Ea masterplan01 3

Page 1

ผังแม่บทการพัฒนาภูมิทัศน์ พ.ศ. 2556-2560

คณะวิศวกรรมศาสตร์ แ ละสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา


จัดทำโดย :

สาขาวิชา การจัดการผังเมือง

คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา พิมพ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน 2556


สารบัญ

หน้า

บทที่ 1

บทนำ

1

บทที่ 2

สภาพปัจจุบันและปัญหา

4

บทที่ 3

แนวคิดหลักในการพัฒนา

59

บทที่ 4

ข้อเสนอแนะการพัฒนา

85

ภาคผนวก


1

บทนำ 1


งานวางผังแมบท คือการสรางกรอบการวางแผนพัฒนาดานกายภาพใน อนาคตโดยการระดมความเห็นจากบุคลากรทั้งหมดภายในองคกร เพื่อสราง ภาพอนาคตรวมกันและสามารถกำหนดกิจกรรม โครงการ และงบประมาณ ไดอยางเหมาะสม สอดคลองกับความตองการของคนสวนใหญ เกิด ประโยชนจากการพัฒนาอยางสูงสุด ชวยลดขอขัดแยงในการทำงาน และยัง เปนเครื่องมือในการบริหารจัดการที่ทำใหเกิดการระดมความสามารถ ความ รวมมือรวมใจของบุคลากรในองคกรทั้งหมดไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะ เปนการนำไปสูการสรางธรรมาภิบาลในการบริหารใหกลายเปนวัฒนธรรม องคกรตอไป การเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา เปนการเรียนการสอนเพื่อเตรียม คนใหเปนบัณฑิตออกไปสูสังคมเพื่อพัฒนาชาติ เปนผูใหญที่มีวุฒิภาวะ มี รสนิยม รูจักเคารพความคิดเห็นผูอื่น และมีจิตสำนึกสาธารณะ ดังนั้นการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะ บรรลุเปาหมายในการสรางบัณฑิตลักษณะดังกลาวได ตองมีการออกแบบ สภาพแวดลอมที่สงเสริมใหเกิดการคนควา การแลกเปลี่ยนความรู การมี สำนึกตอการรักษาดูแลพื้นที่สาธารณะ จึงเปนที่มาของการวางผังแมบทนี้ที่ มุงหมายจะสรางกรอบการพัฒนาดานกายภาพของพื้นที่เพื่อสรางความ รมรื่นใหกับบริเวณ สรางสิ่งอำนวยความสะดวกชวยใหนักศึกษาไดเกิดการ ปฏิสัมพันธแลกเปลี่ยนความรูกัน สรางสภาพภูมิทัศนที่สวยงามเพื่อเปนแบบ อยางใหกับพื้นที่เมือง สรางระบบการจัดการยานพาหนะมีการอำนวยความ สะดวกและควบคุมการเขาถึงในแตละพื้นที่อยางเหมาะสม นอกจากจุดมุงหมายของผลสำเร็จในการวางผังแมบทดังที่ไดกลาวมา แลวนี้ โดยกระบวนการของการวางผังแมบทเองยังเปนการสรางความเปน น้ำหนึ่งใจเดียวกันใหกับบุคลากรในองคกรที่จะไดมีโอกาสรวมคิด รวมเสนอ แนะ ใหขอคิดเห็นในมิติตางๆเพื่อใหไดผังแมบทที่เกิดจากความตองการของ คนสวนใหญอยางแทจริง เนื่องจากผังแมบทมีลักษณะการบริหารที่เปน พลวัตรคือตองมีการตรวจสอบ รายงาน และปรับปรุงใหสอดคลองกับบริบท ที่เปลี่ยนไปในแตละชวงเวลา การมีผังแมบทประกอบการบริหารจึงทำให เกิดการถายทอดแนวทางและวิสัยทัศนของสวนรวมจากผูบริหารรุนหนึ่งสูผู บริหารอีกรุนหนึ่งไดอยางมีประสิทธิภาพ ทำใหเกิดการพัฒนาที่ตอเนื่อง ยั่งยืน เปนกลไกที่ทุกคนในองคกรรวมสราง รวมรับรู รวมพัฒนา และรวม ดำเนินการใหเกิดเปนรูปธรรมอยางแทจริง 2


คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2550 เปนสถาบันอุดมศึกษาสายวิชาชีพ มีคณบดีเปนผูรับผิดชอบในฐานะหัวหนาสวนราชการ จัดตั้งเปนคณะฯ โดยรวมคณะ วิชาเครื่องกล คณะวิชาโยธา คณะวิชาไฟฟา คณะวิชาเทคโนโลยีการผลิต และคณะวิชาสถาปตยกรรมศาสตร เขาดวยกัน มีภารกิจ 4 ดานคือ งานจัดการศึกษา งานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม งานบริการทางวิชาการแกสังคม งานทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม

วิสัยทัศน เปนผูนำในการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะทางวิชาชีพและเทคโนโลยี มีคุณธรรม จริยธรรม สรางสรรคงานวิจัย เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ภายใตการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล พันธกิจ 1.จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐานดานวิชาชีพและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สอดคลองกับความตองการของผูรับบริการ 2.สรางงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิชาชีพและเทคโนโลยีการผลิต การบริการและสรางมูลคาเพิ่มใหกับสังคม 3. มุงบริการและถายทอดวิชาชีพและเทคโนโลยีแกสังคม 4. ทำนุบำรุงศาสนา อนุรักษศิลปะและวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดลอม 5. บริหารจัดการดวยระบบธรรมาภิบาล เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานขององคกร

จากประวัติความเปนมาของคณะวิศวกรรมศาสตรและ สถาปตยกรรมศาสตร ความหมายและขอดีของการวางและจัดทำ ผังแมบทดังที่กลาวมาแลวนั้น คณะผูบริหารของคณะฯจึงมีความ เห็ น ชอบร ว มกั น ที่ จ ะจั ด ทำผั ง แม บ ทคณะวิ ศ วกรรมศาสตร แ ละ สถาปตยกรรมศาสตรที่มีลักษณะเปนการฉายภาพอนาคตในอีก 20 ปขางหนาเปนเปาหมายความสำเร็จ มีการรายงานการดำเนินการ ตามผังแมบทในทุกๆหนึ่งปการศึกษาและมีการจัดทำการปรับปรุง รายละเอียดของผังแมบทในทุก 5 ปการศึกษา โดยในการจัดทำ รายละเอียดผังแมบทฉบับเริ่มแรกนี้คณะฯไดมอบหมายใหสาขา วิชาการจัดการผังเมืองเปนผูดำเนินการ โดยตองยึดมั่นในวิสัยทัศน และพันธกิจของคณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร เปนสำคัญ 3


สภาพปจจุบัน และปญหา

2

บทนี้จะเปนการรวบรวมสภาพปจจุบันของพื้นที่ในสังกัดคณะวิศวกรรมศาสตรและ สถาปตยกรรมศาสตร โดยแบงพื้นที่เปน 7 กลุม แยกตามอาคารและกลุมวิชาเรียนที่อยูติดตอ กัน แสดงจำนวนหองและพื้นที่ของแตละอาคาร นำเสนอใหเห็นปญหาดานกายภาพของแตละ กลุมที่ตองมีการจัดการ โดยภาพรวมของปญหาในพื้นที่ที่สำคัญสามารถจำแนกออกมาไดดังตอไปนี้ 1. การขาดการจัดการบริหารพื้นที่ใหมีภูมิทัศนที่แสดงถึงความตอเนื่อง เปนกลุมกอน เปนอัน หนึ่งอันเดียวกัน 2. ปญหาที่จอดรถยนตและที่จอดรถมอเตอรไซด ที่กินพื้นที่วางที่ควรจะพัมนาเปนพื้นที่เพื่อ การนันทรนาการ 3. ปญหาการเก็บวัสดุฝก วัสดุเหลือใช ที่ยังไมเปนระเบียบ มีการวางสิ่งของเกะกะในบางพื้นที่


แบงพื้นที่ออกเปน 7 กลุมดวยกันคือ 1. กลุมอาคารวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว 2. กลุมอาคารสถาปตยกรรม

3

7

3. กลุมอาคารวิศวกรรมเครื่องกล 4. กลุมอาคารเครื่องมือและแมพิมพ 5. กลุมอาคารสำนักงานคณบดี

5

6. กลุมอาคารวิศวกรรมโยธาและสำรวจ 7. กลุมอาคารวิศวกรรมไฟฟา

4

6 2

1 5


1 กลุมอาคารวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว

6


อาคารชางกลเกษตรเดิมที่มีคุณคา ควรแกการเก็บรักษาไวเปนประวัติศาสตร ตองมีการจัดระบบการใชงานและดูแลรักษาอาคารที่ดี ควรที่จะมีการเก็บ รวบรวมประวัติศาสตรความเปนมาในแตละยุคสมัยตอเนื่องถึงปจจุบันของ อาคาร เพื่อเปนขอมูลในการจัดทำรายงานเพื่อขอรับรางวัลอาคารอนุรักษจาก หนวยงานที่เกี่ยวของตอไป 7


