คู่มือการโค้ช เพื่อพัฒนาทีมชุมชน

Page 1

คู่มือการโค้ช

เพื่อพัฒนาทีมชุมชน

ผูเ้ ขียน ปิยนาถ ประยูร หนูเพียร แสนอินทร์ บรรณาธิการ กรรณจริยา สุขรุง่


คูม่ อื การโค้ช เพือ่ พัฒนาทีมชุมชน บรรณาธิการหนังสือ และกระบวนกรถอดบทเรียน คณะผูเ้ ขียน ออกแบบปกและรูปเล่ม ดูแลการผลิต พิมพ์ครัง้ ที่ 1 เดือนตุลาคม 2563

ทีป่ รึกษาโครงการ ทีมมูลนิธเิ ครือข่ายสุขภาพ (HealthNet) ทีมโค้ช ประเมินภายใน ทีมถอดบทเรียน จัดพิมพ์และเผยแพร่ สนับสนุนโดย

กรรณจริยา สุขรุง่ ปิยนาถ ประยูร, หนูเพียร แสนอินทร์ หนูเพียร แสนอินทร์ Media by friends

ดร.พูลสุข ศิรพิ ลู , ฐาณิชชา ลิม้ พานิช, จิตติมา ภาณุเตชะ ทิพวัลย์ โมกภา, ศักดิช์ ยั ไชยเนตร, ธวัลพร สิรวิ ารินทร์, ธงชัย พันธ์มกร, ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว, อัจฉรา ทาท่าหว้า เมธาวี นินนานนท์, มนัส ปลีกชัยภูม,ิ ราตรี จูมวันทา, พรรณงาม หวายเค, จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์, ณัฏฐ์ นงภา, เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ, อิฐธิชยั ก๊กศรี, ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว จิตติมา ภาณุเตชะ ปิยนาถ ประยูร, หนูเพียร แสนอินทร์, กรรณจริยา สุขรุง่ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ ส�ำนักงานภาคอีสาน 9/32 หมูบ่ า้ นพิมานธานี ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


