Royal Project, Newsletter June 2013

Page 1

ปีที่ 21 ฉบับที่ 7 ประจําเดือน กรกฎาคม 2556

วันที่ 24-25 มิถุนายน 2556

คณะเชฟในโครงการ Bangkok Restaurant Charity Week 2013 จำานวน 20 คน เข้าเยี่ยมแหล่งผลิตผลผลิตต่าง ๆ พร้อมทั้ง ชมกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตของมูลนิธิโครงการหลวง ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ อ.จอมทอง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง หนองหอย อ.แม่ริม และศูนย์ผลิตผลมูลนิธิโครงการหลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม่


ข่าวทั่วไป ROYAL

PROJE C T FOU N D ATIO N

โครงการตำ�บลบ้านปงน่าอยู่ น่าเที่ยว ครั้งที่ 3

วันที่ 21 มิถุนายน 2556 คณะทำ�งานศูนย์พัฒนา โครงการหลวงทุ่งเริงและห้วยเสี้ยวร่วมกับองค์กรท้องถิ่น จัดงานโครงการตำ�บลบ้านปง น่าอยู่ น่าเที่ยว ครั้งที่ 3 ประจำ�ปี 2556 ณ สนามกีฬาตำ�บลบ้านปง อำ�เภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ให้ ชุ ม ชนมี ผื น ป่ า ที่ ส มบู ร ณ์ มี แ หล่ ง นํ้ า สะอาดสำ � หรั บ ใช้ ใ น การอุ ป โภคบริ โ ภคและทำ � การเกษตร เป็ น การสริ ม สร้ า งจิ ต สำ � นึ ก ให้ ชุ ม ชนเห็ น ความสำ � คั ญ ของการดู แ ล รักษาผืนป่าและแหล่งนํ้า และเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนให้สองข้างทางของตำ�บลบ้านปงมีดอกไม้ งามตลอดทั้ งปี รวมทั้ง ผลักดัน ให้เป็น ต้น ไม้ที่เป็นสัญ ลักษณ์ของตำ�บลเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว ต่อไป โดยมีนายอาคม สุขพันธ์ นายอำ�เภอหางดง นายประพันธ์ อินกุนะ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล บ้านปง พร้อมด้วย นางทัศนีย์ ศรีมงคล ผู้อำ�นวยการอุทยานหลวงราชพฤกษ์ รักษาการรองผู้อำ�นวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดงาน โดยในปีนี้ได้ทำ�การปลูก ต้นนุ่นอเมริกัน บริเวณสองข้างทางของตำ�บลบ้านปง จำ�นวน 1,380 ต้น และปลูกต้นมะไฟ 340 ต้น สมอจีน 80 ต้น และหญ้าแฝก จำ�นวน 7,800 ต้น รวมถึงปล่อยลูกพันธุ์ปลาเพิ่มเติมในแหล่งนํ้าจำ�นวน 40 ไร่ ในพื้นที่รวม 11 หมู่บ้าน 2


RPROJECT OYA FLOUNDATION

4G GIVE GREEN GET GREEN วันที่ 15-16 มิถุนายน 2556 มูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์ ร่วมกับหน่วยฟื้นฟูป่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอุทยานแห่ง ชาติดอยสุเทพ-ปุย ได้จัดกิจกรรมปลูกป่า ในโครงการ 4G GIVE GREEN GET GREEN เขียวจัดทั่วไทย ตอน หนีกรุงม่วนใจ๋ ไป ปลูกป่า ขึ้น ณ หมู่บ้านแม่สาใหม่ และโครงการหลวงหนองหอย อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ โดย พลอากาศเอก กำ�ธน สินธวานนท์ องคมนตรี ประธานมูลนิธริ าชพฤกษ์ เป็นประธานในการเปิดงาน กิจกรรมภายในงานประกอบด้วย กิจกรรมการปลูกต้นไม้พร้อม นำ�คณะกรรมการและสือ่ มวลชนเยีย่ มชมแปลงปลูกเก่า กิจกรรม การสกรีนถุงผ้าและเสือ้ กิจกรรมตอกแท็คต้นกล้าทีจ่ ะนำ�ไปปลูก พร้อมปลูกต้นไม้ร่วมกัน ณ ดอยม่อนแจ่ม ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย ซึ่งมี ผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 100 คน

