3.เอดส์

Page 1

โรคเอดส (AIDS) คืออะไร โรคเอดส หรือ โรคภูมิคุมกันบกพรอง (Acquired Immune Deficiency Syndrome - AIDS) เปนกลุมอาการเจ็บปวยที่เกิดขึ้นเพราะ รางกายไดรับเชื้อไวรัส เอชไอวี (HIV) ซึ่งจะเขาไปทําลายเม็ดเลือดขาว ที่เปนแหลงสรางภูมิคุมกันโรค ทําใหภูมิคุมกันโรคลดนอยลง จึงทําให ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสแทรกซอนเขาสูรางกายไดงายขึ้น เชน วัณโรคในปอด หรือตอมน้ําเหลือง เยื่อหุมสมองอักเสบจากเชื้อรา โรคผิวหนังบาง ชนิด หรือเปนมะเร็งบางชนิดไดงายกวาคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดขึ้นจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสตางๆ เหลานี้ ทําใหอาการจะ รุนแรง และเสียชีวิตอยางรวดเร็ว ปจจุบันโรคเอดสมีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการวามีผูเสียชีวิตเนื่องจากโรคเอดส อยางนอย 25 ลานคน ตั้งแตถูกคนพบในป พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเปนโรคที่มีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตรมนุษยชาติ ในป พ.ศ. 2548 ประมาณการวามีผูติดโรคเอดสประมาณ 3.1 ลานคน(ระหวาง 2.8 - 3.6 ลาน) ซึ่ง 570,000 คนของผูปวยโรคเอดสเปนเด็ก (UNAIDS, 2005)

สถานการณโรคเอดสในประเทศไทย ศูนยขอมูลทางระบาดวิทยา สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค รายงานวา กลุมอายุ 30 - 34 ป มีผูปวยสูงสุด (รอยละ 25.86) รองลงมา ไดแก อายุ 25 - 29 ป โดยพบวา กลุมอายุต่ําสุด คือ กลุมอายุเพียง 10-14 ป (รอยละ 0.29) เมื่อจําแนกตามอาชีพ พบวา อาชีพรับจาง เปนกลุมทีเ่ ปน เอดสมากที่สุด รองลงมา คือ เกษตรกรรม, วางงาน, คาขาย และแมบาน สวนสาเหตุของการติดเชื้อเอดสนั้น พบวา รอยละ 83.97 ติดเชื้อเอดสจากการมีเพศสัมพันธ รองลงมา คือ การฉีดยาเสพติดเขาเสน และติด เชื้อจากมารดา อยางไรก็ตาม ยังมีผูปวยที่ไมทราบถึงสาเหตุ ถึงรอยละ 7.30 สวนเชื้อฉวยโอกาส ที่สามารถตรวจพบในผูปวยเอดสมากที่สุด ไดแก เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเปนเชื้อที่กอใหเกิดวัณโรค นั่นเอง

เอดส ติดตอกันไดอยางไร


1. การรวมเพศ โดยไมใชถุงยางอนามัย ไมวาชายกับชาย ชายกับหญิง หรือหญิงกับหญิง ทั้งชองทางธรรมชาติ หรือไมธรรมชาติ ก็ลวนมีโอกาส ติดโรคนี้ไดทั้งสิ้น และปจจัยที่ทําใหมีโอกาสติดเชื้อเอดสมากขึ้น ไดแก การมีแผลเปด และจากขอมูลของสํานักระบาดวิทยา ประมาณรอย ละ 84 ของผูปวยเอดส ไดรับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ 2. การรับเชื้อเอดสทางเลือด - ใชเข็มหรือกระบอกฉีดยารวมกับผูติดเชื้อเอดส มักพบในกลุมผูฉีดยาเสพติด และหากคนกลุมนี้ติดเชื้อ ก็สามารถถายทอดเชื้อเอดส ทาง เพศสัมพันธไดอีกทางหนึ่ง - รับเลือดในขณะผาตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ในปจจุบันเลือดที่ไดรับบริจาคทุกขวด ตองผานการตรวจหาการติดเชื้อเอดส และ จะปลอดภัยเกือบ 100% 3. ทารก ติดเชื้อจากแมที่ติดเชื้อเอดส การแพรเชื้อจากแมสูลูก ผูหญิงที่ติดเชื้อเอดส หากตั้งครรภ และไมไดรับการดูแลอยางดี เชื้อ HIV จะ แพรไปยังลูกได ในอัตรารอยละ 30 จากกรณีเกิดจากแมติดเชื้อ จึงมีโอกาสที่จะรับเชื้อ HIV จากแมได

