Ea masterplan02 3

Page 1

แนวคิดหลักใน การพัฒนา

3

บทนี้เปนการแสดงขอมูลตัวอยางผลสำเร็จสุดทายที่ตองการใหแตละพื้นที่เดินทางไปถึง เปนการสรางจินตภาพเบืิ้องตนใหกับทุกคนที่เกี่ยวของไดมองเห็นไปในมุมเดียวกัน อันจะทำให เกิดเปาหมายที่ชัดเจนและมีขอขัดแยงในระหวางการดำเนินการนอยลง ในชวงแรกเปนการ อธิบายใหเห็นถึงภาพรวมของการทำงานที่เกี่ยวของกับขอมูล พื้นที่ และการจัดการ จัดแสดง ตัวอยางองคประกอบพื้นที่ตางๆที่ควรจะมีในพื้นที่ตั้งแตตนไม ปายบอกทาง ประติมากรรม เฟอรนิเจอรสนาม ฯลฯ จากนั้นจะอธิบายแนวคิดการพัฒนาแตละพื้นที่โดยแสดงเปนภาพ ตัวอยางของในแตละกลุมพื้นที่ของคณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร ทั้ง 7 กลุม


ภาพรวมในการพัฒนาจะประกอบไปดวยองคประกอบใหญๆในการพัฒนา 3 องคประกอบดวยกันคือ ขอมูล พื้นที่ และการจัดการ ตามรายละเอียดดังตอ ไปนี้

แนวคิดภาพรวมการพัฒนา

1. ขอมูล เปนการเก็บขอมูลชองแตละกลุมพื้นที่ คือขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่และการใช งานพื้นที่อาคารในแตละกลุมที่ตองมีการสำรวจ จดบันทึก และจัดทำ ประวัติการใชงานการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตางๆในพื้นที่ของแตละอาคารใน กลุมไวเสมอ ขอมูลสำคัญสวนหนึ่งก็คือขอมูลประวัติศาสตรที่เกี่ยวของกับ การเรี ย นการสอนและการก อ สร า งของแต ล ะกลุ  ม พื้ น ที่ โ ดยเน น การเก็ บ รวบรวมวัตถุหรือภาพถายที่มีคุณคา โดยสวนหนึ่งจะถูกนำมาจัดแสดงรวมใน หอประวัติศาสตรของคณะฯ แตขณะเดียวกันในแตละกลุมพื้นที่ก็จะมีขอมูล เหลานี้ปรากฏอยูดวย

หอประวัติศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร - ขอมูลบุคลากร อาจารย ที่เปนที่รูจักในบรรดาผูที่เกี่ยวของ - ขอมูลศิษยเกา ที่ประสบความสำเร็จในอาชีพ - ภาพเกาของอาคาร กิจกรรม ผูคนที่เกี่ยวของกับสาขาวิชา - เครื่องมือรุนเกา ที่ไมไดใชในการสอนปจจุบัน สื่อการสอนดั้งเดิม เครื่องใชยุคเกา

ขอมูล

2. พื้นที่ หมายถึงพื้นที่ที่อยูรอบตัวอาคารทั้งหมดของแตละกลุม ซึ่งตองมีการเก็บ ขอมูลไวเปนประวัติตามแตละชวงเวลาเชนเดียวกัน เพื่อใหสามารถตรวจ สอบไดวามีการเปลี่ยนแปลงอะไร อยางไร ในชวงเวลาใด โดยเรื่องกายภาพ โดยรอบอาคารนี้ไดอธิบายดวยภาพและขอความประกอบไวดวยแลวในหนา ถัดไป 3. การจัดการ การจัดการที่สำคัญคือจะตองมีการตั้งคณะกรรมการอำนวยการผังแมบท ขึ้นมาอยางเปนทางการ โดยประกอบไปดวยกลุมบุคคลดังที่แสดงไวในกรอบ แนวคิด ตัวแทนนักศึกษาและตัวแทนศิษยเกาควรจะไดรับเชิญใหเขามารวม ดวยในฐานะของผูที่มีสวนในการดูแลรักษา(นักศึกษา) และเปนผูชวย สนับสนุนในดานตางๆที่ไมสามารถใชชองทางของทางราชการได (ศิษยเกา) การดำเนินการใดๆที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชงานพื้นที่ การ ใชงานอาคาร ควรไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการอำนวยการชุดนี้เสีย กอนจึงจะดำเนินการได เพื่อใหกลุมผุเกี่ยวของทั้งหมดไดรับทราบอยางเทา เทียมและทั่วถึงกัน นอกจากจะเปนการลดการทำงานที่ซ้ำซอนกันแลวยัง เปนการแสดงใหเห็นถึงธรรมาภิบาลขององคกรอีกดวย

