การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม One Day Trip เขตจตุจักร (บ้าน วัด โรงเรียน)

Page 1

การทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC)

One Day Trip เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

(บาน วัด โรงเรียน)


รายงาน ผลการดำเนินงานลงพื้นที่สำรวจมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรม การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน) ผูจัดทำ 1. นางสาวจรัสพร

รักษาแกว

ประธาน

2. นางสาวปุญญศิขริน

นาคทอง

รองประธาน

3. นางสุรยี 

จันทรเดช

สมาชิก

4. นางสุธาสินี

องอาจ

สมาชิก

5. นางสำรวย

แสงประทุม

สมาชิก

6. นายวิรฬุ ห

เดชคง

สมาชิก

7. นางสาวภิญญาพัชญ ล้ำภักดี

เลขานุการ

ที่ปรึกษาโครงการ อาจารยดวงตา ฤกษมว ง ประธานสภาวัฒนธรรมเขตจตุจักร โครงการจางงานประชาชน ที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาดของโรคติดตอ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2 ของกระทรวงอุดมศึกษาฯ ณ มหาวิทยาลัยจันทรเกษม ระยะเวลาดำเนินงาน 1 – 30 กันยายน พ.ศ. 256


การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน)

"เสนหของจตุจักร" ภูมิปญญาเมือง วิถีชีวิตชุมชน

ชุมชนประดิษฐโทรการ ชุมชนประดิษฐโทรการ มีชื่อเสียงอยางมากในเขตจตุจั กร กรุงเทพมหานคร เปนชุมชน เขมแข็ง ที่มีผลิตภัณฑเครื่องทองลงหิน (เครื่องใชบนโตะอาหาร) เปนงานฝมือดั้งเดิม ถือเปนมรดกภูมิปญญา ชาวบานในชุมชน และเปนชิ้นงานที่ทางกรุงเทพมหานคร ยกยองใหเปนสินคา OTOP ของดีเขตจตุ จ ั กร โดย คุณลุงสมคิด ดวงเงิน ปราชญชาวบาน เจาของภูมิปญญา ซึ่งไดรับรางวัล “ภูมิปญญาเมือง”เมื่ อ พุทธศักราช 2562 จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม นอกจากนี้ ภายในชุมชนยังมีมรดกภูมิปญญาวัฒนธรรมดั้งเดิม ดานความรู และการปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล ที่เกี่ยวกับเรื่องอาหารพื้นบาน อาทิเชน การทำขนมจีนเสนสด การทำขนมครก แบบโบราณ การกวนกระยาสารท โดยกลุมผูสูงอายุในชุมชนประดิษฐโทรการยังคงมีองคความรูที่ ยึดถือปฏิบัติ รวมกันมาจนถึงปจจุบัน


วัดเสมียนนารี พระอารามหลวง วัดเสมียนนารี (วัดแคราย) พระอารามหลวง เปนวัดเกาแก กอตั้งเมื่อปพุทธศักราช 2400 มี อายุกวา 163 ป และยังถูกยกฐานะใหเปน พระอารามหลวง เมื่อปพุทธศักราช 2555 เปนวัดที่มีความ สวยงามดานศิลปวัฒนธรรมและสถาปตยกรรมไทยมาแตโบราณ เปนแหลงทองเที่ยวและแหลงเรียนรูใหแกผูที่ เข า มาสั ก การะ มี ท ั ้ ง พระบรมสารี ร ิ ก ธาตุ พระอุ โ บสถหลั ง เก า พระอุ โ บสถหลั ง ใหม จิ ต รกรรมฝาผนั ง พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย รวมทั้งใหผูที่มาสักการะไดทำบุญทำทาน เชน การถวายสังฆทานแบบ New Normal การไถชีวิตโค-กระบือ การทำบุญโลงศพ เติมน้ำมันไฟตะเกียง ไหวพระราหู เปนตน


โรงเรียนขาวและชาวนา โรงเรี ย นข า วและชาวนา เป น หน ว ยงานที ่ ต ั ้ ง ขึ ้ น เพื ่ อ เป น กองประสานงาน โครงการ พระราชดำริ กรมการข า ว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ ่ ง เป น หน ว ยงานหลั ก ที ่ ข ั บ เคลื ่ อ นโครงการ พระราชดำริดานขาว ใหกาวสูความยั่งยืน บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเปนศูนยกลางถายทอด องคความรู มรดก ภูมิปญญาทางวัฒนธรรมดานขาวในทุกมิติ ใหแกเกษตรกร เยาวชน และประชาชนที่สนใจ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม One Day Trip เขตจตุจักร (บาน - วัด - โรงเรียน) จะไดความ หลากหลาย และไดอรรถรส เพราะมีทั้งกิจกรรมตางๆ การลงปฏิบัติจริงที่ไดประสบการณตรง เชน การดำนา การสาธิตทำอาหารรวมกับชุมชน พลาดไมได ผูที่มาทองเที่ยวจะไดทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และไดถายรูปชิคๆ ชิลๆ กับบรรยากาศธรรมชาติ ที่ไมตองเดินทางออกตางจังหวัด สนุกจริงๆ ถาไดมาชม มาชิม มาชอป สายบุญก็ เขาวัดทำบุญสุขใจ สายกินก็ไมควรพลาดกับอาหารพื้นบานที่ความอรอยรออยู สายชอป ก็ของฝากถูกใจจาก ผลิตภัณฑชุมชน ดังนั้น การที่ไดมาทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน) การเดินทางก็สะดวกสบาย ทั้งทางรถยนต รถจักรยานยนต รถโดยสารประจำทาง รถจักรยาน หรือรถไฟฟา มี ศิ ล ปวั ฒ นธรรมมรดกภู มิ ป  ญ ญา ประเพณีช ุมชน อาหารทองถิ่น พรอมดว ยมิต รไมตรีท ี่น ารั ก ของคน ในเขตจตุจักร รวมทั้งบรรยากาศบาน วัด โรงเรียน การท อ งเที ่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมอย า งครบวงจร ง า ยนิ ด เดี ย ว คื อ หลายท า นต อ งมาเที ่ ย ว เชิ ง วั ฒ นธรรม One Day Trip เขตจตุ จ ั ก ร (บ า น วั ด โรงเรี ย น) ก็ จ ะได ค วามสุ ข กาย สุ ข ใจ สนุ ก สนาน เพลิดเพลิน และที่สำคัญไดความรูและประสบการณอยางแทจริง


การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน)

เวลา

1.

2.

9.00 – 11.30 - เดินทางถึง โรงเรียนขาวและชาวนา - อบรมภาคทฤษฎี ณ อาคารฝกอบรม โรงเรียนขาวและชาวนา - ลงแปลงนา ชมการสาธิตภาคปฏิบัติ 12.00

- พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ รานอาหาร นานานา

13.00

-

เดินทางถึง ชุมชนประดิษฐโทรการ ชิมขนมครก ณ ศาลาอุดมมิตรประดิษฐรวมใจ ชมการสาธิตการทำขนมครก ณ ชุมชนประดิษฐโทรการ ชมการสาธิตการทำเสนขนมจีน ณ ชุมชนประดิษฐโทรการ ชมการสาธิตวิธีการทำชอน หัตถกรรมเครื่องทองลงหิน

-

เดินทางถึง วัดเสมียนนารี พระอารามหลวง ทำบุญไหวพระ ถวายสังฆทาน ชมภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถหลังเกา ไถชีวิตโคกระบือ เติมน้ำมันตะเกียง ลอดโบสถ เขาชมพระอุโบสถหลังใหม เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

13.30 14.30 3.

กิจกรรมการทองเที่ยว

15.00

17.00 18.00


การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน) ชุมชนประดิษฐโทรการ PRADIT TORAKARN COMMUNITY

วันลงสำรวจพื้นที่ 8 กันยายน 17 กันยายน 19 กันยายน 21 กันยายน 22 กันยายน

2563 2563 2563 2563 2563

ลงพื้นที่เก็บขอมูลสัมภาษณ ชมการสาธิตภูมิปญญาการทำกระยาสารท ลงพื้นที่เก็บขอมูลสำรวจชุมชน นัดหมายวันเวลาชมการสาธิต ลงพื้นที่เก็บขอมูลสัมภาษณ ชมการสาธิตภูมิปญญาการทำขนมจีนขนมครก ลงพื้นที่เก็บขอมูลสัมภาษณ อดีตประธานชุมชน ลงพื้นที่เก็บขอมูลสัมภาษณ ชมการสาธิตภูมิปญญาการทำเครื่องทองลงหิน


หัวขอในการสำรวจขอมูล 1. ประวัติความเปนมาและความสำคัญของชุมชน 2. ที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพของชุมชน 3. แหลงเรียนรูในชุมชน 4. กิจกรรมในชุมชน 5. ความเชื่อในชุมชน 6. ภูมิปญญาหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน 7. ภูมิปญญาดานอาหารคาว-หวาน 8. ภูมิปญญาดานอื่นๆ 9. การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณ 10. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา


1. ประวัติความเปนมาและความสำคัญของชุมชน - ประวัติความเปนมาของชุมชน ชุมชนประดิษฐโทรการ ตั้งอยูเลขที่ 144 ซอยพหลโยธิน 47 และ 49 คำวา “ชุมชน ประดิษฐโทรการ” เปนชื่อที่ตั้งตามเจาของที่ดินเดิม คือ “ขุนประดิษฐโทรการ” ที่ไดบริจาคที่ดินบางสวน ใหชาวบาน ไดสรางถนนเพื่อเปนทางเขาซอยพหลโยธิน 47 และ 49 แลวไดแบงที่ดินสวนหนึ่ง ขายใหแก ชาวบาน สภาพที่ดินของชุมชนกอนการอพยพเขามาอยูของชาวบานในกลุมแรกๆ เปนสภาพของทองนา มีสวน ผักตลอดขางทางของถนนพหลโยธิน จนประมาณ ปพุทธศักราช 2497 เริ่มมีผูคนอพยพเขามาปลูกที่อยูอาศัย โดยในระยะแรก ทั้งสองซอยนั้นยังไมมีชื่อเรียก จนภายหลังมีการตั้งชื่อวา “ซอยอุดมมิตร” หรือ ซอย พหลโยธิ น 47 ในป จ จุ บ ั น ซึ ่ งเป น ชื ่อของ นางอุดม ที่ไดมาสรางบานอยูเปน คนแรกๆ และ “ซอย 12 กรกฎา” หรือ ซอยพหลโยธิน 49 ในปจจุบัน

- ลักษณะโครงสรางประชากร ประชากรในชุมชนประดิษฐโทรการ มีประมาณ 1,365 คน แบงเปนประชากรชาย จำนวน 656 คน ประชากรหญิง จำนวน 709 คน จำนวนบาน จำนวน 385 หลัง จำนวนครัวเรือนประมาณ 450 ครัวเรือน จากการสำรวจ ณ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ.2563 ประชากรสวนใหญมาจากจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และจังหวัดนครนายก โดยสวนใหญเปนญาติพี่นอง และเพื่อนฝูงที่รูจักกันจาก อาชีพเครื่องทองลงหิน


- คุณคาความสำคัญของชุมชน ชุมชนประดิษฐโทรการ มีจุดแข็งในดานตางๆ ดังนี้

o ดานความสามัคคี ชาวบานอยูอยูอาศัยในชุมชนประดิษฐโทรการมีความรักสามัคคี รวมแรงรวมใจ เสียสละ ใหความรวมมืออันดีในการเขารวมกิจกรรมของชุมชน โดยมีกลุมจัดตั้งตางๆ มากมายภายใน ชุมชน ที่สามารถดำเนินกิจการไดอยางประสบผลสำเร็จ เชน  การรวมกลุมออมทรัพยของชุมชนที่มีสมาชิก 575 คน ระดมทุนได 16 ลานบาท และไดสรางอาคารศาลาอุดมมิตรประดิษฐรวมใจ เพื่อเปนศาลาเอนกประสงค สำหรับใชทำกิจกรรมของชุมชน หนวยงานภาครัฐและเอกชน  การรวมดวยชวยกัน ตั้งกองทุนฌาปนกิจศพ เมื่อมีสมาชิกเสียชีวิต นอกจากจะได เงินฌาปนกิจแลวยังชวยกันบริจาคคนละเล็กคนละนอยเพิ่มเติม  ตั้งกลุมชมรมผูสูงอายุนำภูมิปญญาจากคนเกาคนแกในชุมชนที่ทำขนมและอาหาร สูตรโบราณ ฟนฟูใหคนรุนหลังไดรูจัก ขั้นตอนวิธีการทำและสวนผสมเพื่อเปนการ สืบสานภูมิปญญาในชุมชนใหยั่งยืน  มีการทำกิจกรรมรวมกันในชุมชนในเทศกาลประเพณี และวันสำคัญตางๆ เชน วัน สงกรานต วันปใหม วันพอ วันแม วันเด็ก เปนตน


o ดานวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น ชุมชนประดิษฐโทรการเปนมรดกภูมิปญญาในงานชางฝมือเครื่องทองลง หิน ประเภทเครื่องใชบนโตะอาหารมาตั้งแตอดีต ประมาณป พ.ศ. 2495-2496 เมื่อชาวบานจาก ตางจังหวัดและซอยกิ่งเพชรซึ่งเปนแหลงทำโรงหิน/เครื่องทองลงหินลำดับแรกของกรุงเทพมหานคร อพยพมาอยูที่ชุมชนประดิษฐโทรการแหงนี้ ทำใหทุก ครัวเรือนเริ่มตนการประกอบอาชีพเปนชางทอง ลงหิน และยังสืบทอดดำรงรักษาไวซึ่งมรดกภูมิปญญาหัตถกรรมเครื่องทองลงหินตั้งแตอดีตมาจนถึง ปจจุบัน โดยยังคงเปนแหลงผลิตสำคัญหลงเหลือเพียงแหงเดียวในประเทศ ที่มีการจัดตั้งเปนศูนย เรียนรูภายในชุมชนมรดกภูมิปญญาทองถิ่นของกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังมีมรดกภูมิปญญาในดานธรรมชาติและจักรวาล เชน การทำอาหารคาว - อาหารหวาน การทำขนมกระยาสารท ตามประเพณีวันสารทเดือนสิบ ขนมครก ขาวตมมัด ขาวตมลูกโยน การทำขนมจีนเสนสด น้ำยา น้ำพริก เปนตน

o ดานทำเลที่ตั้งและการเขาถึง ทำเลที่ตั้งของชุมชน ตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน ทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 ซึ่งเปน ถนนสายหลักในกรุงเทพมหานคร และเปนหนึ่งในทางหลวงสายประธานทั้งสี่ของประเทศไทย การ คมนาคมทางรถยนตเขาถึงไดสะดวก จากทั้งทางถนนดานหนาซอยพหลโยธิน 47 และ 49 และทาง ดานหลังชุมชน ถนนพหลโยธิน 49/1 เลียบคลองบางบัว ปจจุบันสามารถเดินทางมายังชุมชนได สะดวกโดยรถไฟฟา BTS สายสีเขียว หมอชิต-สะพานใหม-คูคต สถานีปลายทาง (N17) วัดพระศรี มหาธาตุ กำลังเปดใหบริการ 4 สถานีใหมฟรี ตั้งแตวันที่ 5 มิ.ย. 63 และอีกเสนทางหนึ่งในอดีตคือ ทางเรือผานคลองบางบัว


o ดานบริบทของสถานที่ใกลเคียง ตัวชุมชนตั้งอยูใกลกับสถานที่สำคัญของทางราชการ โรงเรียน มหาวิทยาลัยทั้ง ภาครัฐและเอกชน วัด ที่ทำการไปรษณียเขตจตุจักร

ในวันทำการ จันทร - ศุกร มีผูคนภายนอกชุมชนพลุกพาน ชวงเวลาประกอบ อาชีพคาขาย สรางรายไดของคนในชุมชน เชื่อมโยงอางอิงจากวันทำการของสถานศึกษา จึงเปนชุมชนที่มี บุคคล นอกเขาออกภายในชุมชน o ดานประวัติศาสตร เปนชุมชนที่มีประวัติการกอตั้งมายาวนาน มีการบันทึกและเลาสืบตอ กันมาจากรุน สูรุน มีหลักฐานทางกายภาพที่หลงเหลืออนุรักษไวจนถึงปจจุบัน

ภาพ : บานหลังแรกที่ทำหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน


- รางวัลและเกียรติประวัติชุมชนประดิษฐโทรการ o ชุมชนดีเดน ดานความสามัคคี เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2536 จากสำนักงานเขตจตุจักร o ชุมชนดีเดนประจำป 2543 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2543 จากสภาสังคมสงเคราะห แหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ o ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงดีเดน ป2550 สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สำนัก ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ o ศูนยเรียนรูชุมชนจังหวัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน จำกัด (มหาชน)


2. ที่ตั้ง ลักษณะทางกายภาพของชุมชน - ที่ตั้ง

o ชุมชนตั้งอยูที่ ซอยพหลโยธิน 47 และ 49 ถนน พหลโยธิน แขวง ลาดยาว ซึ่งเปนกลุมเขต 3 กลุมกรุงเทพเหนือในเขตจตุจักร เปนชุมชนประเภท แออัด ประกาศเปนชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบ กรุงเทพมหานครเมื่อป 2535 o ลักษณะของชุมชนประดิษฐโทรการ มีลักษณะ เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีเนื้อที่ประมาณ 15 ไร เปน ประเภทชุมชนเมือง มีที่ดินของชุมชนเปนของตนเอง o    

อาณาเขตของชุมชน ทิศเหนือ ติดกับคลองบางบัว ทิศใต ติดกับไปรษณียจตุจักร ทิศตะวันออก ติดกับสวนบางเขน ทิศตะวันตก ติดกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร


ตำแหนงที่ตั้ง : ศาลาอุดมมิตรประดิษฐรวมใจ ศาลาของชุมชนประดิษฐโทรการ ซอย 47 แยก 6 - การเดินทาง o ทางรถยนต ผานถนนพหลโยธิน ซอย 47 , 49 และ 49/1 o ทางรถไฟฟา BTS สายสีเขียว ลงสถานีกรมปาไม (N14) ทางออก 3 ไปรษณียสาขาจตุจักร o ทางเรือ ผานคลองบางบัว


- แผนที่ชุมชน


- ลักษณะทางกายภาพ o เปนชุมชนที่ปลูกสรางอาคารบานเรือนอยูระหวางซอยพหลโยธิน 47 และ 49 สามารถ เขาถึงไดจากทั้ง 2 ซอย โดยพื้นที่สวนใหญที่อยูติดถนนจะถูกซื้อขายปรับปรุงเปนอาคาร หอพัก อพารตเมนท คอนโด เพื่อรองรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยใกลเคียง และบานเรือน บางสวนถูกปรับปรุงเปนรานคา รานขายอาหารตามสั่ง รานซักรีด เพื่อประกอบอาชีพหา รายไดในชุมชน สวนอาคารที่อยูลึกภายในซอยยังคงเปนบานเรือนพักอาศัยของชาวบาน

o บริเวณเขตพื้นที่บานเรือนชองชาวบานในชุมชน มีตรอกซอยขนาดเล็ก เชื่อมระหวางซอย พหลโยธิน 47 และ 49 ความกวางของทางเดินประมาณ 1 - 2 เมตร สามารถเดินสวนกัน ได สัญจรไปมาระหวางบานเรือนดวยวิธีเดินเทาเปนหลัก มีชายคาติดกันเวนระยะหางจะ หวางชายคาเพียงเล็กนอย ใหรมเงาภายในตรอกซอกซอย


o รถจักรยานและรถจักรยานยนตเขาออกภายในซอยไดบาง แตไมสามารถนำรถยนตเขาถึงได รถยนตจะถูกจอดอยูบริเวณริมถนนภายในซอยพหลโยธิน 47 และ 49 เปนหลัก ทำใหการ เขาออกทางรถยนตภายในซอยสวนทางกันไมคอยสะดวก นิยมเดินทางสัญจรภายในซอย ดวยรถจักรยานยนต และมีวินรถจักรยานยนตคอยใหบริการที่ตนซอย และทายซอย


o บานเรือนกอสรางบนพื้นที่ดินแบงยอยเปนแปลงขนาดเล็ก 10 – 20 ตารางวา เพื่อที่ สามารถซื้อขายไดในราคาที่ชาวบานตองการ จึงทำใหเกิดเปนชุมชนแออัด

o ตัวอาคารบานเรือนแตเดิมเปนเรือนไมยกใตถุนสูง ประกอบอาชีพเครื่องทองลงหินบริเวณใต ถุนบาน พื้นเปนพื้นดินเดิม ใชเปนสถานที่ทำงานของแตละครัวเรือน สำหรับจัดวาง เครื่องจักรและเก็บอุปกรณการทำหัตถกรรมทองลงหิน ในภายหลังมีการเปลี่ยนอาชีพ จึง ปรับปรุงตอเติมบานเรือนชั้นลางเปนพื้นที่อยูอาศัย อาคารชั้นบนเปนไมชั้นลางเปนปูน

o ชุมชนบางสวนยังคงรักษาอาคารบานเรือนเดิมเอาไว มีลักษณะเปนเรือนไม ฝาไมตีซอนเกล็ด แนวนอน ฝาไมบังใบแนวตั้ง หลังคาจั่ว มีองศาลาดเอียงไมมาก ประตูวงกบหนาตางเปนไม


o บานเรือนบางหลังเปนบานเดี่ยวสองชั้น มีพื้นที่อาณาบริเวณกวางรอบบาน มีพื้นที่สีเขียว และตนไมขนาดใหญ


o บริเวณหนาบานมักถูกจัดแตงดวยตนไมกระถางวางเรียงกันเปนระเบียบ พันธุไมตางๆ ไดรับ การดูแลเรียบรอยสวยงาม มีพื้นที่ใชงานหนาบานเปนสวนกึ่งภายนอกมีหลังคาปกคลุม

o มีบานจัดสรรเปนหมูบานอยูบริเวณตนซอยและทายซอย ลักษณะเปนบานเดี่ยวชั้นเดียว และ บานแถวทาวเฮาส สองถึงสามชั้น อยูติดริมถนนภายในซอย


- สถานที่ใกลเคียง o ที่พักใกลชุมชน ไดแก  พหลโยธินพารคเพลส (Paholyothin Park Place Hotel) จองที่พัก 02-9427641  4 SHARE Hostel จองที่พัก 099-1034820


o สถานศึกษาที่อยูใกลชุมชน ไดแก  โรงเรียนบางบัว  โรงเรียนสารวิทยา  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร  มหาวิทยาลัยศรีปทุม o หนวยงานราชการที่อยูใกลชุมชน ไดแก  กรมปาไม  ไปรษณีย สาขาจตุจักร  กรมวิทยาศาสตรทหารบก  กรมทหารราบที่ 11  กองบัญชาการชวยรบที่ 1 (สวนแยก บชร.1)  ทางการพิเศษแหงประเทศไทย  พรรคภูมิใจไทย 3. แหลงเรียนรูอื่นๆ และองคกรในชุมชน - โรงเรียนพีระยา-นาวิน เปดสอนตั้งแตระดับชั้นเตรียมอนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ 6