เอดส มีอาการอยางไร

คนที่สัมผัสกับโรคเอดสหรือคนที่ไดรับเชื้อเอดสเขาไปในรางกาย ไมจําเปนตองมีการติดเชื้อเอดสเสมอไป ขึ้นกับจํานวนครั้งที่สัมผัสและความ ดุรายของไวรัสเอดสที่เขาสูรางกายและภาวะภูมิตานทานของรางกาย ถามีการติดเชื้ออาการที่เกิดขึ้นมีไดหลายรูปแบบหรือหลายระยะตาม การดําเนินของโรค

ระยะที่ 1 : ระยะที่ไมมีอาการอะไร

ภายใน2-3 อาทิตยแรกหลังจากไดรับเชื้อเอดสเขาไป ราวรอยละ 10 ของผูติดเชื้อจะมีอาการคลายๆ ไขหวัด คือมีไข เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวด เมื่อยตามตัว ตอมน้ําเหลืองโต ผื่นตามตัว แขนขาชาหรือออนแรง เปนอยูราว 10-14 วันก็จะหายไปเอง ผูปวยสวนใหญอาจไมสังเกต นึกวา คงเปนไขหวัดธรรมดาราว 6-8 สัปดาหภายหลังติดเชื้อ ถาตรวจเลือดจะเริ่มพบวามีเลือดเอดสบวกได และสวนใหญจะตรวจพบวามีเลือด เอดสบวกภายหลัง 3 เดือนไปแลว โดยที่ผูติดเชื้อจะไมมีอาการอะไรเลยเพียงแตถาไปตรวจก็จะพบวามีภูมิคุนเคยตอไวรัสเอดสอยูในเลือด หรือที่เรียกวา เลือดเอดสบวกซึ่งแสดงวามีการติดเชื้อเอดสเขาไปแลว รางกายจึงตอบสนองโดยการสรางโปรตีนบางอยางขึ้นมาทําปฏิกิริยา กับไวรัสเอดส เรียกวา แอนติบอดี้(antibody) เปนเครื่องแสดงวาเคยมีเชื้อเอดสเขาสูรางกายมาแลวแตก็ไมสามารถจะเอาชนะไวรัสเอดสได คนที่มีเลือดเอดสบวกจะมีไวรัสเอดสอยูในตัวและสามารถแพรโรคใหกับคนอื่นไดนอยกวารอยละ 5 ของคนที่ติดเชื้อ อาจตองรอถึง 6 เดือน กวาจะมีเลือดเอดสบวกได ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงมา เชน แอบไปมีสัมพันธกับหญิงอื่นที่ไมใชภรรยา โดยไมไดใสถุงยางอนามัยปองกัน ตรวจตอน 3 เดือน แลวไมพบก็ตองไปตรวจซ้ําอีกตอน6เดือนโดยในระหวางนั้นก็ตองใสถุงยางอนามัยทุกครั้งเวลามีเพศสัมพันธกับภรรยาและ หามบริจาคโลหิตใหใครในระหวางนั้นผูติดเชื้อบางรายอาจมีตอมน้ําเหลืองตามตัวโตไดโดยโตอยูเปนระยะเวลานานๆ คือเปนเดือนๆ ขึ้นไป ซึ่งบางรายอาจคลําพบเอง หรือไปหาแพทยแลวแพทยคลําพบ ตอมน้ําเหลืองที่โตนี้มีลักษณะเปนเม็ดกลมๆ แข็งๆ ขนาด1-2 เซนติเมตร อยู ใตผิวหนังบริเวณดานขางคอทั้ง 2 ขาง ขางละหลายเม็ดในแนวเดียวกัน คลําดูแลวคลายลูกประคําที่คอ ไมเจ็บ ไมแดง นอกจากที่คอตอม น้ําเหลืองที่โตยังอาจพบไดที่รักแรและขาหนีบทั้ง 2 ขาง แตตอมน้ําเหลืองที่ขาหนีบมีความสําคัญนอยกวาที่อื่นเพราะพบไดบอยในคนปกติ ทั่วไป ตอมน้ําเหลืองเหลานี้จะเปนที่พักพิงในชวงแรกของไวรัสเอดส โดยไวรัสเอดสจะแบงตัวอยางมากในตอมน้ําเหลืองที่โตเหลานี้

