จดหมายข่าวโครงการหลวง ประจำเดือน ตุลาคม 2558

Page 1

ปที่ 23 ฉบับที่ 10 ประจําเดือน ตุลาคม 2558

วันที่ 5 กันยายน 2558

หมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิโครงการหลวง เสด็จเปน ประธานในการเปดโรงเรือนผลิตเห็ดในระบบควบคุมสภาพ แวดลอม ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงปาเมี่ยง บานปางบง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมูลนิธิโครงการหลวง ร ว มกั บ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี (วท.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) รวมสนับสนุน “โครงการเทคโนโลยีการผลิตเห็ดระบบปด ระดับอุตสาหกรรมในพื้นที่โครงการหลวง” เปนอาคารเพาะ เห็ด คสล. ชั้นเดียว พรอมอุปกรณสําหรับเพาะเห็ดระบบปด ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงปาเมี่ยง บานปางบง อําเภอ ดอยสะเก็ ด จั ง หวั ด เชี ย งใหม เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ ผลิ ต เห็ ด สํ า หรั บ เกษตรกรในพื้ น ที่ โครงการหลวง โดยการใชเทคโนโลยีการ ผลิตระบบปด และเปนแหลงเรียนรูและ พัฒนาอาชีพเพาะเห็ดแกเกษตรกรตอไป ในอนาคต


ขาวทั่วไป

การประชุมวิชาการเพื่อนําเสนอผลงานวิจัย ฯ ของมูลนิธิโครงการหลวง และ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) ประจําปงบประมาณ 2558 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 หมอมเจาภีศเดช รัชนี ประธานมูลนิธิ โครงการหลวง เสด็จเปนประธานการประชุมวิชาการเพื่อนําเสนอผลงาน วิจยั ฯ ของมูลนิธโิ ครงการหลวง และ สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการ มหาชน) ประจําปงบประมาณ 2558 ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม กิจกรรมภายในงานประกอบดวย การบรรยายพิเศษ การนํา เสนอผลงานภาคบรรยาย และการจัดนิทรรศการการนําเสนอผลงานวิจยั ทีน่ าํ ไปใชประโยชนไดจริง ผลงานการวิจยั ทีน่ า สนใจ พรดมทัง้ การจัดการประกวด โปสเตอร การประชุมวิชาการผลงานวิจัย ประจําปงบประมาณ 2558 ดวย โดยมีผลการประกวดดังนี้

N E W S • U P D A T E 2


รางวัลยอดเยี่ยม ( 1 รางวัล ) เรื่อง การศึกษาเครื่องหมายพันธุกรรมสําหรับบงชี้เอกลักษณไกกระดูกดํา โดย รศ.ดร.ศุภมิตร เมฆฉาย จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

รางวัลดีเดน ( 2 รางวัล ) เรื่อง การปรับปรุงพันธุผักเพื่อระบบเกษตรอินทรีย โดย รศ.ดร.ศิริพร กิรติการกุล จาก มหาวิทยาลัยแมโจ เรื่อง การศึกษาองคประกอบทางเคมีของพืชทองถิ่นบนพื้นที่สูงตอการยับยั้งโรคติดเชื้อในสัตว โดย ดร.กรวรรณ ศรีงาม จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

รางวัลชมเชย ( 3 รางวัล ) เรื่อง การคัดเลือกสายพันธุขาวไรที่เหมาะสมกับการผลิตแบบเกษตรอินทรีย โดย นางวรรณกานต งามมาศประภัสสร จาก มูลนิธิโครงการหลวง เรื่อง การวิจัยและพัฒนาไกฟาเพื่อสรางรายไดแกชุมชนบนพื้นที่สูง โดย รศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิพัฒน จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม เรื่อง การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑสําหรับเสนผมจากหญาถอดปลองที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา โดย ดร.ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม

3


ผลการออกปฏิบัติงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม - ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครั้งที่ 346/66

วันที่ 19 กันยายน 2558 คณะทํางาน อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยเชียงใหม - ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง นําโดย รองศาสตราจารย ทันตแพทย ดร.สิทธิชัย วนจันทรรักษ คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก พรอมดวย คณะแพทย ทันตแพทย พยาบาล เภสัชกร และขาราชการหนวยงานตาง ๆ ไดออกปฏิบัติงานบริการหนวยแพทยเคลื่อนที่ใหแกราษฎรชนเผากะเหรี่ยง ณ โรงเรียนบานทุงแก สาขาแมแอบ ตําบล บานทับ อําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม ในพื้นที่ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมโถ โดยการประสานงานของงานพัฒนา การศึกษาและสาธารณสุข ไดใหบริการตรวจรักษา จายยาและใหคําปรึกษาในการดูแลสุขภาพอนามัย 119 ราย ฝงเข็ม รักษาตามอาการโรค 22 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเตานม 30 ราย ทันตกรรม 87 ราย ตัดผม 58 ราย แจกแวนสายตายาวสําหรับผูสูงอายุ 83 ราย แจกเครื่องอุปโภค บริโภค 150 ราย จัดยาให โรงเรียน วัด และศูนย ฯ จํานวน 8 ชุด แจกกระเปา จํานวน 200 ชิ้น และอุปกรณกีฬา 1 ชุด คณะทํางาน อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยเชียงใหม - ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง กําหนดจะออกปฏิบัติงานครั้งตอไป ในวันที่ 24 ตุลาคม 2558 ณ ศูนยพัฒนาโครงการหลวงแมปูนหลวง ตําบลแมแวน อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม

4


โครงการกองทุนปุยอินทรียและไฮโดรโพนิคส มูลนิธิโครงการหลวงเผยแพรความรู

วันที่ 1 กันยายน 2558 รศ.ดร.อานัฐ ตันโช หัวหนาโครงการ กองทุนปุยอินทรียและไฮโดรโพนิคส มูลนิธิโครงการหลวงไดรับเชิญจาก มหาวิชชาลัยอุโมงคสรางพลเมือง เปนวิทยากรบรรยายใหความรู เรื่อง การพัฒนาเครื่องมือการสรางพลเรือนแกคณะมหาวิชชาลัยอุโมงคสราง พลเมือง จํานวน 35 คน ณ เทศบาลตําบลอุโมงค จังหวัดลําพูน

อสมท.นําคณะเขาทัศนศึกษาในพื้นที่โครงการหลวง

วันที่ 3-7 กันยายน 2558 กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษยรวมกับรายการคลื่นขาว FM 100.5 MHz (อสมท.) นําผูโชคดี จากกิจกรรมประกวดภาพถาย พรอมคณะทํางาน รวม 35 คน เดินทางเขา ทั ศ นศึ ก ษาและทํ า กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม ณ สถานี เ กษตรหลวงอิ น ทนนท อ.จอมทอง และศูนยพัฒนาโครงการหลวงขุนวาง อ.แมวางจังหวัดเชียงใหม 5


ขาวจากดอย

อางขาง 1. วันที่ 27 สิงหาคม 2558 คณะเจาหนาที่และผูรวมโครงการเผย แพรองคความรูตนแบบ ของศูนยศึกษาการพัฒนาหวยฮองไครอันเนื่อง มาจากพระราชดําริ จํานวน 20 คน เขาศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวง อางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม เพื่อนําความรูจากการศึกษาดูงานไปพัฒนา และประยุกตใชตอไป

2. วันที่ 28-30 สิงหาคม 2558 งานพัฒนาและสงเสริมการผลิต เห็ดมูลนิธิโครงการหลวง ไดจัดฝกอบรม “การผลิตเห็ดหอมจากทอนไม” ใหแกเจาหนาที่งานพัฒนาและสงเสริมการผลิตเห็ดจากสวนกลาง และ ศูนย/สถานีตางๆ จํานวน 30 คน ขึ้น ณ สถานีเกษตรหลวงอางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม เพื่อเสริมสรางความรูและพัฒนาศักยภาพในการผลิตเห็ด ของมูลนิธิโครงการหลวง โดยหัวขอการอบรมประกอบดวย การผลิต เห็ดหอมจากทอนไม และ การผลิตเห็ดพอตโตเบลโล

6


3. วันที่ 11 กันยายน 2558 บริษัททองเอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด ผูผลิตละครโทรทัศน เรื่อง “เพียงชายคนนี้ไมใชผูวิเศษ” นําแสดงโดย คิมเบอรลี แอน โวลเทมัส และ เจมส อัศรัสกร กําหนดออกอากาศทาง สถานีโทรทัศนไทยทีวีสี ชอง 3 เขาใชสถานที่แปลงชา 2000 และ แปลง สตรอเบอรี่บานนอแล สถานีเกษตรหลวงอางขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม ถายทําละคร

4. วันที่ 10 กันยายน 2558 สถานีเกษตรหลวงอางขาง รวมกับหนวยงานในพื้นที่ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ วางแผน อพยพในภาวะฉุกเฉิน แผนดินไหว ดินโคลนถลม อาคารถลม (ครั้งที่ 4) โดยมี สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด เชียงใหมสาขาฝาง และ เทศบาลตําบลเวียงฝางมาเปนวิทยากร ใหความรูทัง้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ เพือ่ เปนการซักซอมความ พรอม ในการปฏิบัติตัว หากตองเผชิญสถานการณจริงใหแกเจา หนาที่ คนงาน และชุมชนในพื้นที่ใกลเคียง

7


1. วันที่ 8 กันยายน 2558 นายอนันต บุญมี ผูอํานวยการศูนย พัฒนาโครงการหลวงขุนวางใหการตอนรับคณะผูต รวจราชการกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย จํานวน 5 คน ซึ่งเขาเยี่ยม ชมกิจกรรมการดําเนินงานของศูนยพัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