- ศาลาอุดมมิตรประดิษฐรวมใจ ศาลาชุมชนเปนอาคารคสล. 3 ชั้น มีใตถุนโลง ไวสำหรับใชทำ กิจกรรมสวนกลางของคนในชุมชน ตั้งอยูซอยพหลโยธิน 47 แยก 6 หางจากปากซอยประมาณ

o ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนตามอัธยาศัย เปดทำการทุกวันอาทิตย

o วงดนตรีไทย


o ศูนยสุขภาพชุมชนประดิษฐโทรการ  เปนศูนยกลางจัดบริการสาธารณสุขมูลฐานที่ดำเนินการในชุมชน  เปนที่ทำการของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.)  เปนจุดเชื่อมตอระหวางชุมชน กับระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ โดยทำหนาที่ ใหบริการในระดับตน และสงตอใหสถานบริการของรัฐ  เปนศูนยบริการกลางในการรองรับการสนับสนุนวิชาการ วัสดุครุภัณฑ เครื่องมือตาง ๆ จากภาครัฐและเอกชน  เปนศูนยกลางของความรูและวิทยาการชาวบานในการดูแลตนเองของชุมชน  เปนศูนยกลางในการพัฒนาการมีสวนรวม การบริหารจัดการ การจัดตั้งกลุมและ กิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน  เปนสถานที่รวมของอาสาสมัคร เพื่อใหบริการและบริหารจัดการที่เปนรูปธรรมขึ้น เปนการเพิ่มศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขใหสามารถจัดกิจกรรมสาธารณสุข ในชุมชนไดอยางผสมผสาน ครอบคลุม ครบถวนและสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ของแตละชุมชน โดยมีเจาหนาที่ของรัฐคอยใหการสนับสนุน ติดตามและเปนที่ปรึกษา


- ศูนยเรียนรูการทำหัตถกรรมทองลงหิน

เปนแหลงรวมการทำหัตถกรรมทองลงหิน การสาธิต และการจำหนายสินคาชุมชน ผูกอตั้ง ศูนย ไดมีแนวคิดที่จะจัดตั้งโครงการรวมกับทางกรุงเทพมหานครและสำนักงานเขตจตุจักร เพื่อขยายและ พัฒนาโครงสรางในการผลิตและจำหนาย โดยจัดตั้งเปนพิพิธภัณฑชุมชนและศูนยเรียนรูทางดาน หัตถกรรม ในการประกอบอาชีพทางดานเครื่องทองลงหิน และในการจัดทำเปนพิพิธภัณฑนั้น ทางศูนยจะ จัดทำเปนพิพิธภัณฑที่มีชีวิต คือ จัดใหมีการสาธิตการทำหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน เลาประวัติความ เปนมาของทองลงหินตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และสามารถใหผูเขาชมสามารถทดลองทำในสวนที่ไมมี อันตรายไดอีกดวย นอกจากมีการสาธิตและบอกเลาประวัติแลว ยังจัดใหมีการการแสดงผลิตภัณฑ จำหนายของที่ระลึกจากศูนยหัตถกรรมทองลงหิน และไดรวบรวมผลิตภัณฑที่เปนสินคาของชุมชนมารวม ไวในศูนยฯ เพื่อจำหนายดวย


จึงเปนแหลงทองเที่ยวเชิงความรูของกรุงเทพมหานครอีกแหงหนึ่ง ซึ่งทางศูนยหัตถกรรมทองลง หิน ไดมีการจัดอบรมเยาวชนในชุมชน ใหมีความรูและความเขาใจในอาชีพของบรรพบุรุษ เพื่อเปน มัคคุเทศนนอยในการนำนักทองเที่ยวเยี่ยมชมชุมชนและพิพิธภัณฑ ซึ่งทางศูนยคาดวา หลังจากที่ไดมีการ พัฒนาทั้งกระบวนการและขั้นตอนในการผลิตใหมีความทันสมัย แตยังคงไวซึ่งความเปนไทยๆ และมีการ พัฒนาไปสูการเปนแหลงเรียนรูทางดานหัตถกรรมแลวนั้น จะมีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางประเทศ รวมทั้งนักเรียน นักศึกษา เขามาเยี่ยมชมและเขามาศึกษามากยิ่งขึ้น ซึ่งเทากับเปนการรวมอนุรักษ หัตถกรรมนี้ไว ใหดำรงคงอยูคูกับชาวชุมชนและคนไทยตอไป (ปจจุบัน ทางศูนยไดมีการตอยอดโดย การเปด บริษัท บรอนซคราฟ จำกัด เพื่อเพิ่มชองทางในการบริหารจัดการอีกทางหนึ่ง) โดยโครงการตางๆ ที่จัดตั้งขึ้นนี้ เปนไปตามเจตนารมณของ คุณสมคิด ดวงเงิน เพื่อเปนการอนุรักษ ฟนฟูวัฒนธรรม และ เอกลักษณไทย ในดานของหัตถกรรมชนิดนี้ ใหยังคงอยูคูกับชุมชน เปนของดี เปนสินคา OTOP เขต จตุจักร และคนไทยตอไป โดยปจจุบัน ทางศูนยหัตถกรรมทองลงหิน ไดรับการแตงตั้งจากสำนัก เลขาธิการสภาการศึกษา ใหเปนสังคมแหงการเรียนรูตนแบบ รุนที่ 2 เพื่อใหนักเรียน นักศึกษา และผูที่ สนใจไดเขามาเยี่ยมชมและศึกษาหาความรู

o กลุมจัดตั้งกลุมตางๆ ในชุมชน 1. คณะกรรมการชุมชน เมื่อป พ.ศ.2528 กรุงเทพมหานครไดมีการแบงเขตการปกครองใหม ทั้งหมด 50 เขต สำนักงานเขตจตุจักร โดยฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง ไดเขามาสำรวจ พื้นที่ตามชุมชนแลวพบวา ชุมชนประดิษฐโทรการแหงนี้ มีลักษณะความเปนอยูแออัด ขาดความเปนระเบียบ เรียบรอย เจาหนาที่เขตฯ จึงไดปรึกษากับชาวบานในชุมชน เกี่ยวกับการจัดตั้งชุมชน จนในป พ.ศ. 2532 จึ งได ก อตั ้ งชุ มชนขึ ้ น อย า งเปน ทางการ ตามระเบีย บกรุงเทพมหานคร และมีการเลือกตั้งประธานและ คณะกรรมการชุมชนขึ้นเปนครั้งแรก โดย นายล่ำ เจริญสุข ไดรับความไววางใจจากคนในชุมชน ใหดำรง ตำแหนงเปนประธานชุมชนประดิษฐโทรการ และมีคณะกรรมการรวมทั้งหมด 10 คน คณะกรรมการชุดแรกนี้ ถือไดวาเปนแกนนำที่สำคัญอยางยิ่ง ตอการพัฒนาชุมชนในชุดตอๆ มา


 รายชื่อประธานชุมชนประดิษฐโทรการ คนที่ 1 นายล่ำ เจริญสุข คนที่ 2 นายสมคิด ดวงเงิน คนที่ 3 นายสกุล ชื่นใจเล็ก คนที่ 4 นางกนกวรรณ ดวงเงิน คนที่ 5 นายบุญเสริม โพธิ์เงิน

2. กลุมหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน หลังจากการกอตั้งเปนชุมชนประดิษฐโทรการ เมื่อ พ.ศ.2532 ในปถัดมา พ.ศ. 2533 ทางสำนักงานเขตจตุจักร ไดจัดตั้งเปนศูนยหัตถกรรมทองลงหินขึ้น โดยเปนการรวมกลุมเพื่อรักษา ผลประโยชนของกลุมผูประกอบอาชีพเดียวกัน ดวยลักษณะอันโดดเดนของหัตถกรรมทองลงหิน ที่เปน ผลิตภัณฑเครื่องใชบนโตะอาหาร เชน ชอน สอม มีด ทัพพี กระบวย และสินคาที่ระลึกตางๆ

3. กลุมฌาปนกิจศพ เปนกลุมที่เกิดจากการรวมกลุมของชาวบานในชุมชนประดิษฐโทรการ เพื่อชวยเหลือ ครอบครัวผูเสียชีวิต ถือวาเปนการจัดสวัสดิการของชุมชนเพื่อค.นในชุมชนเอง โดยชาวบานเกือบทุกครัวเรือน จะสมัครเขารวมเปนสมาชิกกลุมฌาปนกิจศพ ครอบครัวละ 50 บาท ปจจุบันมีสมาชิกทั้งหมดประมาณ 300 ครัวเรือน และจะมีการมอบเงินใหแกครอบครัวของผูเสียชีวิต ไมวาจะเสียชีวิตดวยกรณีใดก็ตาม ในวันสวดพระ อภิธรรมศพ นอกจากนี้ ยังมีการชวยเหลือ “รวมดวยชวยกัน” ในเรื่องการทำอาหารเลี้ยงพระ และแขกที่มา รวมงาน รวมถึงการชวยดำเนินการดานอื่นๆ ในวันฌาปนกิจศพ


4. กลุมออมทรัพยเพื่อชีวิต กลุมออมทรัพย จัดตั้งขึ้นอยางเปนทางการเมื่อป พ.ศ.2534 โดยเกิดจากความตองการ และความสนใจในการแกปญหาทางดานการเงิน ดานเศรษฐกิจ และดานอาชีพของคนในชุมชน โดยกลุมออม ทรัพย เปนองคกรทางการเงินที่ดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการชวยเหลือซึ่งกันและกันของชาวบานในชุมชน และสมาชิกทุกคน ถือปฏิบัติตามคุณธรรมพื้นฐานอันประกอบดวย ความซื่อสัตย ความเสียสละ ความ รับผิดชอบ ความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และการไววางใจกัน รวมทั้งสงเสริมใหสมาชิกรูจักประหยัด และ ออมทรัพย ถือเปนเครื่องมือในการพัฒนาคนในสภาวะปจจุบนั และกลุมออมทรัพยนี้ ยังไดรับการรับรองจาก สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) หรือ พอช. วา เปนสถานภาพกลุมออมทรัพยชุมชนประดิษฐโทร การพหลโยธิน 47 และ 49 เปนองคกรชุมชนในลำดับที่ 10-0000/136

5. กลุมกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง กองทุนหมูบาน เปนองคกรที่เกิดขึ้นตามนโยบายของรัฐบาล ในป พ.ศ.2544 โดยจัดตั้ง กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง แหงละ 1 ลานบาท โดยมีวัตถุประสงคในการสรางรายได การพัฒนาคน พัฒนาชุมชน เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและสำนึกความเปนชุมชน ผานกระบวนการเรียนรูรวมกัน ระหวาง ชุมชน หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน


6. กลุมผูสูงอายุ เปนกลุมที่สงเสริม สนับสนุน และใหความสำคัญตอผูสูงอายุในชุมชน สวนใหญเปนผูมีอายุ ตั้งแต 60 ปขึ้นไป กิจกรรมจะเปนการออกกำลังกายในชวงเย็นในแตละวัน การบริการตรวจสุขภาพจาก ศูนยบริการสาธารณสุข 24 เปนประจำ

ภาพ : กลุมผูสูงอายุอาสาชวยกันเย็บหนากากอนามัย เพื่อแจกจายใหแกชาวบานในชุมชน 7. กลุมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ศูนยบริการสาธารณสุข 17 และ ศูนยบริการสาธารณสุข 24 ไดมีการจัดกิจกรรมฝกอบรม ความรูใหแกชาวบาน ที่สมัครใจเปนอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เพื่อใหเปนผูมีความรูในดานการรักษา พยาบาลเบื้องตน การดูแลรักษาสุขภาพตนเองและผูอื่นภายในชุมชน โดยมีกองทุนยา ที่ทางเจาหนาที่ สาธารณสุขสนับสนุนยาสามัญประจำบาน และการประสานงานกับอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน โดย อาสาสมัครสาธารณสุข ตองเปนผูจายยา พรอมทั้งใหคำแนะนำการใชยาและการดูแลตนเอง โดยไมคิดมูลคา ใดๆ ทั้งสิ้น 8. กลุมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) กลุมอาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน หรือเรียกสั้นๆวา อปพร. มีหนาที่ดูแลรักษาความ ปลอดภัย ความเปนระเบียบเรียบรอย และดานการจราจร ในการดำเนินกิจกรรมของชุ มชนทุกกิจ กรรม รวมทั้งการเฝาระวังความปลอดภัย ใหกับกลุมออมทรัพยชุมชนประดิษฐโทรการดวย โดยผูอาสาสมัครปองกัน ภัยฝายพลเรือน (อปพร.) ตองผานการอบรมดานการปองกันอุบัติภัย และการรักษาความปลอดภัย จาก สำนักงานเขตจตุจักร 9. กลุมสตรีแมบาน เกิดจากการรวมตัวของกลุมแมบานในชุมชนในการฝกอาชีพ เพื่อเปนการสรางรายไดเสริม ใหแกครอบครัว เชน การทำขนมกระยาสารท ลูกอมกะทิ ดอกไมประดิษฐ ทำสบู น้ำยาซักผา น้ำยาลางจาน ยาสระผม ครีมนวดผม การสานตะกรารูปทรงตางๆ และการตัดเย็บเสื้อผา ซึ่งสวนใหญเปนกิจกรรมเฉพาะ คือไมมีกิจกรรมตอเนื่อง แตการฝกอาชีพที่หลากหลายนี้ สามารถทำประโยชนโดยตรงตอตัวกลุมสตรีแมบาน เอง เพราะสามารถนำความรูกับไปใชภายในครอบครัวได


ภาพ : กลุมแมบานทำลูกอมกะทิ

ภาพ : กลุมแมบานทำขนมกระยาสารท 10. กลุมเยาวชนสัมพันธ กลุมเยาวชนสัมพันธในชุมชน เปนการรวมตัวกันใชเวลาวางใหเปนประโยชน และกอใหเกิด ประโยชนตอชุมชน กิจกรรมของเยาวชนที่ผานมา คือ เดินรณรงคตอตานยาเสพติด สงเสริมลานกีฬาออก กำลังกาย และเขารวมการฝกอบรมกับหนวยงานตาง ๆ เพื่อฝกฝนใหเปนคนที่กลาคิด กลาทำ กลาแสดงออก การทำงานรวมกับผูอื่น อีกทั้งยังเปนการปูทางในทางออมของการสานตองานจากผูใหญในชุมชนภายภาคหนา ปจจุบันเยาวชนสัมพันธของชุมชนประดิษฐโทรการ มีการรวมตัวกันเลนดนตรีไทย โดยครูผู ฝกสอนเปนคนภายในชุมชนเอง โดยมีการรับงานแสดงตามงานเทศกาลตางๆ รวมถึงงานกิจกรรมของชุมชน


ในป พ.ศ. 2553 ไดมีการกอตั้งกลุมเยาวชน ชื่อ เจเจ ยูไนเต็ด ขึ้น (JJ. UNITED) จากการที่ ไดเขารับการอบรม ภายใตโครงการ “อาสาสมัครเยาวชนเพื่อคุณภาพชีวิต สุขภาพ และความปลอดภัยในการ ทำงานของแรงงานนอกระบบ” จำนวน 33 คน ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.) ที่สนับสนุนงบประมาณใหเยาวชนไดทำกิจกรรมเกี่ยวกับแรงงานนอกระบบ ทั้งสิ้น 3 โครงการ เปนจำนวน 100,000 บาท และไดรับการสนับสนุนจาก มูลนิธิเพื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ คณะทำงานในพื้นที่เขต จตุจักร ในการเปนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลและใหคำแนะนำโครงการ โดยมีโครงการเสียงตามสาย โครงการศึกษา ประวัติศาสตรชุมชนและสืบสานอาชีพภูมิปญญาทองถิ่น และโครงการเลานิทานดวยตุกตามือ ทั้ง 3 โครงการ นี้ ลวนเปนผลงานที่สรางสรรคจากกลุมเยาวชนทั้งสิ้น 4. กิจกรรมในชุมชน - งานประเพณี o วันสงกรานต รดน้ำดำหัวผูสูงอายุ

- งานวันสำคัญ o กิจกรรมวันแม


o กิจกรรมวันเด็ก

o กิจกรรมวันปใหม

- สภากาแฟ เปนการรวมกลุมกันของผูสูงอายุในชุมชนที่ตื่นแตเชา นัดพบปะกันที่ศาลาอุดมมิตรประดิษฐ รวมใจ เก็บเงินคนละ 10 บาท เพื่อรวมกันเปนทุนสำหรับซื้อกาแฟตั้งไวสำหรับชงเองแบงปนใหแกสมาชิก บรรยากาศการพูดคุยในสภากาแฟ บทสนทนาเปนเรื่องราวชีวิตประจำวันทั่วไป สอบถามสารทุกขสุขดิบ เรื่อง ความเปนอยูของคนในชุมชน คุยเรื่องขาวสารบานเมืองตางๆ 5. ความเชื่อในชุมชน - ศาลเจาปูธรรมิกราช มีความเชื่อวาเมื่อเกิดเหตุการณไฟไหมในชุมชนจะดับไฟทันเสมอเพราะมีคนเห็นกอนทันเวลา เปนผลมาจากการคุมครองปกปกรักษาจากศาลเจาที่ ชาวบานในชุมชนจะมีการทำพิธีไหวศาลเจาปูธรรมิกราช ในวันอาทิตยที่ 2 ของเดือนมีนาคม ทุกๆ ป เพื่อความเปนสิริมงคลแกชุมชนประดิษฐโทรการ โดยมีประเพณี จัดการแสดงลิเกถวายศาลเจาที่ คณะลิเกเปนคณะเจาประจำที่มาแสดงทุกป การแสดงจัดที่บริเวณขางหลัง ชุมชน ทางทิศเหนือ ซอย 49


กอนที่มีการแสดงลิเก จะมีการเปยของเซนไหว ของเซนไหวศาลมีลักษณะเปนจาน มีมูลคา ของเซนไหวตอจาน 500 บาท แตละจานจะใสสลากกินแบงรัฐบาล ใสขนมหวานและผลไม เชน เม็ดขนุน ฝอยทอง ผลไม เชน สม เปนตน ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 200 จาน ตามจำนวนบานในชุมชนทุกครัวเรือน การ เปยของเซนไหวจะไดทุกบานคนละ 1 จาน โดยการจับฉลากวาบานไหนจะไดจากใคร เปนประเพณีสืบตอกัน เรื่อยมา


6. ภูมิปญญางานหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน - ประวัติที่มาและวัตถุประสงค เมื่อป พ.ศ.2490 สมัยนั้น ประเทศไทยมี การรับ จางขัดทองเหลื องเปน จำนวนมาก จน ชาวตางชาติที่เดินทางเขามาทองเที่ยวในประเทศไทย ไดมาพบเห็น จึงมาจาง บริษัท ส. สำราญไทย แลนด จำกั ด (เดิ ม อยู  ถ นนสี ล ม) ให ท ำผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากทองลงหิ น หรื อ ชื ่ อ ภาษาอั ง กฤษว า “BRONZE” ประดิษฐลวดลายแบบไทยๆ โดยทำเปนรูปเทพนมและลวดลายอื่นๆ ที่ปลายดามของตัว ชอน สอม มีด และทัพพี แลวไดใชเขาสัตว (เขาควาย) ไมสักมาประกอบเปนดาม เพื่อใหแลดูแปลก ตาและสวยงามมากขึ้ น ปจจุบันการผลิต เครื่ องทองลงหิ นที่ป ระกอบดวยดามไม ไดเลิ กผลิ ต แล ว เนื่องจากวัตถุดิบหายาก ประกอบกับเพื่อเปนการลดปญหาการทำลายธรรมชาติดวย นอกจากนี้ ทาง บริษัท ยังไดผลิตชุดรับประทานอาหารแบบตะวันตก ตามแบบของชาวตางประเทศเปนตนวา ชุดชา ชุดมีด ที่ตัดเคก ชุดสลัด ที่คีบน้ำแข็ ง มีดเปดซองจดหมาย โดยไดสอดแทรกลวดลายความเป น เอกลักษณไทยไวที่ปลายดาม ทำใหสินคาเกิดความสวยงามยิ่งขึ้น และเปนที่ถูกใจแกชาวตางประเทศ ที่ไดพบเห็น จนเมื่อป พ.ศ.2497 ไดมี “ตระกูลเสียงสุวรรณ และ ตระกูลหงสขจร” ไดยายถิ่นฐานจาก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งแตเดิมนั้นประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ การทำนา ได ยายถิ่นฐานเขามาอยูในกรุงเทพมหานครที่ “ซอยอุดมมิตร” (ซอยพหลโยธิน 47 ในปจจุบัน) และ “ซอย 12 กรกฎา” (ซอยพหลโยธิ น 49 ในป จ จุ บ ั น ) โดยเข า มาเป น ลู ก จ า งของบริ ษ ั ท ส. สำราญไทยแลนด จำกัด หลังจากเปนลูกจางอยูที่ บริษัท ส. สำราญไทยแลนด ไดสักพักและเริ่มรูจักวิธีการทำใน ขั้นตอน แตละขั้นตอน ทั้ง 2 ตระกูล จึงไดออกมาตั้งโรงงานผลิตเครื่องทองลงหินขึ้นที่ชุมชน ประดิษฐโทรการแหงนี้ และไดชักชวนคนในตระกูลหงษขจร นำโดย นายเรียน นายสิ่ว นายใย นาย จรูญ นายเจริญ นายกำจร นายบุญชวย และนายหนู สวนตระกูลเสียงสุวรรณ นำโดย นายใช นายซุน นายไล นายซง นอกจากนี้ยังมีตระกูลอื่นๆ ประกอบดวย ตระกูลนิลวิเวก ตระกูลนาคภักดี ตระกูล จันทชาติ ตระกูลบังเกิดสุข ตระกูลหลงศิริ และตระกูลวังศิลาบัติ ซึ่งตระกูลทั้งหมดนี้เปนตระกูลในยุค แรกๆ ที่เขามาบุกเบิกการทำอาชีพหัตถกรรมเครื่องทองลงหินกัน ทุกครอบครัว จนมีชื่อเรียก ขนานนามในตอนนั้นวา “ชุมชนโรงชอนบางบัว”