ระยะที่ 2 : ระยะที่เริ่มมีอาการหรือระยะที่มีอาการสัมพันธกับเอดส

เปนระยะที่คนไขเริ่มมีอาการ แตอาการนั้นยังไมมากถึงกับจะเรียกวาเปนโรคเอดสเต็มขั้น อาการในชวงนี้อาจเปนไขเรื้อรัง น้ําหนักลด หรือ ทองเสียเรื้อรัง โดยไมทราบสาเหตุ นอกจากนี้อาจมีเชื้อราในชองปาก , งูสวัด , เริมในชองปาก หรืออวัยวะเพศ ผื่นคันตามแขนขา และลําตัว คลายคนแพน้ําลายยุง จะเห็นไดวา อาการที่เรียกวาสัมพันธกับเอดสนั้น ไมจําเพาะสําหรับโรคเอดสเสมอไป คนที่เปนโรคอื่นๆ ก็อาจมีไข น้ําหนักลด ทองเสีย เชื้อราในชองปาก งูสวัด หรือเริมได ดังนั้นจึงไมใชวาถามีอาการเหลานี้จะตองเหมาวาติดเชื้อเอดสไปทุกราย ถาสงสัย ควรปรึกษา แพทยและตรวจเลือดเอดสพิสูจน

ระยะที่ 3 : ระยะโรคเอดสเต็มขั้น หรือที่ภาษาทางการเรียกวา โรคเอดส

เปนระยะที่ภูมิตานทานของรายกายเสียไปมากแลว ผูปวยจะมีอาการของการติดเชื้อจําพวกเชื้อฉกฉวยโอกาสบอยๆและเปนมะเร็งบางชนิด เชน แคโปซี่ซารโคมา(Kaposi'ssarcoma)และมะเร็งปากมดลูก การติดเชื้อฉกฉวยโอกาส หมายถึง การติดเชื้อที่ปกติมีความรุนแรงต่ําไมกอ โรคในคนปกติแตถาคนนั้นมีภูมิตานทานต่ําลง เชน จากการเปนมะเร็งหรือจากการไดรับยาจะทําใหเกิดวัณโรคที่ปอดตอมน้ําเหลืองตับหรือ สมองได รองลงมาคือเชื้อพยาธิที่ชื่อวานิวโมซิส-ตีส-คารินิไอ ซึ่งทําใหเกิดปอดบวมขึ้นได(ไข ไอ หายใจเหนื่อยหอบ) ตอมาเปนเชื้อราที่ชื่อ