กายภาพโดยรอบอาคาร

คณะกรรมการอำนวยการผังแมบท

- ตนไม - ประติมากรรม - ปายบอกทาง - เฟอรนิเจอรสนาม - งานระบบวิศวกรรม น้ำ ประปา ไฟฟา โทรศัพท อินเตอรเน็ต - องคประกอบอาคาร - ที่จอดรถ

- ตัวแทนผูบริหาร - ตัวแทนนักศึกษา - ตัวแทนศิษยเกา - ตัวแทนจากทุกสาขาวิชา

พื้นที่

หนาที่หลักคือควบคุม บริหาร โครงการใหเปนไป ตามผังแมบท มีอำนาจแตงตั้งอนุกรรมการ อนุมัติ การปรับปรุงอาคาร ตกแตงสถานที่ หรือปรับ เปลี่ยนแนวคิดของผังแมบท

การจัดการ


ตนไม ไมยืนตน ไมพุม ไมคลุมดิน ทั้งหมด เลือกใชบนพื้นฐาน แนวคิดที่ตองการใหดูแลรักษางาย มีพุมทรงที่สวยงาม นา สนใจ โดยไมตองตัดแตงหรือบำรุงรักษามาก ในบริเวณใดที่ ไมสามารถปลูกไมยืนตนไดใหใชวิธีสรางอุปกรณเปนซุมหรือ ทรงพุมใหไมเลื้อยปกคลุม(ดูตามภาพตัวอยาง) บริเวณใดที่ เป น อุ ป กรณ ไ ฟฟ า หรื อ เครื่ อ งประกอบเครื่ อ งจั ก รที่ ไ ม ต อ งการให ม องเห็ น ให ท ำเป น ระแนงไม รู ป แบบเดี ย วกั น ปดบังสายตาไว งานพื้นทั้งหมดเนนการกอสรางและดูแล รักษางาย ใชการผสมผสานกันระหวางพื้นผิวหญา พื้นบลอ ครูปลูกหญา(บริเวณที่จอดรถหรือที่ตองรับน้ำหนัก) พื้น กรวดแมน้ำ พื้นหินคลุกทั่วไป เปนตน

61


ประติมากรรม เนนการใชลักษณะของตนไม ไมพุม เนินดิน หรือ วัสดุเหลือใช มาทำเปน ประติมากรรมตกแตงบริเวณ โดยทั้งหมดตองอยูบนแนวคิดของการดูแลรักษาได งาย ไมสิ้นเปลืองแรงงานในการบำรุงรักษา ประติมากรรมบางสวนจะเปนการใช เปนเฟอรนิเจอรประกอบบริเวณไปดวย คือเปนไดทั้งประติมากรรมตกแตงและ เปนที่นั่ง ที่ติดปาย หรือรมเงา เปนตน

62


จัดวางระบบปายตางๆใหเปนระดับตามความสำคัญและประโยชนใชสอย โดยแบง เปนปายขนาดใหญเพื่อการประชาสัมพันธ ปายขนาดกลางเพื่อการบอกทางและ แสดงรายละเอียดของขริเวณ และปายขนาดเล็กบอกชื่อหอง และทิศทางการเขาถึง มีการกำหนดจุดที่ติดตั้งปายแบบถาวร และหมุนเวียน พรอมทั้งมีการวางระบบดูแล ใหปายตางๆเปนปจจุบันใหมากที่สุด เพื่อลดความผิดพลาดในการสื่อสารระหวาง ปายกับผูใชงาน