ตอมาป พ.ศ.2499 ชาวบานที่อาศัยอยูเดิม ไดชักชวนญาติพี่นองและคนที่รูจักของตนเอง เขามาทำอาชีพหัตถกรรมทองลงหินเพิ่มมากขึ้น จากเดิมที่มีอยู 10 ครอบครัว เพิ่มเปนกวา 100 ครอบครัว จนสูงสุดเปน 150 ครอบครัว ประมาณ 2,000-3,000 คน ในชวงป พ.ศ.2508 ถึง 2513 ซึ ่ ง “ตระกู ลด วงเงิ น ” ได เขามาในชว งนี้เชน กัน และถือเปน ยุครุงเรืองที่ส ุด ของอาชี พ หัตถกรรมทองลงหิน เพราะชาวตางชาตินิยมสินคาประเภทนี้มาก ตั้งแตประเทศไทยเจอวิกฤตเศรษฐกิจฟองสบูแตก ตั้งแตป พ.ศ.2540 เปนตนมา จนกระทั่ง ตึกเวิลดเทรดถลมที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ.2001 อาชีพหัตถกรรมทองลง หินก็เริ่มซบเซาทั้งจำนวนผูผลิตและยอดขายจนถึงปจจุบัน จากจำนวนผูผลิตที่ลดนอยลงนี้ ทางผูผลิต จึงไดมีการรวมตัวกันจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นมาบริหารงานและกิจกรรมของกลุม ที่จริงแลวมีการ จัดตั้งคณะกรรมการบริหารงานมาตั้งแตป พ.ศ.2500 โดยมีแกนนำที่สำคัญ คือ นายกลม ชื่นใจเล็ก นายกำจร หงษขจร และนายละมอม หรือมานะ หลงศิริ จัดตั้งเปนบริษัทเพื่อผลิตและจำหนายสินคา เอง แตการรวมกลุมครั้งแรกนั้นยังไมประสบความสำเร็จเทาที่ควร เนื่องจากปญหาในดานเงินในการ ลงทุนและดานแรงงาน จนป พ.ศ.2512 ไดมีการรวมตัวกันขึ้นอีกครั้งเพื่อแกไขปญหาการตัดราคา สินคา โดยมีนายนายกำจรและนายบุญชวย หงสขจร เปนแกนนำ ซึ่งไดรับงบประมาณสำหรับการ พัฒนาและขยายโรงงาน โดยมีการรวมกลุมของสมาชิกในลักษณะแบบหลวมๆ ที่เปนเชนนี้ เพราะสมาชิกสวนใหญ ยังไมมีความเขาใจเกี่ยวกับวัตถุประสงคชัดเจน เปนเหตุใหตองยุบกลุมอีกครั้ง เนื่องจากจากขาดประสบการณและความชำนาญในการบริหารงาน ในป พ.ศ.2528 ไดมีการรวมตัว กันขึ้นอีกครั้ง โดยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย มีชื่อกลุมวา “กลุมอาชีพบานบางบัว” แตก็ตองสลายไปในที่สุด เพราะผูผลิตไมทราบวัตถุประสงค และไมใหความรวมมือ

จนกระทั่งในป พ.ศ.2532 สำนักงานเขตจตุจักร ไดเขามาจัดตั้งเปน ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธินซอย 47 และ 49 ทำใหปถัดมา พ.ศ.2533 จึงไดจัดตั้ง “ศูนยหัตถกรรมทองลงหิน” ขึ้น โดยมีแกนนำ ที่สำคัญ คือ นายสมคิด ดวงเงิน นายจิระศักดิ์ มวงคำ นายวิสัย เอี่ยมสำอางค และนาย บุญชวย หงษขจร คณะกรรมการจำนวน 20 คน และสมาชิกกลุมจำนวน 46 คน โดยมีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่อแกไขปญหาการตัดราคาสินคา อันจะนำไปสูปญหาในเรื่องของการแขงขัน 2. เพื่อรวมกันสั่งซื้อวัตถุดิบ เปนการลดปญหาราคาวัตถุดิบและเพิ่มโอกาสในการตอรองราคา 3. เพื่อจัดหาเงินทุนหมุนเวียนใหสมาชิก


- ขั้นตอนวิธีการทำ o กวาจะมาเปนเครื่องทองลงหิน ผลิตภัณฑเครื่องทองลงหิน เปนสินคาหัตถกรรมที่ผลิตกันในครัวเรือน เปนงานที่ไดรับการ ประยุกตมาจากภูมิปญญาทองถิ่นที่ไดรับการสืบทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง เนื่องจากเปนงานหัตถกรรมที่ผลิตดวยมือ (hand made) จึงไมมีเทคโนโลยีในการผลิตมาก นัก ขั้นตอนการผลิตสวนใหญ เปนการผสมผสานระหวางเครื่องจักรกล และฝมือของชางที่มีความชำนาญ ซึ่ง กวาที่ผลิตภัณฑแตละชิ้นจะเสร็จเปนชิ้นงาน มีขั้นตอนการทำมากกวา 30 ขั้นตอน ขั้นตอนการเตรียมการ ในขั้นตอนนี้ จะมีการเตรียมเบาหลอม หรือ แมพิมพ โดยจะนำมาทำความสะอาด ตรวจเช็ค สภาพและลวดลายของเบาหลอม โดยสวนใหญจะเปนลวดลายเฉพาะตามที่ลูกคาตองการ

ขั้นตอนการทำเครื่องทองลงหิน การหลอม เริ่มตนดวยการนำ ทองแดงและดีบุก มาหลอมรวมกัน ในอัตราสวน ทองแดง 4 สวนดีบุก 1 สวน ซึ่งใชทองแดง ปริมาณ 20 กิโลกรัม และดีบุก 5 กิโลกรัม ซึ่งในสัดสวนดังกลาวนี้ จะเรียก 1 เบา ในการหลอมนั้น จะนำทองแดงเทลงไปกอน และดีบุกตามลงไป และใชความรอนที่อุณหภูมิ 1,068 องศา เมื่อหลอมรวมกันแลว วัตถุดิบจะรวมเปนเนื้อเดียวกัน


การลงแมพิมพ นำเอาสวนผสมของทองแดงและดีบุกที่ไดนี้ ตักขึ้นไปเทลงในเบาพิมพ เมื่อ เทลงเบาหลอมแลว ทิ้งไวจนแข็งตัว ซึ่งใชเวลาประมาณ 1 - 3 นาที ขึ้นอยูกับขนาดของผลิตภัณฑ หรือสังเกต จากสีของวัตถุดิบ ที่จะมีความมัวมากกวาเดิม เมื่อแข็งตัวแลว จะใชคมี เขี่ยตัวผลิตภัณฑออกจากแมพิมพ

การปมลาย เปนขั้นตอนการนำผลิตภัณฑ ไปขึ้นลวดลายดวยเครื่องปมลาย โดยจะนำเอา ผลิตภัณฑที่แข็งตัวจากเบาหลอม ไปเผาไฟใหมีความออนตัวลงเล็กนอย แลวจึงนำไปเขาเครื่องปมลาย เมื่อได ลวดลายแลว ก็นำไปตัดสวนเกินออก (เวลาปมลายจะมีสวนเกินของผลิตภัณฑอยู จึงตองนำไปตัดสวนเกินออก)


การปมลาย

ขั้นตอนการตัดสวนเกิน

ผลิตภัณฑที่ตัดสวนเกินออกแลว การขัดแตงผลิตภัณฑ เมื่อเสร็จจากขั้นตอนการตัดแตงสวนเกินแลว หากเปนชอน จะนำไป ทำใหโคงเวา ในสวนของดามและใบ สำหรับชอนที่มีขนาดเล็ก สามารถทำการดัดไดโดยไมตองเผาไฟอีก ซึ่ง เรียกวา “การลงดิบ” หากเปนชอนที่มีขนาดใหญ หรือทัพพี ตองผานการเผาไฟอีกครั้งกอน เรียกตามภาษา โรงงานวา “การลงน้ำ” จากนั้น จะนำผลิตภัณฑเขาเครื่องกด (คันเลิ่ง) เพื่อทำใหตัวชอนนั้น มีความโคงเปน หลุมบริเวณกนชอนหรือทัพพี ซึ่งเมื่อทำเสร็จ ตองโยนผลิตภัณฑใสลงในน้ำทันที เพื่อใหเกิดการแข็งตัว ในสวน ของสวนสอม จะตองนำไปทำการตัดซี่ และทำการขัดแตงบริเวณซี่ใหเทากัน


การลงน้ำ

นำผลิตภัณฑเขาเครื่องกด (คันเลิ่ง) เพื่อทำใหตัวชอน มีความโคงเปนหลุมบริเวณกนชอนหรือทัพพี

หากเปนสอม จะนำไปตัดซี่

การลายของ เปนการตอก หรือ ดัดตัวผลิตภัณฑใหไดรูปทรงที่สวยงาม


การถาและปดลูกทราบ ใหมีความเงาขึ้น

การตรวจสอบและขัดแตงเพื่อใหเกิดเงา ในขั้นตอนตอมา จะทำการตรวจสอบผลิตภัณฑ ทั้งในเรื่องของตำหนิ และจุดบกพรองตางๆ เพื่อนำไปปรับปรุง จากนั้นจะเขาสูขั้นตอนของการขัดเงาอีกครั้ง หนึ่ง ซึ่งขั้นตอนนี้นอกจากขัดแตงทั่วไปแลว ยังเปนการขัดเงาเพื่อทำใหผลิตภัณฑขึ้นเงา เมื่อเสร็จขั้นตอนนี้ ก็ จะทำการตรวจสอบคุณภาพ และจุดบกพรองอีกครั้งกอนที่จะบรรจุหีบหอ

เช็ดของ และบรรจุภัณฑ


แมพิมพที่ทำจากเหล็ก นำมาแกะแบบ ใหเปนรูปผลิตภัณฑตางๆ เชน ตะเกียบ มีด ชอน สอม ฯลฯ

รูปแบบผลิตภัณฑเครื่องทองลงหิน ที่ทำสำเร็จแลว


- ประโยชนและคุณคา หัตถกรรมทองลงหินเปนกลุมที่ผลิตภัณฑประเภทเครื่องใชบนโตะอาหาร ที่หลงเหลืออยูเพียง แหงเดียวในประเทศไทย เปนภูมิปญญาทองถิ่น ที่สืบทอดกันมาจนถึงรุนลูกรุนหลาน ดวยฝมือความ ประณีต และความชำนาญเฉพาะตัวที่มีมากกวา 50 ป ทำใหศูนยหัตถกรรมทองลงหิน เปนหัวใจ หลักของการสรางชื่อเสียงใหชุมชนประดิษฐโทรการ เปนที่รูจักตอสาธารณชนในปจจุบัน o รางวัลและเกียรติประวัติของอาชีพหัตถกรรมทองลงหิน 1. รางวัลที่ 2 ประเภทเครื่องใชบนโตะอาหาร จากการประกวดผลิตภัณฑหัตถกรรมไทย ประจำป 2533 ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 2. เกียรติคุณดานความปลอดภัยในการทำงานและสุขภาพอนามัยใหกับผูรับงานไปทำที่ บาน เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2544 จากนายรังสฤษฏ จันทรรัตน อธิบดีกรม สวัสดิการและคุมครองแรงงาน 3. รางวัลผลิตภัณฑชุมชนจากภูมิปญญาไทย ของบริษัท บางจากปโตเลียม จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545


4. สุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑไทย กรุงเทพมหานคร ระดับ 5 ดาว ประเภทศิลป ประดิษฐและของที่ระลึก จากกระทรวงอุตสาหกรรม 5. ผลิตภัณฑดีเดน ระดับ 5 ดาว ภาคกลาง ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑไทย จากกระทรวงอุตสาหกรรม 6. การรั บ การรั บ รองคุ ณภาพในเรื่องของการรับ งานมาทำที่บ าน จากกรมพัฒ นาฝมือ แรงงาน กระทรวงมหาดไทย

- แหลงจำหนาย o การติดตอ  Facebook : ชุมชนประดิษฐโทรการ และ ThaiBronze..BronzeThai  Instagram :  E-mail : Takidshop2484@gmail.com  ที่ตั้งศูนยหัตถกรรมทองลงหิน เลขที่ 13 ถนนพหลโยธิน 47 แขวงลาดยาว เขต จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900  Tel: 02-5792861 Fax : 02-9406271 , 02-5791445 - การสืบทอด สำหรับอาชีพหัตถกรรมทองลงหินในอนาคต ยังคงมีการรวมกลุมอาชีพนี้ตอไป ผูสืบทอด คือ คุณปณจรีย ดวงเงิน ลูกสาวคุณลุงสมคิด ดวงเงิน


- ปญหาและอุปสรรค o สแตนเลส ไดเขามาตีตลาดสินคาเครื่องใชบนโตะอาหารที่เคยผลิตจากเครื่องทองลงหิน และ มีการนำเขาสินคาราคาถูกแหลงผลิตจากจีนอยางแพรหลาย มีการดูแลรักษางาย หาซื้อได งายตามทองตลาด o ปจจุบันเหลือผูผลิตงานหัตถกรรมทองลงหินไมถึง 10 ครอบครัว หรือประมาณ 20 - 30 คนเท า นั ้ น เนื ่ องจากป จ จัย ทางเศรษฐกิจ ในครัว เรือน เมื่อขาดรายไดในการสั่งซื้อจึง จำเปนตองเปลี่ยนอาชีพไปประกอบอาชีพอื่นๆ เพื่อหารายได o เปนสินคาที่นิยมเฉพาะกลุมลูกคาในตางประเทศ ขาดการเผยแพรประชาสัมพันธในประเทศ คนไทยไมนิยมใชเนื่องจากมีราคาแพง o มีราคาตนทุนการผลิตสูง มีขั้นตอนการผลิตหลายขั้นตอน ตองใชชางฝมือประณีตและ แรงงานที่มีความอดทน ความเพียรพยายาม มุมานะ ตองอาศัยประสบการณและความสนใจ เรียนรู o ราคาแรดีบุกมีราคาที่สูงขึ้น และมีความผันผวนตลอดเวลา ตองนำเขาจากแหลงตางประเทศ จึงไมสามารถตกลงสั่งซื้อเพื่อหาราคาตนทุนลวงหนาได ตองรอใหทางลูกคาเปนฝายตอบตก ลงกอนและวางเงินจึงสามารถคำนวนตนทุน ณ ขณะนั้นได o สถานการณโควิด-19 ทำใหเกิดการปดพรมแดนระหวางประเทศ ทำใหลูกคาที่สนใจสั่งซื้อ จากตางประเทศไมสามารถเดินทางเขามาทำการติดตอซื้อขายในประเทศไทยได เปนผลให ไมสามารถมีการจำหนายสินคาผลิตภัณฑตั้งแตเมื่อตนปที่ผานมา o ปจจัยทางเศรษฐกิจ สถานการณการบริโภคในระดับโลกและภายในประเทศซบเซา รายได นอยลดลง การทองเที่ยวมีรายไดตกต่ำไปจนถึงปดกิจการ ไมสามารถสั่งซื้อสินคาราคาแพง ไดจำนวนมาก ชาวตางชาติไมสามารถทองเที่ยวในประเทศไทยได แหลงทองเที่ยวตางๆ รวมถึงรานอาหารและโรงแรมมีนักทองเที่ยวลดนอยลง - ขอเสนอแนะและแนวทางแกไขปญหา o ควรมีการประสานงานกับภาครัฐและภาคเอกชน ใหมีการสนับสนุนชวยเหลือทั้งกระบวนการ ตลาด การสงเสริมการขายใหมากขึ้น และกระบวนการผลิตใหทันสมัยมากขึ้น o สำนักงานเขตจตุจักร ไดเขามามีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนเปนจำนวน 150,000 บาท โดยมีนายสมคิด ดวงเงิน เปนผูจัดการบริหารเงินทุน โดยใหสมาชิกกูยืม ในอัตราดอกเบี้ยรอยละ 3 บาทตอเดือน แตในปจจุบันเหลืออัตราดอกเบี้ยรอยละ 1 บาทตอ เดือนเทานั้น


o ในชวงหลายปที่ผานมา “ศูนยหัตถกรรมทองลงหิน” ไดรับความรวมมือและไดรับสนับสนุน จากภาคีหลายๆ ฝายทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิเชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงพาณิชย กระทรวงอุตสาหกรรม กรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตจตุจักร ธนาคาร ไทยพาณิชย มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร เกษม ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนตามอัธยาศัย พื้นที่เขตจตุจักร และมูลนิธิเพื่อการพัฒนา แรงงานและอาชีพ เปนตน แตสวนใหญจะเปนการชวยเหลือในรูปแบบการออกรานแสดง สินคา การอบรมเรื่องสุขภาพอาชีวอนามัย เรื่องความปลอดภัยในการทำงานมากกวา


o ตองการเสนอใหทางภาครัฐเรงดำเนินการสนับสนุนโดยการสั่งซื้อผลิตภัณฑเครื่องใชบนโตะ อาหารสำหรับใชภายในองคกรราชการเอง ซี่งมีอยูจำนวนมากในประเทศ เชน ชอนกาแฟ สำหรับใชในที่ประชุมงาน สำนักงาน อาคารรับรองของทางภาครัฐ รัฐสภา องคกรที่ สงเสริมภาคการทองเที่ยวและวัฒนธรรม รวมถึงองคกรรัฐวิสาหกิจ และองคกรเอกชนที่ ทำงานเกี่ยวของกับทางภาครัฐ สายการบินในประเทศ เพื่อใหเกิดการใชงานอยาง แพรหลายจนสรางอัตลักษณขององคกรราชการ วิธีนี้จะชวยสื่อสารประชาสัมพันธเผยแพร ภูมิปญญาหัตถกรรมทองลงหินอยางเปนรูปธรรม เปนการสานตอภูมิปญญาของชาติใหยังคง อยูสืบไป ซึ่งเปนหนาที่หลักโดยรัฐอยางมีนัยสำคัญ o กระตุนความนิยมการใชงานภายในประเทศใหไดรับความนิยมแกประชาชนทั่วไป รานอาหาร ภัตตาคาร โดยชองทางการนำเสนอตางๆ การประชาสัมพันธ การจัดทำสื่อ เผยแพรในรูปแบบที่มีความทันสมัยและมีความเขาถึงเทรนดของผูใชยุคปจจุบัน ตอบโจทย การใชงานของคนรุนใหม กระแสการรักษโลก การพกพาชอนสอมสวนตัว หรือปรับปรุง การนำเสนอจำหนายแกกลุมลูกคาใหมๆ เชน การจัดเซ็ทของชำรวยของที่ระลึกสำหรับงาน มงคลตางๆ การจัดทำแพคเกจนำเสนอที่เรียบงายกะทัดรัด มีการออกแบบเพื่อเพิ่มมูลคา ความนาสนใจ มีการสื่อสารจุดแข็งของผลิตภัณฑใหถูกเผยแพรรับรูในวงกวาง o ทางศูนยหัตถกรรมทองลงหินไดมีการปรับปรุงรูปแบบจากที่เคยผลิตแตเครื่องใชบนโตะ อาหาร เชน ชอนกาแฟ ชอนชา สอมชา ชอนคาว สอมคาว ทัพพี กระบวย ฯลฯ โดยหันมา ทำเครื่องประดับประเภทกำไลที่เสนอขายตามวัด โดยนำมาเปนวัตถุมงคล ซึ่งตลอด ระยะเวลา 3-5 ปที่ผานมา ศูนยหัตถกรรมฯ จะเนนผลิตกำไลสงตามวัดเปนหลัก เชน วัดไตร มิตรวรวิหาร วัดระฆังโฆสิตาราม จังหวัดกรุงเทพมหานคร วัดศาลาปูน วัดบางนมโค วัด โบสถ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดหนองขุนชาติ จังหวัดอุบลราชธานี วัดใหมบางขวัญ จังหวัดฉะเชิงเทรา วัดพระนอนจักรศรี จังหวัดสิงหบุรี และวัดพระพุทธชินราช จังหวัด พิษณุโลก สวนสินคาประเภทอื่นๆ จะมีการออกรานแสดงสินคาไปทั่วประเทศ


7. ภูมิปญญาดานอาหารคาว-หวาน - ขนมจีนเสนสด

สาธิตกรรมวิธีการทำขนมจีนเสน สาธิตโดยคุณลุงบุญ ธรรม โตเจริญ อายุ 73 ป o วัตถุดิบการทำเสนขนมจีน 1. ขาวจาว (ตองเปนขาวแข็ง) 2. น้ำเปลา o อุปกรณในการเสนขนมจีน 1. หมอและกระทะ 2. ครกไมและสากมือ 3. หนาแวน (ใชสำหรับบีบเสนขนมจีน) 4. กระชอน 5. กะลังมัง 6. เตาแกส 7. ภาชนะ สำหรับใสเสนขนมจีน


o ขั้นตอนและวิธีการทำ 1. ขั้นตอนแรกนำขาวจาว (ขาวแข็งหรือขาวเสาไห) แชน้ำ 3 คืน รินน้ำออกนำขาวที่แชไวตากแดด แลวนำมาลางน้ำใหสะอาด เชา เย็น เปนเวลา 3-4 วัน โดยทำการกลับเอาขาวจากดานลางขึ้นมาไวดานบนทุก ครั้ง จนกวาขาวจะยุย

2. นำขาวที่ยุยแลวมายีกับมือในอางหิน ใหเปนแปงละเอียดแลวขึ้นรูปเปนกอนกลม ๆ

3. นำกอนแปงที่ไดมาตมหรือนึ่งใหแปงดานนอกสุกประมาณ 1 นิ้ว


4. เมื่อตมหรือนึ่งกอนแปงสุกพอประมาณแลวจากนั้นนำมาตำกับครกไม ขั้นตอนนี้ตองใชคนตำ 3-4 คน ชวยกันตำจนแปงเหนียว ใชเวลาประมาณ 20 นาที

5. หลังจากแปงเหนียวไดที่แลว นำแปงมานวดหรือยีกับน้ำรอนยีไปเรื่อยๆจนแปงเหลวโดยใชน้ำเปนตัว ทำละลาย

6. นำแปงที่นวดไดที่แลวมากรองกับผาขาวบางโดยเอากอนแปงที่จับตัวเปนกอนออกใหหมดไมใหเหลือ ตกคาง หลังจากกรองแปงเสร็จก็ตีเนื้อแปงใหเขากันอีกครั้ง


7. ขึ้นตอนการโรยเสนขนมจีน โดยการตักแปงขนมจีนใสในหนาแวนประมาณ 2 ทัพพีและจับมุมผาทั้ง 4 ดานของหนาแวนเพื่อนำไปบีบเปนเสนขนมจีน

8. หลังจากนั้นนำแปงที่ใสลงในหนาแวนมาบีบในน้ำรอนที่เดือด


9. เสนขนมจีนจะลอยขึ้นเหนือน้ำ แลวนำกระชอนมาชอนเสนขนมจีนขึ้นแลวนำมาลางน้ำ 2 -3 น้ำ

10. เมื่อเสนขนมจีนเย็นแลวใชมือขางที่ถนัดจับเสนขึ้นมาพันขอบฝามือจนกระทั้งหมดความยาวของเสน และนำไปวางในตะแกรงใหสะเด็ดน้ำ


