวย ฟนฟู และอนุรักษผืนดินใหใชประโยชนไดอยาง ยาวนานและยั่งยืนตลอดสืบไป


22

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

โดยสรุปปจจุบนั โครงการสงเสริมการผลิตกาซชีวภาพสําหรับใชในครัวเรือนบนพืน้ ทีส่ งู ไดมบี ทบาท ที่สําคัญในเรื่องการแกปญหามลภาวะจากการเลี้ยงสัตว และชวยใหไดพลังงานทดแทนที่สามารถนํามาใช ในครัวเรือน ชวยใหประหยัดคาใชจายของครัวเรือนเกษตรกรกลุมดังกลาวไดถึงปละไมนอยกวา 7 แสน บาท โดยคํานวณจากการใชกา ซหุงตมเปนตัวเทียบ และจากการใชปยุ นํา้ ทีล่ น ออกจากบอหมักกาซชีวภาพ เทานั้น (ตารางที่ 5) ตารางที่ 5 จํานวนบอกาซชีวภาพที่สนับสนุนใหทําบนพื้นที่สูงของมูลนิธิโครงการหลวง ในป 2557- 2558 และประโยชนที่ไดรับ จํานวน ทดแทนการใช (ตัน / ป) ปริมาณปุยนํ้า ปที่ทําบอกาซฯ (บอ) (ตัน / ป) ฟน LPG A. แบบบอลลูน (CMU balloon digester) 1/ ป 2557 30 144 5.4 432 ป 2558* 10 48 1.8 144 รวม 40 192 7.2 576 B. แบบลูกโลกจากจีน (Chinese PE digester) 2/ ป 2557 20 96 3.6 288 รวมทั้งสองแบบ 60 288 10.8 864

ประหยัดเงิน / ป 3 (บาท) 351,000.117,000.468,000.234,000.702,000.-

1/ราคาคาติดตัง้ ประมาณ 3,800 บาทตอชุด 2/ราคาคาติดตัง้ ประมาณ 75,000 บาทตอชุด 3/คํานวณจากราคากาซ LPG 25 บาท/กก และปุย นาํ 500 บาท/ตัน * มีแผนที่จะทําในป 2558 อีกจํานวน 50-70 บอ

ในอนาคต โครงการสงเสริมการผลิตกาซชีวภาพสําหรับใชในครัวเรือนบนพื้นที่สูง จะพัฒนาการนํา กาซชีวภาพไปใชกับเครื่องยนตทางการเกษตร เชน เครื่องสูบนํ้าสําหรับการพนสเปรยนํ้าใหกับพืช เครื่อง บดวัตถุดบิ อาหารสัตว เปนตน ทัง้ นี้ งานปศุสตั วมลู นิธโิ ครงการหลวงไดจดั เตรียมองคความรูส าํ หรับการสง เสริมการใชชดุ ดูดซับกาซไขเนา (กาซไฮโดรเจนซัลไฟด, H2S) ซึง่ เปนกาซทีท่ าํ ใหเครือ่ งยนตผกุ รอน สึกหรอ งาย ออกจากกาซชีวภาพ ทําใหเครื่องยนตใชงานไดนานขึ้น

เอกสารอางอิง สุชน ตั้งทวีวิพัฒน, องอาจ สองสี, บุญลอม ชีวะอิสระกุล, พรทิพย ผลเพิ่ม และสุคีพ ไชยมณี. 2554. การวิจยั และพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตกาซชีวภาพสําหรับครัวเรือนเกษตรกรบนทีส่ งู . รายงานวิจยั ฉบับ สมบูรณเสนอตอสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน), 88 หนา. สุคีพ ไชยมณี. 2558. ผลการวิเคราะหธาตุอาหารในกากตะกอนจากบอกาซชีวภาพสําหรับเปนปุย พืช (ติดตอสวนตัว) องอาจ สองสี, สุชน ตั้งทวีวิพัฒน, พรทิพย ผลเพิ่ม, สุคีพ ไชยมณี และบุญลอม ชีวะอิสระกุล. 2555. การวิจัยและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตกาซชีวภาพสําหรับครัวเรือนบนที่สูง. แกนเกษตร, 40 (ฉบับ พิเศษ 2) : 205-208.


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

หนทาง สูหัวใจ ที่แข็งแรง

23

สุขภาพดี : Healthy

{ เรื่องโดย งานพัฒนาการศึกษา }

ในอดีตกาลมนุษยมีความเปนอยูอยางเรียบงาย รหัสพันธุกรรมของมนุษยถกู สรางขึน้ เพือ่ รองรับชีวติ ใน การรับประทานผัก ผลไม และเมล็ดพันธุพ ชื เปนอาหาร หลักเพราะหางาย บางครั้งก็จะมีอาหารประเภทปลา หรือเนื้อสัตวที่มีไขมัน สงผลใหมนุษยผูกติดในรสชาติ ของอาหารประเภทไขมัน เพราะเปนแหลงอาหารทีใ่ ห พลังงานสูง สามารถสะสมในรางกายใชยามจําเปน ปจจุบนั รหัสพันธุกรรมมนุษยไมมกี ารเปลีย่ นแปลง แตแหลงอาหารพัฒนาไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจ มีการผลิตอาหารประเภทไขมัน และอาหารดัดแปลง มากมายเหลือเฟอ มนุษยจึงบริโภคอาหารตามความ ตองการ สงผลใหเกิดโรคตางๆ โดยเฉพาะ “โรคหัวใจ” ซึ่งสวนใหญมีการรักษาเพียงปลายเหตุ และที่นากลัว คือคนที่เสียชีวิตกะทันหัน จากภาวะกลามเนื้อหัวใจ ขาดเลือดเฉียบพลันนั้น จํานวนเกือบครึ่งไมมีอาการ หรือไมรูตัวลวงหนามากอนเลย ดังนั้นสิ่งที่สําคัญที่สุด ในการดูแลรักษาโรคนี้ คือ การปองกันจากปจจัยเสี่ยง ทุกๆ ปจจัย โรคหัวใจ คราชีวิตคนทั่วโลก ปละกวา 17 ลานคน สําหรับในประเทศไทย โรคหัวใจถือเปนสาเหตุ การตายอันดับตนๆ แตละปมีผูเสียชีวิตจากโรคหัวใจในอัตรา รอยละ 17 จากสถิติกระทรวงสาธารณสุข ป 2548 ปจจุบันพบวามีผูเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เทา จากสาเหตุการมีคราบไขมันในผนังหลอดเลือด ทําใหหลอดเลือดหัวใจตีบ รับและสงเลือดไมไดเต็มที่ กลามเนื้อหัวใจขาดเลือด สงผลใหมีอาการเจ็บ หนาอก เปนชวงๆหรือกลามเนื้อหัวใจตาย หลอดเลือดแตกหรือตีบเปนผลใหหัวใจลมเหลวเสียชีวิตโดย เฉียบพลัน


24

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

ในขอเท็จจริงเรามีความรูมากมายเกี่ยวกับหัวใจ แตกลับไมได ใสใจดูแลหัวใจอยางทะนุถนอม การใชชีวิตที่มีความสุข มีชีวิตชีวา จะชวยหลอเลีย้ งหัวใจใหมสี ขุ ภาพดี แตวถิ ชี วี ติ ของเราทุกวันนี้ กลับ กอเกิดภัยคุกคาม คนสวนใหญกนิ มากเกินไป แตออกกําลังกายนอย เกินไป ผลทีต่ ามมาทําใหนาํ้ หนักเกิน จัดไดวา เปน โรคอวน เราหลอ เลี้ยงรางกายดวยไขมัน และคารโบไฮเดรตชนิดเลว แตกลับปลอย ใหรางกายอดอยากไขมันจําเปน เสนใยอาหาร สารตานอนุมูลอิสระ นอกจากนี้ความเครียดที่กลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตเรา บังคับให รางกายทนตอฮอรโมนความเครียดสูงกวาปกติ ซึง่ มักทําลายสุขภาพ และฉกฉวยเวลาอันมีคาที่เราควรจะไดผอนคลาย

ปจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจ

สิ่งที่ควรรู ๏ โรคหัวใจคราชีวติ ผูห ญิงสูงกวาโรคมะเร็งเตานม ถึง 4 เทา และมีโอกาสเสี่ยงสูงกวาผูชาย จากการสํารวจภาวะสุขภาพ คนไทย โดยกระทรวงสาธารณสุข พบวาหญิงอวน 34.6 % มี ภาวะความดันสูง 21 % ระดับไขมันในเลือดสูง 17 % แลว เสียชีวิต 35% ในขณะที่ผูชายเสียชีวิตเพียง 25 %

๏ การสูบบุหรี่ ๏ ความดันโลหิตสูง ๏ คลอเลสเตอรอลสูง ๏ ความเครียด ๏ การไมออกกําลังกาย ๏ ไมรับประทานผัก ผลไม ๏ เบาหวาน ๏ ความอวน ๏ เครื่องดื่มแอลกอฮอล


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

25

คุณเสี่ยงแคไหน....ฟงเสียงหัวใจ อัตราการเตนของหัวใจจะชวยประเมินความ แข็งแรงของหัวใจได อยูใ นระดับปกติ 60–80 ครัง้ / นาทีเมื่อไมออกกําลังกาย หากหัวใจเตนเร็วกวานี้ หมายความวาคุณไดออกแรง ตกใจ มีอาการปวย ในชวงสัน้ ๆ หรือรูส กึ กระวนกระวาย แตหากมีอตั รา เตนเร็วโดยไมไดออกแรง อาจมีปญ  หา เชนโลหิตจาง ตอมไทรอยดทํางานผิดปกติ หรือความผิดปกติ ที่หัวใจ หากคุณตองการรูก ารเตนของหัวใจ ควรนัง่ พัก 5 – 10 นาที ทาบนิ้วบนขอมือบนดานใน เพื่อหา ชีพจรหรือจับชีพจรที่คอ เริ่มนับอัตราการเตนของ หัวใจ ภายใน 15 วินาที จากนั้น คูณดวย 4 ก็จะได อัตราการเตนของหัวใจใน 1 นาที

คุณมีอาการโรคหัวใจกำเริบหรือเปลา ? การเสียชีวิตจากอาการโรคหัวใจ สวนใหญมีอาการเกิดขึ้นหลังจากเวลาผานไป 1 ชั่วโมงแลว จึงไป พบแพทย นั่นก็หมายความวา สายไปเสียแลว จึงใหสังเกตอาการเหลานี้ ๏ อาการแนนหนาอก อาจคงอยูนาน 30 นาที มีอาการเปนแลวหายไปแลวกลับมาเปนอีก ๏ เจ็บแนนในรางกายสวนบนบริเวณอื่น รวมถึงอาการเจ็บราวมาที่แขนขางเดียว หรือทั้ง 2 ขาง หลังกราม สวนลาง หรือทอง ๏ หายใจลําบาก ๏ อาการอื่นๆ ที่แสดงใหเห็นรวมดวย เชนเหงื่อแตก ตัวเย็น วิงเวียน ออนเพลียหรือออนแรงมาก


26

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

สิ่งที่รอคุณอยู....เปนหนทางสูหัวใจแข็งแรง 1.อาหารบํารุงหัวใจ รับประทานอาหารธรรมชาติมีประโยชนกวาอาหารดัดแปลง อาทิ ผัก ผลไมสด เมล็ดธัญพืช ปลา เนื้อสัตว ผลิตภัณฑจากนม จะชวยลดระดับคลอเรสเตอรอล ลงได รอยละ 30 2.ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ ประชากรไทยวัยทํางานกวารอยละ 50 ขาดความกระฉับกระเฉงและออกกําลังกายนอยกวาที่ควร เพียงการเดินวันละ 30 นาที การยกนํ้าหนัก วันละ 5 นาที ก็สามารถทดแทนกลามเนื้อ เนื้อเยื่อ ที่จะ สูญเสียไปในเวลา 10 ป 3.เติมความสุขใหหัวใจ ขอมูลทางวิทยาศาสตร สวนมากยืนยันวาจิตใจที่มีความสุขชวยใหหัวใจแข็งแรง การคิดในแงราย ความฉุนเฉียว ใจรอน และเก็บกดอารมณไว มีผลรายตอหัวใจ ในทางตรงกันขาม การใหอภัย การมีเพื่อน การมองโลกในแงดี มีสวนทําใหหัวใจมีสุขภาพดีไปดวย 4.หลีกเลี่ยงสารพิษ หมายถึง การสูบบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล มลพิษในสิ่งแวดลอม 5.เอาใจใสสุขภาพตนเอง โดยการวัดผลเปนประจํา เชน การตรวจรางกาย ชั่งนํ้าหนัก วัดรอบเอว เปนการประเมินสุขภาพ ตนเอง การปรับเปลี่ยนชีวิตและพฤติกรรม ในการดูแลสุขภาพอนามัยไปทีละนอย ก็จะเกิดผลลัพธท่ีดี หัวใจคุณไดรับการปกปองอยางเปนธรรมชาติและมีผลพลอยได เชน นํ้าหนักลด ความดันโลหิตลดลง กระปรี้กระเปรา ตลอดจนมีภูมิคุมกันสูงขึ้น เพียงเทานี้หัวใจของคุณก็จะแข็งแรงดีขึ้นอยางเห็นไดชัด

* เริ่มตนดูแลหัวใจกันตอนนี้เลยดีไหมคะ *

ที่มา

เมวิตา วงศวิเชียรชัย , 30 นาที เพื่อหัวใจแข็งแรง กรุงเทพ : รีดเดอรสไดเจสท (ประเทศไทย) จํากัด , 2550.


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

27

งานวิจัยใชไดจริง : Research บรรจุภัณฑปองกันความเสียหายเชิงกลสำหรับสตรอเบอรี่สดโครงการหลวง Mechanical damages free packaging for fresh strawberries

ดร. ศิริวรรณ ตั้งแสงประทีป นักวิจัยอาวุโส ศูนยการบรรจุหีบหอไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

สตรอเบอรี่เปนผลไมขนาดเล็กที่บอบชํ้าและสูญเสียไดงายโดยธรรมชาติ โดยเฉพาะในระหวางการ ขนสงจะเกิดความเสียหายเชิงกล (mechanical damages) ไดแก รอยชํา้ และรอยขีดขวน ซึง่ เกิดขึน้ ไดงา ยจากการสัน่ สะเทือนของยานพาหนะรวมกับความขรุขระของถนน เมือ่ พิจารณาจากระบบการจัดการ ของมูลนิธิโครงการหลวงจะพบวา ขั้นตอนสําคัญที่สามารถควบคุมเพื่อลดความเสียหายจากสาเหตุดัง กลาว ไดแก การเก็บเกี่ยว การคัดบรรจุ และ บรรจุภัณฑที่ใช สําหรับขั้นตอนการเก็บเกี่ยวและการคัด บรรจุ ทางมูลนิธิฯ ไดพัฒนาปรับปรุงวิธีการจัดการอยางตอเนื่องมาโดยตลอดจนสามารถคัดเลือก และ บรรจุผลผลิต ที่มีคุณภาพดี ผานขอกําหนดของมูลนิธิฯ ณ ศูนย/สถานีที่เปนแหลงปลูก หากแตยังคง ปรากฏความเสียหาย ณ ศูนยผลิตผลโครงการหลวง จ.เชียงใหม ซึ่งเปนปลายทางการขนสงกอนถึงมือ ผูบริโภค โดยเฉพาะ สตรอเบอรี่เกรดคุณภาพพิเศษ (premium) และ เกรดพิเศษ (extra) จะพบความ เสียหายมากกวาเกรดอื่นๆ เห็นไดชัดวาบรรจุภัณฑที่ใชเปนสาเหตุหลักของความเสียหายดังกลาวดังนั้น สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย โดยศูนยการบรรจุหบี หอไทย จึงไดเสนอโครงการ การพัฒนาบรรจุภัณฑเพื่อการคุมครองและยืดอายุการเก็บรักษาสตรอเบอรี่สด เพื่อขอรับสนับสนุนงบ ประมาณจากมูลนิธิฯในปงบประมาณ 2555 ถึง 2557 ซี่งไดรับการสนับสนุนเปนอยางดี