8


9


10


ป ญ หาหลั ก ของอาคารกลุ  ม นี้ ก็ คื อ การวางเครื่ อ งมื อ เครื่องจักรเกี่ยวกับการเกษตรเดิม ในสภาพที่ขาดการดูแล รักษา ยังไมมีทางเดินเทาหลักที่ชัดเจน การตกแตงภูมิ ทัศนในพื้นที่ยังขาดอัตลักษณ การจอดรถมอเตอรไซดที่มี อยูรอบตัวอาคาร ทำใหพื้นที่วางโดยรอบอาคารสูญเสีย ความสงางามไป โดยเฉพาะอาคารประวัติศาสตรที่มีองค ประกอบอาคารนาสนใจ

11


กลุมอาคารสถาปตยกรรม

2 12


1 อาคารอุตสาหกรรม2

1

2

2 13


14


กลุมอาคารสถาปตยกรรม มีอาคารอุตสาหกรรม2 ที่เปนอาคารมีคุณคาทาง ประวัติศาสตรของสถาบัน ควรที่จะจัดทำเปนอาคารแสดงประวัติศาสครความ เปนมาของมหาวิทยาลัย จัดแสดงภาพเกา วัตถุ ครุภัณฑเดิม ในพื้นที่อาคาร อาคารเดิมที่มีความทรุดโทรมควรที่จะมีการศึกษาขอมูลจัดทำการอนุรักษอยาง ถู ก ต อ งตามหลั ก วิ ช าการอนุ รั ก ษ ส ถาป ต ยกรรม เป น โอกาสของกลุ  ม สถาปตยกรรมที่จะไดมีโอกาสจัดทำงานวิจัยหรือโครงการตางๆที่เกี่ยวเนื่อง แต ทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับนโยบายของมหาวิทยาลัยเปนหลัก เนื่องจากตองใชงบ ประมาณในการดำเนินการจำนวนมาก

15


สภาพความชำรุดทรุดโทรมของอาคาร เนื่ อ งจากขาดการบำรุ ง รั ก ษามาเป น เวลานาน และบางสวนของอาคารยัง ถูกปรับเปลี่ยนวัสดุ รูปทรง โดยรูเทา ไมถึงการณ เสนอแนะใหมีโครงการจัด ทำการประเมิ น คุ ณ ค า และความ เสื่ อ มโทรมของอาคารเพื่ อ ทำการ อนุรักษ โดยเนนกระบวนการมีสวน รวมระหวางมหาวิทยาลัยกับศิษยเกา

16


หอประชุมเกา

หอประชุมเกาที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอาคารจนเสียรูปทรงและประโยชนใชสอย เสนอแนะใหจัดทำ โครงการอนุรักษโดยเนนการสงเสริมใหเปนอาคารประวัติศาสตร แตยังคงใหใชประโยชนตามประโยชน ใชสอยเดิมได คือเปนสถานที่ประชุมสำหรับรองรับคนประมาณ 600-800 คน หรือการจัดเลี้ยงตางๆที่จำนวน คนไมเกินกวานี้ ซึ่งบรรยากาศโดยรอบที่ยังคงเดิมจะชวยสงเสริมใหอาคารดูมีคุณคายิ่งขึ้น 17


ลานดานขางอาคาร22 ที่เดิมเปนที่จอดมอเตอรไซดและรถยนต ควร ปรับเปลี่ยนเปนลานนั่งพักผอนสำหรับนักศึกษา บังคับมอเตอรไซดให จอดในจุดที่กำหนดให จุดจอดมอเตอรไซด ที่ควรบังคับใหจอดในจุดนี้ เพียงที่เดียวเทานั้น อาคารหอประชุมเกาที่ควรอนุรักษเปนอาคาร ประวัติศาสตร

18


19


3 กลุมอาคารวิศวกรรมเครื่องกล

20


21


22


23


24


25


26


ปญหาของกลุมอาคารเครื่องกลคือ การที่มีลานคอนกรีตทั้งบริเวณ ทำใหเกิดการ สะทอนความรอนเขาสูอาคาร อีกทั้งในบริเวณก็ไมมีการตกแตงภูมิทัศนดวยตนไมที่ใหรม เงายิ่งทำใหพื้นที่ดูแหงแลวมากยิ่งขึ้น เครื่องกล เครื่องจักรที่จอดอยูมีลักษณะเปนการจอดท้ิง มากกวาจะเปนการจอดแบบ รอใชงาน พื้นที่บางสวนมีความทรุดโทรมเนื่องจากการผุกรอนของผิวพื้น ตัวอาคารที่จอดรถแทรกเตอร มีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนพิพิธภัณฑแสดง ประวัติศาสตรความเปนมาของกลุมเครื่องกล เสนอแนะใหจัดทำเปนพิพิธภัณฑของคณะ จัดแสดงประวัติศาสตรของกลุมอื่นๆเสริมเขาไปดวย โดยที่ใหสถานที่ยังใชเปนหองเรียน ไดในบางเวลา