- ขนมกระยาสารท o ประวัติที่มาและวัตถุประสงค สารทเปนนักขัตฤกษ ถือเปนประเพณีนิยมมาแตโบราณกาลวาเทศกาลทำบุญสิ้นเดือน ๑๐ คือ ในวัน แรม 15 ค่ำ เดือน 10 หรือในชวงเดือนกันยายนของทุกป พุทธศาสนิกชนจะตองนำขนมกระยาสารทไป ทำบุญใสบาตร จากตามคติความเชื่อ วัน เวลา เดือน และปที่ผานพนไปกึ่งป วิถีชีวิตที่ดำรงอยูไดดวย เกษตรกรรมเปนหลักสำคัญ เมื่อถึงกึ่งปเปนฤดูกาลที่ขาวออกรวงเปนน้ำนม จึงไดมีกรรมวิธีปรุงแตงที่เรียกกัน วา กวนขาวทิพย หรือ ขาวปายาส ขาวยาคู และขนมกระยาสารท ประเพณีการกวนขนมกระยาสารทมีวัตถุประสงคเพื่อประกอบการบำเพ็ญกุศลถวายพระสงฆเพื่อเปน สิริมงคลแกขาวในนาทั้งอุทิศสวนกุศลใหบรรพชนผูมีพระคุณผูลวงลับ และแจกสมนาคุณญาติมิตรตามคติที่ ชาวไทยเปนพุทธศาสนิกชน เปนขนมชั้นดีสำหรับไปมอบใหกับผูหลักผูใหญที่นับถือ ถาจะกินกระยาสารทให ครบเครื่องและอรอย จะตองมีมะพราวขูดโรยบนกระยาสารทแลวกินคูกับกลวยไข นับวาเปนประเพณีที่ งดงามมีคุณธรรมอันดีพึงยึดถือปฏิบัติในชุมชนประดิษฐโทรการ o อุปกรณและขั้นตอนวิธีการทำ  รายการวัตถุดิบ (สูตร) และจำนวนวัตถุดิบ (ใน 1 กระทะ) • น้ำตาลปบ 6 กก. • แบะแซ 5 กก. • ถั่วลิสง 5.5 กก. • งาขาว-ดำ 4.5 กก. • ขาวตอก 7 ขีด • ขาวเมา 6 กก. • กะทิสด 10 กก.  ขั้นตอนการทำกระยาสารท (ใน 1 ชุดหรือ 1 กระทะ) 1. นำมาคัด สิ่งเจือปนในวัตถุดิบออก ที่อยูในขาวเมา, ขาวตอก, ถั่วลิสง และงา (กอน ทำการคั่ว 2 ชั่วโมงโดยประมาณ)


2. ขั้นตอนการคั่ว วัตถุดิบแตละชนิด คั่วใหสุก และเหลืองพอดี เวลาในการคั่ว 15 นาทีโดยประมาณ

3. หลังจากการคั่ววัตถุดิบแลว นำถั่วลิสงมากะเทาะเปลือกออก คัดในสวน ที่เปนสีดำๆ ออกใหหมดอีกครั้ง 4. นำถั่วลิสง และงา มาผสมใหเขากัน (เตรียมไว) 5. กะทิสด น้ำตาลปบ ลงกระทะกวนใหเขากัน ดูวาพอเหนียวแลวใส แบะแซ

6. ตามสุดทายแลว ก็กวนใหเขากัน ตั้งแตเริ่มใสกะทิ ประมาณ 2 ชั่วโมง 7. ใสขาวตอก ตามดวยขาวเมา และถั่วงาที่ผสมไว กวนผสมใหเขากัน


8. นำมาใส กระบะ หรือแบบ บล็อก ที่เตรียมไว ใชไมกลมคลึงปรับใหเรียบ และตัด ขนาด ตามที่ตองการ ชั่งน้ำหนัก, แพ็ค, ติดสติ๊กเกอร, เปนการเสร็จ

o รายชื่อผูเขารวมกวนกระยาสารท 1. นางสำเนา อุทัย 2. นางสะอาด แสงจันทร 3. นางประทิน ทรัพยเจริญ 4. นายเสนห วัฒนมงคลลาภ 5. นายกิจจา พฤกษา 6. อาจารยจินดา น้ำดอกไม 7. นางกนกวรรณ ดวงเงิน 8. นายประทุม ภูอราม 9. นายจรัลวัช สุขคิญ 10. นางวันเพ็ญ ศิริสานโสภณ 11. นางสำเริง แจงใจ 12. นางสวงค แจงใจ


-

-

-

o ประโยชนและคุณคา ขนมกระยาสารท เปนขนมที่อรอย เก็บไวรับประทานไดนาน จึงมีผูรับประทานกันเปนจำนวนมาก จึง ไดมีผูผลิตเพื่อจำหนายในชวงนอกเทศกาลสารท ซึ่งสามารถจำหนายไดทั้งป กระยาสารทมาเปนอาหารที่ใชฟนฟูนักกีฬาหลังจากแขงขันเสร็จ เนื่องจากรูปแบบของอาหารเปน ลักษณะแทง ทำใหสะดวกในการรับประทาน ในการใชกับนักกีฬา สามารถพกพาไดสะดวก2. ใน กระยาสารท 1 แทง น้ำหนักประมาณ 25 กรัม มีสวนประกอบคือ กะทิ 20% ขาวพอง 20% น้ำตาลมะพราว15% กลูโคส15% ขาวตอก 10% ถั่วลิสง 10% งา 10% และทานคูกับกลวยไข โดยที่หนึ่งในสวนประกอบของกระยาสารทจะมีน้ำตาลกลูโคส ซึ่งเปนน้ำตาลที่รางกายน้ำมาใชไดทันที เมื่อตองกาย และสามารถใหพลังงานแกรางกายไดอยางรวดเร็ว สวนประกอบที่เปนธัญพืช เชน งาดำ เปนอาหารที่มีคา Glycemic Index ปานกลาง มีสารอาหาร ประเภทโปรตีน ไขมัน วิตามินบี วิตามินอี ธาตุเหล็ก แคลเซียม แมกนีเซียม ทองแดงฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โครเมียม สังกะสี ชวยในการบำรุงระบบประสาทในสมอง บำรุงผม และผิวพรรณใหชุม ชื่น ตลอดจนบำรุงกระดูกและฟนให แข็งแรง ชวยลดคลอเลสเตอรอลปองกันอาการหลอดเลือด แข็งตัว ปองกันโรคหัวใจ ทำใหระบบหัวใจแข็งแรง และมีสารแอนติออกซิแดนทที่ชวยตอตานมะเร็ง ประโยชนที่ไดจากกะทิ และน้ำตาลมะพราวสวนประกอบในกระยาสารท ซึ่งมี Medium-Chain Triglycerides เปนกรดไขมันอิ่มตัวขนาดเล็ก สามารถยอยสลายเปนพลังงานไดเร็ว ลดการเกิดกรด แลคติก ลดการใชพลังงานแบบแอนแอโรบิก o แหลงจำหนาย -

จำหนายภายในรานคาชุมชนประดิษฐโทรการ

o การสืบทอด สืบทอดตอๆ กันมาในชุมชน เปนประเพณีกวนกระยาสารทเดือนสิบ ของทุกป


- ขนมครก วิธีการทำขนมครกแบบโบราณ

o สวนผสมทำตัวแปง - ขาวสาร 1 ถวยตวง - ขาวสุก ½ ถวยตวง - น้ำสะอาด 2 ถวยตวง - เกลือปน 1 ชอนชา o สวนผสมทำกะทิหยอดหนา - หัวกะทิ 1 ถวยตวง จากการคั้นกะทิดวยการใชกระตายขูดมะพราว - น้ำตาลทราย ½ ถวยตวง - เกลือปน 1 ชอนชา o อุปกรณ - กระทะหลุม - เตาถาน - เครื่องโมแปง - ลูกเช็ด ทำจากกากมะพราวแลวหอดวยผาดิบ - ชอนไวแคะขนมครก o สวนผสมอื่นๆ - น้ำมัน


o ขั้นตอนในการทำตัวแปง

1. ตัวแปง โดยเอาขาวสารซาวใหสะอาด ผสมกับขาวสุก และเกลือปน ใสกะละมังพักไว ตมน้ำ ใหเดือด แลวเอามาผสมในกะละมังที่ใสสวนผสมไว คนใหเขากัน ทิ้งไวใหเย็น

๒. ทิ้งไวใหเย็นแลวก็นำไปโม โดยการหยอดใสทีละชอน แลวใชมือหมุนจนเสร็จจะไดน้ำแปงขนมครก


o ขั้นตอนในการคั้นน้ำกะทิเพื่อนำไปทำกะทิหยอดหนา

4. นำมะพราวกะทิมาขูดกับกระตายขูดมะพราว

5. เมื่อขูดมะพราวเสร็จแลว นำน้ำสะอาดเทลงไปแลวบีบนวดใหน้ำมะพราวออกมาไดเปน น้ำกะทิจากเนื้อมะพราว ประมาณ 10 นาที น้ำครั้งแรก เรียกวาหัวกะทิ

6. กรองน้ำกะทิออกดวยการเทใสกระชอน แลวบีบน้ำออกใหหมด


7. เมื่อบีบน้ำออกเสร็จหมดแลวก็จะไดน้ำกะทิ ที่เปนหัวกะทิออกมา จากนั้นก็ใสน้ำตาล ทราย และเกลือปนเขาดวยกัน เสร็จแลวพักไว เพื่อเตรียมไวทำขนมครก o ขั้นตอนวิธีการทำขนมครก

1. นำเบาขนมครกที่เตรียมไว ตั้งไฟจนรอนไดที่ จึงเช็ดหลุมดวยน้ำมันหมูโดยการใชลูกเช็ด


2. หยอดแปงที่ทำไวลงไป แตอยาหยอดจนเต็ม เพราะตองหยอดหนากะทิภายหลัง ปดฝาทิ้งไวจวนสุกจึง เปดฝาออก แลวหยอดดวยหนากะทิที่เตรียมไว ปดฝารอสักพักจนสุก (มีผักหรือขาวโพด และอื่นๆโรย หนา เพื่อเพิ่มรสชาติและความสวยงาม)

3. เมื่อสุกแลว ใชชอนแคะขนมครกออก รับประทานในขณะที่ยังรอนจะรสชาติดีกวาทิ้งไวนานจนขนม ครกเย็น


- ลูกอมกะทิ

o การเตรียมวัตถุดิบในการทำลูกอมกะทิ  วัตถุดิบ 1. กะทิ 2. น้ำตาลปบ 3. ถั่วลิสงแกะเปลือก  อุปกรณ 1. เตาแกส 2. กระทะ ตะหลิว 3. กาบกลวย ใบตอง 4. แทนตัดลูกอม 5. กระดาษไข


o ขั้นตอนและวิธีการทำลูกอมกะทิ - ขั้นตอนแรก นำกะทิกับน้ำตาลปบมาผสมกัน เอาขึ้นตั้งไฟกลางคนสวนผสมไปเรื่อยๆจนเดือดและ ละลายเขากัน หรี่ไฟออนลง เคี่ยวสวนผสมไปเรื่อยๆ จนขนเหนียว (เติมถั่วลงไปกวน กรณี ทำลูกอม กะทิใสถั่ว)

- ขั้นตอนที่สอง นำสวนผสมที่เคี่ยวเหนียวไดที่แลวมาเทลงบนกาบกลวย ตัดแบงเพื่อนำมาปนเปนทอน ยาว โดยไมตองใหหายรอน เพราะจะทำใหลูกอมแตกและไมจับตัว


- ขั้นตอนที่สาม เมื่อตัดแบงแลวนำมาปนเปนแทงยาวกลมวางเรียงกันไว

- ขั้นตอนที่สี่ จากนั้นนำมาเขาแทนตัด ซึ่งมีชองขนาดเทากันราว 1 นิ้ว หรือหั่นใหพอดีคำ พักไวใน ภาชนะที่เตรียมไว


- ขั้นตอนที่หา นำมาหอดวยกระดาษไขที่เตรียมไว

- ขั้นตอนสุดทาย หลังจากหอดวยกระดาษไขแลวนำมาใสบรรจุภัณฑกอนจัดจำหนาย

o ประโยชนและคุณคา -

เปนการสรางรายไดใหแกคนวางงานในชุมชนประดิษฐโทรการ o แหลงจำหนาย

-

จำหนายภายในรานคาชุมชนประดิษฐโทรการ

o การสืบทอด สูตรและวิธีการทำมีการสืบทอดตอๆ กันมา โดยผูเฒาผูแกในชุมชน


8. ภูมิปญญาดานอื่นๆ - งานหัตถกรรมจักรสานจากเสนพลาสติกรีไซเคิล กระเปาและกระบุง


- งานหัตถกรรมเครื่องหนัง กระเปา Hand Made


9. การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณปราชญชาวบาน

ผูใหสัมภาษณ อายุ ตำแหนง ประวัติสวนตัว วันเดือนปเกิด พื้นเพเปนจังหวัด บิดา มารดา พี่นอง

การศึกษา

คุณลุงสมคิด ดวงเงิน 79 ป อดีตประธานชุมชน และผูรวมกอตั้งชุมชนประดิษฐโทรการ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2484 อำเภอพนัสนิคม จังหวัด ชลบุรี นายชิต ดวงเงิน นางวงษ ดวงเงิน มีพี่นองทั้งหมด 7 คน เปนบุตร คนที่ 4 1. นายพุก ดวงเงิน เสียชีวิตแลว 2. นางสุรินทร อินมวง เสียชีวิตแลว 3. นางสาวสำเนียง ดวงเงิน เสียชีวิตแลว 4. นายสมคิด ดวงเงิน 5. นางสำเนา อุทัย 6. นางสำนวย โตเจริญ 7. นายทนงศักดิ์ ดวงเงิน ประถมศึกษาปที่ 4 วัดพรหมรัตนาราม จังหวัดชลบุรี เมื่อป พ.ศ.2495 สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) มัธยมศึกษาปที่ 6


อาชีพ ครอบครัว

ที่อยู โทรศัพท มือถือ อีเมล

หัตถกรรมทองลงหิน ตั้งแต พ.ศ.2499 – ปจจุบัน สมรสกับ นางบุญเรือน ดวงเงิน มีบุตรทั้งหมด 3 คน บุตรชาย 1 คน บุตรสาว 2 คน 1. นายสมภพ ดวงเงิน 2. นางสาวปญจารีย ดวงเงิน 3. นางสาวสุนิสา ดวงเงิน 13 ซอยพหลโยธิน 47 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 02-5792861 โทรสาร 02-9406271 081-9363447 takidshop2484@gmail.com

ประวัติการทำงานและเกียรติบัตร • เครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย ชั้นที่ 2 ชื่อ เบญจมาภรณ • เครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก ชั้นที่ 2 ชื่อ เบญจมาภรณ • เครื่องราชอิสริยาภรณมงกุฎไทย ชั้นที่ 4 ชื่อ จัตุรถาภรณ • เครื่องราชอิสริยาภรณชางเผือก ชั้นที่ 4 ชื่อ จัตุรถาภรณ • เครื่องราชชั้นเหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ • พอดีเดนแหงชาติ ป 2538 • ประธานสภาเขตจตุจักร พรรคประชาธิปตย • สมาชิกสภาเขตจตุจักร พรรคประชาธิปตย • ที่ปรึกษาสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เขตจตุจักร พรรคประชาธิปตย • นายกสมาคมเครือขายแรงงานนอกระบบ • ประธานเครือขายแรงงานนอกระบบ ระดับชาติ • ประธานชุมชนประดิษฐโทรการ • ประธานกลุมออมทรัพยชุมชนประดิษฐโทรการ • ประธานสหกรณบริการศูนยสงเสริมศิลปหัตถกรรมชุมชนกรุงเทพฯ จำกัด • ประธานศูนยหัตถกรรมทองลงหิน • ประธานเครือขายจตุจักร-พญาไท • ประธานศูนยพิทักษสิทธิผูดอยโอกาส เขตจตุจักร ชุมชนประดิษฐโทรการ • รองประธานสภาวัฒนธรรม เขตจตุจักร • อนุกรรมการการศึกษาโรงเรียนบางบัว • อนุกรรมการการศึกษาโรงเรียนพีระยานาวิน • อนุกรรมการ กองทุนผูรับงานไปทำที่บาน กระทรวงแรงงาน • อนุกรรมการยุทธศาสตรแรงงานนอกระบบ 2555-2559 • อนุกรรมการประกันสังคม มาตรา 40


• • • • • • • • • ดานการอบรม

ดานการบรรยาย

• • • • •

หลักสูตรผูนำทองถิ่น มหาวิทยาลัยศิลปากร หลักสูตรเพื่อเสริมสรางความรูในการปฏิบัติหนาที่ของสมาชิกสภาเขต กทม. หลักสูตรสมาชิกสภาเขตและผูชวยสมาชิกสภากทม. วิทยาลัยการปกครอง หลักสูตรอาสาสมัครสาธารณสุข สำนักอนามัย หลักสูตรอบรมเตรียมความพรอมใหแกผูประกอบการ OTOP กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย • หลักสูตรการปฏิบัติงานกลุมออมทรัพยเพื่อชีวิต มูลนิธิฟนฟูชนบท • หลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานที่บาน กระทรวงแรงงาน • บรรยายใหกับกลุมออมทรัพยตาง ๆ ในกรุงเทพฯ • บรรยายใหกบั สถาบันการศึกษาตางๆ เชน โรงเรียน มหาวิทยาลัย ฯ

ดานสังคมแรงงาน • • • • • • ผลงานเดน

อนุกรรมการกระทรวงสาธารณสุข คณะ71 กทม. กรรมการสถานศึกษาการศึกษาตามอัธยาศัยนอกระบบ ลูกเสือชาวบาน อาสาสมัครปองกันและปราบปรามฝายพลเรือน อาสาสมัครสาธารณสุข ปราชญชาวบาน ภูมิปญญาทองถิ่นเครื่องทองลงหิน ครูชางดานหัตถศิลปประจำป 2555 (ศศป) เกียรติคุณผูทำคุณประโยชนใหกระทรวงแรงงาน ป56 รางวัลเพชรสยามประจำป 2557

รณรงคเรื่องกฎหมายผูรับงานไปทำที่บาน สิทธิประกันสังคม มาตรา 40 เรื่องการชราภาพ เรื่องอาชีวอนามัย เรื่องผูรับงานไปทำที่บาน สาธารณสุข สำนักอนามัย

• ผูรวมกอตั้งชุมชนประดิษฐโทรการ • ผูก อตั้งศูนยหัตถกรรมทองลงหินเพื่ออนุรักษหัตถกรรมนี้ไวคูชุมชนประดิษฐโทรการ


• ผูกอตั้งกลุมออมทรัพยชุมชนประดิษฐโทรการ รวมกับมูลนิธิฟนฟูชนบท • ผูร ิเริ่มและรณรงคใหชุมชนซื้อที่ดินเปนของตนเอง และสามารถซื้อไดในป 2547 พื้นที่ 114 ½ตร.วา • ผูริเริ่มโครงการฟูดแชร ในชุมชน (เปนโครงการทำอาหารแจกจายใหชาวชุมชนฟรี) • การนำเสนอผลงานตอสาธารณชน • รวมแสดงสินคาในงานแสดงสินคาตาง ๆ • รวมแสดงสินคาที่ศูนยศิลปาชีพ • เปดเปนแหลงเรียนรูใหกับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป • เสนอผลงานผานทาง Facebook ชุมชนประดิษฐโทรการ คำถามเกี่ยวกับชุมชน o ประวัติชุมชน ตั้งเมื่อไหร ใครตั้ง ทำไมถึงไดชื่อนี้ เปนชุมชนธรรมชาติมากอน กอนที่จะเปนชุมชนถูกตองตามกรุงเทพมหานครเมื่อป พ.ศ. 2532 ชุมชนนี้เริ่มมาตั้งแตป พ.ศ. 2495 เบื้องตนอพยพมาจาก ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี เปนสวน ใหญ ตอนแรกมีแค 10 หลังคาเรือน และหลังจากป พ.ศ. 2500 ตนๆ ตอนนั้นหัตถกรรมกำลังดัง ลูกคาชาวตางชาตินิยม ก็ไปชวนพี่ชวนนองชวนเพื่อน มากันจนกระทั่งมีเขามาประมาณ 100 ครอบครัว ก็ทำกันมาตลอด ก็รูจักมักคุนกันดี สมัยที่เรามาทำใหมๆ เพราะเปนคนบานนอกเหมือนกัน ก็จะใชวิถีชาวบานแบบตางจังหวัด มีงานมีการอะไรก็ชวยเหลือเกื้อกูลกันแบบบานนอกเรา ตอมาเดิม ทีซอยพหลโยธิน 49 เขาจะใชชื่อวาซอย 12 กรกฎา ก็คาดเดาเอาวานาจะเริ่มกอตั้งซอยตอนนั้น คง จะเปนวันที่ 12 กรกฎา และตอมาเจาของที่ ที่เขาเปนเจาของที่เนื้อที่มากๆ ขุนประดิษฐโทรการ เขา ก็ยกที่ดินให พอหลังจากนั้นก็เลยเปลี่ยนชื่อจากซอย 12 กรกฎา มาเปนซอยประดิษฐโทรการตามชื่อ ขุนประดิษฐโทรการ o ทำไมถึงไดเปนชุมชนเขมแข็ง มีความพิเศษและแตกตางจากชุมชนอื่นอยางไร ใชหลักพอหลวงของเรา รูรักสามัคคี ทำกิจกรรมที่มีประโยชนตอสวนรวม o ความเชื่อของคนในชุมชนมีอะไรบาง เพราะอะไรถึงเชื่อ และปฏิบัติเกี่ยวกับความเชื่อนั้นอยางไร ความเชื่อก็คลายๆกับวิถีตางจังหวัด เบื้องตนก็นับถือผี ตอมาประเพณีวัฒนธรรมของเราก็ แบบไทยๆอยูแลว ปใหม ตรุษ สงกรานต เขาพรรษา ออกพรรษา วันพอ วันแม วันผูสูงอายุ สงกรานต สมัยกอนตอนกลางคืนเราเลนรำวงกัน o สภากาแฟเกิดขึ้นมาจากอะไร เมื่อไหร เพื่ออะไร สภากาแฟ เปนหลักคิดของพวกลุงสมคิดเอง ปกติกินกาแฟกันอยูแลว กินกาแฟกันทุกเชา ก็ เลยคิดวามาลงหุนกันดีกวา วันละ 10 บาท แลวเอาเงินมากองรวมไวซื้อกาแฟ แลวก็คุยกันเรื่องทั่วไป เรื่องภายในชุมชน เรื่องภายในบาน สารพัด