28

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

จากการวิเคราะหปญ หาในรายละเอียด พบวา กลองพลาสติกขายปลีกทีท่ างมูลนิธฯิ ใชบรรจุสตรอเบอรีส่ ด (รูปที่ 1) มีลักษณะเอื้อใหเกิดการบรรจุแบบอัดแนนเกินควร เพราะเกษตรกรตองการบรรจุใหแนนพอดี และกลองมีความสูงนอยเกินไปสําหรับผลขนาดใหญจึงทําใหเมื่อปดฝา ฝากลองจะกดทับผลโดยตรง ซึง่ ลักษณะดังกลาวไมสามารถสังเกตเห็นไดงา ยดวยตาเปลาเมือ่ บรรจุเสร็จใหมๆ แตรอ งรอยการชํา้ จะปรากฏ ชัดเจนหลังสตรอเบอรี่ผานการขนสง ซึ่งผลไดรับแรงโดยตรงจากแรงสั่นสะเทือนของพาหนะ ผลจึงมีการ เคลื่อนไหวในทุกระนาบ (ขึ้น-ลง, ซาย-ขวา และ หนา-หลัง) ทําใหเกิดการเสียดสีกับผิวกลองซํ้าเดิมตลอด เสนทาง และ สําหรับผลทีส่ มั ผัสกับฝาปดยังไดรบั แรงกดทับและการเสียดสีจากฝาปดเพิม่ ขึน้ อีก จึงทําให เกิดรอยชํา้ ดังกลาวซึง่ จะสงผลตออายุการเก็บรักษาในทีส่ ดุ เนือ่ งจากรอยชํา้ เปนจุดเริม่ ตนของการเจริญของ เชือ้ จุลนิ ทรียแ ละการเสือ่ มเสียตามธรรมชาติ การดําเนินงานจึงพุง เปาไปทีก่ ารพัฒนากลองขายปลีกสําหรับ สตรอเบอรี่เกรด premium เปนลําดับแรก โดยมุงเนนการปองกันความเสียหายระหวางการขนสง โดยมี แนวคิดหลัก (concept) วา เมื่อนําสตรอเบอรี่สดมาบรรจุในกลองที่พัฒนาขึ้น สตรอเบอรี่ไมชํ้าแนนอน นอกเหนือจากนี้ กลองขายปลีกที่พัฒนาขึ้นยังตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ - มีรูปลักษณสวยงามสะอาดตา ใหความรูสึก สด สะอาด ปลอดภัย นารับประทาน - มองเห็นผลสตรอเบอรี่ไดชัดเจนทุกมุมมอง - หยิบถืองาย จับถนัดมือ ใหความรูสึกถึงคุณภาพระดับพิเศษ (premium) - บรรจุงาย และสัมผัสกับมือขณะบรรจุนอยที่สุด - เปดงาย ปดสนิท และ เปด-ปดไดหลายครั้ง (reclosable) - มีมิติสอดคลองกับลังพลาสติกขนถายของมูลนิธิฯ - มีการถายเทอากาศภายในเหมาะสม


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

29

รูปที่ 1 กลองพลาสติกขายปลีกบรรจุสตรอเบอรี่สดที่มูลนิธิฯ ใชอยูในปจจุบัน

ผลสําเร็จของการพัฒนา ไดกลองพลาสติก PET มีขนาดบรรจุ 250 กรัม/ถาด สามารถบรรจุ สตรอเบอรี่สดไดทั้งเกรด premium และ เกรด extra แสดงดังรูปที่ 2 สามารถสรุปกลไกการปอง กันการชํ้าระหวางการขนสงไดดังตอไปนี้ กลองขายปลีกที่พัฒนาขึ้น สามารถปองกันการชํ้าของสตรอเบอรี่สดระหวางการขนสงดวยการ ออกแบบพืน้ ลางรองรับผลใหเปนสวนโคงทีม่ รี ศั มีความโคงเฉพาะ และเปนสวนโคงสมบูรณแบบปราศจาก ระนาบ จึงมีความเรียบ เนียน และ ลื่น มากพอจนไมทําอันตรายกับผิวสตรอเบอรี่เพราะไมเกิดการเสียดสี นั่นเอง ในขณะเดียวกันดวยรัศมีความโคงเฉพาะทําใหเกิดจุดสัมผัส (contact point) ระหวางผิวกลอง กับผิวผลเพียง 2 จุดเทานั้น และเปน 2 จุดที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจากการเคลื่อนไหวของผลจึงเกิดการ กระจายและสลายแรงทีก่ ระทําตอผล สงผลใหกลองดังกลาวนีส้ ามารถปองกันการชํา้ ระหวางการขนสง ไดเปน อยางดี นอกจากนี้ การออกแบบแบงเปน 2 ของ คลายแคปซูล มีสวนนูนกั้นกลางเตี้ยๆ ชวยใหบรรจุงาย ขึ้น เพราะผลสตรอเบอรี่จะกลิ้งลงแคปซูลตามแรงโนมถวงในธรรมชาติ จึงแทบไมตองจัดเรียงผลเลยชวย ลดการสัมผัสผลไดอีกดวย กอรปกับผิวสตรอเบอรี่มีลักษณะหยุนหนึบคลายเจลลี่ (jelly) เปนปจจัยเสริม อีกประการหนึ่งที่ทําใหผลติดหนึบกับกนกลองจึงทําใหผลเคลื่อนไหวนอยลง รูปที่ 3 และ รูปที่ 4 แสดง


30

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

แผนภาพอธิบายการปองกันผลชํ้าของถาดใหมที่พัฒนาขึ้นเทียบกับถาดเดิมที่ใชอยู

รูปที่ 2 แบบกลองพลาสติกขายปลีกบรรจุสตรอเบอรี่สดที่พัฒนาขึ้น


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

รูปที่ 3 แผนภาพการปองกันการชํ้าของถาดใหมที่พัฒนาขึ้น

รูปที่ 3 (ตอ) แผนภาพการปองกันการชํ้าของถาดใหมที่พัฒนาขึ้น

31


32

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

รูปที่ 4 แผนภาพแสดงสาเหตุที่ถาดเกาที่ใชอยูเดิมไมสามารถปองกันการชํ้าได แมวาการพัฒนากลองขายปลีกจะแลวเสร็จในเดือน เม.ย. 2558 ที่ผานมา และไดทําการผลิตกลอง พรอมใชสําหรับการใชงานนํารอง แตเปนที่นาเสียดายวาไมทันตอการใชงานในฤดูกาลนี้ จึงจําเปนตอง ติดตามผลการใชงานในฤดูกาลถัดไปเพื่อนํามาพัฒนาปรับปรุงใหสมบูรณยิ่งขึ้น สําหรับทานผูอานที่สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมของขั้นตอนการพัฒนาตลอดจนผลการทดลองโดย ละเอียดสามารถติดตามไดจากรายงานฉบับสมบูรณของโครงการฯ โดยติดตอ งานวิจัยและศึกษาดูงาน ตางประเทศ มูลนิธิโครงการหลวง และทานที่สนใจจะนําถาดไปทดลองใชงาน สามารถติดตอไดท ี่ งานไมผลขนาดเล็ก มูลนิธิโครงการหลวง ทายนี้คณะผูดําเนินการวิจัยขอขอบคุณ มูลนิธิโครงการหลวง ที่ไดใหการสนับสนุนงบประมาณของ โครงการ ตลอดจน งานวิจัยและศึกษาดูงานตางประเทศ งานไมผลขนาดเล็ก และ งานคัดบรรจุ ที่ไดให ความรวมมือในการดําเนินงานเปนอยางดี และ ดร.ณรงคชยั พิพฒ ั นธนวงศ ในความอนุเคราะหคาํ ปรึกษา ดวยดีมาโดยตลอด


࿵éÒªÕÊ( BUBALOS ¹Á¤ÇÒÂàÁ«Ò¹è Ò FETA ) เฟตาชีส มีตนกําเนิดจากประเทศกรีก สําหรับเฟตาชีสนมควายเมซานา ของโครงการหลวง ใชนมควายเมซานาซึ่งเลี้ยงภายในพื้นที่ศูนยพัฒนา โครงการหลวงแมทาเหนือ อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม ผานกระบวนการ ทําชีสและการบมไดรสชาติเขมขน เหมาะสําหรับนําไปใสในสลัด เชน สลัดกรีก (Greeksalad), เพสตี้ (pastries), ขนมอบ เชน พายผักโขม (spanakopita, spinach pie), พายชีส (tyropita, cheese pie), หรือนํามา ยางใสในแซนวิช สูตรอาหารทีใ่ ชเฟตาชีส เชน สลัดกรีก, พายพักโขม, พายชีส, สลัด, spanakopita, spinach pie

ÁÕ 3 Ẻ ãËŒàÅ×Í¡ 䴌ᡋ * ࿵ŒÒªÕʹÁ¤ÇÒÂẺἋ¹¢¹Ò´ 200 ¡ÃÑÁ * ࿵ŒÒªÕʺÃèآǴ¢¹Ò´ 220 ¡ÃÑÁ ã¹¹íéÒÁѹÁС͡ÊÁعä¾Ã áÅÐ * ࿵ŒÒªÕÊã¹¹íéÒÁѹÁС͡áÅÐÁÐà¢×Íà·ÈµÒ¡áËŒ§

... มีจำหนายที่รานโครงการหลวง ทุกสาขา ...


