ปีที่ 22 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือน กรกฏาคม 2557
วันที่ 2 มิถุนายน 2557 หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี ประธานมู ลนิธิ โครงการหลวง ทรงประทานสั ม ภาษณ์ แด่ ค ณะผู ้ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ ที่ ร ะลึ ก 50 ปี เกี ย รติ ภู มิ แ ห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ณ ส� ำ นั ก งานมู ลนิ ธิ โ ครงการหลวง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ROYAL PROJECT FOUNDATION
ข่าวทั่วไป
ง ว ล ห ร า ก ง ร ค โ น คณะภูฏานดูงา
วันที่ 7-10 มิถุนายน 2557 คณะ Trust Fund for Environment Conservation จ�ำนวน 5 คน จากประเทศภูฎาน เข้าศึกษา ดูงานของมูลนิธิโครงการหลวง ณ สถานีเกษตร หลวงอ่างขาง โดยเข้าเยี่ยมชมการด�ำเนินงาน ในด้านต่างๆ ของสถานีฯ ได้แก่ การปลูกป่า
ชาวบ้าน การน�ำไม้มาใช้ประโยชน์ การปลูกผักในระบบไฮโดรโพนิกส์ และการคัดคุณภาพผลผลิต เพื่อ จะน�ำแนวการด�ำเนินงานที่เป็นประโยชน์ของสถานีฯ อ่างขางไปประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก ต.ห้วยแก้ว อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ เข้าเยี่ยมชมการด�ำเนินงานของศูนย์ฯ ในด้านต่างๆ ได้แก่ โรงเรือนผลิตไม้กระถาง โรงแปรรูปกาแฟ อราบิก้า จากนั้นเดินทางไปยัง หมู่บ้านแม่ก�ำปอง เยี่ยมชมโฮมสเตย์ และรับฟังการบรรยายจากผู้น�ำชุมชน ในการจัดการหมู่บ้านให้ได้รับรางวัลหมู่บ้านต้นแบบด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ศึกษาดู งานด้านงานหัตถกรรมการท�ำหมอนใบชา และการด�ำเนินงานจัดจ�ำหน่ายสินค้าของมูลนิธิโครงการหลวง ณ ร้านโครงการหลวงสาขาสุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
2
กษ.อุดรธานีดูงานการเลี้ยงไส้เดือนดิน กำ�จัดขยะอินทรีย์ และโรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์น�้ำ EARTHWORM
วันที่ 12 มิถุนายน 2557 ส�ำนักงาน เกษตรและสหกรณ์จงั หวัด จังหวัดอุดรธานี ได้ น� ำ คณะผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการส่ ง เสริ ม การจัดการการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง แก่ประชาชนท�ำการเกษตรและสหกรณ์ จังหวัด จังหวัดอุดรธานี จ�ำนวน 50 คน เข้ า ศึ ก ษาดู ง าน การเลี้ ย งไส้ เ ดื อ นดิ น ก�ำจัดขยะอินทรีย์และโรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ณ ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาไส้ เ ดื อ นดิ น มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ และโรงผลิ ต ปุ ๋ ย อินทรียน์ ำ�้ มูลนิธโิ ครงการหลวง ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
3
การออกปฏิบัติงาน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครั้งที่ 333/51
เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2557 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง น�ำโดย รศ.นพ.วัฒนา นาวาเจริญ คณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ และมูลนิธิโรงพยาบาลสวนดอก พร้อมด้วย คณะแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และข้าราชการ หน่วยงานต่างๆ โดยการประสานงานของงานพัฒนาการ ศึกษาและสาธารณสุข ได้ออกปฏิบัติงานบริการหน่วย แพทย์เคลื่อนที่ ให้แก่ราษฎรชนเผ่า จีนฮ่อ ไทใหญ่ มูเซอ แดง และมูเซอด�ำ บ้านแกน้อย และบ้านไชยา ณ โรงเรียน โครงการหลวงแกน้อย ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแกน้อย