คำ�นำ� ทุกครัง้ ทีเ่ ราเห็นใครสักคนประสบความส�ำเร็จ บุคคลทีย่ งิ่ ใหญ่ ผลงานที่ น่าทึง่ เรือ่ งราวทีม่ ปี ระโยชน์มคี ณ ุ ค่ามหาศาล เรามักอยากจะรูว้ า่ “เบือ้ งหลังความ ส�ำเร็จนัน้ เกิดจากอะไร” หรือ คนคนนีท้ ำ� เรือ่ งทีน่ า่ ทึง่ เช่นนีไ้ ด้อย่างไร อะไรคือปัจจัย ทีน่ ำ� ไปสูค่ วามส�ำเร็จนัน้ เมือ่ ครัง้ ทีไ่ ด้อา่ นหนังสือ “เซตสูฝ่ นั จากเด็กเก็บบอล สูม่ อื เซตอันดับหนึง่ ของโลก” ซึง่ เป็นเรือ่ งราวของ นุศรา ต้อมค�ำ นักวอลเลย์บอลหญิงไทย ทีไ่ ด้ชอื่ ว่า เป็นมือเซตทีด่ ที สี่ ดุ ในโลก เบือ้ งหลังของการก้าวขึน้ มายืนในระดับนี้ นอกจากความ ตัง้ ใจทุม่ เทฝึกซ้อมและใจรักในวอลเลย์บอลแล้ว เธอยังมี “โค้ช” ทีด่ ี โค้ชทีม่ องเห็น บางอย่างในตัวของเธอ และดึงศักยภาพของเธอได้ โค้ชทีส่ ร้างพลังใจ เติมไฟฝัน ช่วยกันสร้าง “ทีม” ทีเ่ ข้มแข็ง ชนิดมองตาก็รใู้ จ ทุกคนมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะไปสูฝ่ นั เดียวกัน มีการวางยุทธศาสตร์ในทุกจังหวะก้าวเพือ่ น�ำพาทีมชาติไทยไปสูก่ ารแข่งขัน ระดับโอลิมปิก ทุกอย่างเป็นปัจจัยส่งพลังผลักดันให้เธอก้าวขึน้ ไปยืนในต�ำแหน่งของ ผูเ้ ล่นทีม่ ไี หวพริบการเล่นทีน่ า่ เกรงขามทีส่ ดุ ความส�ำเร็จของแต่ละคน แต่ละงาน จึงมีเบือ้ งหลัง แม้แต่ตวั เราเองก็เช่น กัน อยูท่ วี่ า่ เรามองเห็นพลังทีเ่ กือ้ หนุนเราอยูห่ รือไม่ มองเห็นคนทีเ่ ป็น “ลมใต้ปกี ” ของเรา เป็นใครบางคนที่ท�ำให้เราได้ค้นพบศักยภาพของตัวเราเอง ใครบ้างที่ สนับสนุนเราในบางก้าวและบางขัน้ ให้เราได้เดินไปสูเ่ ป้าหมายทีม่ าได้ไกลกว่าจุดที่ เคยเริม่ ต้นอย่างมากมายในวันนี้ คนเหล่านัน้ อาจจะไม่ได้เรียกตัวเองว่า “โค้ช” หรือ “พีเ่ ลีย้ ง” แต่เขาอาจจะท�ำบางอย่างทีท่ ำ� ให้เราเป็นเราเช่นทุกวันนี้ หากเราอยากรูว้ า่ คนทีเ่ ป็น “โค้ช” เขาคิดอย่างไร ท�ำอะไร และท�ำอย่างไร คนทีค่ ดิ จะน�ำ “การโค้ช” มาใช้นนั้ มีแนวคิดอย่างไร หนังสือเล่มนีน้ า่ จะท�ำให้ผอู้ า่ น ได้เข้าใจ และมองเห็นแนวทางการพัฒนาฝึกฝนตนเองไปสู่ “ความเป็นโค้ช” ได้ หวังว่าหนังสือเล่มนีจ้ ะมีโอกาสเป็นเบือ้ งหลังของบางก้าวในเส้นทางเดินของ บางคน ปิยนาถ ประยูร


4

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

สารบัญ

สำ�รวจแนวคิดหรือความเชื่อของเราที่มีต่อชุมชน 10 ทำ�ไมชุมชนยังแก้ปัญหาไม่ได้ 13

15 เข้าใจกระบวนการโค้ชกับการทำ�งานชุมชน 19 การโค้ชจะช่วยให้ทีมชุมชนดีขึ้นได้อย่างไร 25 คุณสมบัติของโค้ชที่ดี 28 คุณสมบัติของทีมชุมชนที่พร้อมสำ�หรับการโค้ช 33 ความสัมพันธ์ของโค้ชกับชุมชน 34 โค้ช และ การโค้ช กระบวนการเพื่อสร้างทีมให้ไปสู่เป้าหมาย 38 นิยามความหมายของ “โค้ช” 40 การโค้ชคืออะไร 42 คุณลักษณะที่ดีของโค้ช 45 ประเภทของโค้ช 47 บทบาทหน้าที่ของโค้ช 51 สิ่งที่โค้ชควรตระหนักในการโค้ชทีม 53 ทักษะ และความสามารถในการโค้ช 55 แนวทางการโค้ช โครงสร้างแห่งการเติบโต (Grow model) 86 กระบวนการสร้างทีม 106 สิ่งที่โค้ชควรทำ�และไม่ควรทำ� 110 หนังสือและแหล่งข้อมูลประกอบการเขียน 111 ปลุกพลังชุมชนแก้ปัญหาของตนเอง