34

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

วิถีชนเผา : Tribal people and their way of life

ไทใหญ

ชีวิตที่ผูกพันกับพุทธะ นักประวัตศิ าสตรลา นนาเลาวา ในอดีตชาวไทใหญ มีชื่อเสียงในการคาขาย คูมากับชาวพมาและจีนฮอ ผูกขาดการคาขายในดินแดนลานนา เดินทางคาขาย ขามไปมาระหวางลานนา พมา และมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ใชมาและวัวเปนพาหนะบรรทุกสินคา จึงไดชื่อวาพอคาวัวตาง มาตาง คนไทใหญซึ่งเคย อาศัยอยูบริเวณประตูชางเผือก นอกกําแพงเมือง เชียงใหม ซึ่งอดีตเคยเปนศูนยชุมชนคนไทใหญ ของนครพิงค รําลึกครั้งยังเปนเด็กเมื่อ 50 ปที่แลว วา เสียงกระดึงกระดิ่งแววมาครั้งใด เปนสัญญาณ วาพอคาวัวตางไดมาถึงแลว และจะจากไปกอนฟา สางในอีกหลายวันตอมา โดยเสียงกระดึงกระดิ่งจะ คอยๆ จางหายไปในสายหมอกเปนความตรึงใจมา จนทุกวันนี้

ไทใหญ หรื อ “ไตหลวง” มี ป รากฏใน พงศาวดารวาสมัยกอนมีถิ่นฐานอยูที่เมืองหนอแส ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน หลังจากนั้นอพยพ ยายลงใตมากอตั้งอาณาจักรบริเวณฝงแมนํ้ามาว และตอมาไดแยกยายกันลงใต และสรางเมืองขึ้น หลายๆ เมือง มีเจาปกครองมากหลายกวาชาติไต กลุมอื่นๆ จึงถูกเรียกวา “ชาวไตหลวง” หรือไท ใหญมาตลอด ชาวไทใหญเชื่อวาตนวงศของตนคือ ขุนแทนคําเทวบุตรบนฟา ซึง่ ไดสง บุตรชายสององค คือ ขุนลู และขุนลาย ลงมาขยายเผาพันธุและสราง บานแปลงเมืองในมนุษยโลก นอกจากนั้นพบหลัก ฐานวา ไทใหญและลานนามีการไปมาติดตอกันเปน เวลานาน มีการสมรสสืบญาติตระกูลทั้งในชนชั้น ปกครองและคนธรรมดา ชาวไทใหญไดอพยพเขา มาอยูในประเทศไทยทั้งในพื้นที่จังหวัดแมฮองสอน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดเชียงราย จังหวัดเพชรบูรณ และเรียกตนเองวา “ไต”


วารสารโครงการหลวง

ไทใหญมวี ฒ ั นธรรมเปนเอกลักษณของตนเอง มีวิถีชีวิตที่ใกลชิดกับพุทธศาสนาจนมีคํากลาววา “กินอยางมาน ทานอยางเงี้ยว” คือเปนที่ประจักษ วาคนมานหรือคนพมานิยมการบริโภคของดี ในขณะที่ คนเงี้ยวหรือไทใหญในเรื่องการบริจาคทาน เมื่อมี งานบุญคนไทใหญทงั้ เด็กและผูใ หญจะมารวมทําบุญ กันจนเต็มลานวัด เปนที่อัศจรรยใจแกผูที่พบเห็น ในโอกาสพิเศษชายไทใหญจะสวมกางเกงขากวย เรียกในภาษาพืน้ บานวา “โกนโหงโยง” แปลวาใหญ อยางเทาชาง สวมเสือ้ แขนกระบอกสีเหลืองหรือเทา หมนแขนยาวติดกระดุมขอดวยผาคลายกระดุมจีน เคียนหัวดวยผาสีขาว เหลืองออน หรือชมพูออนๆ หนุม ๆ จะคาดเอวดวยผาสีชมพูหรือเหลืองออนคอน มาทางขวา ปลอยชายยาวลงมาถึงเขาสะพายถุงยาม และดาบ ฝายหญิงนุงโสรงมีลวดลายไมจํากัดสีสัน สวมเสื้อคอกลมแขนกระบอก รัดรูปผาอกหรือดาน หนึง่ พับทบเฉียงไปติดกระดุมดานขาง เคียนหัวดวย ผาหลากสี เชน ขาว ชมพู เหลืองออน หรือเขียวสลับ ดํา สะพายถุงยามใสหมวกทําดวยไมไผหรือกาบ ไมไผ ซึง่ ถือวาเปนการแตงกายครบชุดตามประเพณี ดั้งเดิม

ROYAL PROJECT JOURNAL

35

ในรอบปชาวไทใหญจะมีประเพณี 12 เดือน เชนเดียวกับคนลานนา คือ กําหนดงานประเพณี ในแตละเดือนไว โดยรวมแตละงานจะมีพิธีกรรม ที่คลายคลึงกันเพราะเปนประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับ พุทธศาสนา แตแตกตางในรายละเอียดและขอ ปฏิบัติอยูพอควร ประเพณีไทใหญที่คนทั่วไปรูจัก เปนอยางดีคือ ปอยสางลอง และประเพณีออก พรรษา เนื่องจากเปนประเพณีที่มีสีสันนาประทับ ใจอยางมาก ปอยสางลอง คือประเพณีบรรพชา สามเณร ซึ่งเปนการปลูกฝงใหกุลบุตรไดใกลชิด ศาสนาแตเยาววยั สางลอง หรือผูบ วช จะถูกปฏิบตั ิ เฉกเชนเจาชายสิทธัตถะจะทรงออกผนวช กลาว คือแตงกายงดงามทรงเครื่องราวเจาชาย มีพิธีกิน อาหารโอชารส 12 อยาง ถูกเคารพยกยอง เสมือน หนอเนื้อพญาเจาเมือง ภาพขบวนสางลองที่บวช คราวละหลายคน ขี่คอตะแปหรือผูรับใชสางลอง กางรมสีทองหรือ “จองคํา” มีผคู นหาบหามและถือ เครือ่ งอัฐบริขาร พรอมการละเลนครึกครืน้ แหแหน ไปทั่วเมือง เปนภาพที่งดงามยิ่งนัก


36

ROYAL PROJECT JOURNAL

เดือนสิบเอ็ดถึงเวลาของ “ปอยพาราลงเมือง” หรือฤดูกาลออกพรรษา “พารา” หรือหากออกเสียง สั้นเปน “พรา” หมายถึง พระ คือองคสัมมาสัม พุทธเจา ซึ่งทรงลงเมืองหรือเสด็จลงจากดาวดึงส หลั ง จากจํ า พรรษาและสั่ ง สอนพระอภิ ธ รรมแก พระมารดาซึ่งจุติไปเปนเทพบนสวรรค เมื่อออก พรรษาแลวไดเสด็จลงมาจากสวรรคชั้นดาวดึงส ณ เมืองสังขัตนคร ปอยพราลงเมืองหรือประเพณี เทโวโรหณะนี้ ชาวไทใหญมพี ธิ กี รรมและการละเลน ที่อิง พุ ท ธประวั ติอ ยูม ากในช ว งเวลา 13-15 คํ่า ก อ นวั น ออกพรรษา มี “ปอยก อ ยจ อ ด” หรื อ “ปอยไมเกี๊ยะ” ไมเกี๊ยะคือไมสนที่ตัดจากปายาว ราว 3-6 เมตร นํามาปกไว 4 มุมวัด ถึงเวลายํ่าคํ่า ก็จุดเผาไมเกี๊ยะสวางไสวไปทั่ว ตามบานก็มีการจุด ไมเกีย๊ ะเชนเดียวกันหนุม สาวมีการ “กา” หรือฟอน ตางๆ ไดแก “กาโต” หรือฟอนโต “กากิงกะหรา” หรือฟอนนางนก ซึ่งทั้งสองตางเปนสัตวในนิยาย เตนฟอนตามเสียงกลองที่เรียกวา “มองเซิง” และ กลองกนยาว เพื่อแสดงความยินดีที่พระพุทธเจา เสด็จกลับลงมาโลกมนุษย เสียงที่ดังสนั่นหวั่นไหว ไปทั้งเมืองราวสังขัตนครที่กลาวไวในพุทธประวัติ