ต�ำบลเมืองนะ อ�ำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยให้บริการตรวจรักษา จ่ายยาและให้คำ� ปรึกษาในการดูแลสุขภาพ อนามัย 214 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 44 ราย ทันต กรรม 110 ราย ตัดผม 90 ราย แจกแว่นสายตายาวส�ำหรับผู้สูงอายุ 94 ราย แจกเครื่องอุปโภค บริโภค 150 ราย จัดยาให้ โรงเรียน วัด และศูนย์ฯ จ�ำนวน 10 ชุด อุปกรณ์กีฬาให้แก่โรงเรียน 4 แห่ง ครัง้ ต่อไปจะออกปฏิบตั งิ าน วันที่ 19 กรกฎาคม 2557 ณ ศูนย์พฒ ั นา โครงการหลวง แม่แฮ ต�ำบลแม่นาจร อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
4
ข่าวจากดอย
01 02
อินทนนท์
วันที่ 7 - 8 มิถุนายน 2557 ศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาที่ดิน โครงการหลวง ส�ำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนาที่ดิน น�ำ คณะนักวิชาการจากประเทศภูฎาน จ�ำนวน 12 คน เข้าเยี่ยมชม และศึกษาดูงานการด�ำเนินงานของโครงการหลวง ณ สถานีเกษตร หลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
วันที่ 14 มิถุนายน 2557 บริษัทเอ็กซ์เทนเดอร์ จ�ำกัด ผู้ผลิตสารคดีท่องเที่ยว รายการ “เที่ยวไทยไม่ตกยุค” ซึ่งออก อากาศทางสถานีโทรทัศน์ Thai PBS ทุกวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 08.00-08.30 น. ให้กับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชนและกิจกรรม ทางการท่องเที่ยวทั่วประเทศไทย ได้เข้าถ่ายท�ำรายการ ตอน “หัวใจรักธรรมชาติ ..อ่างกาหลวง จ.เชียงใหม่” ณ สถานีเกษตร หลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
03
วันที่ 14 มิถุนายน 2557 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ จ.เชียงใหม่ ได้น�ำคณะผู้เข้ารับการอบรม ใน หลักสูตร “Botanical Garden Trainning Program 2014” จากสวนพฤกษศาสตร์ สาธารณรัฐเซเชลส์ จ�ำนวน 10 คนเข้าศึกษาดูงานการปลูกและพัฒนาพืชเมืองหนาวของ โครงการหลวง ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
5
อ่างขาง วันที่ 4-5 มิถุนายน 2557 สถานีเกษตรหลวง อ่างขางร่วมกับงานพัฒนาและส่งเสริมการผลิตชาจีน มูลนิธิโครงการหลวง ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การปรับปรุงคุณภาพผลผลิตชาในแปลงเกษตรกร” ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกชาอินทรีย์ สถานีเกษตรหลวง อ่างขาง จ�ำนวน 50 ราย เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ และทักษะในด้านการปฏิบัติดูแลผลผลิตชาในแปลงของ เกษตรกรให้มีคุณภาพดี ถูกต้องตามหลักความปลอดภัย ตามมาตรฐานสากล เพื่อท�ำการส่งผลผลิตเข้าสู่โรงงาน ท�ำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพจ�ำหน่าย ซึ่งการส่งเสริมและ สนับสนุนการผลิตชาจีนคุณภาพให้แก่เกษตรกรเพื่อแปรรูปเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนและชุมชนในพื้นที่ โครงการหลวงนั้น ได้เริ่มด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี 2539 รูปแบบการฝึกอบรม ประกอบด้วยการบรรยายเรื่อง การดูแลรักษาแปลงชาโดยผู้เชี่ยวชาญ และเรื่องเกษตรอินทรีย์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งการฝึกปฏิบัติ การดูแลรักษาแปลงชา ทั้งนี้คาดหวังว่าเกษตรกรที่เข้ารับการอบรมจะได้รับความรู้และพัฒนาทักษะตลอด จนทราบเทคนิควิธีการดูแลรักษาแปลงชาที่ถูกต้อง และน�ำความรู้ ประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับปรุงแปลงชา และผลผลิตชาให้ได้คุณภาพที่ดียิ่งขึ้นและสามารถถ่ายทอดให้แก่ผู้สนใจได้ต่อไป
บริษัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จำ�กัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300
6
หนองหอย วันที่ 14 มิถนุ ายน 2557 มูลนิธโิ ครงการหลวง ศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย มูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช หน่วยวิจัยการ ฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (FORRU) หน่วยงานใน พื้นที่และชุมชนบ้านหนองหอย และหน่วยงานเอกชน ได้ ร่วมกันจัดกิจกรรมปลูกป่าม่วนใจ๋ ณ ดอยม่อนล่อง ภายใต้ โครงการ 4G Give Green Get Green เขียวจัดทั่วไทย มี การปลูกต้นไม้ ณ บริเวณจุดชมวิวดอยม่อนล่อง บนพื้นที่ 5 ไร่ ต้นไม้ 12 ชนิด จ�ำนวน 1,800 ต้น
ขุนวาง วันที่ 17 มิถุนายน 2557 ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงขุนวาง ร่วมกับสถาบันวิจัยและ พัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้จัดโครงการ พัฒนายุวเกษตรกรสู่เกษตรกรรุ่นใหม่ขึ้น เพื่อให้เยาวชน ในพื้ น ที่ โ ครงการหลวง ได้ รั บ ความรู ้ ด ้ า นการเกษตร การฝึกอบรมการท�ำปุ๋ยหมักแบบไม่กลับกอง และเป็น การฝึกทักษะการเป็นผูน้ ำ� กล้าคิด กล้าแสดงออก สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ ณ โรงเรียนพัฒนาต้นน�้ำที่ 5 ขุนวาง หมู่ 17 ต.แม่วนิ อ.แม่วาง จ.เชียงใหม่ มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 40 คน
7
แม่ทาเหนือ
01
วันที่ 12 พฤษภาคม 2 5 5 7 ศู น ย์ พั ฒ นา โครงการหลวงแม่ ท า เหนือ ร่วมกับสถาบันวิจยั และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง (องค์ ก ารมหาชน) ได้ จั ด ประชุ ม ชี้ แ จง ชุ ด โครงการวิ จั ย เชิ ง บู ร ณาการเพื่ อ เสริ ม สร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพ ผลการผลิตและการตลาด ของชาวบ้านพื้นที่สูง โครงการย่อย/ การวิจยั และพัฒนาการผลิตข้าวส�ำหรับชุมชนบนพืน้ ทีส่ งู โครงการ ป่าชาวบ้าน และโครงการหมูบ่ า้ นสะอาด ให้แก่ผนู้ ำ� ชุมชนประกอบ ด้วย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทาเหนือ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2, 3, 4, และ 5 และเกษตรกร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และความร่วมมือในการด�ำเนินงานให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง จากนัน้ ได้จัดกิจกรรม ร่วมกับผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่ ได้แก่ อุทยาน แห่งชาติแม่ตะไคร้ หน่วยจัดการต้นน�้ำแม่ทา โรงเรียนทาเหนือ วิทยา เจ้าหน้าที่ศูนย์ฯแม่ทาเหนือ สถาบันฯ และราษฎรใน ชุมชน รวม 60 คน ในการปลูกป่าชาวบ้าน แปลงสาธิต บริเวณ ร้านจ�ำหน่ายผลิตผลของศูนย์ฯ พื้นที่ 1 ไร่ จ�ำนวน 2 ชนิด ได้แก่ การบูร และจันทร์ทอง รวม 200 ต้น
02 วันที่ 27 พฤษภาคม 2557 ศูนย์พัฒนา โครงการหลวงแม่ทาเหนือ ร่วมกับสถาบันวิจัย และพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้เข้าร่วม ประชาคมจัดท�ำแผนชุมชนของหมู่บ้ านในเขต ต�ำบลแม่ทา อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ รวม 7 หมู่บ้าน ณ องค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ทา ผู้ เข้าร่วมท�ำแผนชุมชนประกอบด้วย ก�ำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน และสมาชิกองค์การบริหารส่วนต�ำบล ทั้ง 7 หมู่บ้าน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ทา ประธานสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ทา ผู้ แทนหน่วยงาน ได้แก่ โครงการชลประทานจังหวัด เชียงใหม่ ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอแม่ออน อุทยาน แห่งชาติแม่ตะไคร้ และสวนป่าหลวงสันก�ำแพง รวม 18 คน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ บูรณาการแผน ชุมชน ของหมู่บ้านกับแผนของศูนย์ฯ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และองค์การบริหารส่วนต�ำบลแม่ทา