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

5


องค์กร – รากฐานแนวคิด มองโลก มองชุมชน แนวคิดการโค้ชและการสร้างทีม


แนวคิดทัง้ ระดับบุคคลและแนวคิดขององค์กรมีความส�ำคัญต่อการ ออกแบบงาน ไม่วา่ เราจะใช้ทฤษฎีใดมาอธิบาย เราก็จะพบว่า องค์กรนัน้ ก่อตัง้ ขึน้ มาด้วยแนวคิดหรือความเชือ่ บางอย่าง ซึง่ ความคิดความเชือ่ เหล่านีเ้ ป็น เหมือนฐานรากทีน่ ำ� ไปสูก่ ารสร้างวิสยั ทัศน์ (Vision) ขององค์กร การออกแบบ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ตา่ งๆ เป็นพืน้ ฐานการคิดการมองโลกทีก่ ำ� หนดทิศทาง องค์กร น�ำไปสูก่ ารก่อรูปก่อร่างโครงการต่างๆ และปรากฎอยูใ่ นกระบวนการ วิธกี ารท�ำงานของคนในองค์กร สร้างวัฒนธรรมขององค์กร และดึงดูดให้คนที่ เข้ามาท�ำงานในองค์กร ผนวกความคิดความเชือ่ ส่วนบุคคลกับแนวคิดทิศทาง ขององค์กร ท�ำให้เกิดรูปธรรมในผลลัพธ์การท�ำงานหรือผลงานทีบ่ ง่ บอกได้ถงึ ความเป็นมาและแนวทางทีจ่ ะขับเคลือ่ นต่อไป ทัศนคติ ความคิดความเชือ่ นัน้ มีความหมายต่อการสร้างแนวร่วมของ คนท�ำงาน และการผลักดันประเด็นเป็นอย่างมาก เพราะมนุษย์นนั้ ขับเคลือ่ น ด้วยความรูส้ กึ อารมณ์ อย่างเช่นความรูส้ กึ สงสาร เห็นใจ อยากช่วยเหลือ แบ่งปัน น�ำไปสูก่ ารอยากท�ำอะไรดีๆ ยิง่ มีเพือ่ นยิง่ อบอุน่ ยิง่ รูส้ กึ ดี ยิง่ อยากมี ส่วนร่วม ยิง่ สร้างสายสัมพันธ์ สิง่ เหล่านีจ้ ะขยายขอบเขตหากเราหล่อเลีย้ งบ�ำรุง สิง่ เหล่านีข้ บั เคลือ่ นมนุษย์และสังคมให้กระท�ำและไม่กระท�ำ หากเรา เรียนรูแ้ ละท�ำความเข้าใจ เห็นความส�ำคัญว่าจะน�ำไปสูก่ ารขับเคลือ่ นสิง่ ต่างๆ ได้ อย่างไร เราก็จะท�ำความเข้าใจและเรียนรูค้ วามเป็นมนุษย์ของทุกคนได้ และท�ำ สิง่ ทีม่ คี วามหมายตามความคิดและความเชือ่ ของเราให้ออกดอกออกผลทีด่ งี าม