วารสารโครงการหลวง

อีกประเพณีหนึ่งที่ทําในระหวางออกพรรษา หรือภาษาไทใหญออกเสียงวา ”ออกหวา” คือ “เขงวางปุด” ชาวบานจะนําไมไผมาสานเปนรูป ทรงคลายปราสาทหรือบานตกแตงดวยกระดาษฉลุ และโคมไฟใหวิจิตรสวยงาม เสาเขงหรือปราสาท ผูกไวดวยตนออยและหนอกลวย ฐานลางจัดแขวน พืชผล เชน หอม กระเทียม และขนมตางๆ ไวเปน ทานแกคนยาก นัยวาเปนการสรางปราสาทตอนรับ พระพุทธองคเสด็จลงจากดาวดึงส บางพื้นที่เชื่อวา เปนหอพระอุปคุตผูมีฤทธิ์สามารถปราบมารยักษ ราย โอกาสงานฉลองยิ่งใหญเชนนี้จึงอัญเชิญมาปก ปองมิใหมารมารบกวน


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

37

ชาวไทใหญ เชื่อถือ “อนันตรคุณหาเปง” คือสรณะที่ควรแกการบูชาทั้งหา ไดแก พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ คุณบิดามารดา และคุณครูอาจารย คุณธรรมนี้เปนรากฐานของพิธี “ กั่นตอ” หรือการขอขมาลา โทษผูม คี ณ ุ ในโอกาสสงกรานตไทใหญจะมีพธิ คี ลายการรดนํา้ ขอพรจากผูใ หญ ทัง้ พระสงฆ พอแม เจานาย และครูหมอยา อีกทัง้ ยังมีกนั่ ตอเจาเมือง คือ ไหวศาลผีเจาบานผานเมืองในโอกาสนีด้ ว ย ไทใหญยกยองผูม ี ความเชีย่ วชาญทัง้ ทางวิชาการและวิชาชีพในสาขาใดสาขาหนึง่ หรือหลายสาขา จนสามารถนําไปสอนผูอ นื่ ไดทงั้ เบือ้ งตนถึงเบือ้ งสูง รวมทัง้ ไดรวบรวมเรียบเรียงภูมปิ ญ  ญาเหลานีไ้ วเปนตําราวา “ครูหมอ” ซึง่ แตเดิม ลูกศิษยจะรวมกลุมไหวครูเฉพาะของตนทุกป ตอมาเพื่อเปนการอนุรักษศิลปะไทใหญไดมีการรวบรวมจัด เปนพิธีใหญไหวครูทุกแขนง เรียกกันวา “ปอยยกยองครูหมอไต” สําหรับประเทศไทยกลาวไดวาบานใหม หมอกจาม หมูบ านไทใหญในเขตศูนยพฒ ั นาโครงการหลวงหมอกจาม อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม นับ เปนศูนยกลางในการจัดงานนี้ ซึ่งบางปจะมี “ไตนอก” จากรัฐฉานประเทศพมามารวมพิธีดวย หากวัฒนธรรมเปรียบเหมือนรากเหงาของชีวิตที่ยืนตนระบัดใบ พิธีกรรม คือดอกหรือผลที่มองเห็น จับตองได และหลากหลายงดงาม ประเพณีไทใหญที่ผูกพันกับพุทธะจึงควรเปนดังเชน “หมอกจาม” ซึ่งแปลเปนไทยวา ดอกจําป ยืนตนสงกลิ่นหอมออนไปไกล

แหลงขอมูลอางอิง : หนังสือวัฒนธรรมของชุมชนโครงการหลวง


38

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

คลินิกพืช : Plant clinic

ใชสารกำจัดวัชพืช อยางไรใหปลอดภัย

สารเคมีกําจัดวัชพืช (Herbicides) ซึ่งทั่วไปเรียกกันวา “ยาฆาหญา” มีบทบาทสําคัญในการ ทําเกษตรกรรมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และแนวโนมของการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชมีเพิ่มมากขึ้นทุกป เนือ่ งจากแรงงานในภาคเกษตรกรรมมีจาํ นวนลดลง ขณะเดียวกันการใชสารเคมีนนั้ ทําใหการทํางานมีความ สะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ลดการใชแรงงานลง เกษตรกรจึงตองนําสารเคมีเขามาใชกันมากขึ้น สารกําจัดวัชพืชเปนสารเคมีที่พัฒนาเพื่อใชควบคุมวัชพืช ซึ่งยอมเปนอันตราย ดังนั้นความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับคุณสมบัติของสารเคมี วิธีการใช ตลอดจนขอควรระมัดระวัง จึงมีความจําเปนอยางยิ่งเพื่อใหการ ใชสารเคมีกําจัดวัชพืชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยตอผูใชและสิ่งแวดลอม

“สารกําจัดวัชพืช หมายถึง สารเคมี

ใดๆ ก็ตาม ที่นํามาใชเพื่อฆาทําลายหรือยับยั้งการ เจริญเติบโตของวัชพืช ไมวาจะเปนในขณะที่วัชพืช งอกขึน้ มาแลวหรือยังเปนเมล็ดอยู ตลอดจนชิน้ สวน ตางๆของวัชพืชทีข่ ยายพันธุไ ดทอี่ ยูใ นดินหรืออยูบ น ดิน” (http://th.wikipedia.org/wiki)

ประเภทของสารกําจัดวัชพืช ประเภทของสารกําจัดวัชพืชสามารถแบงไดหลายลักษณะ ดังนี้ 1. แบงตามลักษณะการใชงาน เชน ใชทางดินเรียกวาสารควบคุมวัชพืชกอนงอก (Preemergence) หรือ ใชทางใบเรียกวาสารกําจัดวัชพืชหลังงอก (Postemergence) 2. แบงตามลักษณะความเปนพิษตอพืช เชน สารประเภทเลือกทําลาย (Selective herbicides) คือเปน สารที่ทําลายเฉพาะพืชปลูกหรือวัชพืชบางชนิดเทานั้น และสารประเภทไมเลือกทําลาย (Nonselective herbicides) คือเปนสารที่ทําลายพืชปลูกและวัชพืชทุกชนิด 3. แบงตามลักษณะการไดรับพิษของพืช คือ ประเภทสัมผัส (contact) และประเภทดูดซึม (Systemic) 4. แบงตามชวงเวลาการใช เชน ประเภทใชกอนปลูก (Preplanting) คือการใชสารกอนปลูกพืช, ประเภท ใชกอนงอก (Preemergemce) คือการใชสารกอนที่เมล็ดวัชพืชหรือพืชปลูกงอก และประเภทใชหลังงอก (Postemergance) คือการใชสารขณะที่เมล็ดพืชปลูกและวัชพืชงอก 5. แบงตามโครงสรางทางเคมี


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

39

สารเคมีกําจัดวัชพืชที่สําคัญในการเกษตรของประเทศไทย

พาราคว็อท (Paraquat) เปนสารกําจัดวัชพืช ทีม่ กี ารใชมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย ทํางานโดยหยุด ยัง้ การเติบโตของเซลลวชั พืช และทําใหเนือ้ เยือ่ ของ เซลลนั้นแหงตายลง

ไกลโฟเสต (Glyphosate) เปนสารกําจัดวัชพืชโดยวิธีฉีดพนและดูดซึมทางใบ, วิธีฉีดเขาลําตน หรือ หยอดที่ยอด เปนสารที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสราง amino acid ในพืช