คริปโตคอคคัส ซึ่งทําใหเยื่อหุมสมองอักเสบ มีอาการไข ปวดศีรษะ ซึมและอาเจียน นอกจากนี้ยังมีเชื้อฉกฉวยโอกาสอีกหลายชนิด เชนเชื้อ พยาธิที่ทําใหทองเสียเรื้อรัง และเชื้อซัยโตเมก กะโลไวรัส (CMV) ที่จอตาทําใหตาบอด หรือที่ลําไสทําใหปวดทอง ทองเสีย และถายเปนเลือด เปนตน ในภาคเหนือตอนบน มีเชื้อราพิเศษ ชนิดหนึ่งชื่อ เพนนิซิเลียว มารเนฟฟโอ ชอบทําใหติดเชื้อที่ผิวหนัง ตอมน้ําเหลืองและมีการติด เชื้อในกระแสโลหิต แคโปซี่ซารโคมา เปนมะเร็งของผนังเสนเลือด สวนใหญจะพบตามเสนเลือดที่ผิวหนัง มีลักษณะเปนตุมนูนสีมวงๆ แดงๆ บนผิวหนัง คลายจุดหอเลือด หรือไฝ ไมเจ็บไมคันคอยๆ ลามใหญขึ้น สวนจะมีหลายตุม บางครั้งอาจแตกเปนแผล เลือดออกได บางครั้งแคโป ซี่ซารโคมา อาจเกิดในชองปากในเยื่อบุทางเดินอาหาร ซึ่งอาจทําใหมีเลือดออกมากๆ ได นอกจากนี้ ผูปวยอาจเปนมะเร็งตอมน้ําเหลือง หรือ มะเร็งปากมดลูกได ดังนั้นผูหญิงที่ติดเชื้อเอดสจึงควรพบแพทยเพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 6 เดือน นอกจากนี้คนไขโรคเอดสเต็มขั้นอาจมี อาการทางจิตทางประสาทไดดวยโดยที่อาจมีอาการหลงลืมกอนวัย เนื่องจากสมองฝอเหี่ยว หรือมีอาการของโรคจิต หรืออาการชักกระตุก ไม รูสึกตัว แขนขาชาหรือไมมีแรง บางรายอาจมีอาการปวดราวคลายไฟชอตหรือปวดแสบปวดรอน หรืออาจเปนอัมพาตครึ่งทอน ปสสาวะ อุจจาระไมออก เปนตน ในแตละปหลังติดเชื้อเอดสรอยละ 5-6 ของผูที่ติดเชื้อจะกาวเขาสูระยะเอดสเต็มขั้น สวนใหญของคนที่เปนโรคเอดส เต็มขั้นแลว จะเสียชีวิตภายใน2-4 ป จากโรคติดเชื้อฉกฉวยโอกาสที่เปนมาก รักษาไมหาย หรือโรคติดเชื้อที่ยังไมมียาที่จะรักษาอยางไดผล หรือเสียชีวิตจากมะเร็งที่เปนมากๆ หรือคอยๆ ซูบซีดหมดแรงไปในที่สุด พบวายาตานไวรัสเอดสที่ใชกันอยูในขณะนี้ในประเทศตะวันตก สามารถยืดชีวิตคนไขออกไปได10 - 20 ปและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น หรืออาจอยูจนแกตายได

อาการของเอดส มี 2 ระยะ

1. ระยะไมมีอาการ ผูติดเชื้อจะมีสุขภาพแข็งแรง ไมมีอาการผิดปกติแตอยางใด ผูติดเชื้อสวนใหญจะอยูในระยะนี้ และบางคนไมทราบวา ตัวเองติดเชื้อ จึงอาจแพรเชื้อไปสูผูอื่นได 2. ระยะมีอาการ ผูติดเชื้อเอดสสวนใหญจะเริ่มแสดงอาการ ภายหลังจากไดรับเชื้อประมาณ 7-8 ป แบงเปน 2 ระยะ คือ - ระยะเริ่มปรากฎอาการ อาการที่พบคือ มีเชื้อราในปาก ตอมน้ําเหลืองโต งูสวัด มีไข ทองเสีย น้ําหนักลด มีตุมคันบริเวณผิวหนัง - ระยะโรคเอดส เปนระยะที่มีภูมิตานทานลดลงมาก ทําใหติดโรคติดเชื้อฉวยโอกาสไดงายขึ้น เชน วัณโรค ปอดบวม เยื่อหุมสมองอักเสบ เปนตน