แม่สะป๊อก รับมอบอาคารศูนย์เด็กเล็ก
วันที่ 16 มิถุนายน 2557 นายธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์ ประธาน สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และคณะ ได้ทำ� พิธมี อบ พร้อมเปิดอาคารเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่สะป๊อกให้แก่ชุมชนบ้าน แม่สะป๊อก ซึ่งอาคารเรียนดังกล่าวได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จ�ำนวน 400,000 บาท (สี่แสนบาทถ้วน) จากสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยการประสานงานของสหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานมูลนิธิโครงการหลวง 8
9
คลินิกพืช
ความส�ำคัญในการจัดการสารเคมี ในห้องปฏิบัติการ
ปัจจุบันนี้สารเคมีได้เข้ามามีบทบาทกับการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ซึ่งมีส่วนประกอบทั้งใน สินค้าอุปโภคและบริโภค รวมถึงสินค้าสิ้นเปลือง ล้วนมีแต่สารเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งสิ้น โดยโรงงาน อุตสาหกรรมหลายประเภทใช้สารเคมีเป็นสารตัง้ ต้นหรือใช้ในกระบวนการผลิต รวมถึงห้องปฏิบตั กิ าร ที่ต้องใช้สารเคมีในการวิเคราะห์ทดลองด้วย การใช้สารเคมีเป็นปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะการใช้สารเคมีในห้องปฏิบัติการ ต่างๆ ดังนัน้ แต่ละห้องปฏิบตั กิ ารต้องให้ความส�ำคัญในการควบคุมและจัดการสารเคมีทใี่ ช้ เริม่ ตัง้ แต่ การจัดซื้อ การเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ การใช้ และการก�ำจัดของเสียที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี
ระบบการจัดการสารเคมีในห้องปฏิบัติการที่ดี ประกอบด้วย
1. การจัดการข้อมูลสารเคมี และเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) โดยจัดท�ำบัญชีข้อมูลสารเคมี ควรบันทึกข้อมูล ปริมาณการใช้และเชื่อมโยงกับข้อมูลความปลอดภัย ที่มีการตรวจสอบความถูกต้องและทันสมัยของข้อมูลความปลอดภัยอยู่เสมอ 2. การจัดซื้อสารเคมี ต้องจัดซื้อสารเคมีตามความจ�ำเป็น หากเป็นไปได้ควรเลือกซื้อจากผู้ขาย ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ และต้องมีข้อมูลความปลอดภัย SDS ของสารเคมี 3. การจั ด เก็ บ สารเคมี ค ว ร เ ก็ บ ใ น บ ริ เ ว ณ ที่ มี ค ว า ม ปลอดภั ย มี ก ารจั ด เรี ย งอย่ า ง เป็ น ระบบ จั ด เก็ บ ตามล� ำ ดั บ การเข้ า มาก่ อ น-หลั ง และต้ อ ง มี ต� ำ แหน่ ง การจั ด เก็ บ ที่ แ น่ น อน สะดวกต่ อ การน� ำ สารเคมี ไ ป ใช้ ง าน ซึ่ ง การจั ด เก็ บ สารเคมี ต้องแยกตามประเภทของ สารเคมี ห รื อ ค� ำ แนะน� ำ ใน SDS เช่น
10