2,4-ดี (2,4-D) เปนฮอรโมนพืช (ออกซิน) สังเคราะห โดยถาใชในความเขมขนตํา่ จะกระตุน การเจริญ เติบโต ถาใชในความเขมขนสูงจะเปนสารกําจัดวัชพืชใบกวาง เพราะมีฤทธิ์ของความเปนออกซินสูงมาก โดยวัชพืชใบกวางซึ่งเปนพืชใบเลี้ยงคูจะไวตอการตอบสนองตอ 2,4-ดี มากกวาพืชใบแคบซึ่งเปนพืชใบ เลี้ยงเดี่ยว บิวตาคลอร (Butachlor) เปนสารกําจัดวัชพืช acetamide ประเภทเจาะจงพืช กําจัดวัชพืชไดทั้ง กอนงอกและภายหลังงอก ออกฤทธิ์ดวยการเขาไปยับยั้งขบวนการสังเคราะหโปรตีน ภายในตนพืช โพรพานิล (Propanil) เปนสารกําจัดวัชพืชที่ใชกําจัดวัชพืชพวกใบแคบ เชน หญาขาวนก หญานก สีชมพู หญาดอกขาว ฟโนซาพรอพ-พี-เอ็ทธิล (Fenoxaprop-p-ethyl) เปนสารกําจัดวัชพืชทีใ่ ชกาํ จัดวัชพืชประเภทหญา เชน หญาดอกขาว หญาขาวนก หญานกสีชมพู หญาแดง เพนดิเมทธอลิน (Pendimethalin) เปนสารกําจัดวัชพืชทีใ่ ชกาํ จัดวัชพืช เชน หญาขาวนก หญาดอก ขาว หญาแดง กกขนาก กกทราย หนวดปลาดุก ขาเขียด ผักปอดนา ไพราโซซัลฟูรอน-เอทิล (Pyrazosulfuron-ethyl) เปนยากําจัดวัชพืชทีใ่ ชกาํ จัดวัชพืช เชน กกขนาก หนวดปลาดุก ขาเขียด ผักปอดนา ผักแวน


40

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

พาราคว็อท และไกลโฟเสต เปนสารกำจัดวัชพืช ที่มีการใชมากที่สุด ในประเทศไทย หลักการใชสารกําจัดวัชพืชใหมีประสิทธิภาพและปลอดภัย การใชสารกําจัดวัชพืชใหมีประสิทธิภาพ และปลอดภัยควรปฏิบัติดังนี้ 1.การใชสารกําจัดวัชพืชใหถูกตอง มีวิธีการดังนี้ -เลือกใชสารเคมีใหถูกกับชนิดของพืชปลูกและชนิดวัชพืชที่สารสามารถควบคุมได -ใชใหถูกเวลา กับอายุพืชปลูก อายุของวัชพืชและสภาพแวดลอม -ใชใหถูกอัตรา ตามที่กําหนดในฉลากแนะนําการใชสารกําจัดวัชพืช -ใชใหถูกวิธี กับสารกําจัดวัชพืชในแตละประเภทและสภาพแวดลอม 2. กอนใชสารกําจัดวัชพืชทุกครั้งตองอานฉลากใหเขาใจและใหปฏิบัติตามอยางเครงครัด 3. การใชสารทางดินหรือสารคุม พิจารณาจากการเลือกทําลายของสารเคมี ในการใชสารควรเลือกใหตรง กับชนิดพืชปลูกและวัชพืชที่มีอยูในแปลง อัตราการใชสารที่ฉลากระบุตามสภาพดิน (ดินเหนียวหรือดินที่ มีอนิ ทรียว ตั ถุสงู ควรใชอตั ราสูง และดินทรายหรือดินทีม่ อี นิ ทรียว ตั ถุตาํ่ ควรใชอตั ราตํา่ ) ระยะเวลาของสาร คุมวัชพืชซึ่งทั่วไปจะคุมไดนานประมาณ 5-10 สัปดาห 4.การใชสารทางใบ คือหลังจากที่วัชพืชงอกขึ้นมาแลว สิ่งที่ควรพิจารณา เชน -คุณภาพของนํ้าที่ใช ควรเปนนํ้าสะอาดและมีสภาพเปนกลาง -คุณสมบัตขิ องสารเคมี การผสมสารเคมีมากกวาหนึง่ ชนิดควรดูคณ ุ สมบัตขิ องสารดวยและใชเมือ่ ได รับคําแนะนําจากผูรูเทานั้น -หลักการพิจารณาในการพนสาร สภาพแวดลอมขณะฉีดพนหรือหลังฉีดพน เชน ฝน, ความชื้น และ ลม นับวาเปนสิ่งสําคัญตอประสิทธิภาพของการใช การฉีดพนขณะมีฝนหรือฝนกําลังใกลจะตก มีลมแรง พอที่จะพัดพาละอองสารไปที่อื่น หรือความชื้นสูงเกินไปยอมไมไดผล และหากฝนตกทันทีหลังพนก็ไมได ผลเชนกัน 5.ปองกันอันตรายดวยการสวมเสือ้ ผามิดชิดและมีหนากากปดจมูก สวมรองเทาบูท ปองกันละอองสารเคมี ในขณะพน หลังพนแลวควรลางทําความสะอาดรางกายและอุปกรณปองกันใหดี


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

41

ปญหาที่เกิดจากการใชสารเคมีไมถูกตอง 1. การฉีดพนสารเคมีหากไมระมัดระวังเชน พนในขณะลมแรงทําใหละอองสารเคมีปลิวไปถูกพืชอืน่ ทีป่ ลูก ขางเคียงกอใหเกิดความเสียหายได ดังนัน้ ควรเลือกเวลาพนขณะทีล่ มออนเพือ่ ปองกันผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ 2.ปองกันการปนเปอนในแหลงนํ้า การลางทําความสะอาดเครื่องมือพนสารเคมี ไมควรเทนํ้าลางลงแมนํ้า ลําคลอง เพราะจะทําใหสตั วนาํ้ ตายได ควรเทลงบริเวณทีม่ ตี น ไมใหญทเี่ ปนไมยนื ตนทีไ่ มไดใหผลผลิตหรือ เทลงบนกอหญาแฝก 3.สารเคมีบางชนิดเปนอันตรายตอรางกายทําใหผิวหนังแสบรอนหรือบางชนิดอาจถึงตายได ปกติแลวสารเคมีทกุ ชนิดจะมีการระบุระดับคาความเปนพิษทีฉ่ ลากของผลิตภัณฑซงึ่ เรียกวา คา LD50 หากฉลากมีการระบุคา LD50 สูง แสดงวามีความเปนพิษตํ่า ถาคา LD50 ตํ่า แสดงวามีความเปนพิษสูง สําหรับสารเคมีกําจัดวัชพืชแลวสวนใหญจะมีความเปนพิษตํ่ากวาสารเคมีกําจัดแมลง (คา LD50 สูง) สารเคมีกาํ จัดวัชพืชหลายชนิดทีม่ คี วามเปนพิษตอมนุษยตาํ่ บางชนิดไมทราบกลไกการเกิดพิษทีแ่ นชดั ในมนุษย แตทําใหเกิดพิษรุนแรงไดในผูปวยบางราย ซึ่งอาการเปนพิษเฉียบพลันสวนใหญมักเปน local effects เชน อาการทางระบบทางเดินอาหาร จะมีคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย เปนตน ระบบทาง เดินหายใจ จะมีอาการระคายเคืองหายใจไมสะดวก สวน systemic effects ทีเ่ กิดจากสารเคมี กําจัดวัชพืช นั้นมีเพียงไมกี่ชนิดเทานั้น ที่รูจักกันดีคือ พาราคว็อท และ 2,4-ดี พาราคว็อท เปนสารกําจัดวัชพืชทีอ่ นั ตรายมากเพราะนอกจากทําใหเกิดอาการระคายเคืองในทางเดิน อาหารสวนตน และอาการบวมแดงในปากจากฤทธิ์กัดกรอนแลว ประมาณ 1-4 วันหลังไดรับ พาราคว็อท จะมีไตวายจาก acute tubular necrosis ตอมาจะมีพิษตอตับโดยเกิด hepatocellular damage และ สุดทายมีพษิ ตอปอด การเกิด lung injury ทําใหการแลกเปลีย่ นออกซิเจนไมไดตามปกติ มีภาวะ hypoxia จนเกิด respiratory failure ได ในรายที่ไดรับเขาไปปริมาณมากจะเกิด multiple organ failure และ เสียชีวิตในเวลาอันสั้น

