Royal project, newsletter August 2013

Page 1


ข่าวทั่วไป

คณะสื่อเยอรมัน ดูงานโครงการหลวง

วันที่ 18-19 กรกฎาคม 2556 สถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมัน ได้นำ�คณะสื่อมวลชน ไทยและเยอรมัน จำ�นวน 9 คน เข้าศึกษา ดูงานของมูลนิธิโครงการหลวง โดยได้เข้า ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง หนองหอย สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ และศู น ย์ ผ ลิ ต ผล มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

R O YA L

Project Foundation

18-19

J U LY 2

2013


ผลการออกปฏิบัติงาน

1 3 J U LY 2 0 1 3

R O YA L

Project Foundation

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครั้งที่ 322/40

3

มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ - ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง นำ�โดย ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ ประธานคณะทำ�งาน และมูลนิธิโรง พยาบาลสวนดอก พร้ อ มด้ ว ย คณะแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และข้าราชการ หน่วยงานต่างๆ ได้ออกปฏิบตั งิ านบริการหน่วย แพทย์เคลือ่ นที่ ให้แก่ราษฎร บ้านแม่แพะ บ้าน แม่แพะคะวัม บ้านแม่ตงุ ติง และบ้านปางเติม ณ ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงแม่แพะ ตำ�บลสะเมิง เหนือ อำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2556 โดยการประสานงาน ของงานพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข ได้ ให้บริการตรวจรักษา จ่ายยาและให้คำ�ปรึกษา ในการดูแลสุขภาพอนามัยแก่ราษฎรในพื้นที่ จำ�นวน 60 ราย ฝังเข็มรักษาตามอาการของ โรค 47 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็ง เต้านม 15 ราย บริการด้านทันตกรรม 23 ราย ตัดผม 36 ราย แจกแว่นสายตายาวสำ�หรับผู้สูง อายุ 55 ราย กิจกรรมสอนและแนะนำ�การดูแล สุขภาพให้แก่ อสม.จำ�นวน 6 ราย แจกเครื่อง อุปโภค บริโภค 150 ราย อุปกรณ์กีฬาสำ�หรับ ชุมชน 27 ชิ้น ของเด็กเล่น 150 ชิ้น จัดยาให้ โรงเรียน วัด และศูนย์ฯ จำ�นวน 8 ชุด กำ�หนดออกปฏิบัติงานครั้งต่อไป ในวันที่ 18 สิงหาคม 2556 ณ ศูนย์พัฒนาฯ ห้วยโป่ง ตำ�บลแม่เจดีย์ใหม่ อำ�เภอเวียงป่าเป้า จังหวัด เชียงราย


โครงการป่าชาวบ้าน

19 JUNE 2013 วันที่ 19 มิถุนายน 2556 ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงทุง่ เรา ร่วมกับ โรงเรียนบ้าน บวกจัน่ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยการ สนับสนุนงบประมาณจากสถาบันวิจยั และ พัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้จัด กิจกรรมปลูกป่า และบวชป่าขึ้น ในพื้นที่ บริ เวณหอดู ไ ฟป่ า หมู่ บ้ า นบวกจั่ น เพื่ อ ซ่อมแซมพื้นที่ป่าเดิมให้มีสภาพดีคงเดิม และเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ผืนป่าใน พื้นที่ให้คงสภาพไว้ โดยได้รับความร่วมมือ จากราษฎรในพืน้ ที่ นักเรียน หน่วยราชการ ในพื้นที่ และผู้สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมรวม 250 คน