3


RPROJECT O Y A FOUNDATION L

ผ ล ก า ร อ อ ก ป ฏิ บั ติ ง า น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่-ประชาอาสา พัฒนาโครงการหลวง ครัง้ ที่ 320/38 เมือ่ วันที ่ 25 พฤษภาคม 2556 คณะทำางาน มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ - ประชาอาสา พั ฒ นา โครงการหลวง นำาโดย รศ.นพ.นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมูลนิธิโรง พยาบาลสวนดอก พร้อมด้วย คณะแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล เภสัชกร และข้าราชการหน่วยงาน ต่างๆ ได้ออกปฏิบตั งิ านบริการหน่วยแพทย์เคลือ่ นที ่ ให้แก่ราษฎรชาวเขาเผ่าลีซอ มูเซอ อีกอ้ และ จีนฮ่อจากหมูบ่ า้ นแม่ปนู หลวง บ้านสามกุลา และบ้านห้วยทรายเก่า ณ ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวง แม่ปนู หลวง ตำาบลแม่แวน อำาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ โดยการประสานงานของงานพัฒนาการ ศึกษาและสังคม ให้บริการตรวจรักษา จ่ายยาและให้คาำ ปรึกษาในการดูแลสุขภาพอนามัย 125 ราย ตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 39 ราย ทันตกรรม 42 ราย ตัดผม 61 ราย ชุดอุปกรณ์ การแพทย์สำาหรับตรวจเยี่ยมบ้านเบื้องต้นให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน 2 ชุด อุปกรณ์ กีฬา และของเด็กเล่น 200 ชิ้น เครื่องอุปโภค บริโภค 150 ชุด จัดยาให้โรงเรียน วัด และศูนย์ ฯ จำานวน 8 ชุด พร้อมทั้งมอบวีดีทัศน์ สื่อการเรียนการสอน ให้แก่โรงเรียน จำานวน 2 แห่ง

4


ข่าวจากดอย

ปางดะ 1. วันที่ 12 พฤษภาคม 2556 มหาวิทยาลัย นอร์ท-เชียงใหม่ ร่วมกับสำานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษาจัดโครงการ “ค่ายเรียนรูแ้ ละเผยแพร่โครงการพระราชดำาริ” เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้นอ้ มนำาพระราชดำาริไป ใช้ในการดำาเนินชีวติ อย่างถูกต้องโดยเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย อาจารย์ ผูน้ าำ นิสติ นักศึกษาจากกลุม่ สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดสำานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 7 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัย ฟาร์อสิ เทิรน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัย นอร์ท-เชียงใหม่ รวมทั้งสิ้น 55 คน โดยมีนายวิพัฒน์ ดวงโภชน์ หัวหน้าสถานีเกษตรหลวงปางดะ ให้การต้อนรับ และเป็นวิทยากรบรรยาย พร้อมนำาชม

2. วั น ที่ 24 พฤษภาคม 2556 งานคั ด บรรจุ มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงร่ ว มกั บ โครงการส่ ง เสริ ม การ พัฒนาคุณภาพผลผลิตตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) จัด ฝกอบรมระบบประกันคุณภาพ GMP/HACCP ตาม มาตรฐาน CODEX และการจัดการสุขลักษณะส่วน บุคคลที่ดีในโรงคัดบรรจุ เพื่อสร้างความ เข้ า ใจและวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านในโรงคั ด บรรจุ ตลอดจนสร้างความตระหนักให้ กับพนักงานในการผลิตอาหารทีป่ ลอดภัย และมีคณ ุ ภาพทีด่ ี ณ อาคารประชุมสถานี เกษตรหลวงปางดะ ผู้เข้าร่วม 40 คน