แผลที่ปาก และลิ้น ที่เกิดจากการดื่มกิน พาราคว็อท หรือกรัมม็อกโซน


42

ROYAL PROJECT JOURNAL

วารสารโครงการหลวง

2,4-ดี เปนสารที่มีความเปนพิษในมนุษยแบบเฉียบพลันที่ไมรุนแรงนัก ผูไดรับพิษจะมีอาการ ปวดศีรษะ เหงื่อออกมาก ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย เบื่ออาหาร ตาพรา พูดไมชัด นํ้าลายออกมาก กลามเนื้อกระตุก ปฏิกิริยาโตตอบตอสิ่งกระตุนตํ่า กลั้นปสสาวะไมอยู กลามเนื้อเปลี้ย ตอมาอาจชัก หมดสติและตายเนื่องจากหัวใจและระบบเลือดลมเหลว ไกลโฟเสต ปจจุบันในประเทศไทยมีการใชกันอยางแพรหลาย เปนสารที่จัดวามีความเปนพิษ ในมนุษยคอนขางตํ่า หากไดรับสารเขาไปทําใหเกิดอาการตางๆกัน เชน ไมมีอาการผิดปกติหรือมีอาการ เล็กนอย, มีอาการตั้งแต เจ็บคอ, กลืนลําบาก, เลือดออกในทางเดินอาหาร, เกิดอันตรายตอตับ ไต ปอด ระบบหลอดเลือด และระบบประสาท ซึง่ ทีม่ อี าการรุนแรงคือเสียชีวติ ดวยความดันโลหิตตํา่ , pulmonary edema นอกจากนี้ยังมีการเกิด pneumonitis ในผูปวยที่สัมผัสกับสารชนิดนี้ดวย

แผลที่เกิดจากสารเคมีกัดกรอน

ลักษณะผิวหนังที่สัมผัสถูกสารเคมี

จากขอมูลตางๆที่กลาวมาขางตน ในเรื่องของสารกําจัดวัชพืชชนิดตางๆ รวมถึงความเปนพิษตอ รางกายมนุษย ดังนั้นกอนที่จะมีการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชทุกชนิด ควรพิจารณาประเภทของสารและใช ใหถูกตอง ปฏิบัติตามคําแนะนําขางฉลากผลิตภัณฑอยางเครงครัด เพื่อปองกันปญหาและอันตรายที่เกิด จากการใชสารผิดวิธีซึ่งอาจเกิดขึ้นกับผูที่ใชสารเองหรือสิ่งแวดลอมทั่วๆไป หากไมมีความจําเปนก็ควรจะ หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชและใชวิธีการอื่นๆที่มีความปลอดภัยจะดีกวา

ขอมูลอางอิง http://th.wikipedia.org/wiki http://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/bulletin/bul99/v7n3/Herb http://kasetinfo.arda.or.th/arda/rice/?page_id=457 kmcenter.rid.go.th/kcresearch/page01/WD01X001.pdf http://www.phkaset.com/default.asp?content=contentdetail&id=1975 http://www.npc-se.co.th/npc_date/npc_previews.asp?id_head=5&id_sub=7&id=378 https://www.google.co.th/search?q=อาการตางๆที่เกิดจากสารกําจัดวัชพืช


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

43

บุคคลในเรื่อง : People in the news

บุคคลในเรื่อง People in the news

นายจําลอง ปวะนา อายุ 56 ป เกษตรกรตัวอยางที่เริ่มปลูกเสาวรสของหมูบาน งาแมง ตําบลแมสาบ อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของสถานีเกษตรหลวงปางดะ อําเภอ สะเมิง จังหวัดเชียงใหม

โครงการหลวงปางดะพาผมไปดูงานที่โครงการหลวงแมทาเหนือ เห็นเขาปลูกเสาวรสกัน ใชระยะเวลาแค 7 เดือน แลวขายไดรายไดดี พอผมกลับมา ผมทดลองปลูกเองเลยทั้งๆที่ไมมีความรูอะไรซักอยาง แตอยากทํา โดยตั้งใจจะเรียนรูจากการลองทํา มันก็เหมือนที่เราเริ่มตนเรียน ป.1 ป.2 ไปเรื่อยๆ แลวสุดทายเราก็จะเกงเอง


44

ROYAL PROJECT JOURNAL

ครอบครัวผมอาศัยอยูท หี่ มูบ า นงาแมงตัง้ แตป 2524 ถึงตอนนี้ก็เกือบ 35 ปแลว มีลูก 2 คน ผูชาย 1 คน และผูห ญิง 1 คน กอนทีผ่ มจะมาปลูกเสาวรส ไดปลูกกระเทียม ถั่วแระ และ สตรอเบอรี่ สําหรับ เสาวรส เริ่มตนโครงการหลวงปางดะไดพาไปดูงาน ทีโ่ ครงการหลวงแมทาเหนือเห็นเขาปลูกเสาวรสกัน ใชระยะเวลาแค 7 เดือน แลวขาย รายไดดี พอผม กลับมาผมไปขอซื้อตนเสาวรสที่โครงการหลวงปาง ดะมาทดลองปลูกเองเลยทัง้ ๆ ทีไ่ มมคี วามรูอ ะไรซัก อยาง รูอ ยางเดียววาจะตองปลูก เพราะเห็นวาปลูก งายไดรายไดดี แลวลงมือทําเลยลงทุนไปประมาณ 30,000 บาท เปนคาตนพันธุ คาซื้อไม และ คาจาง คนทําคางปลูกประมาณ 2 ไร พันธุท ผี่ มเอามาปลูก มี 2 พันธุคือพันธุไทยนุง และพันธุเบอร 2 เสาวรส สองพันธุน ตี้ า งกันตรงทีก่ ารบม โดยพันธุไ ทยนุง จะ บมดวยการหอผาหรือหนังสือพิมพในตะกราแลวปด ทิง้ ไว 1-2 วัน ผิวผลจะเปลีย่ นสีเปนสีมว งแดงเขมขึน้ และสงจําหนายไดเลย สวนพันธุเบอร 2 จะบมดวย แคลเซียมคารไบดในอัตรา 1 กิโลกรัม ตอเสาวรส

วารสารโครงการหลวง

200-300 ลูก หรือถานแกส หอดวยผา เติมนํ้า เล็กนอยใหเกิดกาซอะเซทธีลีนใสลงในตะกราแลว ปดทิ้งไว 3-5 วันขึ้นกับสภาพอากาศ ผิวผลจะ เปลี่ยนสีเปนสีมวงแดงเขมขึ้นและสงจําหนายได ผมวาการเรียนรูจากการลองทํา มันก็เหมือนที่เรา เริ่มตนเรียน ป.1 ป.2 ไปเรื่อยๆ แลวสุดทายเราก็จะ เกงเอง ตอนนีป้ ลูกมาเกือบ 2 ปแลว ก็ไดเงินเรือ่ ยๆ มี ต ลาดรองรั บ ทั้ ง ของโครงการหลวงและตลาด ขางนอก กิโลนึงก็ประมาณ 30-40 บาท เวลาผม มีปญหาเรื่องการปลูกก็จะมีเจาหนาที่ของโครงการ หลวงปางดะเขามาดูแลและใหคําปรึกษาอยูบอยๆ


วารสารโครงการหลวง

สโมสร

ROYAL PROJECT JOURNAL

45

ลัดเลาะรานโครงการหลวง

สถานีเกษตรหลวงปางดะ

สถานีเกษตรหลวงปางดะ ตําบลสะเมิงใต อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม เปนสถานีเพื่อการวิจัยและ ขยายพันธุพืชหลากหลายชนิด ควบคูไปกับการสงเสริมและพัฒนาอาชีพใหแกเกษตรกร ปจจุบันสถานี เกษตรหลวงปางดะ ไดตอ นรับนักทองเทีย่ ว และคณะเยีย่ มชมศึกษาดูงานจากหลายหนวยงานเปนประจํา โดยมีกิจกรรมที่นาใจของสถานี อาทิ ชมแปลงวิจัยและทดสอบสาธิตไมผลเขตรอน ไมผลเมืองหนาว ไม ดอกเขตรอน พืชผัก สมุนไพร พืชไร และงานปศุสัตว