o ชุมชนมีความโดดเดนอะไรบาง เดนเรื่องกลุมออมทรัพย กับกลุมหัตถกรรมทองลงหิน o เสียงตามสายในชุมชน เริ่มเมื่อไหร ใครเปนคนพูดเสียงตามสาย ใชเวลานานแคไหน ตั้งแตกี่โมง ถีงกี่โมง มีปญหาและอุปสรรคอะไรบาง แกไขอยางไร เสียงตามสายเริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2532 คนที่พูดเสียงตามสาย คือ ลุงสมคิด ไมมีคนอื่น พูด ตั้งแต 7 โมงครึ่ง บางครั้งก็ 7 โมง ถึง 8 โมง ไมเกิน 1 ชั่วโมงอยูในเกณฑนี้ อุปสรรคมีบางก็คือ บาง คนก็ชอบ บางคนก็ไมชอบ เพราะวาสวนมากจะเอาเรื่องของศาสนามาใหความรูกับพี่นองเรา o กลุมออมทรัพย ความเปนมา ตั้งมาไดยังไง เมื่อไหร สมาชิกจากที่ไหนบาง ปจจุบันมีสมาชิก เทาไหร มีประโยชนอยางไรกับชุมชน กลุมออมทรัพยเกิดเมื่อป พ.ศ. 2534 แลวเราก็สามารถที่จะเอากลุมออมทรัพยของเราซื้อที่ เปนสวนรวมของชุมชน 114 ตารางวาครึ่ง 3,320,500 บาท เฉพาะที่ โอนอีก 80,000 บาท เราก็ ซื้อตั้งแตป พ.ศ. 2547 วันที่ 28 เมษายน ทำการโอนเปนของสมาคมชุมชนประดิษฐโทรการ เพราะ เราไมใชชื่อบุคคล ใชชื่อเปนสมาคม สมาชิกสวนใหญก็คือคนในชุมชน คนนอกก็มี แตคนนอกเราจะ ไมใหเปนคณะกรรมการ ปจจุบันมีสมาชิก 500 กวาคน เงินหมุนเวียน 100 กวาลานบาท ประโยชน ตอชุมชน ก็คือ เปนธนาคารของชาวบาน เวลาที่เราขัดสน หรือวาเราจำเปนจะตองใชเงิน เชน นำเงิน มาหมุน ทำอาชีพ ซอมแซมบาน ไปซื้อที่ปลูกบาน สามารถมาทำสัญญากูยืมไดกับกลุมออมทรัพย หรือมีหลักทรัพย มีคนค้ำ ใหถูกตอง ปองกันเรื่องหนี้สูญ คำถามเกี่ยวกับเครื่องทองลงหิน 1. จุดเริ่มตน ความเปนมา ใครเปนคนริเริ่ม ทำมาแตโบราณเปนรุนตอรุนก็สอนๆกัน เริ่มป พ.ศ. 2490 ทำตอมาเรื่อยๆ 2. ขั้นตอนการผลิต มีอะไรบาง - หาวัตถุดิบ - หาแบบ - ปนโมดินใชดินกนคลองกับขี้เถาเอามาผสมรวมกันแลวก็มาปนเปนกอนๆ แลวเอามาตากใหแหง - เผาหนาใหแกน แลวก็มาแกะเปนชิ้นงานของเราที่ลูกคาสั่ง แลวก็เอามาหลอม ซื้อทองแดงดีบุก มา หลอม แลวก็เทลงโมดิน แลวมาปมลวดลายตางๆ 3. ลวดลายที่คิดเองมีอะไรบาง ใหมๆก็คิดกันเอง อยางลายเทพพนม เราก็คิดเอง พวกดามไมอัดทายทำกันเองทั้งนั้น หลังๆ ลูกคาสงแบบมาใหเรา 4. ทำไมถึงไดเปนของดี OTOP ของเขต มีการประกวดของสำนักงานเขต กระทรวงมหาดไทยมีการประกวด OTOP ตั้งแต 1 ดาว –


5 ดาว ของเราประกวดครั้งแรกเราก็ผานหมด ของเราไดมาตรฐาน เพราะของเราสงออกหมด เริ่มเขาประกวด ป พ.ศ. 2546 5. จำหนายที่ไหนบาง หลายประเทศ มีทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย สิงคโปร ญี่ปุน ฮองกง ในประเทศก็ตาม รานที่เขาขาย อยูแถวสีลม โอเรียนเต็ล แถวสยาม และมีขายที่บานดวย 6. ปญหาที่พบและแนวทางแกไข หาคนสืบทอดไมได ตั้งเปนศูนยเรียนรูแลวก็ยังไมสามารถที่จะมีคนมาเรียนใหเปนผูสืบทอด คนนอกก็เขามาเรียนไดฟรี แตไมมีใครมา 7. ใหพูดถึงที่มาของศูนยเรียนรูทองลงหิน อาชีพของเราในอนาคตจะสูญหาย จะทำอยางไรใหยังยืน ก็เลยคิดวาถาเปดเปนศูนยเรียนรู อาจจะมีคนนอกเขามาอยากเรียนรู อยากจะทำบางก็ได ก็เลยคิดวาของบประมาณทางเขตมาตั้งเปนศูนย เรียนรู โดยใชพื้นที่ของเราเอง แตการกอสรางเราใชงบประมาณของกรุงเทพมหานคร


ผูใหสัมภาษณ อายุ ตำแหนง การศึกษา อาชีพ

คุณกนกวรรณ ดวงเงิน 61 ป อดีตประธานชุมชนประดิษฐโทรการ ,ประธาน อสส. ศูนย 17 และอพม. จบการศึกษา กศน. มัธยมศึกษาตอนปลาย กำลังศึกษาในสาขาพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ขายเสื้อผา ผาฝาย

คำถาม : 1. ในชุมชนมีกิจกรรมอะไรบาง ดำเนินการอยางไร - ปใหม วันที่ 1 มกราคม มีการตักบาตรขาวสารอาหารแหงรอบชุมชน - วันเด็ก มีกิจกรรมของเด็ก - งานประจำป คือ งานของพอปูธรรมมิกราช ที่จะทำกันประจำทุกป ก็จะมีการเปยของ มีลิเกทุกป - มีปนผลกลุมออมทรัพยในเดือนกุมภาพันธ - มีงานรดน้ำผูสูงอายุ เปนงานประจำที่ทำกัน - มีวันพอ วันแม ลอยกระทงไมไดจัด เพราะวาสวนใหญคนจะออกไปลอยขางนอกกัน แตทางเราก็จะมีริมคลองบางบัว ทำ สะพานใหคนที่ไมไดออกไปขางนอกไดไปลอยกระทง


คำถาม : 2. ความรวมมือในชุมชน สวนใหญจะใหความรวมมือกัน เวลามีกิจกรรม มีประชุม ใหความรวมมือใหญๆ คือ วันปใหมกับ กิจกรรมประจำปอยางงานประจำป คำถาม : 3. ความชวยเหลือจากหนวยงานตางๆ - สำนักงานเขต - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย - อสส. ศูนยสาธารณสุขที่จะมาดูแลสุขภาพคนในชุมชน - มูลนิธิพัฒนาแรงงานและอาชีพที่เขามาชวยเหลือสนับสนุน ในชวงโควิดมีแจกถุงยังชีพ ขาวสารอาหารแหง ทางเขตก็แจก มีนักการเมืองเขามาบาง 2-3 ราย คำถาม : 4. ความคาดหวังในอนาคตตองการพัฒนาอะไรบาง - อยากใหพัฒนาเรื่องของอาชีพเพื่อคนในชุมชนจะไดไมวางงานมีอาชีพทำกันทั้งกลุมเยาวชน กลุมผูสูงอายุ - อยากใหมีการผอนผันเรื่องที่ทำมาหากินของแมคา ตรงซอยพหลโยธิน 47 หนาไปรษณีย เมื่อกอนนี้เปนที่ ขายของพอมาตอนหลังมีการยกเลิก ก็ทำใหเดือดรอน ตองแอบขายกัน หนีเทศกิจ คำถาม : 5. นอกเหนือจากองคความรูดานทองลงหิน ขนมครก กระยาสารท ขนมจีนแลว มีองคความรู ดานอื่นๆอะไรบาง - การสานตะกราดวยเสนพลาสติก - เย็บหนากากอนามัย รับจางบาง ทำแจกบาง คำถาม : 6. ความเชื่อของคนในชุมชนมีอะไรบาง เพราะอะไรถึงเชื่อ และปฏิบัติเกี่ยวกับความเชื่อนั้น อยางไร เดิมเราทำชอน ก็จะเกี่ยวกับพวกเตาไฟ มีไฟไหมหลายครั้งแลวก็จะหลุดรอดมาโดยที่ไมไหมลามไปที่ อื่นก็มีพอปูธรรมมิกราชเขามา เราก็นับถือและเปนความเชื่ออยางหนึ่งที่เราคิดวาพอปูชวยเหลือเราได ก็จะมี ลิเกใหทุกป เปนงานประจำป เปนความเชื่อของคนในชุมชนวาถาไมไดทำก็จะมีความรูสึกไมดีหรือวากลัว กลัว วาจะเกิดไฟไหม หรือจะเกิดอะไรขึ้นอีกจากนั้นเราก็ทำมาตลอดแลวก็ไมมีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นตั้งแตเราทำมา ถึงมีก็เล็กๆนอยๆไมมีลุกลาม อาจจะมีไฟช็อตบางแตก็เอาอยู คำถาม : 7. เลาเรื่องคนในชุมชน ถาในเรื่องความเปนอยู แตเดิมเราทำชอนกัน พอมาปที่ชอนลงหินเราไมมีออเดอรรับ ก็เลยมีการ เปลี่ยนแปลงการทำมาหากินของคนในชุมชน บางคนไปรับจางเปนแมบาน ทำงานโรงงาน เปนแมคา สวนใหญ ก็จะคาขายกัน เพราะไมไดมีความรูมากมาย แลวก็ฝกอาชีพ เชน ทำขนมจีน ทำกระยาสารท เพื่อเอาไปขาย แลวก็เอาเงินเขากลุมเพื่อที่จะไมใหคนในชุมชนของเราเปนโรคซึมเศราใหมารวมกันมีการคุยกันเอาขาวมากิน ดวยกัน


คำถาม (เพิ่มเติม) : 8. ที่นี่มีการเรียน กศน. หรือไม ที่นี่มีเรียน กศน. วันเสารและวันอาทิตย กศน. เราเริ่มเรียนกันมาตั้งแตยังไมมีศาลาอุดมมิตรประดิษฐ รวมใจ เมื่อกอนเรามีศาลาหญาคา กศน. ก็อยากใหคนในชุมชนไดเรียนหนังสือ ที่ดินเปนชาวบานของเรารวมใจ กันซื้อ สวนใหญก็ทอดผาปา สวนหนึ่งทอดผาปาไดประมาณ 200,000 กวาบาท แลวก็อีกสวนหนึ่งเราก็กู กลุมออมทรัพยโดยที่เราเอารายไดที่เราใหกูก็มาสงคืน จาก 3,000,000 กวาบาท ตอนนี้เราก็จะเหลืออยู 600,000 กวาบาท แลว กศน. ก็เรียนฟรี แตก็จะมีคาหัวเด็กเปนสาธารณูปโภค หัวละ 30 กวาบาท เรา อยากสนับสนุนใหทุกคนมีที่เรียนเหมือนกัน เพื่อเปนอานิสงสใหคนในชุมชนนี้ดวยแลวก็บริเวณใกลเคียงไดเขา มาเรียนไดมีที่เรียนใหโอกาสกับนองๆที่หมดโอกาสไมไดเรียนในระบบก็ไดมาเรียนนอกระบบ ผูใหญก็เรียนได เขตสนับสนุนเรื่องคาน้ำคาไฟ การจัดตั้งใชงบ ซื้อที่ 3,000,000 กวาบาท สรางก็ 3,000,000 บาท โดยงบประมาณของ กทม. ก็ จะมีแปลงบมาจาก สก.อภิชาติ หาลำเจียก 2,000,000 บาท แลวก็ สก.ประพนธ 1,000,000 บาท เพื่อที่จะเอามาสรางอาคาร สวนอื่นๆ เชน ผามานก็จะเปน กศน. รุนพี่ทำไวตอนจบ เครื่องปรับอากาศก็จะเปน ของ สส.อรรถวิชช สวนพัดลมก็จะเปนงบประมาณของ กศน. ที่มาสนับสนุนแลวก็พัฒนาใหตึกของเราดีขึ้น


ผูใหสัมภาษณ อายุ ตำแหนง

นายบุญเสริม โพธิ์เงิน 53 ป ประธานชุมชนประดิษฐโทรการคนปจจุบนั

เปนประธานคนที่ 5 เริ่มรับตำแหนงเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2562 จนถึงปจจุบัน เกือบ 1 ปแลวที่เขา มารับตำแหนงประธานคนใหม เริ่มตนเปนสมาชิกสหกรณออมทรัพยคนที่ 43 ปจจุบันมีสมาชิกออมทรัพย ประมาณ 500 กวาคน คุณบุญเสริม ไดเลาใหฟงวา เขามาอยูในชุมชนนี้ 30 กวาปแลว สมัยนั้นศาลาชุมชนยัง มุงหลังคาเปนหญาแฝก สรางจากไมทั้งหลัง ตั้งอยูหนาปากซอยแยก (เปนที่บุกรุก) ไมมีที่เปนของชุมชน คน ริเริ่มประธานคนแรกชื่อลุงล่ำและลุงสมคิด ดวงเงิน ประธานคนที่ 2 และมีผูใหญอีกหลายคนในสมัยนั้นชวยกัน กอตั้ง กวาจะมาเปนที่ตรงนี้ในปจจุบัน ตองเชาที่มากอนและตอมามีนักการเมืองมาชวยสนับสนุนจัดตั้งกองทุน หมูบาน ไดงบมา 3 ลานบาท ประธานในสมัยนั้นคุณลุงสมคิด ดวงเงิน ซื้อที่ดินและปลูกสรางอาคารศาลา ชุมชน กูเงินออมทรัพยมาปลูก และเอาดอกของสมาชิกที่ฝากรวมๆ กันมาและเอามาแบงหรือปนออกมาเอาไว สงที่ของสวนรวมหรือศาลาชุมชนในแตละเดือนนั้นเอง ดอกเบี้ยที่ไดเอาไวปนผล เชนดอกเบี้ย 5% นำมาปน ผลใหสมาชิก 1% สวนที่เหลือนำมาเปนคาใชจายในชุมชน และนำมาผอนที่ดินศาลาชุมชนในแตละเดื อน ชุมชนในเขตจตุจักรมีกวา 40 ชุมชน แตชุมชนประดิษฐโทรการเราเดนที่สุด มีตึกเปนของชุมชนไดใชประโยชน และทุกหนวยงานจะเขามาหาชุมชนเราหมด


ถาม : ในฐานะเปนประธานชุมชนจะขับเคลื่อนใหมีกิจกรรมอะไรบางในชุมชน ตอบ : ทำทุกอยางเพื่อประโยชนของคนในชุมชนจริงๆ ชวงที่มีการแพรกระจายของเชื้อไวรัสโควิค 19 ที่ผาน ไดไปขอสนับสนุนจากหนวยงานตางๆ เชน ขอสนับสนุนขาวสารจากอธิบดีกรมปาไม ประมาณ 1,200 กิโล เพื่อแจกคนในชุมชนทุกครัวเรือน ไดทำหอกระจายขาว เปนงบที่ขอสนับสนุนมาจากนักการเมือง ประมาณ 56 หมื่นบาท นำมาซื้ออุปกรณหอกระจายขาว เทถนน ทำฝาทอ ใหคนในชุมชน พยายามผลักดันทำใหดีที่สุด ถาม : ถาจะผลักดันใหชุมชนเปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมคิดวาชุมชนมีจุดเดนอะไรบาง ตอบ : มีศูนยการเรียนรู หัตถกรรมเครื่องทองลงหินซึ่งเปนสินคา OTOP ของชุมชน ขนมหวาน เชนกระยา สารท ลูกอมกะทิ เครื่องจักรสาน ตะกราจักสานเปนตน ตอนนี้มีกรมแรงงานเขามาฝกอบรมอาชีพการทำ กระเปาหนังเทียมใหคนในชุมชน ประธานเองไดเขาฝกอบรมการเย็บกระเปาในครั้งนี้ดวย เพื่อสงเสริมใหเปน อาชีพของคนในชุมชน และทำใหคนในชุมชนมีรายได สำคัญคือจะผลักดันใหเปนสินคา OTOP ของชุมชน ประดิษฐโทรการอีกดวย เชน กระเปาถือสำหรับผูหญิง กระเปาใสเหรียญ กระเปาใสโทรศัพท พวงกุญแจ การฝกอบรมการเย็บกระเปาหนังเทียม (โดยมีกรมแรงงานนอกระบบเขามาฝกอาชีพ ซึ่งกำหนดอายุผู เขารับการอบรม ตั้งแตชวงอายุ 18- 60 ป) ระยะเวลาในการเรียน 5 วัน เปดรับเพียง 20 คนเทานั้น ซึ่งทาง กรมแรงงานเตรียมอุปกรณมาใหพรอม และมีคาเสียเวลาในการเขามาอบรมวันละ 150 บาท/วัน/คน การจัดตั้งกรรมการออมทรัพย จะมีทั้งหมด 13 คน กรรมการไดมาจากการเลือกตั้ง การฝากออม ทรัพยฝากหรือออมไดไมเกิน 1,000 บาท/คน (ไมอยูในชุมชนก็สามารถสมัครเปนสมาชิกในการฝากออม ทรัพยได) มีการปนผลในเดือนกุมภาพันธของทุกป ถาม : ความตองการของชุมชน ตอบ : การทำกระเปาแฮนดเมด ตองการใหมีคนเขามาสนับสนุน และมีการนำกระเปาไปขายและมีรายได ใหกับชุมชน เสียงตามสายจะใชในโอกาสที่จำเปนเทานั้น เพื่อแจงขาวสารใหคนในชุมชนรับทราบวามีงานหรือ กิจกรรมอะไรบางในชุมชน เชน งานบวช งานศพ ฯลฯ ถาม : ปญหาของคนในชุมชน ตอบ : - การคาขายของคนในชุมชนหรือหนาปากซอยพหลโยธิน 47 จากที่เคยขายได ก็ขายไมได เพราะโดน ตำรวจ เทศกิจจับ กลาวหาวาขายของเกะกะบนทางเทา ทำใหลำบากในการคาขายมากขึ้น - การจอดรถของคนในชุมชน จะมีอพารทเมน หอพักเยอะมาก ทำใหที่จอดรถไมเพียงพอตอการจอด เลยตองจอดริมถนนกันเปนสวนมาก ทำใหการจอดรถไมเปนระเบียบกีดขวางการจราจรของคนในชุมชน


ถาม : กิจกรรมในชุมชนมีเทศกาลอะไรบางที่คนในชุมชนรวมกันทำ ตอบ : วันเด็ก สงกรานต งานวันขึ้นปใหม งานไหวเจาที่องคพอปูธรรมมิกราช เปนตน การเปยของในวันงาน ไหวเจา คือ มีความเชื่อของการไหวเจาที่ หรือการเอาเงินใหเจาที่ ประธานและกรรมการชุมชนชวยกันจัดซื้อ ของ เชน ขนมหวาน ผลไม จัดเปนจาน ๆ จำนวน 200 จาน มีลอตเตอรี่ 1 คู จัดจานๆ ละ 500 บาท ทุกคน จะตองจับฉลากเลือกจานไมไดไดทุกหลังคาเรือน คนริเริ่มคือคนเกาแกของชุมชน คือประธานคนที่ 1 ลุงล่ำ และประธานคนที่ 2 คุณลุงสมคิด ดวงเงิน สืบทอดตอกันมาจนถึงปจจุบัน งานไหวศาลเจาจะจัดอาทิตยที่ 2 เดือนมีนาคม ของทุกป ถาม : มีเหตุการณอะไรทำไมถึงมีความเชื่อในการไหวศาลเจาและเปนเพณีในการปฏิบัติอยางตอเนื่องมาจนถึง ทุกวันนี้ ตอบ : เนื่องจากเมื่อกอนมีเหตุไฟไหมบอย จึงไดมีการไหวศาลเจาทุกป เพื่อขอขมาตอเจาที่ในชุมชนแหงนี้ ถาม : จุดเริ่มตนของสภากาแฟมีมาตั้งแตเมื่อไหร ตอบ : เริ่มมาจากหลายปกอน มีผูสูงอายุมานั่งคุยกัน ปรึกษาหารือ เกี่ยวกับคนในชุมชน ตั้งแต 06.00 – 09.00 น. ทำใหผูสูงอายุเราไมเหงา ถาม : แหลงเรียนรูมีอะไรบาง ตอบ : ศูนยการเรียนรูเครื่องทองลงหิน ศูนยเรียนรูเครื่องดนตรีไทย เปดใหคนในชุมชน วัยรุนไดใช เมื่อสมัย เปลี่ยนเด็กที่เคยเลนก็เปลี่ยนเปนวัยทำงาน ตองออกไปทำงาน จึงทำใหเครื่องดนตรีไทยไมมีคนสืบทอด


ผูใหสัมภาษณ อายุ การศึกษา ตำแหนง

นางสาวปญจารี ดวงเงิน 43 ป ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง ผูสืบทอดศูนยหัตถกรรมเครื่องทองลงหิน ชุมชนประดิษฐโทรการ

o ตัวพี่เองทำเครื่องทองลงหินเปนมั้ยคะ? ทำเปน ถามวาทำเครื่องทองลงหินเปนมั้ย เปน แตไมไดทุกขั้นตอน จะมีบางขั้นตอนที่ผูหญิงทำไมได จะตองเปนพวกผูชายจะเปนคนทำ ถามวารูทุกขั้นตอนมั้ย รูทุกขั้นตอน แตถาใหลงมือทำทุกขั้นตอนทำไมไดคะ ทำไดเปนบางขั้นตอน o แลวมีคนงาน หรือวามีลูกหลานที่เปนผูชายมาเรียนรูวิธีการทำสืบตอบางมั้ยคะ? ถามวาเคยมีมั้ย เคยมี ทำไดมั้ย ทำได แตตอนนี้คืองานไมมีก็คือไปทำอยางอื่นกอน คือถาสมมุติมีงาน สามารถเรียกกลับมาทำ มาชวยเสริมได o มีจำนวนเยอะมั้ยคะ? ตอนนี้ก็มีประมาณ 2-3 คน เปนเด็กวัยรุนเลย เปนเด็กผูชาย อายุประมาณ 20 ตนๆ o แลวแหลงขายที่ทำอยูตอนนี้ละคะ?