Pang-da 5


3. วันที่ 28 พฤษภาคม 2556 โครงการสนับสนุนการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเรียนรู้การปลูกพืชผักและสมุนไพร ร่วม กับโครงการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพผลผลิตตามมาตรฐาน อาหารปลอดภัย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การ มหาชน) จัดฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ งเทคนิคการวินจิ ฉัยและ การจัดการศัตรูพืชผักที่เหมาะสม และระบบการเพาะปลูกที่ดี (GAP) ให้กบั เจ้าหน้าทีโ่ ครงการขยายผลโครงการหลวง, เจ้าหน้าที่ ส่วนกลางของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) เจ้าหน้าทีม่ ลู นิธิโครงการหลวง และผูท้ ี่เกีย่ วข้อง จำานวน 60 คน ณ สถานีเกษตรหลวงปางดะ



           4. วันที่ 1 มิถุนายน 2556 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ นำาคณะนักศึกษาระดับ ปริญญาโท หลักสูตรการเกษตร ยั่งยืนและการจัดการลุ่มนำ้าแบบ บูรณาการ (หลักสูตรนานาชาติ) จำานวน 11 คน เข้าศึกษาดูงาน ด้านการปลูกและการผลิตพืชมูลค่าสูง

5. วันที ่ 6 มิถนุ ายน 2556 โครงการขยายผลโครงการหลวง สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องค์การมหาชน) นำาเกษตรกรบ้านห้วยนำ้าขาว อำาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ และเกษตรกรบ้านตาดหมอก บ้านจะนะ บ้าน ต้นเดื่อ บ้านดอยแหลม บ้านปางต้นฆ้อง อำาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ จำานวน 30 คน ศึกษาดูงานเรื่องการ ปลูกพืชบนพืน้ ทีส่ งู ทีถ่ กู ต้องเหมาะสมกับภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศภายใต้องค์ความรูเ้ ทคโนโลยีของโครงการหลวง 6


อางขาง 1. สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ร่วมกับโรงเรียนบ้านขอบด้ง พร้อมทั้ง หน่วยงานในพื้นที่ ร่วมจัดกิจกรรม ค่ า ยมั ค คุ เ ทศก์ น้ อ ยดอยอ่ า งขาง ครั้งที่ 10 ขึ้น ในระหว่างวันที่ 1-3 มิถุนายน 2556 มีนักเรียนโรงเรียนบ้านขอบด้งเข้าร่วมกิจกรรม จำานวน 33 คน เพื่อเป็นการสร้างเสริม และพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ให้แก่นักเรียนก่อนที่จะออกมาปฏิบัติงาน ต้อนรับนักท่อง เที่ยวต่อไป 2. วันที่ 17-18 มิถุนายน 2556 หน่วยงาน พัฒนาที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ ได้นำาคณะนักวิชาการ จากประเทศภูฏานจำานวน 15 คน เข้าเยี่ยมชมการ ดำาเนินงานของสถานีเกษตรหลวงอ่างขาง และงาน ด้านการพัฒนาปรับปรุงบำารุงดิน เพือ่ ทางคณะ จะได้ นำาไปปรับใช้ต่อไป

3. สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาพื้ น ที่ สู ง (องค์ ก าร มหาชน) ได้นำาเกษตรกรจาก สปป.ลาว ภายใต้โครงการ ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ลาว เพื่อการพัฒนา ทดแทนการปลูกพืชเสพติด และ UNODC เข้าเยีย่ มชม และศึกษาการปลูกพืชเมืองหนาว และการทำาปุย ณ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ในวันที่ 19 มิถุนายน 2556 เพื่อเกษตรกรจะได้นำาความรู้ไปพัฒนาในการผลิตพืช ในพื้นที่ของตน