ปองกันตัวเอง ไมใหติดเชื้อเอดส ไดอยางไร

รักเดียว ใจเดียว หากจะมีเพศสัมพันธกับหญิง ควรใชถุงยางอนามัยทุกครั้ง ที่มีเพศสัมพันธ ขอรับบริการปรึกษา เรื่อง โรคเอดส กอนแตงงาน และกอนที่จะมีบุตรทุกทอง ไมดื่มเหลา และงดใชสารเสพติดทุกชนิด

คําถาม - คําตอบ 1. เอดส รูไดอยางไรวา ติดแลว

เนื่องจากโรคนี้แสดงอาการชา แตสามารถทราบได โดยการตรวจเลือด หากตองการผลที่แมนยํา ควรตรวจภายหลังจากมีพฤติกรรมเสี่ยง 6 สัปดาหขึ้นไป

2. เอดส รักษาไดหรือไม

ขณะนี้ยังไมมียารักษาโรคเอดสใหหายได ยาที่ใชปจจุบันจะชวยยับยั้ง ไมใหไวรัสเอดสเพิ่มจํานวนมากขึ้น ในรางกายผูติดเชื้อ และผูปวย เอดสจะมีสุขภาพแข็งแรง สามารถทํางานไดตามปกติ

3. เอดส ใครบางที่ควรตรวจหาเชื้อเอดส

- ผูมีพฤติกรรมเสี่ยง และตองการรูวาตนเองติดเชื้อเอดสหรือไม - ผูที่ตัดสินใจจะมีคู หรืออยูกินฉันทสามีภรรยา - ผูที่สงสัยวา คูนอนของตนจะมีพฤติกรรมเสี่ยง - ผูที่คิดจะมีบุตร ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของแมและลูก - ผูที่ตองการขอมูลสนับสนุนเรื่องความปลอดภัย และสุขภาพของรางกาย เชน ผูที่ตองไปทํางานในตางประเทศ (บางประเทศ)

4. เอดส เราอยูรวมกันได อยางไร


คนที่ติดเชื้อ HIV สามารถอยูรวมกับสังคม และครอบครัวได และทํางานไดเหมือนกับคนทั่วไป เพราะเชื้อ HIV ไมไดติดตอกันโดย การสัมผัส การกอดจูบ การรับประทานอาหาร การขับถาย การใชของรวมกัน การอยูใกลกัน การสนทนากัน หรือถูกยุงกัด ดังนั้น จึงไมตองแยกวง รับประทานอาหาร ไมตองแยกหองนอน หองน้ํา อุปกรณของใชตางๆ หรือหองทํางาน

ทรานสเฟอร แฟกเตอร กับ โรคเอดส

การทํางานของ Transfer Factor กับการดูแลโรคเอดสนั้น Transfer Factor จะทําหนาที่ในการเพิ่มคา CD4ภายในรางกาย ซึ่งจะทําการปรับ คาใหสูงขึ้นเรื่อยๆซึ่งผิดกับยาตานไวรัสเอดส ซึ่งจะทําหนาที่เพียงการควบคุมไมใหแสดงอาการของโรคออกมาเพียงเทานั้น แตจะไมไดชวยเพิ่มคาของ CD4 นอกจากนี้ Transfer Factor ยังจะมีหนาที่ในการเขาไปในระบบ DNA ในรางกายซึ่งถูกเชื้อไวรัส HIV ทําลายโดยจะเปนตัวเพิ่มและปรับสภาพของ ระบบภูมิคุมกันใหกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม ซึ่งระบบภูมิคุมกันนี้เปนสาเหตุของการเกิดโรคภูมิคุมกันบกพรอง เซลลเปาหมายของ HIV-1 เปนเซลลเม็ดเลือดขาวที่เรียกวา เซลล CD4 ซึ่งเซลลเหลานี้ เปนเซลลสําคัญเพราะมันทําหนาที่ ในการบอกเซลลอื่นๆ