ถา ณ ตอนนี้คือขายออนไลนอยางเดียวเลยคะ ทั้งทางPage ทั้งInstagram ทั้งLine แลวก็ตามOrder ที่เปนบริษัทเกาๆ ก็เริ่มทยอยกลับมาสั่ง แตหลักๆ ตอนนี้คือขายทางเพจ ขายออนไลนอยางเดียวคะ o แลวการขนสง สงออกตางประเทศกับสงในประเทศ ขนสงอยางไรคะ? มีทั้งสองรูปแบบคะการขนสง ถาสั่งมาจากตางประเทศก็สงไปรษณีย ในประเทศก็มGี rabดวย ไปรษณียดวย o แลวถาสงออกตางประเทศละคะ? สงไปรษณียอยางเดียว ถาออนไลนก็จะไมไดสั่งปริมาณเยอะ แตถาสมมุติเราสงออก เราจะสงผานบริษัทที่เคาสงออกอีกทีนึงคะ o แลวตอนนี้ลายทั้งหมดที่ลูกคาสั่งมีกี่แบบคะ? ลายหลัก ๆ ที่ขายก็ประมาณ 7-8 ลาย เกือบ 10 ลาย แตมีที่ลูกคาเคาสั่งมาก็คือเปนลายลิขสิทธิ์ นอกนั้นอีกประมาณ 2-3 ลาย o ลิขสิทธิ์นี่คือที่เคาออกแบบมาให หรือวา เราออกแบบเองคะ? เปนรูปแบบของเคามาเลยมาจากตางประเทศ o เปนลายอะไรบางคะที่เคาสั่งมา? ถาเปนลายลิขสิทธิ์เราจะเปดเผยไมไดคะ เพราะวาเราสงเคาอยางเดียว เราไมมีเอาออกมาขายคะ o แลวลายของเรามีทั้งหมดกี่ลายคะ? ลายทั้งหมดปจจุบันมีเกือบ 10 ลาย ณ ปจจุบันนะ ที่เราเลิกทำไปแลวเราก็ตัดออกไป ถาตั้งแตตนมีทั้งหมด 30-40 ลาย o ลายที่เราคิดคนออกแบบเองมีกี่ลายคะ? 30-40 ลายนั่นแหละ แตเราเลิกทำไปเยอะแลว เพราะพวกดามไมเราไมไดทำ o ลายที่นิยมมากที่สุดคือลายละไรคะ? ลายทีนิยมมากที่สุดก็คือ ลายเทพพนม ทั้งดามทอง และดามไม ดามทองนี่คือเปนลายเดียวกัน เพียงแตดามจะเปลี่ยนจากตรงดามนี้เปนดามไม ตรงกลางจะเปลี่ยนเปนไม ตรงปลายจะเปนลายเทพพนม


o แลวไมเปนเปนไมอะไรคะ? ถาเมื่อกอนไมเปนไมพยุง แตสมัยนี้เปนไมปาเก o ไมปาเกเปนไมมาจากที่ไหนคะ? เปนไมที่ซื้อมาจากตามบาน เปนไมเกาที่เคารื้อออกมา เพราะเมื่อกอนเราใชไมทอน ไมที่ตัดมาจากในปา แตเดี๋ยวนี้มันเอาออกมาไมไดแลวผิดกฎหมายก็เลยเปลี่ยน ซึ่งตอนนี้ไมก็คือถาใครสั่งจะตองสั่งมาพิเศษ เพราะปกติเราจะไมทำ o คำวา เครื่องทองลงหิน มีที่มาจากอะไรคะ? เริ่มตนจาก บริษัท ส.สำราญ ไทยแลนด ซอยกิ่งเพชร คำวา “เครื่องทองลงหิน” เคาจะทำเปนขันลงหิน ขันลงหินก็คือเคาจะเททองมา แลวก็ตีขึ้นมาใหเปนรูป แลวจะเอาหินมาขัดขางในมันก็เลยเปนที่มาของคำวา “เครื่องทองลงหิน” ตองนำไปลงหิน ก็เลยเรียกติดกันมา ปจจุบันเราเปลี่ยนเปนชอนแบบนี้ คือก็ยังใชหินในการตกแตง แตรูปแบบของหินก็จะเปลี่ยนไป เปนหินแบบกลมๆ ที่ตัดแตงมาแลว ก็เลยยังยึดถือชื่อเดิมมาวาเปนเครื่องทองลงหิน เหมือนเดิม o การที่ทำใหเงานี่มาจากหินหรอคะ? การที่ทำใหเงานี่เปนลูกผาขัดเงา คือเราตองลงหิน แตงหินกอน เสร็จแลวมาขัดดวยสักหลาดเปนลูกทราย ลูกทรายละเอียดจากนั้นจึงมาปดเงาดวยลูกผา มันมีหลายขั้นตอนตองเขาไปดูในการทำงาน o ดีใจที่มีคนทำสืบตอนะคะ มันหาคนทำตอยากแหละ แตวาถามตอนนี้มันยังมีอยู ตอนนี้ก็ยังมีอยูเปนคนเกาๆแตวาเด็กรุนใหม ดวยความ ที่งานมันไมตอเนื่อง มีมาแลวหยุด พอเริ่มไมไดมีมาตลอดแลว เพราะตอนนี้มันถือวาเปนสินคาฟุมเฟอย มัน ไมไดถึงกับฟุมเฟอยแตคือมันเปนสินคาเฉพาะกลุม ซึ่งงานมันจะไมมีตอเนื่องตลอดทั้งป ชวงไหนที่เราไมมี งานก็ตองใหเคาออกไปทำงาน ไปหางาน แตถามวาเสารอาทิตยพอจะเขามาชวยไดมั้ย ก็มาชวยได แตคือ ชวงนี้คือยังไมมีออเดอรมาเนื่องจากเรารับสินคาจากตางประเทศเขามาขายตรง เราไมไดทำงานกับคนไทย ถาเมืองนอกเขามาไมได เราก็เลยไมไดมีออเดอรมาตั้งแตปดยาวชวงโควิด คือไมไดทำอะไรเลย แตเราขาย ของเกา ขายทางออนไลน คนที่สั่งไมตองเขามาดีลในประเทศ o ตอนนี้ในสต็อกยังมีอยูมั้ยคะ? ยังมีอยูคะ แตก็นอยลงแลว คือตอนนี้บางที่เนี่ยพวกนักธุรกิจสามารถเขาได เราจึงสามารถพอจะมีออรเดอร ผานไปได แตออรเดอรใหญๆที่ตองมาดู เขามาในเมืองไทยจะมาไมได


o เคาจะเขามาดูเองหรอคะ? บางเจาเคาตองมาดูเอง เคาตองมาเช็คของเคาเอง แตบางเจา ถาเปนออรเดอรเกาหรือวาเจาเกาๆ แคโทรสั่ง เฉยๆ o งั้นพี่ก็ตองดีลเรื่องตางประเทศดวยใชมั้ยคะ? มันจะผานทางเอเยนของคนไทย เหมือนกับเราแคทำผานไปใหบริษัทเคา เราจะทำผานไปยังบริษัทเคาให บริษัทเคาสงเอง อันนั้นเราแครับผิดชอบผลิตใหเคา มันจะมีบางเจาที่เราดีลโดยตรง อันนั้นคือเราแคผลิตให เคาอยางเดียว คือรับจากเราไปติดเปนตราเคาแลวก็สงอีกทีนึง o งั้นถาเราไปเห็นแบบนี้ที่ไหน ก็อาจจะติดเปนแบรนดอื่นในตางประเทศแตเปนของพี่เอง ใชคะ o ถางั้นที่ขายในหางก็อาจจะเปนของพี่ทั้งหมดใชมั้ยคะ? ก็เปนของเรา เพราะเราก็สงตามหางอยู พารากอน เซ็นทรัล ไอคอนสยาม นารายณพรรณเราก็สง ถาเปนไอคอนสยามพวกนี้ก็จะชิ้นละ 500 บาท ขึ้นไป คูละ 1,000 บาท o อันนี้ปมตราวาเปน Thailand อยางเดียวใชมั้ยคะ? นอกนั้นก็จะไมมีแบรนดของเรา ไมมีแบรนดเพื่อใหเคาไปขายตอ? เพราะอันนี้มันจะเปนแบรนดเกาซึ่งเราใชมารวมกัน เพราะฉะนั้นจะไมมีใครเปนเจาของลาย เราไมใหจดลาย เพราะวาถาเกิดใครคนนึงจด ที่เหลือก็จะใชไมไดเลย มันเปนการตัดรายไดของแตละคน เพราะในเมื่อเรา ทำลายนี้มาดวยกัน เพราะฉะนั้นเราจะไมติดตรา o ก็คือลายพวกนี้ชวยกันคิดมาหลายๆ คนหรอคะ? คือสมมุติเราทำเจานึง อีกเจานึงก็ทำลายนี้เหมือนกัน อีกคนก็ทำ ถาคนนึงไปจดลิขสิทธิ์ ที่เหลือก็จะทำไมได แตเราทำกลุมเดียวกัน o กลุมของพี่มีใครบางคะ คือมีกลุมขางนอกอีกหรอคะ? มีแคในชุมชนนี้คะ แตวาอยูคนละบาน o มีอีกกี่หลังคะ? ก็ตอนนี้ที่ทำอยูก็มีใหญๆ อยูสามเจา แตวาใขเตาเดียวกันหมด ตองมาเทที่นี่หมด ใชปมเดียวกันหมด นอกนั้นเครื่องเล็กๆ ที่เห็นขางลาง อันนั้นคือตางคนตางมี


ผูใหสัมภาษณ อายุ ตำแหนง การศึกษา อาชีพ

นางบุบผา ชัยปริกเจริญ 62 ป คนในชุมชนประดิษฐโทรการ ไมไดจบการศึกษา อาชีพหลัก คือ ขายขนมครก และทำชอนเครื่องทองลงหินดวยบางครั้ง

o คำถาม : เครื่องปรุง และขั้นตอนการทำขนมครก - แปงขาวเจา - มะพราว - น้ำตาล - กะทิ - เกลือ - น้ำใบเตย - มี 2 ไส คือ ขาวโพดกับตนหอม - น้ำมัน



o ขั้นตอนตอนทำ ใชแปงขาวเจา ใสน้ำตาล ใสกะทิ แลวใสเกลือนิดหนอย และตมน้ำใบเตยใสไปนิดหนอยให หอม เสร็จแลวตั้งเตากระทะหลุมขนมครกใหรอนจัดๆ แลวใชกากมะพราวเอามาหอจุมกับน้ำมันถั่ว เหลืองแลวเช็ดที่หลุมในกระทะ แลวนำแปงที่ผสมปรุงไวแลว เทลงในหลุมขนมครก โรยไสขาวโพด หรือ ตนหอมลงไป ปดฝา รอจนกวาจะสุก เมื่อสุกแลวก็ใชชอนแคะขนมครกขึ้นมา o คำถาม : วิธีการทำขนมครกไดมาอยางไร เริ่มจากคนที่อยูบางบัวเลิกขายแลวขายเตาใหมา และบอกวิธีการทำใหบางเล็กนอย แลวก็มี การลองผิดลองถูกเองบางจนกวาจะไดเปนขนมครก o คำถาม : รสชาติแตกตางจากที่อื่นอยางไร ขนมครกสวนมากรสชาติก็จะคลายๆ กัน ที่นี่อาจแตกตางเรื่องความกลมกลอม และแตกตาง ตรงที่ขนมครกที่ทำจากแปงสดโดยการโมจะอรอยกวาแปงสำเร็จรูป และกะทิสดจะรสชาติหอมกลม กลอมกวากะทิสด o คำถาม : จำหนายที่ไหน? ปจจุบันขายอยูที่ปากซอยพหลโยธิน 47 ขาง 7-Eleven หยุดทุกวันอาทิตย แตกอนขายอยูที่ ดานหนาซอยพหลโยธิน 49 และรูสึกวาคนนอยจึงไดเปลี่ยนมาขายที่ปากซอยพหลโยธิน 47 ขายได กำไรประมาณ 350 บาทตอวัน รูสึกพออยูได ตองตื่นตี 3 เพื่อเตรียม และออกไปขายประมาณตอนตี 5 บางวันก็ออกสายหนอย พอ 8 โมงก็ขายหมดแลว o คำถาม : เจาของมรดกภูมิปญญามีอายุเทาไหร ทำมาแลวกี่ป? นางบุบผา ชัยปริกเจริญ อายุ 62 ป ทำมาแลว 10 กวาป ยังขายอยู และจะขายไปจนกวาจะ ทำไมไหว


10. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา - ปญหาและอุปสรรคที่พบ o ในชุมชนไมมีพื้นที่จอดรถ เนื่องจากถนนซอยมีความคับแคบ o ขาดผูสืบทอดมรดกภูมิปญญา o ขาดการใหองคความรูจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนในเรื่องการตอยอดทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนามรดกภูมิปญญาใหมีความโดดเดนมากยิ่งขึ้นและมีความยั่งยืน o ขาดการประชาสัมพันธในเรื่องการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในผานทางสื่อออนไลน - ขอเสนอแนะและแนวทางแกไขปญหา o ในชุมชนควรมีการจัดหาพื้นที่สาธารณะอเนกประสงค เปนลานโลงใชสำหรับจอดรถ และจัด กิจกรรมตางๆ ของคนในชุมชน หรือเปนลานกีฬา o หนวยงานภาครัฐและเอกชนควรชวยเหลือในดานการตลาดเพื่อชวยกระตุนเศรษฐกิจภายใน ชุมชนใหคนรุนใหมกลับมาชวยเปนผูสืบสานมรดกภูมิปญญา o ควรมีการประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในรูปแบบสื่อออนไลน มีการรวมกลุมเลา เรื่องราวในชุมชน


การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน)

วัดเสมียนนารี (วัดแคราย) พระอารามหลวง Wat Samien Nari

วันลงสำรวจพื้นที่ 3 กันยายน 2563 ลงสำรวจพื้นที่วัดเสมียนนารี ทำบุญไหวพระ เก็บขอมูลประวัติความเปนมา 9 กันยายน 2563 กราบนมัสการเจาอาวาส เพื่อสัมภาษณเก็บขอมูลเพิ่มเติม


หัวขอในการสำรวจขอมูล 11. ประวัติและความเปนมา 12. ความสำคัญ 13. สถานที่ตั้งและสถานที่ใกลเคียง 14. แผนที่และเสนทางการเดินทาง 15. จุดเดนของวัด 16. พระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 17. สถาปตยกรรม 18. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง 19. การทำบุญพิธีกรรมทางศาสนาและจิตศรัทธาความเชื่อ 20. การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณ 21. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา


1. ประวัติความเปนมา ตามบันทึกของกรมการศาสนา ปรากฏวา วัดเสมียนนารี เริ่มกอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2400 โดยไดรับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อ ป พ.ศ.2420 ทานผูที่ริเริ่มสรางวัด เปนสุภาพสตรีในวัง ทานมีตำแหนง เปนเสมียนพระคลังขางที่ มีนามวา “ทานเสมียนขำ” ตำแหนงนี้ ภายหลังตกทอดมายังธิดาของทาน คือ คุณ ทาวภัณฑสารนุรักษ (เพิ่ม รัตนทัศนีย) ซึ่งไดตำแหนงเปน เสมียนพระคลังขางที่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ทานทั้งสองไดสรางวัดแครายและทำนุบำรุงวัดมาโดยตลอดตราบเทาอายุขัยของทาน ดังนั้นวัดนี้จึงได ขนานนามวา “วัดเสมียนนารี” เพื่อเปนเกียรติประวัติ แกทานทั้งสอง ในป พ.ศ. 2522 2. ความสำคัญ - ป พ.ศ. 2555 สมัยรัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ยกฐานะวัดเสมียนนารี จากวัด ราษฎร ขึ้นเปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตอมาในวาระที่ 2 มีพิธีสมโภชการยกวัด ราษฎรขึ้นเปนพระอารามหลวง - สังกัดคณะสงฆ มหานิกาย


3. สถานที่ตั้งและสถานที่ใกลเคียง - วัดเสมียนนารี พระอารามหลวง ตั้งอยูเลขที่ 32 หมู 2 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 - มีเนื้อที่ทั้งหมด 18 ไร - งาน 90 ตารางวา

ทิศเหนือ ติดกับโรงเรียนวัดเสมียนนารี และที่ดินเอกชน o ทิศใต ติดกับ ถ.ประชานิเวศน เชื่อมระหวาง ถ.ประชาชื่นกับ ถ.วิภาวดีรังสิต o ทิศตะวันออก ติดกับ ถ.กำแพงเพชร 6 (โรคอลโรด) และทางรถไฟ สายเหนือ-อิสาน o ทิศตะวันตก ติดกับคลองเปรมประชากร - ติดตอสอบถาม โทร. 0 – 2589 – 4972 o

(พระผูใหขอมูล : พระมหาสมชาย ฐาวโร พระลูกวัด พระสอนวิชาศีลธรรม) 4. แผนที่และเสนทางการเดินทาง - รถโดยสารประจำทาง สาย 29 , 52 , ปอ 510 , ปอ 29


5. จุดเดนของวัด - การทำบุญโดยมีมาตรการปองกันการแพรเชื้อไวรัส แบบ New Normal

โดยมีการปรับรูปแบบการรับถวายสังฆทานแบบวิถีใหม New Normal โดยพระสงฆที่รับ ถวายสังฆทานจากญาติโยม จะนั่งบนอาสนะสงฆที่มีฉากพลาสติกใสขนาด 1.5 - 2 เมตรกั้น กอนใช ผารับประเคนชุดสังฆทาน, เครื่องไทยธรรม แทนการรับสิ่งของจากญาติโยมโดยตรง

ตั้งแตเกิดสถานการณแพรระบาดของโรคโควิด-19 ทางวัดไดปรับรูปแบบการรับถวาย สังฆทานใหมเพื่อปองกันการแพรกระจายเชื้อ โดยเริ่มตนใชมาตั้งแตเดือนเมษายน ซึ่งพระสงฆและลูก ศิษยวัด ชวยกันคิดออกแบบจนสรุปเปนแบบที่ใชอยูนี้ แมชวงแรกกังวลวาญาติโยมที่มาทำบุญจะรูสึก แปลกใจเมื่อไดเห็นฉากกั้น แตทุกคนที่มาก็เขาใจวาเปนมาตรการเพื่อความปลอดภัยปองกันการแพร ระบาดของเชื้อโควิด-19 พรอมยังจัดจุดตรวจวัดอุณหภูมิรางกายของผูที่มาทำบุญกอนเขาในศาลา ดวย และมีการรักษาความสะอาดอาคารสถานที่ภายในวัดเปนอยางดี มีหองน้ำสะอาดใหบริการ


6. พระพุทธรูปและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ - พระบรมสารีริกธาตุ

วัดเสมียนนารี พระอารามหลวง ยังเปนที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ (สวนหัวใจ) ที่ อัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา เพื่อมาประดิษฐานเปนการถาวร ป พ.ศ. 2548 มีพิธแี หฉลอง วันที่ 5 พฤษภาคม ของทุกป

ทานเจาอาวาสไดเลาความเปนมาประวัติศาสตรพระบรมสารีริกธาตุ หมายถึง องคพระธาตุที่ มีลักษณะขนาดเล็กเหมือนเมล็ดงาหรือเหมือนขาวสารหัก พระบรมสารีริกธาตุที่ไดรับเมตตาจากเจา คุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ไดประทานใหถึง 2 วาระ และพระบรมสารีริกธาตุที่ เจาประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย เมื่อครั้งดำรงตำแหนงเปนประธานคณะผูปฏิบัติงานแทนสมเด็จ พระสังฆราช ไดประทานมาไวเพื่อประดิษฐานที่องคพระเจดีย เละเมือ่ ครัง้ วัดเสมียนนารี ไดรื้อเจดีย องคเกาซึ่งชำรุดทรุดโทรมลงไป และยังไดพบผอบทองคÎา ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อยู 2 องค พระเดชพระคุณพระราชศาสนกิจโสภณ ซึ่งในขณะดำรงสมณศักดิ์เปนพระครูอุทัยธรรมรัตน และเปนเจาอาวาสวัดเสมียนนารี ไดอัญเชิญขึ้นประดิษฐานไวภายในพระอุโบสถหลังใหม เพื่อให พุทธศาสนิกชนไดนมัสการกราบสักการบูชา จนกระทั่งทุกวันนี้


- หลวงพอพุทธสุโขอภิโรจนะ (หลวงพอสุโข) o พระประธานเปนพระพุทธรูปแบบศิลปะสมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย

ประดิษฐานภายในพระอุโบสถหลังเกา

หลวงพอพุทธโสธร และหลวงพอสังกัจจายน


- พระศรีศากยะพุทธวงศมุนี

พระประธานพิมพพระพุทธชินราช (จำลอง) ปางมารวิชัย ขนาดหนาตักกวาง 4 ศอก 9 นิ้ว ปดทองทั้งองค

ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถหลังใหม


- หลวงพอพระรวงโรจนฤทธิ์

ประดิษฐานอยูดานหนาและดานหลังพระอุโบสถหลังใหม

- องคพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หลวงพออูแสนสุข

หลวงพออูทอง หลวงพอเชียงแสน หลวงพอสุโขทัย


7. สถาปตยกรรม - พระอุโบสถหลังเกา หรือ วิหาร

พระอุโบสถหลังเกานี้กอสรางมานานกวา 120 ป


- พระอุโบสถหลังใหม

ลักษณะทรงไทย สรางดวยหินออนทั้งหลัง หลังคาทรงไทย

มีขนาดกวาง 10 เมตร ยาว 30 เมตร

อุโบสถหลังใหมเปดเวลา 04.00 น. และ 17.00 น.