27


28


29


30


4 กลุมอาคารเครื่องมือและแมพิมพ

31


พื้นที่รวม 4,230 ตารางเมตร พื้นที่อาคาร ตารางเมตร

32


พื้นที่รวม 3,265 ตารางเมตร

33


อาคารในกลุมนี้เปนอาคารขนาดเล็กหลายอาคาร วางอยูในบริเวณตอเนื่องกัน ทำใหมีตรอก ซอยเล็กๆระหวางอาคารจำนวนมาก และ ตรอกเหลานี้ก็ใชเปนที่วางวัสดุ ครุภัณพที่ไมไดใชงานแลว ทำใหเกิดเปนซอกหลืบที่ไมมีการใชงานจริง การจัดที่จอดมอเตอรไซดอยูรอบอาคารทุกหลังถือเปนขอบกพรองสำคัญที่ทำใหพื้นที่อาคารกลุมนี้ขาดภูมิทัศนที่ดี อีกทั้งการจัดสวน หยอมในแตละอาคารที่มีลักษณะตางคนตางทำ ตามแตใครจะคิดทำไป ทำใหขาดความตอเนื่องทางสายตา และขาดความเปนกลุมกอนใน ภาพรวม

34


พื้นที่รวม 3,428 ตารางเมตร

35


5 กลุมอาคารสำนักงานคณบดี

36


37


38


39


40


41


การจัดวางสิ่งของ ครุภัณฑตางๆที่ไมไดใชงานเกะกะในบริเวณริมรั้ว และกันสาดอาคาร ถือ เปนปญหาสำคัญของอาคารในกลุมนี้ ซอกหลืบตางๆของอาคารที่มีจำนวนมากควรที่จะตองมี การปรับปรุงใหมองเห็นไดงายจากภายนอกบริเวณ หรือมีการจัดภูมิทัศนเสริมพื้นที่ในจุดสำคัญ ตองมีการรื้อทิ้งสิ่งของที่ไมไดใชงานเพื่อลดขยะทางสายตาในพื้นที่นี้ลงไป

42


43


6 กลุมอาคารวิศวกรรมโยธาและสำรวจ

44


45


46


47


ปญหาหลักของพื้นที่กลุมโยธาคือ การใชพื้นที่รอบอาคารเปนที่จอดรถ ทำใหไมมีมุมมอง ที่สงเสริมภาพลักษณใหกับอาคาร การจอดรถยนตและรถมอเตอรไซดติดหรือใกลอาคาร ทำใหสูญเสียพื้นที่วางที่ควรจะนำมาจัดเปนสวนนั่งพักผอน หรือพื้นที่สันทนาการใหกับ นักศึกษา อาจารย และเจาหนาที่ ทั้งยังเปนการสรางภาพลักษณใหกับสาขาวิชาอีกดวย การกองเก็บวัสดุฝก และอุปกรณประกอบในลักษณะไรระเบียบในบริเวณทางเดินทำให เปนอุปสรรคในการใชทางเดินเทาในอาคาร ดวยอาคารกลุมนี้อยูริมน้ำ แตในการใชงานจริงยังไมมีการใชประโยชนจากพื้นที่ริมน้ำ อยางที่ควรจะเปน มีลักษณะการใชพื้นที่ริมน้ำเปนเหมือนพื้นที่หลังบาน มากกวาที่จะเอา ประโยชนจากพื้นที่ริมน้ำมาสรางเปนมุมสันทนาการ มุมอานหนังสือ หรือมุมสังสรรคของ นักศึกษา อาจารยหรือเจาหนาที่

48


49


50


51


52


7

กลุมอาคารวิศวกรรมไฟฟา

53


1 2 54


3 4 55


56


พื้นที่จอดรถทั้งดานหนา และดานหลังอาคารวิศวไฟฟา ควรที่จะนำมาปรับปรุงเพื่อสรางภาพ ลักษณใหกับอาคาร พื้นที่ซอยเล็กๆรอบอาคารเปนที่วางวัสดุเกะกะทั่วบริเวณ การจอดรถ มอเตอรไซดที่เนนจอดใกลอาคารเปนหลัก ทำใหอาคารไมสามารถมีพื้นที่สีเขียวที่สวยงาม และแลดูเปนระเบียบได

57


58


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.