3.1 การแยกตามสถานะ ของแข็ง เช่น ของแข็ง ไวไฟ (flammable solid) ของแข็งท�ำปฏิกิริยาว่องไว กับน�้ำ (wate reactive solid) ของเหลว เช่น ของเหลว ออกซิไดส์ (oxidizing liquids) ของเหลวที่มีฤทธิ์เป็นกรด (acid liquids) แก๊สบรรจุท่ออัดความดัน เช่น แก๊สพิษ (toxic gase) แก๊สเฉื่อย (inert gases) 3.2 การแยกตามความเป็นอันตราย เช่น สารที่ ไม่เสถียร (unstable chemical) สารที่ท�ำปฏิกิริยากับ น�้ำ (chemicals that react with water) สารกัดกร่อน (corrosive chemicals) สารเปอร์ อ อกไซด์ อิ น ทรี ย ์ (organic peroxides) 3.3 แยกตามความเข้ากันได้/ไม่ได้ ซึ่งสารเคมี ที่เข้ากันไม่ได้ (incompatible chemicals) ต้องจัดเก็บ ให้ห่างกัน เพราะสารสัมผัสกันจะเกิดอันตรายจากการ ที่ ส ารท� ำ ปฏิ กิ ริ ย ากั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ความร้ อ นสู ง จนลุ ก ไหม้ หรือระเบิด หรือให้แก๊สพิษออกมาได้ เช่น nitrate เข้าไม่ได้กับ sulfuric acid หรือ arsenic compounds เข้ากันไม่ได้กับ reducing agent 3.4 ระบบการจ�ำแนกประเภท การติดฉลาก และข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความเป็ น อั น ตราย ของสารเคมี (Globally Harmonized System, GHS) โดยใช้ สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตราย และระดับความรุนแรง ของอันตรายจากสารเคมี ซึง่ แบ่งความอันตรายเป็น 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม เอกสารอ้างอิง
4. การส�ำรวจและการคัดออกของสารเคมีทหี่ มดอายุ และเลิกใช้ เป็นการก�ำจัดสารเคมีที่ไม่ต้องการใช้หรือใช้ ไม่ได้ออกจากห้องปฏิบัติการ เพื่อลดความเสี่ยงอันตราย จากสารเคมีที่ไม่จ�ำเป็น ทั้งนี้ต้องปรับข้อมูลในระบบให้ ถูกต้องและทันสมัยอยู่เสมอ 5. การเคลื่ อ นย้ า ยสารเคมี ต้ อ งท� ำ ด้ ว ยความ ระมั ด ระวั ง ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดความปลอดภั ย ของ สารเคมี นั้ น ๆ ผู ้ เ คลื่ อ นย้ า ยต้ อ งใช้ อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ส่วนบุคคล เช่น ถุงมือ แว่นตานิรภัย เสื้อคลุมปฏิบัติการ ระหว่างการเคลื่อนย้าย ใช้ภาชนะบรรจุหรืออุปกรณ์ ส�ำหรับเคลื่อนย้าย และวิธีเคลื่อนย้ายที่ถูกต้องเหมาะสม กับลักษณะคุณสมบัติของสาร 6. การจัดการของเสีย วิธีที่ดีที่สุดในการจัดการ ของเสี ย ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร คื อ การป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ของเสี ย หรื อ เกิ ด ในปริ ม าณน้ อ ยที่ สุ ด ส่ ว นแนวทาง ในการก� ำ จั ด ของเสี ย จากห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร เริ่ ม จากการ ส�ำรวจและจัดการข้อมูลสารเคมีและของเสีย โดยท�ำการ จ�ำแนกประเภทของเสียเพื่อเก็บรวบรวมแล้วน�ำไปบ�ำบัด หรือก�ำจัดด้วยวิธีที่ถูกต้องเหมาะสมปลอดภัย เกณฑ์การ จ�ำแนกประเภทของเสียนั้นขึ้นอยู่กับชนิด ลักษณะความ เป็นอันตราย อาจขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่ก่อให้เกิดของเสีย จากนั้นรวบรวมและจัดเก็บของเสียโดยใช้ภาชนะบรรจุ และเก็ บ ไว้ ใ นบริ เ วณที่ เ หมาะสม ขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ยคื อ การบ�ำบัดและก�ำจัดของเสีย ซึ่งของเสียบางชนิดสามารถ ก�ำจัดได้เองในห้องปฏิบัติการ ส่วนของเสียที่ไม่สามารถ บ�ำบัดและก�ำจัดเองได้ ต้องส่งไปบ�ำบัดหรือก�ำจัดยังโรงงาน ที่รับบ�ำบัดหรือก�ำจัดต่อไป
กรมวิทยาศาสตร์บริการ.ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ :เอกสารประกอบการฝึกอบรม ส�ำนักพัฒนาศักยภาพ นักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ ระหว่างวันที่ 15-16 สิงหาคม 2556. กรุงเทพมหานคร : กรม, 2556. กรมวิทยาศาสตร์บริการ.การก�ำจัดของเสียอันตรายในห้องปฏิบัติการ :เอกสารประกอบการฝึกอบรม ส�ำนักพัฒนา ศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ ระหว่างวันที่ 6-7 สิงหาคม 2556. กรุงเทพมหานคร : กรม, 2556.
11
ปีที่ 22 ฉบับที่ 7 ประจ�ำเดือน กรกฏาคม 2557