การดูแลจิตใจไม่ให้ป่วย

Page 1

ที่มา : นิตยสารเพื่อสุขภาพราย 3 เดือน ฉบับที่ 211 ประจาเดือน มกราคม – มีนาคม 2560


โรคเครี ยด หรื อโรคจิต โรคประสาท รวมทัง้ โรคซึมเศร้ า กลายเป็ นโรคที่ร้ ู จักกันมากขึน้ ในสังคมปั จจุบัน ในสังคมยุค โลกาภิวัตน์ นี ้ ดูเหมือนว่ าใครที่ไม่ ร้ ู สึกเคร่ งเครี ยด ไม่ กังวล จะเป็ นคนที่โชคดีอย่ างยิ่ง การพบ พูดคุยหรื อรั กษากับจิตแพทย์ กลายเป็ นเรื่ องที่ ยอมรั บกันมากขึน้ ในสังคมไทย การบารุ งรั กษาสภาพจิตใจ ของตนเองให้ เข้ มแข็งสมบูรณ์ อยู่เสมอ การใช้ ชีวิตอยู่ใน สังคมของมนุษย์ จะต้ องประสบทัง้ ความทุกข์ และความสุข ปะปนกันไป ดังนัน้ การมีสุขภาพจิตที่เข้ มแข็งย่ อมจะ สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ ดีย่ งิ ขึน้ สุขภาพจิตใจเป็ นส่ วนสาคัญในการดาเนินชีวิตที่เป็ นสุข การส่ งเสริมสุขภาพจิตใจช่ วยให้ ปรั บตัวในชีวิต ให้ เป็ น ประโยชน์ ทงั ้ การเรี ยน การทางาน สังคม ความคิดและ อารมณ์ เป็ นปกติ ป้องกันปั ญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิต เวช ปั ญหาทางสุขภาพจิต ถือเป็ นอุปสรรคสาคัญในการ ดาเนินชีวิตในสังคมให้ มีความสุข ปั ญหาทางสุขภาพจิตจะ แสดงอาการทัง้ ทางจิตใจ และทางร่ างกาย หรื อเรี ยกทาง การแพทย์ ว่า โรคทางจิตเวช


อาการของปั ญหาสุขภาพจิต 1. อาการทางร่ างกาย เมื่อจิตใจเกิดความเครี ยด ประสาทอัตโนมัตภิ ายในร่ างกายถูกเร้ าให้ ทางานเพิ่มขึน้ อวัยวะภายในซึ่งถูกกากับโดยประสาทอัตโนมัตถิ ูกกระตุ้น ให้ ทางานมากขึน้ ได้ แก่ หัวใจ หลอดเลือด ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ กระเพาะปั สสาวะ 2. อาการทางอารมณ์ ความเครียดทาให้ จติ ใจเกิด ความรู้ สึกวิตกกังวล กลัว ตื่นเต้ น ไม่ สบายใจ บางคนมี อาการซึมเศร้ า ท้ อแท้ เบื่อ หงุดหงิดง่ าย ไม่ สนุกสนาน ร่ างกายไม่ สดชื่น ร่ าเริง อาการซึมเศร้ ามักจะเกิดร่ วมกัน กับการสูญเสียหรื อผิดหวังอย่ างรุ นแรง อาการไม่ สบายใจ เหล่ านี ้ อาจทาให้ เกิดอาการอื่นๆ ตามมา ได้ แก่ เบื่อ อาหาร นอนไม่ หลับ เพลีย เหนื่อยง่ าย


3. อาการทางจิตใจ มีความคิดการเปลี่ยนแปลงไปตามอารมณ์ อาจจะคิดไม่ ดี คิดที่จะ ทาร้ าย มี- ความกังวล ยา้ คิด ยา้ ทาไม่ สามารถหยุดความคิดตนเองได้ ความคิดควบคุม ไม่ ได้ มองตนเองในทางที่ไม่ ดี มองคนอื่นและมองโลกในแง่ ร้าย ถ้ ามีความเครี ยดและ ต่ อเนื่องมากจะทาให้ สมองมึน งง เบลอ ขาดสมาธิ ความคิด ความอ่ านและความจา ลดลง การตัดสินใจช้ า ไม่ แน่ นอน ไม่ ม่ ันใจตนเอง 4. พฤติกรรม อาจจะแสดงออกเป็ นการหลบเลี่ยง หวาดกลัว ขาดความรับผิดชอบและ ไม่ กล้ าแสดงออก