- ศาลาการเปรียญหลังใหม

ในป พ.ศ. 2532 มีการกอสรางศาลาการเปรียญหลังใหมขึ้นภายในวัดเสมียนนารี โดยมี ลักษณะเปนอาคารทรงไทย สูง 3 ชั้น กวาง 20 เมตร และยาว 57 เมตร โดยชั้นที่ 1 ใชสำหรับ บำเพ็ญกุศลงานบุญตาง ๆ ชั้นที่ 2 ใชเปนหองประชุมของคณะสงฆ สถานที่สอบธรรมสนามหลวงของ เขตบางเขน - จตุจักร และสวนมุขไดทำเปนหองสมุดประชาชนใหคนในพื้นที่ใกลเคียงไดเขามาหา ความรู ชั้นที่ 3 ใชเปนสำนักเรียนพระปริยัติธรรม ทั้งแผนกธรรมและบาลี ซึ่งปกติแลววันอาทิตย มักจะมีนักเรียน-นักศึกษามาเรียนพุทธมามกะ และดวยความที่วัดเสมียนนารีมีการพัฒนาวัดอยาง ตอเนื่องนี้เอง ทำใหวัดไดรับการยกยองจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ใหเปนวัดพัฒนา ตัวอยางของกรุงเทพมหานครในป พ.ศ. 2531


- ศาลาพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หาพี่นอง ลองสายธาร

ประกอบดวย

1. หลวงพอพุทธโสธร 2. หลวงพอวัดไรขิง 4. หลวงพอบานแหลม 5. หลวงพอบอทอง

8. ศิลปะภาพจิตรกรรมฝาผนัง

3. หลวงพอโต


- ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถหลังเกา คุณเสวก เสนาพันธ เปนผูเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังพระโบสถอุโบสถเกา โดยเขียนตามคำ บอกเลาของทานเจาอาวาสคนปจจุบัน เขียนเมื่อประมาณป พศ. 2528 ภาพสวนใหญแสดงเรื่องราว เกี่ยวกับอัตลักษณวิถีของชุมชนชนบท ทำไร ทำนา ทำสวน การดำเนินชีวิตของชาวบาน ในพื้นที่ ละแวกนี้เรียกวา ทุงลาดยาว ทุงบางเขน บริเวณรอบวัดสมัยกอนเปนทุงนา เปนหนอง คลอง บึง ซึ่ง ปจจุบันนี้ไมมีแลว

ภาพ : สถาปตยกรรมบานทรงไทย เรือนเครื่องสับ ชาวบานจัดเตรียมขาวปลาอาหารเตรียมรอพระบิณฑบาตบาตรตอนในเชา แสดงวิถีชีวิตของคนในชุมชนที่อาศัยในละแวกวัด มีความสามัคคีกลมเกลียวชวยกันทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา


ภาพ : สถาปตยกรรมไทยเรือนเครื่องผูก แสดงวิถีชีวิตชาวบานคาขายสัญจรทางเรือ ชุมชนตลาดน้ำริมคลองเปรมประชากร

ภาพ : วิถีชีวิตการเลี้ยงชีพดวยการทำนา การลงแขกดำนาปลูกขาว ใชควายไถนา ภูมิปญญาการทำประมงหาปลาดวยเครื่องมือจบปลาแบบพื้นบานชนิดตางๆ เชน แห ยกยอ สุม ของ


- ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถหลังใหม

ภาพจิตรกรรมฝาผนังเปนเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ ตั้งแตประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน และ ภาพประเพณีตางๆ เชน การลอยกระทง และการเทศมหาชาติเกี่ยวกับพระเวสสันดรชาดก เปนตน


9. การทำบุญพิธีกรรมทางศาสนาและจิตศรัทธาความเชื่อ - การไถชีวิตโคกระบือ

พระผูดูแล พระกนก สุทธิญาโณ ไดเลาวา ผูริเริ่มคือทานเจาอาวาสวัดเสมียน ญาติโยมถามวา ทำไมไมมีการไถโคกระบือ ทานเจาอาวาสก็เลยไปไถชีวิตโคกระบือมาจากโรงฆาสัตว

ชาวบานมีความเชื่อกันวาโคกระบือเปนสัตวใหญ ถือเปนชาติที่ใกลเคียงมนุษย และชาติตอไป มีสิทธิ์ที่จะเกิดมาเปนคน หลายคนอาจจะเคยเห็นน้ำตาของโคกระบือ ตอนที่กำลังเคลื่อนยายไปยังโรง ฆาสัตว โคกระบทอเหลานั้นเหลานั้นมีจิตใจเศราหมองกอนจะถูกเขาโรงเชือด โอกาสที่จะเกิดเปน มนุษยในชาติตอไปจึงเปนเรื่องยาก ดังนั้นการไถโคกระบือเสมือนชวยใหโคกระบือรอดจากการถูก เชือด และสามารถกลับมาเกิดเปนมนุษยในชาติตอไป ผลของการไถชีวิตโคกระบือตามความเชื่อจะชวยใหมีอายุยืนยาว สุขภาพแข็งแรง ปราศจาก ทุกขโศกโรคภัย แกเคราะหกรรมจากการเจ็บปวยดวยโรคกรรมและตออายุใหรอดพนจากเคราะห กรรมที่เรียกวาชาตะขาด (มูลเหตุที่เกิดการไถชีวิตโคกระบือในวัดเสมียนนารี ซึ่งเปนความเชื่ออันหนึ่ง)


- ทำบุญสะเดาเคราะห - ทำบุญโลงศพ

- จุดเทียนและเติมน้ำมันไฟตะเกียง


- ทำบุญหลอเทียนพรรษา

- ทำบุญพระประจำวันเกิด

- ไหวพระราหู ความเชื่อการบูชาพระราหู จะทำใหเกิดโชคลาภ ความสำเร็จ และทำใหสิ่งเลวรายที่อาจจะ เกิดใหบรรเทาเบาบางลงจากรายกลายเปนดี


- ลอดพระอุโบสถหลังเกา ทางลง

ทางขึ้น

ขอมูลที่กลาวขางตนนี้ ไดจากการสัมภาษณทานเจาอาวาส และการเก็บขอมูลโดยการสังเกตลงพื้นที่ ณ วันที่ 3 - 9 กันยายน 2563


10. การลงพื้นที่เก็บขอมูลวัดเสมียนนารีโดยการสัมภาษณ ถอดบทสัมภาษณ

ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล : ตำแหนง :

พระเทพวรสิทธาจารย (อุทัย อุทโย) เจาอาวาสวัดเสมียนนารี พระอารามหลวง

ถาม : ทานปกครองที่นี่ตั้งแตเมื่อไหร ไดพัฒนาวัดไปในแนวทางวัฒนธรรม และวัดอยากใหประชาชนได เห็นอะไรบางในสถานที่นี้ ตอบ : อาตมาเขามาตั้งแตเริ่มอุปสมบทป พ.ศ. 2507 อยูมาตั้งแตพรรษาแรก ไดรวมกับอดีตเจาอาวาสทาน พระครูภัทรสารโสภณ พัฒนาวัดเรื่อยมาตามศักยภาพในสมัยนั้น ซึ่งก็ยังไมเจริญมากนัก เปนวัดที่มีเสนาสนะ คอนขางนอย สวนมากอยูในสภาพก็ ค อยขางทรุดโทรม ตั้งแตพรรษา 1 ก็ทำงานพัฒนาวัดมาโดยตลอด จนกระทั่งมาถึงพรรษา 9 ก็ไดรับการแตงตั้งเปนรองเจาอาวาสวัดเสมียนนารี ป พ.ศ. 2516 ซึ่งขณะอาตมามี พรรษาได 9 พรรษา ในปนั้นหลวงพอเจาอาวาสไดมรณภาพ อาตมารับเลือกจากคณะสงฆและกรรมการให ดำรงตำแหนงเปนเจาอาวาสนับตั้งแตนั้นเปนตนมา ซึ่งขณะนั้นทั้งวัดมีพระภิกษุ สามเณร อยูประมาณ 30 กวารูป เมื่อเปนเจาอาวาสก็ไดเริ่มพัฒนาวัดมาตามลำดับ ตั้งแตการจัดรูปแบบผังของวัด สรางเสนาสนะ เริ่ม ตั้งแตสรางเขื่อนหนาวัด ริมคลองเปรมประชากร สรางกุฏิ จนกระทั่งสรางศาลาการเปรียญหลังปจจุบัน สราง พระอุโบสถ ตอมาไดสรางกุฏิสงฆทรงไทย 3 ชั้น สรางศาลาบำเพ็ญกุศลหรือศาลาตั้งศพทั้งหมด ปรับปรุงเมรุ เปลี่ยนระบบจากเผาฝน เผาเตาถานมาเปนระบบใชน้ำมันชวงระยะหนึ่งก็เปลี่ยนระบบมาเปนเผาดวยแกส จนถึงปจจุบัน ก็สรางเสนาสนะ สรางอาคารอีกหลายหลัง เทาที่เห็นในปจจุบันทั้งหมดที่วัดเสมียนนารีนี้ คือ สรางในยุคสมัยที่อาตมาเปนเจาอาวาสตั้งแตป 2516 เปนตนมาจนกระทั่งปจจุบันก็เปนเวลานานพอสมควร 40 กวาปที่เปนเจาอาวาสตั้งแตอุปสมบถมาก็นาจะ 50 กวาปที่อยูที่วัดนี้มาโดยตลอด


ภายในอุโบสถก็เปนภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนเมื่อประมาณ 2540 เปนภาพเกี่ยวกับชีวิตชนบทหรือ ชาวบานในบริเวณนี้ ยานนี้ เรียกวา ทุงลาดยาว ก็มีวิถีชีวิตชนบท ทำไร ทำนา ใชชีวิตแบบชนบททั่วไป บริเวณ รอบวัดสมัยกอนเปนทุงนา เปนหนอง คลอง บึงตางๆ ซึ่งปจจุบันนี้ไมมีแลว วัดเสมียนนารีไดรับอนุญาตใหเปนวัดที่สรางเปนพุทธศาสนาโดยถูกตองเมื่อป 2400 ปลายรัชกาล รัชกาลที่ 4 ทานผูสรางวัดก็เปนชาววัง ทำงานในพระบรมมหาราชวัง คือ ทานเสมียน ขำ หรือเสมียนระฆังขาง ที่ในสมัยนั้น ปลายรัชการที่ 4 ตอมาธิดาของทานชื่อเดิมวา คุณเพิ่ม รัตนทัศนีย ก็ไดรับตำแหนงเสมียนตอจาก มารดาในสมัยรัชกาลที่ 5 ทานมีบรรดาศักดิ์เปน ขุนทาวพันธศานุรักษ เปนเจาเกี่ยวในรัชกาลที่ 5 ทานเปนกวี ที่มีชื่อเสียงในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนนักเขียนกลอน ประพันธกลอนตางๆ ยังพอมีผลงานที่คืบคนได ถาม : วัดเสมียนนารีเกี่ยวของกับคลองเปรมประชากรหรือไม ตอบ : ไมคอยเกี่ยวของเทาไหรเปนผลงานที่ทานเขียนกวีในการโตตอบกับรัชกาลที่ 5 เปนสวนใหญ ซึ่งในสมัย นั้นวัดเสมียนนารียังอยูในสภาพที่เรียกวา ไมคอยมีใครรูจักมากนัก ญาติเสมียน ขำ ทานเปนผูสรางขึ้น ตอมา ไดรับชื่อวัดเพื่อใหเกียรติทานวา วัดเสมียนนารี เปรียบเสมียนผูหญิงเปนผูสราง

ถาม : ยุทธภูมทิ ี่ตั้งของวัดที่สรางเพราะอะไร ตอบ : คงเปนความดำริของทานเสมียน ขำ วาที่นี่ไมมีวัด ประชาชนที่อยูในระแวกนี้ไมมีวัดที่ๆจะไดประกอบ กองการกุศลทำบุญทำกุศลเพราะวัดนี้สรางกอนวัดเทวสุนทร เพราะในชวงนั้นแถวนี้ไมมีวัดหางไกลจากวัด คง จะเปนที่ของทานที่มีที่อยูตรงนี้ก็เลยยกขึ้นเปนวัดสรางวัดขึ้นมา เพราะวาใกลๆ วัดก็เปนที่ทรัพยสินอีกหลายที่ ถาม : วัดที่ทานไดพัฒนามามีสิ่งที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมและศาสนาซึ่งคนทั่วไปจะมา ตอบ : วัดก็เปนที่ประดิษฐานสิ่งที่สำคัญในทางพุทธศาสนา มีทั้ง ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล ศาสนสถาน ศาสน ธรรม ก็รวมอยูในวัดนี้ทั้งหมดแลว ถาม : มัคทายกวัดมีสวนในประวัติศาสตรของวัดไหมในแตละรุน


ตอบ : ที่อาตมาบวชมาก็มีมัคทายกที่เกี่ยวกับวัดคนแรกชื่อวา โยมไกร กายทรัพย เปนผูใหญบานในสมัยนั้น มี บรรดาศักดิ์เปนเจาหมื่น ซึ่งไดรับการแตงตั้ง คนที่ 2 คือโยมแมน มวงเงิน คนที่ 3 โยมชั้น เสียชีวิตแลว คนที่ 4 ยังไมไดแตงตั้ง ถาม : เจาอาวาสองคกอนๆ มีทานใดที่ทำใหทานไดรับแรงบันดาลบาง ตอบ : แรงบันดาลใจมาจากครูบาอาจารยทำมาอยางไรก็ทำตามอยางนั้น ในยุคสมัยก็คงเอื้ออำนวยกวาในยุค สมัยของทานในการที่จะพัฒนา ความพรอมของอาตมาก็มีมากกวาสมัย แรงบันดาลใจก็เกิดจากที่เราเอง อยากจะใหดีทำใหดีที่สุด อาตมาก็มีแนวคิดวาทำใหดีที่สุดในยุคสมัยของเรา แลวตอไปก็มอบหมายใหกับผูที่จะ สืบทอดตอไป

ถาม : ถาเราจะใหประชาชนมาเที่ยวสิ่งแรกที่จะตองมากราบไหวควรจะเปนจุดไหนกอน ตอบ : มาที่วัด มากราบไหวก็คืออุโบสถควรรูจักพระอุโบสถกอน กราบไหวองคประธานในอุโบสถกอน เพราะ พระประธานเปนหลักของวัดสำคัญที่สุด ถาอยากรูจักวัดก็ตองเขาไปกราบพระประธานกอน แลวศึกษาดูวาใน พระอุโบสถนั้นมีอะไรที่นาสนใจบาง ปางพระในอุโบสถเปนปางอะไร ภายในมีอะไรบาง จิตรกรรมฝาผนังเลา เรื่องอะไรบาง การลอดโบสถเปนเรื่องบังเอิญเฉยๆ ไมไดตั้งใจทำ ชวงหนึ่งอาตมาคิดอยากจะยกโบสถหลังเกา ใหสูงเพราะเห็นวัดตางๆ เคายกกัน ก็อยากจะยกใหสูงเปน 2 ชั้น และชั้นลางจะไดใชงานได เผื่อใหโยมไดลอด โบสถเพื่อโยมจะไดมาสะเดาะเคราะหตอชะตา หรือวาจะมาลอดเพื่อความเปนสิริมงคล ถาม : โรงเรียนปริยัติธรรม โรงเรียนของกทม.เปนสวนหนึ่งที่ทางวัดเปนสวนสนับสนุน ตอบ : โรงเรียนก็ใหเด็กไดเรียนธรรมศึกษา ถาม : พระบรมสารีริกธาตุทานไดนำมาประดิษฐานที่วัดเมื่อใด ทานเจาอาวาสไดเลาวา ความเปนมาประวัติศาสตร พระบรมสารีริกธาตุ หมายถึง องคพระธาตุที่มี ลักษณะขนาดเล็กเหมือนเมล็ดงา หรือ เหมือนขาวสารหัก แตตามตำนานเขาวาเปนพระเขี้ยวแกว พระอุระ พระบรมสารีริกธาตุมีลักษณะเล็กอยางที่เห็นโดยทั่วไป นอกจากวาเปนที่ปรากฏในโลกมีไมกี้ชิ้น เชนพระเขี้ยว แกว ของเราพระบรมสารีริกธาตุทั่วไป แตวามีหลักฐานแนนอนวาเราไปรับมาจากประเทศศรีลังกา มีพิธีแห มี การฉลองทุกป วันที่ 5 พ.ค. วัดเสมียนนารีไดยกขึ้นเปนพระอารามหลวงเมื่อป 2555


ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล : ตำแหนง :

พระมหาสมชาย ฐาวโร พระลูกวัด พระสอนวิชาศีลธรรม

ถาม : รูปแบบการทำบุญถวายสังฆทานของทางวัด ปจจุบันทำอยางไร การถวายสังฆทานทางวัด ใหญาติโยมสะดวกในการมาทำบุญ โดยที่ทางวัดเ จัดถังสังฆทานใหถูกตอง ตามที่ญาติโยมตองการทุกปราการ ญาติโยมจะไดสบายใจ เพราะมีขาววาไปซื้อจากรานทั่วไปขางนอกไดของที่ ไมมีคุณภาพ ไมสามารถนำไปใชได ทางวัดเสมียนนารีเราจึงจัดเตรียมไวให และปจจัยของโยมก็ไดนำมา รวบรวมไปปฏิสังขรบูรณะพัฒนาวัดตอไป การทำบุญถวายสังฆทาน ไดรับคำสั่งจากพระเดชพระคุณเจาอาวาสใหจัดเตรียมสถานที่ทำสังฆทาน อยางถูกตอง อาทิเชน มีการเวนระหาง ทำฉากกั้น เพื่อปองกันโรคติดตอโควิค-19 ทานใหทำตั้งแตแรกๆ วิธีการปองกันโรคมีเจาหนาที่คอยตรวจวัดไขญาติโยมที่มาทำบุญ สลับสับเปลี่ยนตลอดทั้งวัน ใหญาติโยมที่จะ มาทำบุญที่วัดสวมหนากากอนามัยมาดวยทุกครั้ง ถาม : ขางในพระอุโบสถหลังใหมมีความงดงามอยางไรบาง มีพระประธาน พระนามวา พระศรีศากยะพุทธวงคมุนี ปดทององค มีพระปางมารวิชัย สวนฝาผนัง โบสถใหม มีจิตรกรรมฝาผนังทางทิศใตมีเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแตประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน มี ประเพณีตางๆ เชน การลอยกระทง และการเทศมหาชาติเกี่ยวกับพระเวสสันดร ชาดก เปนตน ตัวพระ อุโบสถหลังใหม สรางดวยหินออนทั้งหลัง เปนหลังคาทรงไทย


11. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา ปญหาที่พบ 1. ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถหลังเกามีการชำรุด หลุดลอกออก บางสวนมีสีจางลง ตามกาลเวลา ขาดการดูแลและเห็นคุณคาเพื่ออนุรักษไวอยางจริงจัง 2. การสัญจรของรถที่ขับเขามาในวัดทำใหเสี่ยงใหการเกิดอุบัติเหตุ และทำใหสถานที่เกิดความแออัด เบียดเสียดตอผูคนที่กำลังเดินภายในวัดเพื่อทำบุญตามจุดตางๆ ทีท่ างวัดจัดไวให แนวทางแกไขปญหา 1. ควรใหหนวยงาน กรมศิลป หรือผูเชี่ยวชาญดูแลรับผิดชอบเขามาตรวจสอบสภาพการชำรุด หลุด ลอก สีจางลง และทำการอนุรักษ ฟนฟูภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถหลังเกาให มี ความงดงาม รักษาคงสภาพเรื่องราวเดิมไวเพื่อเปนมรดกทางวัฒนาธรรมภูมิปญญาของทองถิ่น และการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสืบไป 2. ทางวัดควรจัดระเบียบการเดินรถภายในวัดเพื่อปองกันอุบัติเหตุ ทางวัดควรจัดสรรสถานที่ สำหรับทำบุญตามจุดตางๆ ใหกระจายไปยังพื้นที่อื่นๆ ภายในวัด เพิ่มระยะหางเพื่อลดความเสี่ยง ในการแพรระบาดของเชื่อไวรัสโควิด-19 สรุป วัดเสมียนนารี เปนวัดที่นักทองเที่ยวและผูมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา สามารถเดินทางเขามา ทองเที่ยวทำบุญไดอยางสะดวกสบาย อาคารสถานที่มีความเปนระเบียบเรียนรอยไดรับการดูแลอยางใสใจ ทางวัดมีการพัฒนาปรับปรุง จัดสถานที่ใหนาใชงานแบบ New Normal กาวทันยุคสมัย มีการทำบุญครบวงจร เชน ไหวพระทำบุญพระบรมสารีริกธาตุ ทำบุญสังฆทาน ทำบุญโลงศพ ทำบุญสะเดาะเคราะห ไถชีวิตโค กระบือ และนาชื่นชมในคุณคาความงดงามทางศิลปกรรม ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ สถาปตยกรรมไทยประเพณี ควรคาแกการอนุรักษเผยแพร ทั้งพระอุโบสถหลังเกาและพระอุโบสถ หลังใหมดวย


การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม Cultural Tourism Communities (CTC) One Day Trip เขตจตุจักร (บาน วัด โรงเรียน)

ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา”

วันลงสำรวจพื้นที่ 2 กันยายน 2563 ติดตอเขาพบทางศูนยฯ สำรวจเสนทางวิธีการเดินทางและพื้นที่ใกลเคียง 10 กันยายน 2563 อบรมศึกษาดูงาน ฝกปฏิบัติทดลองการปลูกขาวในระบบเกษตรทฤษฎีใหม 11 กันยายน 2563 เยีย่ มชมพิพิธภัณฑวิถีขาว และสัมภาษณเจาหนาที่วิทยากรภายในศูนยฯ


หัวขอในการสำรวจขอมูล 1. ความเปนมาและความสำคัญ 2. สถานที่ตั้ง 3. แผนที่และเสนทางการเดินทาง 4. วิธีการเดินทางโดยรถขนสงสาธารณะ 5. การติดตอ 6. อาคารสถานที่ภายในศูนยฯ 7. ภารกิจ 9. ผลการดำเนินงานสำรวจขอมูล 10. ขอมูลพันธุขาวไทย 11. การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณ 12. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา


1. ความเปนมาและความสำคัญ

ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา” จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2556 เปนหนวยงานราชการ สังกัดกองประสานงานโครงการพระราชดำริ กรมการขาว กระทรวงเกษตร และสหกรณ โดยเปนหนวยงานหลัก ในการขับเคลื่อนโครงการพระราชดำริดานขาว จัดตั้งขึ้นเพื่อเปน ศูนยกลาง การถายทอดองคความรูดานขาว ในทุกมิติตลอดหวงโซการผลิตขาว โดยไมเก็บคาใชจาย รวมถึง เปนแหลงขยายผลการเรียนรูในการทำนา โดยมีเครือขายชาวนาภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศสูเกษตรกรชาวนา ไทย และประชาชนทั่วไป

2. สถานที่ตั้ง ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา” ตั้งอยูภายในมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร บางเขน เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 101900


3. แผนที่และเสนทางการเดินทาง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทางเขาประตู 1 ใชระยะทางประมาณ 2 กม. ใหเวลาเดินทางประมาณ 5 นาที


4. วิธีการเดินทางโดยรถขนสงสาธารณะ - รถไฟฟา BTS ลงสถานี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทางออก 1

- รถโดยสารประจำทาง สาย 104, 114 (ปอ.) (AC) , 34 , 543ก (ปอ.) (AC) , 59 (ปอ.) (AC) - ตอรถมอเตอรไซดรับจาง จากหนาธนาคารออมสิน 10 บาท


สถานที่ใกลเคียง - รานอาหาร นา นา นา Cafe & Farmers Market (คาเฟ แอนด ฟารมเมอร มารเก็ต) มีอาหาร เครื่องดื่ม รานขายของที่ระลึก ผลิตภัณฑแปรรูปจากขาว และหองน้ำสะอาดใหบริการ

- ปมน้ำมัน ปตท. สวัสดิการกรมวิชาการเกษตร

- พิพิธภัณฑวิถีขาว คณะเกษตรศาสตร


- พิพิธภัณฑแมลง คณะเกษตรศาสตร

5. การติดตอ


o

ชองทางการติดตอสอบถามเพื่อเขาชมศึกษาดูงาน โทรศัพท / โทรสาร : 0-2940 5530 อีเมล : Drpc_rd@rice.mail.go.th เว็บไซต : http://drpc.ricethailand.go.th

o แจงเจาหนาที่ทำเอกสารยื่นขอศึกษาดูงานใหทางกรมการขาว ลวงหนา ใชเวลาประมาณ 15-20 วัน เพื่อเตรียมแปลงนา และเพาะเมล็ดขาว ตกกลาในแปลงขนาดเล็ก o