Angkhang 7


อินทนนท R OY AL

PROJ ECT FOUNDATION

1. วันที่ 5 มิถุนายน 2556 คณะบุคลากรจากองค์การ บริหารส่วนตำาบลบางม่วง จ.พังงา จำานวน 37 คน ตามโครงการ อบรมศึกษาดูงานเพิ่มศักยภาพบุคลากร เพื่อเป็นการเสริม สร้างความรู้ให้กับบุคลากรภายในองค์กร เข้าทัศนศึกษา ดูงานในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีฯ อินทนนท์

2. วันที่ 8 มิถุนายน 2556 คณะทำางานองค์การบริหารส่วน ตำาบลท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช จำานวน 100 คน ประกอบด้วย คณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาฯ พนักงาน ลูกจ้างประจำา และพนักงาน ประจำา ในโครงการดูงานนอกสถานที่สำาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และ ประสบการณ์ จากการดูงานนอกสถานที ่ ได้เข้าศึกษาดูงานภายใน สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์

3. วันที่ 10 มิถุนายน 2556 สถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) นำาคณะผู้นำาเข้าไม้ดอกจากเครือ รัฐออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์ จำานวน 5 ท่าน เข้า ศึกษาดูงาน ณ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง ศึกษาดูงานด้านการผลิตการ ควบคุมคุณภาพ และการคัดบรรจุ ผลิตผลไม้ดอก

Inthanon 8


4. วันที่ 18 มิถุนายน 2556 สำานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด โดยความร่วมมือ ของสำานักงานความร่วมมือการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงต่างประเทศ ได้นำาคณะผู้เข้าอบรม จำานวน 20 คน เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ และงานประมงพื้นที่สูง

ข่าวกิจกรรมจากโครงการกองทุนปุยอินทรียและไฮโดรโพนิคส มูลนิธิโครงการหลวง 1. วันที่ 2 มิถุนายน 2556 สำานักงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ได้นาำ คณะบุคลากรการศึกษา จำานวน 200 คน ตามโครงการค่ายเรียนรูแ้ ละเผยแพร่โครงการ พระราชดำาริ ซึ่งได้จัดกิจกรรมประกอบด้วยการให้ ความรู้เชิงบูรณาการ ผสมผสานการเรียนรู้และปฏิบัติจากพื้นที่จริง เข้าศึกษาดูงาน เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนดิน กำาจัดขยะอินทรีย์ ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2. วันที ่ 4 มิถนุ ายน 2556 เทศบาลอำาเภอแม่สาย จ.เชียงราย นำาคณะผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาในโครงการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการเพื่อสร้างแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนกำาจัดขยะ อินทรีย์และ เกษตรธรรมชาติ จำานวน 30 คน เข้า ศึกษาดูงาน ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้

R OY AL

P ROJ E CT FOUNDA TION

วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 เชิญร่วมงานทดลองเปดร้าน โครงการหลวง สาขา โรงพยาบาลรามาธิบดี บริบัท เอ็นพีเอส สยาม สอบบัญชี จํากัด www.npssiam.co.th Tel. 02-711-5300 9