ÊâÁÊÃʶҹÕà¡ÉµÃËÅǧ»Ò§´Ð มีหองพัก หองประชุมที่ไดมาตรฐานไวบริการ เพือ่ อํานวยความสะดวกแกผทู มี่ าเยีย่ มชม นอกจาก นีย้ งั มีรา นอาหารทีค่ อยใหบริการโดยนําผลผลิตจาก ผัก และผลไม สดๆ ทีอ่ อกตามฤดูกาล อาทิ แตงกวา ญีป่ นุ กุย ชายขาว ขาวโพดหวาน ผลไมตระกูลเบอรี่ มะเดื่อฝรั่ง องุนไรเมล็ด ที่นํามาปรุงอาหารใหกับ แขกที่มาเยือนไดลิ้มลอง


46

วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

àÁ¹ÙÍÒËÒÃá¹Ð¹íÒ กุยชายขาวผัดกุง ปลาทอดสมุนไพร แกงสม ชะอมไข ตมหนอไมหวานซีโ่ ครงหมู ไอศครีมโฮมเมด หลากหลายรสชาติ ไดแก มะเดื่อฝรั่ง มัลเบอรี่ แบล็คเบอรี่ ราสเบอรี่ เสาวรส

¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ เสนทางที่ 1 จากตัวเมืองเชียงใหมใชเสนทาง เชียงใหม - ฮอด ตามทางหลวงหมายเลข 108 ถึงทางแยกไป อ.สะเมิงใหเลี้ยว ขวาไปตามทางหลวง 1269 อีก 39 กิโลเมตร เสนทางที่ 2 จากตัวเมืองเชียงใหมไปตามทางหลวงหมายเลข 107 เชียงใหม - ฝาง ถึงสามแยกใหเลี้ยวซายไปตามทางหลวง 1096 จนกระทั่งเจอสามแยกไปสะเมิง ใหเลี้ยวขวา (ทางหลวง หมายเลข 1269) อีกครั้ง รวมระยะทาง 33 กิโลเมตร

สอบถามขอมูลบานพัก และจองโตะลวงหนาไดที่ โทร. 0 5337 8046, 08 7173 5454


วารสารโครงการหลวง

ROYAL PROJECT JOURNAL

Í‹Ò§¢Ò§

47

เกร็ดและแกนโครงการหลวง

เรื่องเลาจากหนังสือ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและโครงการหลวง พระนิพนธของหมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง

Í‹Ò§¢Ò§ ตามภาษาเหนือ อางขางคืออางรูปสี่เหลี่ยม ทางทิศเหนือของฝางติดกับพมามีดอยรูปรางเชนนี้ คือหุบเขายาวๆ ลอมรอบไปดวยเขาสูงทุกดาน จึง ไดชื่อวาดอยอางขาง ตรงกลางของอางขางแตกอนเปนเขายื่นขึ้น ไปในอากาศ แตเดี๋ยวนี้ไดยุบตัวลงไปกลายเปน หลุม การที่เขายุบลงก็เพราะเขาเหลานั้นเปนเขา หินปูน ซึ่งเมื่อถูกนํ้าฝนชะก็จะคอยๆ ละลายเปน โพรงแลวยุบตัวลงเปน sink hole ซึ่งขณะนี้ยัง มีเกิดขึ้นอยู แตเปนหลุมที่ไมใหญนัก ในเมื่ออาง ขางอยู เ หนื อ เกื อ บสุ ด ของประเทศไทย อากาศ ยอมจะหนาวกวาที่อื่น และเมื่อหุบของอางขาง มีเขาเปนขอบโดยรอบ อากาศเย็นตอนกลางคืน ยอมจะเลื่อนลงถึงพื้น และเมื่อมีขอบกั้นโดยรอบ จึ ง เคลื่ อ นแผ ไ ปที่ อื่ น ไม ไ ด ด ว ยเหตุ นี้ หุ บ ของ อางขางซึ่งสูงโดยเฉลี่ย 1,500 เมตร จึงมีอากาศ หนาวที่สุดในประเทศไทย ซึ่งรวมทั้งดอยอินทนนท ด ว ย ทราบว า ผลไม เ มื อ งหนาวจะมี ลู ก ดกก็ ต อ เมื่ อ อากาศหนาวเป น เวลานานพอจะให ต าดอก เจริญและเมื่ออากาศอุนขึ้นก็จะเติบโตเปนผล

ที่วาหนาวนานนี้เปนเรื่องสําคัญ เพราะตนผล ไมเมืองหนาวที่ผลัดใบนั้น เมื่อากาศชักจะเย็น ใบก็ จะรวง ทําใหตนไม “จําศีล” จึงไมตายเมื่ออากาศ หนาวจนเปนนํา้ แข็งซึง่ เปนสาเหตุทที่ าํ ใหปลูกตนไม เมืองรอน (ไมจําศีล) ในเขตหนาวไมได สวนที่วาหนาว “นาน” เพราะตนไมตองการ จะแนใจวาเมื่ออากาศอุนแลว จะไมยอนมาหนาว ใหม ทําใหตาใบและดอกที่กําลังจะผลินั้นตาย คือ ถาหนาวนานจริงๆ แลวเมื่ออากาศอุน ก็จะอุนโดย ไมยอนกลับมาหนาวอีก


48

ROYAL PROJECT JOURNAL

วันหนึ่งเราขึ้น ฮ. ไปหมูบานเยาชื่อ แกรามัน อําเภอฝาง ชาวบานวาเขาเคยอยูบนดอยอางขาง ปลู ก ท อ พื้ น เมื อ งที่ จี น ฮ อ เอาเข า มาจากยู น นาน ทอนี้ผลใหญกวาที่อื่น และที่อางขางมีมะขี้หนู คือ แอปเปล ปาขึน้ อยูม าก เมือ่ แอปเปล ปาขึน้ ทีอ่ า งขาง ได แอปเปลบานก็ควรจะขึ้นไดดีดวย แตวาแม ตชด. เองก็ไมเคยขึ้นอางขาง ทั้งที่ ดอยนีต้ งั้ อยูบ นพรมแดนพมา จึงควรไปลาดตระเวน ใหสมชื่อ สาเหตุเพราะมีทหารจีนตั้งคายขวางอยู สองคาย คายแรกเปนกองพล 93 เดิม และอีกคาย หนึง่ นัน้ เปนทหารของไตหวัน ทําหนาทีเ่ ปนหูเปนตา เฝาดูจีนแผนดินใหญ ชาวเขาเลาวาแตกอนอางขางเคยมีหมูบาน มากมาย ทั้งแมว เยา และมูเซอ จนกระทั่งมีคน เดิ น ขวั ก ไขว ยั ง กั บ ในเวี ย ง เพราะเป น ที่ ซึ่ ง ปลู ก

วารสารโครงการหลวง

ฝนไดงามมากโดยไมตองเลื่อนลอยไปทําไรที่อื่น ซึ่งเราทราบวาจริงเพราะเปนดินที่เกิดจากหินปูน และมีโครงสรางดีที่สุดแหงหนึ่งในประเทศไทย ขณะนีอ้ า งขางมีหมูบ า นชาวเขาเหลือเพียงสอง หมูบาน กับหมูบานจีนฮออีกสอง ซึ่งหนึ่งหมูบาน เคยเปนคายทหาร KMT. สาเหตุก็เพราะวา เมื่อกองพล 93 ถูกตีแตก ออกมาจากประเทศจีนนัน้ ไดพากันอาศัยตัง้ ถิน่ ฐาน อยูในพมา กลาวกันวา อยูๆ ไป จีนฮอก็ชักจะ กําแหงถึงกับเขายึดครองสถานที่ราชการของพมา ในที่สุดพมาทนไมได จึงยกกําลังตีและตอนออกไป จากประเทศของเขามาเขาประเทศถัดไป คือ ไทย ที่อางขางมีการสูรบเปนการใหญ ทําใหชาวเขาของ เราบานแตกสาแหรกขาด อพยพลงจากดอยกัน หมด ขณะนี้มีเผามูเซอสองหมูบานเทานั้นที่กลับสู ถิ่นเดิมอีก




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.