เปดเขาชมฟรีในวันและเวลาราชการ วันและเวลาทำการ : จันทร – ศุกร เวลา 08.30 – 16.30 น. วันหยุด : เสาร – อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ

o สามารถเขาชมไดตั้งแตเด็กๆ ในระดับชั้นอนุบาล นักเรียน นักศึกษา หนวยงานสถานศึกษา โรงเรียน จนถึงประชาชนผูที่สนใจเปนหมูค ณะ

6. อาคารสถานที่ภายในศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ โรงเรียนขาวและชาวนา


อาคารฝกอบรม และอาคารปฏิบัติการ


แปลงนาสาธิตการปลูกขาวในระบบเกษตรทฤษฎีใหม


7. ภารกิจ ภารกิจของศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ โรงเรียนขาวและชาวนา มี 3 ภารกิจหลัก ดังนี้

-

ภารกิจที่ 1 สงเสริมใหเกษตรกรหรือชาวนารุนใหมเรียนรูวิธีการทำงานที่ถูกตอง เปนผูที่มีองค ความรูในการทำนาเปนอยางดี นำไปใชใหเปนประโยชน สามารถบริหารจัดการลดความเสี่ยงตางๆ และลดตนทุนการปลูกขาวลงได ตลอดจนประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพ โดยมีการจัดหลักสูตรฝกอบรมภายในศูนยฯ ตามปงบประมาณ o เดิมมี 5 หลักสูตร ปจจุบันมี 3 หลักสูตร จากหลักสูตรทั้งหมดที่เปดรับเขาฝกอบรม ไดแก 1. หลักสูตรชาวนาเบื้องตน (ระยะเวลาเขาฝกอบรม 4 วัน 3 คืน) 2. หลักสูตรชาวนามืออาชีพ (ระยะเวลาเขาฝกอบรม 5 วัน 4 คืน) 3. หลักสูตรวิทยากรดานขาว (ระยะเวลาเขาฝกอบรม 3 วัน 2 คืน) 4. หลักสูตรแปรรูปผลิตภัณฑจากขาว (ปดรับเนื่องจากจัดสรรงบประมาณไมเพียงพอ) 5. หลักสูตรพัฒนาเยาวชน (ปดรับเนื่องจากจัดสรรงบประมาณไมเพียงพอ)

-

ภารกิจที่ 2 จัดกิจกรรมศึกษาดูงานภายในศูนยฯ โดยมีเจาหนาที่ตำแหนงวิชาการเกษตรเปน วิทยากรใหความรูแกหมูคณะผูเขาชม


กิจกรรมสาธิตการดำนา


-

ภารกิจที่ 3 Road Show จัดกิจกรรมนิทรรศการเผยแพรความรูทางวิชาการ ตามที่ตางๆ นอก สถานที่ เชน โรงเรียน สถาบันการศึกษา หนวยงานราชการ งานจัดแสดง โดยไมมีคาใชจาย

โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ o เพื่อเผยแพร ประชาสัมพันธ ใหความรูดานขาวแกเยาวชนและประชาชนทั่วไป o เพือ่ สรางเครือขายชาวนาไทยในภูมิภาคตางๆ ทั่วประเทศ o เพื่อเปนหนวยงานหลักในการขับเคลื่อนโครงการพระราชดำริดานขาว กาวสูความยั่งยืนบน พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8. ผลการดำเนินงานสำรวจขอมูล การลงพื้นที่สำรวจขอมูล เขารวมกิจกรรมตางๆ ภายในศูนยฯ มีรายละเอียด ดังนี้  เขาฟงบรรยายจากเจาหนาที่ตำแหนงวิชาการเกษตรเปนวิทยากรใหความรูแกหมู คณะผูเขาชม ณ อาคารฝกอบรม

การอบรมบรรยายโดยวิทยากรภายในหองประชุมอาคารฝกอบรม


ชุดฝกปฏิบัติทดลองการปลูกขาวในระบบเกษตรทฤษฎีใหม หนังสือที่ระลึก นอมนำคำสอน “พอ” สานตอปณิธานพัฒนาขาวไทย

เอกสารประกอบการอบรมบรรยาย จากวิทยากร


 เรียนรูเกี่ยวกับพันธุขาวไทย

 เรียนรูเครื่องมือการทำนาขาวในสมัยกอน เครื่องสีขาว เครื่องตำขาว ฝดขาว ทดลองฝกปฏิบัติสาธิตวิธีการตำขาวดวยครกมือและวิธีการฝดขาว


จากนั้นทำการฝดขาวในกระดงเพื่อใหเปลือกขาวหลุดออกจนหมด


 เรียนรูขั้นตอนวิธีการเพาะเมล็ดพันธุขาว การตกกลา การทำนาโยน

สถานีเรียนรูการเพาะกลาขาว (การใชเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม) นวัตกรรมการเพิ่มผลผลิตขาวการทำนาแบบโยนกลา เรียนรูขั้นตอนการทำกลาขาว


เตรียมดินโดยการรอนดินที่บดใหละเอียด โรยดินบดละเอียดใสถาดเพาะกลาประมาณครึ่งหลุม

เตรียมเมล็ดพันธุขาว โดยแชน้ำไว 24 ชม. และบมอีก 24 ชม. โรยเมล็ดพันธุขาวลงในถาดเพาะกลาประมาณ 3- 5 เมล็ดตอหลุม


โรยดินบดละเอียดกลบทับอีกครั้งใหเต็มทุกหลุม แลวเกลี่ยดินใหเสมอขอบปากหลุม โดยใชมือปาดดินสวนเกินออกจากถาดเพาะกลาใหเรียบ

นำถาดเพาะกลาคลุมดวยแสลน เพื่อไมใหดินและเมล็ดขาวกระเด็นออกเมื่อรดน้ำ


ระยะตกกลาใชเวลาเจริญเติบโตประมาณ 15 วัน

 เรียนรูวิธีการทำนาจากวิทยากร 1. นาดำ 2. นาหวาน 3. นาโยน 4. นาหยอด 5. รถดำนา

สถานีเรียนรูการเพาะกลาขาว (การใชเครื่องมือและเทคโนโลยีสมัยใหม) นวัตกรรมการเพิ่มผลผลิตขาวการทำนาแบบโยนกลา


กลาขาวที่มีอายุครบ 15 วัน พรอมเจริญเติบโตในแปลงนา

สาธิตการทำนาโยน


วิทยากรใหความรูเกี่ยวกับการทำนาโยน

ทีมงานรวมกันโยนกลาขาวกลาขาวพันธุปทุมธานี 1 ลงในแปลงนา


 ฝกปฏิบัติการทำนา เรียนรูขั้นตอนวิธีการดำนาปลูกขาวดวยการลงมือทำจริง

วิทยากรใหความรูฝกอบรมสาธิตวิธีการดำนาจากการปฏิบัติลงพื้นที่แปลงนาจริง


เดินถอยหลังกมดำกลาขาวทีละกอลงในแปลงนาเปนแถวตรง

ปกดำตนขาวลงในดินเลน ใหตนกลาระยะหางกันประมาณ 1 ฟุต


 บริเวณพื้นที่แปลงนาสาธิต เนื้อที่ประมาณ 8 ไร ปจจุบันมีเจาหนาที่ดูแลจำนวน 7 คน แบงเปนพื้นที่ทำนา บานพักอาศัย สระน้ำ และเลี้ยงสัตว

มีไก หาน เปด จำนวนหนึ่งอาศัยอยูกันเปนฝูงโดยอิสระ


มีกระบือจำนวน 8 ตัว เลี้ยงไวเพื่อเปนการอนุรักษ และเปนจุดดึงดูดความสนใจจากผูเขามาชมศึกษาดูงาน

โดยผลผลิตที่ไดจากแปลงนาใชเปนอาหารแกสัตวเลี้ยง ไมเพียงพอตอการจำหนาย เนื่องจากนกใน บริเวณพื้นที่เปนศัตรูพืชหลักของนาขาว โดยเจาหนาที่ผูดูแลพยายามใชตาขายคลุมแปลงนาเพื่อกันนก สวน ฟางที่เหลือนำไปเปนอาหารแกกระบือ และใชในการหมดินแปลงปลูกพืชระยะสั้น ผักสวนครัว


 วิทยากรพาไปดูการปลูกขาวในระบบเกษตรทฤษฎีใหม การจัดสรรพื้นที่ทำกินและ ที่อยูอาศัยออกเปน 4 สวน คือ 1. พื้นที่อยูอาศัยเลี้ยงสัตวและโรงเรือนอื่นๆ 10% 2. พื้นที่ปลูกขาวในฤดูฝน เพื่อเปนอาหารในครัวเรือนตลอดป 30% 3. พื้นที่เก็บน้ำในฤดูฝน และใชเพาะปลูกในฤดูแลง เลี้ยงสัตวน้ำและพืชน้ำ 30% 4. พื้นที่ปลูกผลไม ไมยืนตน พืชผักสวนครัว พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ 30%

9. ขอมูลพันธุขาวไทย - อายุของขาว ขาวมีอายุประมาณ 120 วัน โดยเปนคาเฉลี่ยเทานั้น ขาวแตละสายพันธุแตกตางกันไป - ระยะการเจริญเติบโตของขาว ระยะการเจริญเติบโตของขาว ที่สังเกตไดทางกายภาพและสีของทุงนา 4 ระยะ 1. ระยะตกกลา 2. ระยะแตกกอ 3. ระยะตั้งทอง 4. ระยะออกรวงขาวสุก - ชนิดของขาว ขาวแบงออกเปน 2 ชนิดหลัก คือ 1. ขาวไวตอแสง (ขาวฤดูนาป) สวนมากเปนขาวพันธุพื้นเมืองในประเทศไทย ยกตัวอยางเชน ขาว พันธุขาวดอกมะลิ 105 2. ขาวไมไวตอแสง (ขาวนาปรังและฤดูนาป) อายุการเจริญเติบโตนับวันจากวันตกกลา มักใหผลผลิต สูง นิยมปลูกไดผลดีในพื้นที่นาชลประทานภาคกลาง ยกตัวอยางเชน ขาวพันธุปทุมธานี 1


- การตั้งชื่อพันธุขาว กข - ยอมาจากคำวา กรมการขาว หมายถึงขาวไดรับการพิจารณารับรองพันธุ ตัวเลข - แทนเลขแถวหรือรวง พันธุที่ไดจากการวิจัยขาว เลขคู - คือขาวเจา เลขคี่ - คือขาวเหนียว

- ขอมูลพันธุขาว ชื่อพันธุ : ชนิด : ประวัติพันธุ :

ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ (Khao Dawk Mali 105) ขาวเจาหอม ไดมาโดยนายสุนทร สีหะเนิน เจาพนักงานขาว รวบรวมจากอำเภอบางคลา จังหวัด ฉะเชิงเทรา เมื่อ พ.ศ.๒๔๙๓-๒๔๙๔ จำนวน ๑๙๙ รวง แลวนำไปคัดเลือกแบบคัดพันธุ บริสุทธิ์ (Pure Line Selection) และปลูกเปรียบเทียบพันธุที่สถานีทดลองขาวโคกสำโรง แลวปลูกเปรียบเทียบพันธุทองถิ่นในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจน ไดสายพันธุขาวดอกมะลิ ๔-๒-๑๐๕ ซึ่งเลข ๔ หมายถึง สถานที่เก็บรวงขาว คืออำเภอบาง คลา เลข ๒ หมายถึงพันธุทดสอบที่ ๒ คือ ขาวดอกมะลิ และเลข ๑๐๕ หมายถึง แถวหรือ รวงที่ ๑๐๕ จากจำนวน ๑๙๙ รวง การรับรองพันธุ : คณะกรรมการการพิจารณาพันธุ ใหใชขยายพันธุเปนพันธุรับรอง เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๐๒ ลักษณะประจำพันธุ : - เปนขาวเจา สูงประมาณ ๑๐๔ เซนติเมตร - ลำตนสีเขียวจาง ใบสีเขียวยาวคอนขางแคบ ฟางออน ใบธงทำมุมกับคอรวง เมล็ดขาว รูปรางเรียวยาว - ขาวเปลือกสีฟาง - อายุเก็บเกี่ยวประมาณ ๒๕ พฤศจิกายน - เมล็ดขาวกลอง กวาง×ยาว×หนา = ๒.๑×๗.๕×๑.๘ มิลลิเมตร - ปริมาณอมิโลส ๑๒-๑๗ เปอรเซ็นต - คุณภาพขาวสุก นุมเหนียว มีกลิ่นหอม ผลผลิต : ประมาณ ๖๓๖ กิโลกรัมตอไร ลักษณะเดน : 1. ทนแลงไดดีพอสมควร 2. เมล็ดขาวสารใส แกรง คุณภาพการสีดี


ขอควรระวัง : พื้นที่แนะนำ :

3. คุณภาพการหุงตมดี ออนนุม มีกลิ่นหอม 4. ทนตอสภาพดินเปรี้ยว และดินเค็ม ไมตานทานโรคใบสีสม โรคขอบใบแหง โรคไหม และหนอนกอ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือตอนบน

10. การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณ

ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล ตำแหนง หนาที่

คุณภัทรนภา สกุณวัฒน นักวิชาการเกษตรชำนาญการ ตัวแทนผูอำนวยศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ โรงเรียนขาวและชาวนา

ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล ตำแหนง หนาที่ ชองทางการติดตอ

วาที่ ร.ต. ดร. วิวัฒน แสงเพชร นักวิชาการเกษตร เจาหนาที่วิทยากรใหความรูฝกอบรม พาชมบรรยายแตละฐาน โทร. 062-1594295


ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล ตำแหนง หนาที่

คุณปาเพลินตา เมตรไตร (ปาตา อายุ 59 ป) ลูกจางประจำ พนักงานการเกษตร วิทยากรครู สาธิตการเรียนรูวิธีการทำนาเบื้องตน

ชื่อผูใหสัมภาษณ/ใหขอมูล ตำแหนง หนาที่

คุณลุงสมพงษ แจงดี (ลุงพงษ) ลูกจางประจำ พนักงานการเกษตร หัวหนา เจาหนาที่ผูดูแลแปลงนา

สรุป การสำรวจขอมูลโดยการสัมภาษณ มีขอเสนอแนะดังนี้ 1. การปรับปรุงแปลงนาตองใชเงินสนับสนุนจากทางภาครัฐ เนื่องจากถูกตัดงบประมาณ ปจจุบันมี พนักงานการเกษตรดูแลแปลฃนาสาธิตทั้งหมด 7 คน 2. มีความจำเปนในการทำคอกควาย มุงหลังคาใหที่รมสำหรับเปนที่อยูอาศัยสำหรับควาย จำนวน 8 ตัว บริเวณปลายนา และงบประมาณสำหรับซื้ออาหารใหสัตวเลี้ยงมีไมเพียงพอ 3. ตองการงบประมาณในการปองกันศัตรูพืชขาว โดยนกเปนศัตรูพืชหลักที่ทำใหผลผลิตเสียหาย เก็บเกี่ยวไดนอย วิธีการทำใชเสาปูนและตาขายคลุมแปลงนากันนกมากินเมล็ดขาว 4. ตองการปรับปรุงซอมแซมเครื่องสูบน้ำที่เสีย ทำใหน้ำทวมในแปลงนา 5. ตองการปรับปรุงพื้นที่เก็บขาว ยุงฉาง และพื้นที่เก็บเครื่องมืออุปกรณการเกษตร 6. ตองการปรับปรุงจุดทำความสะอาด ลางมือ ลางตัว หลังจากลงปฏิบัติฝกอบรมในแปลงนาสาธิต สำหรับเด็กๆ นักเรียนและผูที่มาเขาอบรมศึกษาดูงาน


11. ปญหาอุปสรรคที่พบและแนวทางแกไขปญหา ปญหาที่พบ 1. การเขาลงพื้นที่ เขาชมโรงเรียนขาวและชาวนา ตองประสานกอนและจะตองมีหนังสือนำ เปน ลายลักษณอักษรจากหนวยงาน วาเปาหมายจุดประสงคที่ตองการ จำนวนคน วันเวลา ที่วิทยากร และพื้นที่ทำนาจะสะดวกใหเราเขาลงพื้นที่ ที่จะลงปฏิบัติในฐานตางๆ ได 2. การที่เขาชมโรงเรียนขาวและชาวนา ตองใชเวลาทำหนังสือลวงหนาและทิ้งระยะไวอยางนอย 15 วัน เพื่อใหทางโรงเรียนเตรียมวิทยากรเตรียมพื้นที่นาและที่สำคัญเตรียมพันธุกลาขาวที่เพาะตอง ใชเวลา 14 - 18 วัน จะไดตนกลาสามารถลงปฏิบัติในแปลงนาเพื่อดำนารวมกัน 3. ฐานบางฐานไมสามารถลงปฏิบัติไดหรือเขาไปชมไมไดเชน ในชวงนี้กระบือที่ไถนา เพิ่งตกลูกก็ไม สามารถเขาไปชมได แนวทางแกไขปญหา 1. ทีมงานไดขอใหทางมหาวิทยาลัยทำหนังสือเขาเยี่ยมชมพื้นที่จึงไดลงพื้นที่ไดตามที่กำหนด 2. ทางโรงเรียนขาว และชาวนาไดชวยแกปญหาเรื่อง ตนกลาเพราะยังมีที่เพาะไวคงคางใชไดพอดี เนื่องจากจำนวนคนที่ลงไปพื้นที่ จำนวนไมไดมากเพียง 10 กวาคน แตถาไปจำนวนมากก็ไม สามารถลงปฏิบัติไดจริงเพราะไมมีตนกลาเพียงพอซึ่งตองใชเวลา 3. ทางทีมงานใชวิธีแกปญหาในบางฐานที่ไมไดเขาไปชม หรือปฏิบัติใชวิธีสังเกตสัมภาษณสอบถาม วิทยากรเพื่อเก็บขอมูลและจากภาพถายในฐานตางๆ สรุป ทีมงานที่ลงพื้นที่โรงงานขาวและชาวนามีการเตรียมตัวมาดีเตรียมทั้งอุปกรณและการแตงกายพรอมที่ จะลงพื้นที่ปฏิบัติอยางแทจริงและไดรับประสบการณจริง


ภาคผนวก วันลงสำรวจพื้นที่ 2 กันยายน 2563

ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา” ติดตอเขาพบทางศูนยฯ สำรวจเสนทางวิธีการเดินทางและพื้นที่ใกลเคียง


วันลงสำรวจพื้นที่ 3 กันยายน 2563

วัดเสมียนนารี (วัดแคราย) พระอารามหลวง

ลงสำรวจพื้นที่วัดเสมียนนารี ทำบุญไหวพระ เก็บขอมูลประวัติความเปนมา


วันลงสำรวจพื้นที่ 8 กันยายน 2563

ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธิน 47 และ 49

ดูการสาธิตการกวนกระยาสารท





วันลงสำรวจพื้นที่ 9 กันยายน 2563

วัดเสมียนนารี (วัดแคราย) พระอารามหลวง กราบนมัสการเจาอาวาส เพื่อสัมภาษณเก็บขอมูลเพิ่มเติม


วันลงสำรวจพื้นที่ 10 กันยายน 2563

ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา” อบรมศึกษาดูงาน ฝกปฏิบัติทดลองการปลูกขาวในระบบเกษตรทฤษฎีใหม



นำขาวเปลือกใสในครกแลวตำดวยสากจนเปลือกขาวแตกออก

ทีมงานไดทดลองฝกปฏิบัติสาธิตวิธีการตำขาวดวยครกมือ


วันลงสำรวจพื้นที่ 11 กันยายน 2563

ศูนยเรียนรูโครงการพระราชดำริ “โรงเรียนขาวและชาวนา” เยี่ยมชมพิพิธภัณฑวิถีขาว และสัมภาษณเจาหนาที่วิทยากรภายในศูนยฯ


วันลงสำรวจพื้นที่ 19 กันยายน 2563

ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธิน 47 และ 49 ดูการสาธิตการทำขนมจีนเสนสด

คุณลุงบุญธรรม กำลังอธิบายสวนผสมในการหมักแปง เพื่อทำขนมจีนเสนสด

นำแปงขนมจีนตักใสหนาแวน เพื่อนำไปบีบเปนเสนขนมจีน


โรยแปงขนมจีนลงในน้ำรอนที่เดือด

เมื่อเสนขนมจีนสุกแลว ใชกระชอน ตักเสนขนมจีนขึ้น แลวนำไปแชในน้ำอุณหภูมิ ปกติอีกครั้ง


เมื่อเสนขนมจีนคลายความรอนแลว นำเสนขนมจีนมาจับใหเปนกระจับเพื่อความสวยงาม

ขนมจีนเสนสด ทานพรอมน้ำยากะทิและผักสด


วันลงสำรวจพื้นที่ 19 กันยายน 2563

ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธิน 47 และ 49

สัมภาษณบุคคลสำคัญของชุมชน

สัมภาษณคุณลุงสมคิด ดวงเงิน เรื่องความเปนมาของชุมชน ประเพณีความเชื่อตางๆ และประวัติเครื่องทองลงหิน

สัมภาษณคุณปญจารีย ดวงเงิน เรื่องเครื่องทองลงหิน ในฐานะผูสืบบทอด


สัมภาษณคุณบุญเสริม โพธิ์เงิน ประธานชุมชนประดิษฐโทรการ คนปจจุบัน เรื่องจุดเดนของชุมชน และแนวทางการพัฒนาชุมชนในอนาคต

สัมภาษณคุณบุบผา ชัยปริกเจริญ สาธิตวิธีการทำขนมครกโบราณ


วันลงสำรวจพื้นที่ 21 กันยายน 2563

ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธิน 47 และ 49

สัมภาษณบุคคลสำคัญของชุมชน

สัมภาษณคุณกนกวรรณ ดวงเงิน อดีตประธานชุมชนประดิษฐโทรการ เรื่องกิจกรรมของชุมชน และความรวมมือคนในชุมชน


วันลงสำรวจพื้นที่ 22 กันยายน 2563

ชุมชนประดิษฐโทรการ พหลโยธิน 47 และ 49

ดูการสาธิตการทำเครื่องทองลงหิน

ดูขั้นตอนการทำเครื่องทองลงหิน วิธีการเจียน เพื่อตกแตงรูป

ลุงบุญธรรม สาธิตการใชคอนทุบขอบตัวผลิตภัณฑ เพื่อนำสวนเกินออก


กลุมวัฒนธรรม ไดทดลองทำในขั้นตอนการทุบเพื่อนำสวนเกินออก



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.