ขุนวาง

2. วันที่ 15 กันยายน 2558 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอก โรงเรียน จังหวัดกาญจนบุรีนําคณะบุคลากรและผูนําชุมชนในพื้นที่ ของศูนย เรียนรูชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” จํานวน 20 คน เขาศึกษาดูงานกิจกรรมการดําเนินงานของศูนยพัฒนาโครงการหลวง ขุนวาง โดยมีนายวัชระ พันธทอง หัวหนาศูนยพัฒนาโครงการหลวง ขุนวาง ใหการตอนรับ

8


คลินิกพืช โรคสตรอเบอรี่ : ปองกันดีกวาแก ยางเขาฤดูกาลผลิตสตรอเบอรีแ่ ลว ในชวงนีเ้ กษตรกร เริ่มมีการไถพรวนเพื่อเตรียมแปลงปลูก บางพื้นที่ก็เริ่มปลูก ตนสตรอเบอรี่แลว ดังนั้นเพื่อปองกันการเขาทําลายของ เชื้อสาเหตุโรคพืช มีสิ่งที่ควรพิจารณาและพึงนําไปปฏิบัติ เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาที่จะเกิดขึ้น โดยเริ่มตั้งแตการเตรียม ดินใหเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช เพื่อใหพืชแข็ง แรง ดวยการทําคลังอาหาร โดยผสมปุยคอกปุยหมัก ที่หมัก กับเชื้อราไตรโคเดอรมา เพื่อปองกันโรคทางดิน เชน โรค เหี่ยว อันเนื่องจากการทําลายของเชื้อรา Fusarium หรือ Phytophthora หรือ Colletotrichum ซึ่งมักกอใหเกิด ความเสียหายตอตนและผลผลิตภายในแปลง รวมทั้งกอให เกิดโรคหลังการเก็บเกี่ยว สวนไหลที่นํามาปลูกควรเลือก จากตนแมพันธุที่แข็งแรงสมบูรณ ไมมีอาการของโรค โดย เฉพาะโรคไวรัสซึ่งตนไหลจะแสดงอาการใบยอดหงิกแข็ง สากหนา ใบมีขนาดเล็กลง ยอดไมเจริญ ปริมาณไหลลดลง จนกระทั่งไมมีการแตกเสนไหล ทั้งนี้จําเปน ที่เจาหนาที่ สงเสริมไมผล ควรเขาไปสํารวจในแปลงและแนะนําให เกษตรกรรูจ กั อาการดังกลาว เพือ่ กําจัดและปองกันการแพร ระบาดของโรคโดยความรูเทาไมถึงการณของเกษตรกร หลังจากปลูกแลวควรใชจุลินทรียปฏิปกษ เชน บีเค33

9

และ/หรือ สปอรแขวนลอยของเชื้อราไตรโคเดอร มาพนใหทั่วทั้งตนเพื่อปองกันโรคทางใบ เชน โรค ใบจุด และราแปง ทั้งนี้การใชจุลินทรียปฏิปกษ ควรมีการใชอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่องจะพบวา สามารถปองกันการเขาทําลายของโรคไดอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะทําใหประหยัดคาใชจายในการ ซื้ อ สารเคมี ใ นการป อ งกั น กํ า จั ด โรคและลดความ เสี่ ย งในการปนเป  อ นสารเคมี ต กค า งในผลผลิ ต รวมถึ ง ปลอดภั ย ต อ ตั ว เกษตรกรผู  ป ลู ก และสิ่ ง แวดลอม


ก ภาพ 1

ตนสตรอเบอรี่ถูกโรคแอนแทรสโนสเขาทําลาย ทําใหแสดงอาการเหี่ยว (ก) เมื่อผาลําตนจะพบแผล สีนํ้าตาลแดง (ข และ ค)

ก ภาพ 2

ลักษณะอาการของโรคไวรัสในแปลงปลูก ยอดไมเจริญ ใบผิดรูปราง เนือ้ ใบแข็ง (ก และ ข) และใบดาง (ค)

ก ภาพ 4

ลักษณะอาการของโรคใบจุดตานก (ก) ใบจุด Pestalotia (ข) และใบจุดใบไหม Verticillium (ค)

ก ภาพ 3

ลักษณะอาการของโรคราแปงบนใบ จะพบเสนใยสีขาวบริเวณใตใบ (ก) หรือแผลสีนํ้าตาลแดง (ข) จะทําใหใบหอขึ้น (ค)

10


ภาพ 5

เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ซับทีลิส/อะไมโลลิควิเฟเซียนส (Bacillus subtilis/amyloliquefaciens) ปริมาณไมนอยกวา 1x106 โคนิเดียตอมิลลิลิตร ชื่อการคา BK 33

ภาพ 6

เชื้อราไตรโคเดอรมา ฮารเซียนั่ม (Trichodermaharzianum) ปริมาณไมนอยกวา 1x106 โคนิเดียตอ มิลลิลิตร ชื่อการคา ไตรโคขนาดบรรจุ 500 กรัม (ก) และ 1,000 กรัม (ข)

11


ปที่ 23 ฉบับที่ 10 ประจําเดือน ตุลาคม 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.