ปายบอกทาง 63


เฟอรนิเจอรสนาม

เฟอรนิเจอรสนาม เนนการเลือกใชเฟอรนิเจอรที่ยึด ติดกับที่ตายตัว สามารถทนแดด ทนฝนได หลีกเลี่ยง การใชเฟอรนิเจอรหินชัดสำเร็จรูป แตใชวิธีออกแบบ แลวทำติดตั้งไปในพื้นที่แทน โดยจะพยายามนำวัสดุ เหลือใชที่มีอยูมาสรางเปนเฟอรนิเจอรใหไดมากที่สุด

64


งานระบบวิศวกรรม

Green System

ใชแนวคิดการกอสราง สวนรับน้ำฝน (rain garden) เปนแนวคิดหลักในการสรางระบบระบายน้ำฝนในบริเวณ โดยการวางแผนระบบระบาย น้ำใหมทั้งหมด(เปนโครงการระยะยาว) ที่ใชการผสมผสานระหวางการระบายน้ำผิวดินดวยสวนรับน้ำฝน และการระบายน้ำเสียของอาคารทั้ง หลายดวยระบบทอ ขอดีของการใชระบบระบายน้ำผิวดินแบบสวนรับน้ำฝนก็คือจะทำใหในบริเวณทั้งหมดไมสามารถบอกไดวาตรงไหนคือ รางน้ำ เพราะใชระบบการจัดแตงภูมิทัศนปดบังไวทั้งหมด และยังเปนการชวยกรองชยะและของเสียตางๆกอนที่จะไหลลงสูบอพักไดอีกดวย แนวทางดังกลาวนี้ยังจะเปนเหมือนโครงการนำรองตนแบบใหกับพื้นที่เมือง เนื่องจากในปจจุบันองคกรปกครองทองถ่ินทั้งหลายลวนแลวแต ประสบปญหาการขาดแคลนพื้นที่ซึมน้ำในชุมชนทั้งสิ้น

65


Green Roof

องคประกอบอาคาร

เสนอแนวคิดการสรางรูปแบบเดียวกันของอาคารดวยการประดับ ดวยผนังเขียวหรือหลังคาเขียวในแตละอาคาร โดยการใชผนังเขียว เปนสวนประกอบของอาคาร แตละอาคารในกลุมคณะตองมีผนัง เขียวจัดวางเปนจังหวะในแตละจุด แตละบริเวณที่เหมาะสม โดยใน แตละกลุมอาคารอาจจะเลือกใชพืชพรรณที่ตางกันออกไปใหเปน อัตลักษณของแตละพื้นที่ การใชผนังเขียวในการตกแตงอาคารนี้ นอกจากจะแสดงใหเห็นถึงความเปนอาคารในกลุมคณะเดียวกัน แลว ยังเปนการลดความรอนที่เขาสูอาคารอีกดวยซึ่งจะมีผลใหเกิด การประหยัดคาใชจายเกี่ยวกับการปรับอากาศภายในอาคารอีก ดวย

Green Wall

66


Green Parking

ที่จอดรถ

การปรับปรุงผิวที่จอดรถโดยเนนความเขียวของพื้นที่และการใหน้ำซึมผานได เพื่อลด ความรอนและลดปริมาณน้ำผิวดิน วางตำแหนงที่จอดรถใหจอดรวมกันที่จุดเดียวแตทำ ปริมาณรองรับใหพอเพียงกับความตองการ แลวเปลี่ยนตำแหนงที่จอดรถเดิมใหเปนสวน หรือที่วางที่สงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอน เมื่อสามารถกำหนดตำแหนงที่จอดรถได เปนจุดๆตามนโยบายแลวจะสามารถรองรับจำนวนรถยนตตามความตองการไดแตใช พื้นที่ลดนอยลงกวาเดิม การกำหนดใหผูใชรถยนตตองจอดรถรวมกันในจุดจอดที่กำหนด เทานั้น จะทำใหเกิดการเดินเทาในพื้นที่มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ตองมีการปลูกตนไมใหรมเงาเพิ่ม มากขึ้นเพื่อสรางแรงจูงใจใหเกิดความสะดวกในการเดินเทา