01 วันที่ 9 กรกฎาคม 2556 โครงการป่าชาวบ้าน ศูนย์พฒ ั นา โครงการหลวงม่อนเงาะ ร่วมกับ สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.) และ International Cooperation and Development Fund ได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ ผลิตเห็ดหอมจากท่อนไม้เมเปิล” ให้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ จำ�นวน 33 คน ณ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงม่อนเงาะ ต.เมือง ก๋าย อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ เพื่อส่งเสริมการนำ�ไม้เมเปิลที่ปลูก จากโครงการป่าชาวบ้านมาเพาะเห็ดเป็นการสร้างมูลค่า ส่งเสริม อาชีพเกษตรกรให้มีรายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ลดปัญหาการใช้ โรงเรือนเพาะเห็ดที่ต้องลงทุน เนื่องจากการเพาะเห็ดท่อนไม้ มี ลั ก ษณะการวางซ้ อ นท่ อ นไม้ ทั บ กั น ทำ � ให้ ป ระหยั ด พื้ น ที่ โรงเรือนเพาะเห็ด และเป็นแหล่งเรียนรูก้ ารใช้ประโยชน์ไม้เมเปิล ปลูกจากโครงการป่าชาวบ้าน มูลนิธโิ ครงการหลวง มาเพาะเห็ด หอมบนท่อนไม้สู่เกษตรกร

4

9

J U LY

02

2013


วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ทุง่ หลวงร่วมกับราษฎรบ้านห้วยตอง จำ�นวน 30 คน ได้รว่ มกัน ปลูกไม้ในแปลงป่าสาธิตของศูนย์ฯ รวม 710 ต้น ประกอบด้วย ไม้จันทร์ทองเทศ ไม้การบูร

03

1 2 J U LY 2 0 1 3

04

1 2 J U LY 2 0 1 3

วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงทุ่งเรา ร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ หน่วยจัดการต้นนํ้าห้วยป่าเลา บริษัทธรณีพิพัฒน์ (ออร่า) โดยการสนับสนุนงบประมาณ จาก สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้จัดกิจกรรม โครงการฟื้นฟูอนุรักษ์ธรรมชาติป่าหัวนํ้าขึ้น ณ บ้านบวกเต๋ย ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม กว่า 500 คน

5

R O YA L

Project Foundation


01

คณะเยี่ยมชม

ดูงานโครงการกองทุนปุ๋ยอินทรีย์ และไฮโดรโพนิคส์ มูลนิธโิ ครงการหลวง วันที่ 15 กรกฎาคม 2556 มูลนิธิโรงพยาบาล สมเด็ จ พระยุ พ ราช นำ � คณะผู้ เข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะ กรรมการอำ�นวยการพัฒนาเครือข่ายโรงพยาบาลสมเด็จ พระยุพราช จำ�นวน 55 คน ในโครงการของบประมาณ สนับสนุนในแผนปฏิบัติการของหน่วยงานเพื่อดำ�เนิน การเป็ น รู ป ธรรมในโอกาสต่ อ ไป รั บ ฟั ง การบรรยาย และศึกษาดูงาน เรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีต้นแบบ การคั ด แยกและจั ด เก็ บ ปั ส สาวะและอุ จ จาระมนุ ษ ย์ อย่างถูกสุขลักษณะ และการเลี้ยงไส้เดือนดินกำ�จัดขยะ อินทรีย์ และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (แม่เหียะ) ณ ศูนย์วิจัย และพั ฒ นาไส้ เ ดื อ นดิ น มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ โรงปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ นํ้ า (แม่ เหียะ)

6

วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 สำ�นักงาน ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แว ด ล้ อ ม จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย นำ � คณะอาสาสมั ค รพิ ทั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้เข้าร่วม โครงการส่งเสริมศักยภาพเครือข่ายอาสาสมัคร พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ทสม.) จังหวัดสุโขทัย จำ�นวน 200 คน เข้า ศึกษาดูงาน เรือ่ งการผลิตปุย๋ อินทรียแ์ ละการนำ� ขยะอินทรีย์กลับมาใช้ประโยชน์ ณ ศูนย์วิจัย และพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