ใหเริ่มทํางานตอสูกับสิ่งแปลกปลอม HIV-1(นี่เปนจุดหนึ่งที่ ทรานเฟอร แฟกเตอร เขามาเสริม) ทําใหจํานวนของเซลล CD4( CD4count)ลดลง เมื่อ จํานวนเซลล CD4 ลดลงมากจนถึงระดับหนึ่ง ภูมิคุมกันของรางกาย ก็จะออนแอลงมาก เมื่อCD4 countลดลงต่ํากวา 200 หรือเมื่อเกิดการติดเชื้อหรือ โรคฉวยโอกาสขึ้น เราจะเรียกวาคนคนนั้นเปน โรคเอดส(Acquired immunodeficiency syndrome:AIDS) โดยปกติแลวผูปวยโรคเอดสนั้นจะเสียชีวิตโดยภาวะแทรกซอนมากกวาเสียชีวิตจากโรคเอดส โดยตรงเนื่องจากเมื่อระบบภูมิคุมกันออนแอหรือ บกพรองจะทําใหรางกายไดรับเชื้อโรคอยางงายดาย และไมสามารถทําลายสิ่งแปลกปลอมภายในรางกายได แตการได Transfer Factor เขาไปชวยนี้ จะ ทําใหระบบภูมิคุมกันทําหนาที่ไดตามปกติเพราะไดรับการสงเสริมจาก Transfer Factor ทําใหเมื่อมีเชื้อโรคเขาไปในรางกายแลว ระบบภูมิคุมกันภายใน รางกายจะทํางานไดตามปกติ ทําใหไมเกิด ภาวะโรคแทรกซอน Transfer factor (ทรานสเฟอร แฟกเตอร) ไมใชยารักษาโรค หรือรักษาโรคเอดส เพียงแต ทรานสเฟอร แฟกเตอร ทําหนาที่ไปชวยให ภูมิคุมกันในรางกายของทานใหแข็งแรงมีความสามารถในการ 1. ชี้ตัว (Recognize) ไวรัส หรือสิ่งแปลกปลอมในรางกายไดอยางรวดเร็ว แยกแยะได ระหวางเซลลที่ดี กับเซลลที่คุกคาม 2. ตอบสนอง (Respond) ทําใหระบบภูมิคุมกันในรางกายของคุณตื่นตัว และจัดการกับสิ่งแปลกปลอมทันที 3. จดจํา (Remember) หนวยความจําของ TRANSFER FACTOR เปนกรดอะมิโน 10-12 ชนิด ที่ถูกวางเรียงในรูปแบบตางๆ Transfer Factor สามารถจําลองภาพโมเลกุลนับพันของตัวที่ทําใหเกิดโรค 4.Transfer Factor ปรับสมดุลระบบภูมิคุมกัน เพิ่มการตอบสนองของภูมิคุมกัน หรือปรับสมดุล โดยยับยั้งระบบภูมิคุมกันที่ทํางานเกิน ปกติ (ภูมิคุมกันไวเกิน) • • •

ผูติดเชื้อ HIV ในภาคเหนือตอนบนบางทานไดทาน Transfer Factor Plus Advanced ทําใหอาการดีขึ้นอยางมีนัยสําคัญ จากการทาน Transfer Factor Plus Advanced เปนประจําทุกวัน ดีขึ้นจนกระทั่ง CD4 สูงถึง 700-800 และ Viral load ลดลงอยางนาประหลาดใจ แลวแตอาการมากนอยขนาดไหน ทาน Transfer Factor Plus Advanced วันละ 3 แคปซูลตอนเชาหลังจากตื่นนอนและขณะทองวาง ในกรณีที่ทานมีกําลังซื้อมากขึ้น ควรจะเสริม TF Riovida เขาไปอีกอยางเพราะจะไปชวยใหผิวพรรณคุณสดใส

จากการที่มีสาร antioxidant และชวยสาระสําคัญ จากผลไมตาง ๆ ที่มีประโยชนตอรางกายและผิวพรรณ •

ทานควบคูกับ Transfer Factor Plus Advanced จะดูไมออกเลยวาเปนผูติดเชื้อ HIV

Transfer Factor Plus Tri-factor เพิ่มภูมิคุมกัน 437%

Transfer Factor Riovida Tri-factor เพิ่มภูมิคุมกัน 283% (บํารุงผิวพรรณ)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.