67


1

68


กลุมอาคารวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว

เนนตกแตงดวยการสรางประติมากรรมจากวัสดุ หรือเครื่องจักรที่เหลือใช เพื่อเปนองคประกอบ ประดับพื้นที่ มีการจัดวางในพื้นที่ตางๆอยาง เหมาะสม เพื่อดึงดูดสายตา สรางความนาสนใจให กับพื้นที่ ประติมากรรมบางจุดจะเปนการใชชิ้น สวน หรืออะไหลเครื่องยนตเครื่องจักรเกามาจัด วางใหเกิดประโยชนใชสอยเชน เปนที่นั่ง เปนที่ วางกระถางตนไม ทั้งนี้เพื่อเปนการสราง บรรยากาศที่ผอนคลายและเปนการนำสิ่งของที่ไม ใชแลวมาสรางประโยชน


70


กลุมอาคารสถาปตยกรรม โดยเฉพาะหอประชุม๑ และอาคารอุตสาหกรรม๒ ซึ่งเปนพื้นที่ อนุรักษตามที่กำหนดในผังบริเวณของมหาวิทยาลัย เสนอแนะใหเปลี่ยนประโยชนใชสอย อาคารอุตสาหกรรม๒ เปนหอประวัติศาสตรศูนยกลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน ภายในเปนการจัดแสดงประวัติความเปนมาของการจัดการศึกษาตั้งแตเริ่มกอตั้งใน สมัยที่เปนวิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนอาคารหอประชุม๑ เสนอแนะให รักษาสัดสวน รูปทรงของอาคารเดิมใหใกลเคียงกับของเดิมใหมากที่สุด ลดทอนสวนที่ตอ เติมออกไปใหหมด กำหนดใหพื้นที่ตรงนี้เปนลานวัฒนธรรมของคณะหรือมหาวิทยาลัย ใช เปนที่สำหรับการประชุมชุมนุมคนที่มีจำนวนไมเกิน ๕๐๐ คน โดยไมตองใชระบบปรับ อากาศ อาจจะเปนลานกิจกรรมสำหรรับนักศึกษาของแตละชมรมก็ได

กลุมอาคารสถาปตยกรรม

2 71


72


3 กลุมอาคารวิศวกรรมเครื่องกล

73


การพัฒนาหลักของพื้นที่นี้คือการเปลี่ยนประโยชนใชสอยอาคาร โรงเก็บเครื่องจักรกล เปนอาคารพิพิธภัณฑคณะ โดยเนนการเพิ่ม บอรดและแทนจัดแสดงเครื่องมือ สื่อการสอน ในแตละยุคสมัย มี การจัดเนื้อหาเรื่องราวแสดงความเปนมาของคณะตั้งแตสมัยเริ่มตน เมื่อยังเปนวิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการรวบรวม ภาพกิจกรรมเกา อาจารยเกา จัดแสดงภายในอาคาร บริเวณดานขางอาคารทำเปนที่จอดรถรวมสำหรับอาจารยและเจา หนาที่ มีการปรับปรุงภูมิทัศนที่เนนการลดพื้นที่ผิวคอนกรีตโดย ทดแทนดวยการเพิ่มพื้นที่ปลูกหญาและเพิ่มตำแหนงกระถางตนไม ในบริเวณ