03

วันที่ 18 กรกฎาคม 2556 ศูนย์ฝึกทหาร ใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ และมูลนิธิรักษ์ ดินนํ้า นำ�คณะผู้เข้าร่วมโครงการการเกษตร อินทรีย์บริเวณพื้นที่ว่างเปล่า ตามแนวชายฝั่ง ทะเลในความรับผิดชอบ กองทัพเรือ เพื่อความ มัน่ คงทางอาหารของประเทศไทย และเป็นการ ดำ�เนินการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงใน องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ จำ�นวน 20 คน จึงเข้าศึกษาดูงาน เรือ่ ง การเลีย้ งไส้เดือนดิน กำ�จัดขยะอินทรีย์เพื่อผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนดิน ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัย แม่โจ้


คณะมองโกเลียดูงาน

ข่าวจากดอย

2

J U LY

2 0 1 3

อ่ า ง ข า ง

A n g k h a n g

วั น ที่ 2 กรกฎาคม 2556 ศู น ย์ ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริม อุ ต สาหกรรม ได้ นำ � คณะที่ ป รึ ก ษานายก รั ฐ มนตรี ป ระเทศมองโกเลี ย พร้ อ มคณะ จำ�นวน 6 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตร หลวงอ่างขาง อ.ฝาง จ.เชียงใหม่

2 1 - 2 4

J U N E

2 0 1 3

สถานี เ กษตรหลวงอ่ า งขาง ร่ ว มกั บ สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน) และงานประชาสัมพันธ์และการท่องเที่ยว มูลนิธิ โครงการหลวง ได้ จั ด กิ จ กรรมค่ า ยเยาวชน เรียนรู้งานโครงการหลวง ครั้ง 5 ขึ้น ในระหว่าง วันที่ 21-24 มิถุนายน 2556 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่งานด้านการเกษตร และการพัฒนา ชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรชาวไทยภูเขาบน พื้ น ที่ สู ง ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ให้ แ ก่ เ ยาวชนรุ่ น ใหม่ ได้ รู้ จั ก และนำ � ความรู้ ที่ ได้รับไปเผยแพร่ได้อย่างถูกต้อง ในปีนี้ เยาวชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมมาจากสถานศึกษาต่างๆ รวม 8 แห่ ง โดยมาจากพื้ น ที่ โ ครงการหลวง จาก โรงเรียนในอำ�เภอเมือง จ.เชียงใหม่ และโรงเรียน จากกรุงเทพมหานคร จำ�นวน 46 คน

7

ค่ายเยาวชน

เรียนรู้งานโครงการหลวง # 5


ปางดะ

P a n g d a

01 2 6

J U N E

2 0 1 3

วันที่ 26 มิถุนายน 2556 งานไม้ผล เขตร้อน มูลนิธิโครงการหลวง นำ�คณะ นักวิชาการจาก Tropical Crops Genetic Resources Institute (TCGRI) of Chinese Academy of Tropical Agricultural Sciences (CATAS) Danzhou Hainan จำ � นวน 5 คน ศึกษาดูงานเรื่อง ระบบ IPM ของสถานี เกษตรหลวงปางดะ โดยมี รศ.ฉลองชัย แบบประเสริ ฐ ผู้ ป ระสานงานไม้ ผ ล เขตร้อน มูลนิธโิ ครงการหลวง เป็นวิทยากร บรรยายและนำ�ชม

02 4

J

U

L

Y

วั น ที่ 4 กรกฎาคม 2556 คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล ล้ า นนา นำ � นั ก ศึ ก ษาในโครงการแลก เปลี่ยนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้ “โครงการ Agricultural Camp 2013 การแลกเปลี่ ย นทางวิ ช าการ สื บ สาน วั ฒ นธรรมอาเซี ย น” เพื่ อ การพั ฒ นา ทั ก ษะวิ ช าชี พ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ก ารเกษตรในระดั บ ภู มิ ภ าค อาเซี ย น กั บ มหาวิ ท ยาลั ย Brawijaya ประเทศอินโดนีเซีย จำ�นวน 10 คน ศึกษา ดูงานการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของสถานี เกษตรหลวงปางดะ