คลินิกพืช ความปลอดภัยของสารเคมีกำาจัดศัตรูพืชต่อสุขภาพ ของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม อันจะเป็น การขัดต่อมติเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ณ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งพิจารณาให้ “ก่อนการประกาศ ขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายทางการเกษตรทุกประเภท ให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเปิดเผยขั้นตอนการขึ้นทะเบียน และข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา ก่อนประกาศ กำาหนดรายละเอียดตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติ วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ให้ผู้มีส่วนได้เสียทราบก่อน การพิจารณาอนุญาต และให้นำาความคิดเห็นและข้อ ทำ า ไมถึ ง ต้ อ งระงั บ การขึ้ น ทะเบี ย น เสนอแนะจากผู้มีส่วนได้เสียไปประกอบการพิจารณา สารเคมี กำ า จั ด ศั ต รู พื ช ที่ มี พิ ษ ร้ า ยแรง เพื่อรับฟังความคิดเห็นเพิ่มเติม ก่อนประกาศในราช 4 ชนิด กิจจานุเบกษา” ในการนี้การดำาเนินการของกรม ตามที่พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย ฉบับปรับปรุง วิชาการเกษตรจึงมีความไม่โปร่งใสและเอื้อประโยชน์ พ.ศ. 2551 ได้กาำ หนดให้ทะเบียนวัตถุอนั ตรายทางการ ต่อบริษัทสารเคมีเพียงบางบริษัท ไม่รับฟังความคิดเห็น เกษตรทั้งหมดกว่า 27,000 รายการ ต้องขึ้นทะเบียน ของประชาชนและนักวิชาการ ไม่คำานึงถึงการคุ้มครอง ใหม่ทั้งหมด เพื่อควบคุมการนำาเข้าและการใช้สารเคมี สุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภค และไม่ตระหนักถึงผล กาจัดศัตรูพืชมิให้ส่งผลกระทบต่อเกษตรกร ผู้บริโภค กระทบทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการปนเปื้อนของ และสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อประเทศ การ สารเคมีอนั ตรายทัง้ 4 ชนิดนีเ้ ป็นจำานวนมากในผลผลิต ดำาเนินการตามกฎหมายดังกล่าวให้กรมวิชาการเกษตร ส่งออก เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก เครือข่ายผู้ ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการควบคุ ม วั ต ถุ อั น ตราย บริโภค และภาคีที่เกี่ยวข้อง จึงได้รวบรวมข้อมูลด้าน ทางการเกษตร สามารถปฏิเสธการขึน้ ทะเบียนสารเคมี สถานการณ์ทางนโยบายและผลกระทบของคาร์โบที่มีความอันตรายสูงและมีผลกระทบเป็นวงกว้าง เพื่อ ฟูราน เมโทมิล ไดโครโตฟอส และอีพีเอ็น ซึ่งเกี่ยวพัน ปกป้องสุขภาวะของเกษตรกรและประชาชนไทยโดย รวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารเคมีกำาจัดศัตรูพืชจำานวน 4 ชนิด ได้แก่ คาร์โบฟูราน (ฟูราดาน), เมโทมิล (แลน เนท), ไดโครโตฟอส และอีพีเอ็น ซึ่งมีพิษร้ายแรง และหลายประเทศทั่วโลกห้ามใช้และปฏิเสธการขึ้น ทะเบียน อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กรมวิชาการเกษตร กำาลังพิจารณาอนุญาตให้มีการขึ้นทะเบียนสารเคมี อันตรายร้ายแรงดังกล่าว โดยไม่มีการเปิดเผยข้อมูล ที่ใช้ประกอบการพิจารณาใดๆ ที่จะสามารถยืนยัน 10