74


4

กลุมอาคารเครื่องมือและแมพิมพ เมื่ออาคารเรียนรวมคณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตรสรางเสร็จ จะเกิดการปรับยาย หนวยงานบางสวนของคณะฯเขาไปใชพื้นที่ภายในอาคารเรียนรวม เสนอใหปรับปรุงกลุมอาคารเครื่อง มือและแมพิมพดวยการยายตำแหนงไปไวที่อื่น และปรับปรุงเปนลานกิจกรรมสันทนาการกลางแจง เปนเหมือนลานวัฒนธรรมสำคัญของคณะฯ มีพื้นที่สำหรับการสอนแบบภายนอกอาคาร หรือเปนพื้นที่ ศูนยรวมกิจกรรมตางๆของนักศึกษาภายในคณะฯ บริเวณนี้หลังการปรับปรุงจะเปนเหมือนสวน สาธารณะและที่โลงขนาดใหญโดยมีอาคารเรียนของคณะฯอยูรายรอบ ตอไปการดำเนินกิจกรรมตางๆ ที่มีการชุมนุมคนจะยายมาดำเนินการในพื้นที่นี้ เปนเหมือนศูนยกลางกิจกรรมของคณะ (Faculty Square)

75


76


77


78


5

กลุมอาคารสำนักงานคณบดี

79


เมื่ออาคารสำนักงานคณบดี ยายไปใชพื้นที่ภายในอาคารเรียนรวมคณะวิศวกรรมศาสตร และสถาปตยกรรมศาสตรแลว เสนอแนะใหใชพื้นที่เดิมเปนอาคารสโมสรนักศึกษา เปน สำนักงานของฝายกิจกรรมและการบริการนักศึกษา ดวยการปรับปรุงรูปแบบองคประกอบ บางสวน เพื่อใหเกิดประโยชนใชสอยตอเนื่องกันกับที่วางหรือลานกลางแจงที่ปรับปรุงจาก การรื้ออาคารกลุมเครื่องมือและแมพิมพมาปรับเปนศูนยกลางกิจกรรมคณะ(Faculty Square) โดยพื้นที่ดังกลาวเปนพื้นที่กลางแจง มีอาคารสำนักงานคณบดีเดิม เปนพื้นที่รวม กิจกรรมในรม ซึ่งจะมีผลสงเสริมซึ่งกันและกันทำใหเกิดภูมิทัศนที่สวยงามและมีประโยชน ใชสอยที่สมบูรณ

80


6

กลุมอาคารวิศวกรรมโยธาและสำรวจ

กลุมโยธาและสำรวจเนนการปรับปรุงพื้นที่ทางเดิน เชื่อมตอของแตละอาคารใหโปรง โลง ดูสะอาดตา จัดระเบียบวัสดุฝก วัสดุทดลองตางๆดวยการบังดวย ประติมากรรมหรือฉากตนไม ดานที่วางติดถนน ภายในเนนการตกแตงพื้นที่ดวยประติมากรรมที่มี เรื่องราวเปนการเอาชนะแรงดึงดูดของธรรมชาติ หรือลักษณะรูปรางที่สื่อไปถึงงานทางดานวิศวกรรม

81


82


กลุมอาคารวิศวกรรมไฟฟา

7

83


ปรับลริเวณที่จอดรถยนตเดิมเปนลานจอดรถมอเตอรไซด เปดประตูใหเขาไดโดยตรงจากถนน สุรนารายณ แตไมใหผานเขามาในพื้นที่ดานใน ตองจอดตามพื้นที่ที่กำหนดใหเทานั้น สวนอีก ดานฝงตรงขามตึกโยธา ใหปรับปรุงที่วางเปนลานจอดรถ โดยเนนการสรางพื้นผิวใหเปนแบบ บลอครูปลูกหญาและน้ำซึมผานได กำหนดนโยบายอนุญาตใหจอดรถยนตในตำแหนงที่กำหนด เทานั้น ออกแบบอุปสรรคปองกันไมใหเกิดการจอดรถยนตตามใจฉันโดยรอบอาคาร จะทำให พื้นที่ดูมีระเบียบยิ่งขึ้น

84


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.