8

2

0

1

3

Agricultural camp 2013


03 1 1

J U LY

2 0 1 3

04 1 5

J U LY

R O YA L 2 0 1 3

Project Foundation

05 1 7

วั น ที่ 11 กรกฎาคม 2556 สถานี เ กษตรหลวงปางดะเข้ า ร่ ว ม โครงการปลู ก ต้ น ไม้ แ ละหญ้ า แฝก จัดโดยโรงเรียนสะเมิงพิทยาคมร่วมกับ ชุมชนและหน่วยงานราชการอำ �เภอ สะเมิง โดยมี นายอนุพงษ์ วาวงศ์มูล นายอำ�เภอสะเมิง เป็นประธานในพิธี เปิดและมอบกล้าไม้ให้กับชุมชนและ โรงเรียนสะเมิงพิทยาคมนำ�ไปปลูกใน ชุมชนและในบริเวณโรงเรียนสะเมิง พิทยาคม กล้าไม้ที่ปลูกประกอบด้วย ไม้สัก ไม้ประดู่ ไม้พะยูง ต้นราชพฤกษ์ ต้นสะตอ ต้นมะขามป้อม ต้นกาแฟ รวมจำ�นวน 1,500 กล้า และหญ้าแฝก จำ�นวน 9,000 กล้า ปลูกในพื้นที่รวม 7 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านดงช้างแก้ว บ้าน นํ้าริน บ้านแม่สาบ บ้านกองขากหลวง บ้านทรายมูล บ้านเหล่าแสนตอง และ บ้านศาลาป่ากล้วย ตำ�บลสะเมิงใต้ อำ�เภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

วั น ที่ 15 กรกฎาคม 2556 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ นำ � คณะผู้ เ ข้ า ร่ ว ม การฝึกอบรมหลักสูตร Grassroots Economic Development (GED) Following Sufficiency Economy Philosophy (SEP) International Training Course 2013 รวมทั้งสิ้น 17 คน จาก 16 ประเทศ เข้าเยี่ยมชม การดำ � เนิ น งานของมู ล นิ ธิ โ ครงการ หลวง ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.นุชนาฏ จงเลขา ผู้อำ�นวยการศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง และนายวิพัฒน์ ดวงโภชน์ หัวหน้าสถานีเกษตรหลวง ปางดะ ให้การต้อนรับและเป็นวิทยากร บรรยาย พร้อมนำ�ชม

9

J U LY

2 0 1 3

วั น ที่ 17 กรกฎาคม 2556 นายวิ พั ฒ น์ ดวงโภชน์ หั ว หน้ า สถานีเกษตรหลวงปางดะ พร้อมด้วย เจ้ า หน้ า ที่ ลู ก จ้ า ง และประชาชน ในพื้ น ที่ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอาชี พ ของสถานีเกษตรหลวงปางดะ (บ้าน แม่สาบ) ร่วมกันถวายเทียนพรรษา ณ วัดแม่สาบเหนือ และวัดแม่สาบใต้ ตำ�บลสะเมิงใต้ อำ�เภอสะเมิง จังหวัด เชียงใหม่ เนื่องในเทศกาลเข้าพรรษา ประจำ�ปี 2556


ขุ น ว า ง

K h u n w a n g

01

24 JUNE 2013

วันที่ 24 มิถนุ ายน 2556 ม.ร.ว.ภัทรชัย รั ช นี ประธานคณะทำ � งานป่ า ไม้ มู ล นิ ธิ โครงการหลวง พร้อมคณะ จำ�นวน 8 ท่าน เข้าเยีย่ มชมกิจกรรมการดำ�เนินงานของศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

02

1 4 J U LY 2 0 1 3

วันที่ 14 กรกฎาคม 2556 คณะ ช.ช้าง 4x4 เชียงใหม่ จำ�นวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรมถวาย เทียนพรรษา เนื่องในเทศกาลเข้าพรรษา ประจำ�ปี 2556 ณ สำ�นักสงฆ์บ้านขุนแม่วาก ในพื้นที่ความ รับผิดชอบของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง พร้อมเข้าเยี่ยมชมกิจกรรมการดำ�เนินงานของศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง

บริษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จำ�กัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300 10


CL

INI

C

PL

AN

T

คลินิกพืช

โรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อรา Alternaria sp. และการป้องกันกำ�จัด

สาเหตุโรค : เกิดจากเชื้อรา Alternaria brassicae ลักษณะอาการ อาการของโรคจะเกิดขึ้นได้กับทุกส่วนของต้นผักและทุกระยะ การเจริญเติบโต โดยจะเกิดเป็นแผลจุดขึ้นบนใบ เริ่มจากจุดเซลล์ ตายเล็กๆ สีเหลืองขึน้ ก่อน ต่อมาจะค่อยขยายโตขึน้ เป็นสีนาํ้ ตาล เมือ่ แผลแห้งจะเกิดจุดเล็กๆ สีนาํ้ ตาลเข้มหรือดำ� ขึน้ เป็นวงค่อนข้างกลม เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ (concentric circle) ขนาดของแผลมีหลาย ขนาด ตั้งแต่เป็นจุดเล็กๆ จนมีขนาดใหญ่ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ใหญ่ถึง 2-3 นิ้วฟุต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรง และส่วนหรือชนิด ของพืชที่ถูกเชื้อเข้าทำ�ลาย

ภาพที่ 1 ลักษณะอาการของโรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อรา Alternaria sp. และลักษณะของเชื้อสาเหตุโรค การป้องกันกำ�จัด 1. เลื อ กใช้ เ มล็ ด พั น ธุ์ ที่ ส ะอาด ปราศจากโรค หากไม่แน่ใจให้ฆ่าเชื้อที่ อาจติ ด มากั บ เมล็ ด เสี ย ก่ อ น โดยแช่ ใ น นํ้าอุ่น 49-50° ซ นาน 20-25 นาที 2. งดหรือหลีกเลี่ยงการปลูกผักกาด หรือกะหลํ่าชนิดต่างๆ ลงในดินที่เคยปลูก และมีโรคเกิดมาก่อนอย่างน้อย 3-4 ปี

3. กำ�จัดทำ �ลายวัชพืชพวกผักต่างๆ อย่าให้มีอยู่บริเวณไร่ หรือแปลงปลูกรวมทั้งพวกที่จะงอกขึ้นมาเองจากเมล็ดที่ร่วงหล่น อยู่ตามดิน 4. หากพบการระบาดของโรคให้ ฉี ด พ่ น ด้ ว ยสารเคมี เช่ น แมนโคเซ็บ (ไดเทนเอ็ม 45) หรือ มาเน็บ (ตรีเนบ) หรือ คลอโรธา โรนิล (ดาโคนิล, แอ็คนาวเอฟ) เลือกใช้อย่างใดอย่างหนึง่ ทุกๆ 5-7 วัน หรือสลับกับสารเคมีประเภทดูดซึม เช่น ไดฟีโนโคนาโซล (สกอร์ 250 อีซี) ก็จะป้องกันต้นที่ยังไม่เป็นหรือลดความรุนแรงในต้นที่เป็น อยู่แล้วได้ เอกสารอ้างอิง : ไทยเกษตรศาตร์. http://www.thaikasetsart. com. 17 กรกฎาคม 56

11


3. ร้านโครงการหลวง เชียงใหม่ 89 พลาซ่า 25-26 เชียงใหม่พลาซ่า ถนนเชียงใหม่-ลำ�พูน ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร. 053-141-855

อุดรธานี

ร้านค้าโครงการหลวง สาขา อุดรธานี 277/1-3, 271/5 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลอุดรธานี ถ.ประจักษ์ศิลปาคม ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ : 042-921275

ปีที่ 21 ฉบับที่ 8 ประจำ�เดือน สิงหาคม 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.