เทคนิคการผ่ อนคลายตนเองและวิธีดูแลรั กษาสุข. ภาพจิต

1. รู้ จักและทาความเข้ าใจตัวเองให้ ดีท่ สี ุด ศึกษาจุดเด่ นความสามารถพิเศษในตัวเอง เพื่อให้ สามารถนามาใช้ ได้ อย่ างเหมาะสม ที่อยู่บนพืน้ ฐานของความถูกต้ องทางกฎหมาย และศีลธรรม ยอมรั บจุดด้ อยของตนเอง ปรั บตัวให้ เข้ ากับสิ่งแวดล้ อมอย่ างเหมาะสม ใช้ ความสามารถของตัวเองให้ เกิดประโยชน์ แก่ สังคม กล้ าเผชิญปั ญหาด้ วยความสุขุม 2. ฝึ กทาจิตใจให้ สดชื่นแจ่ มใส มองโลกในแง่ ดี ฝึ กเป็ นคนสุขุม รอบคอบ ไม่ ใจร้ อน โกรธง่ าย มีอารมณ์ ขัน ไม่ เอาจริงเอาจังกับทุกอย่ างจนเกินไป แต่ ไม่ ควรหมกมุ่นกับเรื่ องไร้ สาระ พยายามฝึ กทาอารมณ์ ให้ สงบ ไม่ หวั่นไหวง่ าย 3. ฝึ กรั บฟั งความคิดเห็นของผู้อ่ ืน และรั บฟั งเหตุผลมากกว่ าอารมณ์ พิจารณาถึงปั ญหา ต่ างๆ ด้ วยเหตุผล และข้ อมูลหลายๆด้ าน ไม่ ควรโทษตัวเองหรื อผู้อ่ ืนด้ วยอารมณ์ 4. ปรั บปรุ งตนเองให้ เข้ ากับคนอื่นได้ ทาตนให้ เป็ นที่รักของคนทั่วไป โอบอ้ อมอารี จริงใจต่ อผู้อ่ ืน ยินดีช่วยเหลือ มีนา้ ใจต่ อผู้อ่ ืน ทาตนให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ตนเอง ผู้อ่ ืน และ สังคม ลดความเห็นแก่ ตัว 5. บารุ งรั กษาสุขภาพทัง้ กายและจิตใจให้ แข็งแรงสมบูรณ์ อยู่สม่าเสมอ ออกกาลังกาย เป็ นประจา รั บประทานอาหารที่มีประโยชน์ ทางานให้ พอเหมาะ พักผ่ อนให้ เพียงพอ


6. หาที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ โดยเฉพาะอย่ างยิ่งการยึดถือคาสอนในศาสนาที่ตนนับถือ เพราะคาสอนในศาสนาจะเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ สงบ เยือกเย็น มีสติปัญญา ไม่ หลง โกรธ มัวเมาในสิ่งที่ไม่ เป็ นประโยชน์ สุขภาพจิตก็จะดีอยู่เสมอ 7. เมื่อมีปัญหาหรื อมีความเครี ยดทางจิตใจ ควรหาโอกาสผ่ อนคลายด้ วยการทางาน อดิเรก ออกกาลังกาย จะทาให้ มีจติ ใจที่สบายขึน้ 8. ฝึ กบริหารจิตใจ ฝึ กทาสมาธิ ทาจิตใจให้ ว่าง เป็ นการทาให้ จติ ใจเข้ มแข็ง สามารถ เข้ าใจตนเองและปรั บปรุ งตนเองได้ เสมอเมื่อมีปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆ จะสามารถ พิจารณาได้ อย่ างมีเหตุมีผล ไม่ ใช้ เอาอารมณ์ เป็ นที่ตัง้ ดังนัน้ การเรี ยนรู้ การเตรี ยมตัวและฝึ กฝนให้ เผชิญกับชีวิต สามารถเริ่มได้ ตัง้ แต่ วัย เด็ก ควรส่ งเสริมในการพัฒนาการทุกด้ าน ทัง้ ทางด้ านร่ างกาย ด้ านจิตใจ อารมณ์ และ สังคม จะเกิดการพัฒนาเป็ นบุคลิกภาพที่ดีและมีสุขภาพจิตที่ดีไปด้ วย เพื่อป้องกันปั ญหา สุขภาพจิตและมีความสุขในการดาเนินชีวิตต่ อไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.