กับทัง้ เกษตรกรผูผ้ ลิต ผูบ้ ริโภค ฐานทรัพยากรทางอาหาร และเศรษฐกิจการส่งออก โดยหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า ข้อมูล เหล่านี้จะถูกใช้เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของสังคมไทยต่อไป สถานการณ์ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา คาร์โบฟูราน ไดโครโตฟอส เมโทมิล อีพีเอ็น และสารเคมีกำ�จัดศัตรูพืชที่มีพิษร้ายแรงอีก 7 ชนิด ได้รับการ บรรจุให้อยู่ในบัญชีวัตถุอันตรายที่กรมวิชาการเกษตรเฝ้าระวัง แต่บัดนี้ยังไม่มีมาตรการในการควบคุมการนําเข้า การตลาด, การโฆษณา และการใช้สารเคมีที่มีความอันตรายใดๆ ทั้งสิ้น ยิ่งไปกว่านั้น ในขณะที่ทะเบียนสารเคมี กำ�จัดศัตรูพืชทั้งหมดจะหมดอายุลงในวันที่ 22 สิงหาคม 2554 กรมวิชาการเกษตรได้มีคําสั่งอนุโลมให้สารเคมี กำ�จัดศัตรูพืชทั้งหมด รวมถึงสารเคมีเฝ้าระวัง สามารถวางจําหน่ายได้จนถึง สิงหาคม 2556 ซึ่งทําให้การนําเข้า วัตถุอันตรายทางการเกษตรในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2554 มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด พร้อมกับการตั้ง คําถามจากประชาชนว่า การนำ�เข้าของสารพิษเหล่านี้เข้าสู่ประเทศจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร ผู้ใช้และผู้บริโภคมากน้อยเพียงใด เมื่อกลางปี 2554 มีการตรวจพบสารเคมี กำ�จัดศัตรูพืชตกค้างเกินค่ามาตรฐาน (MRLs) มากถึง 40% และที่สำ�คัญ 33% เป็นคาร์โบฟู ราน, เมโทมิล, ไดโครโตฟอส และอีพีเอ็น ล่าสุด สำ �นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่ ง ชาติ (มกอช.) เปิ ด เผยเมื่ อ กลางเดื อ น ธันวาคม 2554 ว่า จากการตรวจตัวอย่างผัก และผลไม้ จำ�นวน 164 ตัวอย่าง พบว่ามีสาร พิษตกค้างเกินค่ามาตรฐานเป็น 20% โดยพบ สารเคมีอันตรายร้ายแรงหลายประเภท รวมถึงไดโครโตฟอส อีพีเอ็น และโมโนโครโตฟอส ข้อมูลเหล่านี้สอดคล้อง กับการแจ้งเตือนของสหภาพยุโรป (อียู) ในระบบ Rapid Alert System for Food and Feed (RASFF) ซึ่ง ชี้ชัดถึงปัญหาจากสารเคมีเฝ้าระวังที่มีการตรวจพบมากถึง 32% จากผักส่งออกที่ไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัย ทั้งหมดในระยะเวลา 3 ปี (2552-2554) ปัญหาจากสารเคมีตกค้างจึงกำ�ลังทำ�ให้ประเทศสูญเสียผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจการส่งออกเป็นจำ�นวนมาก และเป็นปัญหาสำ�คัญต่อชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของไทยในการพัฒนาไปสู่ การเป็นครัวของโลกที่สามารถผลิตอาหารอย่างเพียงพอ ได้มาตรฐานและปลอดภัย ทั้งนี้ศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง ได้จัดทำ�บัญชีรายชื่อสารเคมีกำ�จัดศัตรูพืชที่อนุญาตให้ใช้ในมูลนิธิ โครงการหลวง โดยได้อ้างอิงข้อมูลจากกรมวิชาการเกษตรอย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน ซึ่งสารเคมีกำ�จัดศัตรูพืช ทั้ง 4 ชนิดนั้นทางมูลนิธิโครงการหลวงไม่อนุญาตให้ใช้อยู่เช่นกัน แหล่งข้อมูล :

1. จากการสํารวจเว็บไซต์ของหน่วยงานควบคุมสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในแต่ละ ประเทศ เอกสารการวิจยั หนังสือพิมพ์และข่าวออนไลน์ ณ วันที่ 28 มกราคม 2555 2. http://www.biothai.net/sites/default/files/pesticide_doc4.pdf

11


3. รานโครงการหลวง เชียงใหม 89 พลาซา 25-26 เชียงใหมพลาซา ถนนเชียงใหม-ลําพูน ต.หนองหอย อ.เมือง จ.เชียงใหม โทร. 053-141-855

อุดรธานี รานคาโครงการหลวง สาขา อุดรธานี 277/1-3, 271/5 ศูนยการคาเซ็นทรัลอุดรธานี ถ.ประจักษศิลปาคม ต.หมากแขง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท : 042-921275

ปีที่ 21 ฉบับที่ 7 ประจําเดือน กรกฎาคม 2556


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.