8

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

สำ�รวจแนวคิดหรือความเชือ่ ของเราทีม่ ตี อ่ ชุมชน ก่อนท�ำงานกับชุมชน องค์กรหรือหน่วยงานควรส�ำรวจแนวคิดหรือ ความเชือ่ ของคนท�ำงานก่อนว่าเรามีความเชือ่ ต่อชุมชนอย่างไร โดยพืน้ ฐานแล้ว มนุษย์เรานัน้ ขับเคลือ่ นไปตามสิง่ ทีเ่ ชือ่ จึงจะมุง่ มัน่ ตัง้ ใจท�ำตามความเชือ่ นัน้ จนส�ำเร็จ เช่นเดียวกับทีเ่ ราเคยได้ยนิ แนวคิดของนักพัฒนาหลายคนเชือ่ ว่า “ค�ำตอบอยูท่ หี่ มูบ่ า้ น” คนทีเ่ ชือ่ เช่นนีก้ จ็ ะเริม่ ต้นงานพัฒนาทีห่ มูบ่ า้ น ทีช่ มุ ชน ฝังตัวท�ำงานในหมูบ่ า้ นหรือชุมชนนัน้ ๆ จนเกิดความเข้มแข็งขึน้ มาได้ นอกจาก นัน้ ยังมีเรือ่ งของฐานคิดความเชือ่ ของเราต่อประเด็นต่างๆ เช่น ฐานคิดเรือ่ ง ทรัพยากร ฐานคิดเรือ่ งการศึกษา ฐานคิดเรือ่ งประชาธิปไตย เป็นต้น ซึง่ ฐาน คิดความเชือ่ ต่างๆ จะมีผลต่อการออกแบบการท�ำงานของเรา ในการท�ำงานกับชุมชนโดยเน้นชุมชนเป็นตัวตัง้ องค์กรทีจ่ ะเข้าไปเป็น หน่วยสนับสนุนงานนีค้ วรมีแนวคิดหรือความเชือ่ ต่อชุมชน 5 ประการส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ 1. เชือ่ ว่าชุมชนแก้ปญ ั หาของชุมชนเองได้ แนวคิดนีม้ คี วามหมาย มากส�ำหรับการท�ำงานชุมชน เป็นความเชือ่ มัน่ และความไว้วางใจว่าชุมชน สามารถลุกขึน้ มาจัดการแก้ปญ ั หาและสร้างสรรค์ชมุ ชนเองได้ พัฒนาชุมชนให้ เติบโตและเข้มแข็งด้วยศักยภาพทีเ่ ป็น “คนใน” ชุมชน ซึง่ เผชิญปัญหาและ สถานการณ์ตา่ งๆ ของชุมชนเอง การจะลุกขึน้ มารวมตัวกันและคิดหาหนทาง แก้ปญ ั หาทีเ่ หมาะสมกับบริบท ความคิด ความเชือ่ คุณค่าและวัฒนธรรมของ ชุมชน จะสร้างความเชือ่ มัน่ ในตนเองและเติบโตได้อย่างยัง่ ยืนกว่า การคิดแทน ท�ำแทน ทีไ่ ม่สามารถแก้ปญ ั หาได้อย่างยัง่ ยืน ยิง่ การแก้ปญ ั หาโดยใช้วธิ เี ดียวกัน กับทุกชุมชน นอกจากไม่สามารถแก้ปญ ั หาได้แล้วอาจจะสร้างปัญหาใหม่ขนึ้ มา ก็ได้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

9

2. เชือ่ ว่าคนในชุมชน รูจ้ กั และเข้าใจชุมชนเป็นอย่างดี เนือ่ งจาก ชุมชนทีเ่ ราท�ำงานด้วยนัน้ เป็นชุมชนในชนบท และกึง่ เมืองกึง่ ชนบท ซึง่ โดย ส่วนใหญ่แล้วคนในชุมชนรูจ้ กั กันเป็นอย่างดี มีความสัมพันธ์ตอ่ กันในหลายรูป แบบ ทัง้ ทีเ่ กีย่ วโยงกันเป็นเครือญาติ เป็นเพือ่ น พีน่ อ้ ง ไปจนถึงเคยเรียน โรงเรียนเดียวกัน บ้านใกล้เรือนเคียงกัน ไปท�ำพิธที างศาสนาทีเ่ ดียวกัน ท�ำงาน ในทีเ่ ดียวกัน หน่วยงานทีท่ ำ� งานอยูใ่ นต�ำบลเดียวกัน รวมไปถึงท�ำงานในประเด็น เดียวกัน เป็นต้น สายสัมพันธ์ทมี่ ตี อ่ กันเช่นนีน้ ำ� ไปสูค่ วามผูกพันในเรือ่ งอืน่ ๆ ทัง้ ต่อคน สถานที่ เรือ่ งราวต่างๆ ทีเ่ คยเกิดขึน้ ในชุมชน ทัง้ ในประวัตศิ าสตร์ผา่ น เรือ่ งเล่า เรือ่ งราวในอดีตเมือ่ แต่ละคนยังเป็นเด็ก และความเปลีย่ นแปลงต่างๆ ในชุมชนมาจนถึงปัจจุบนั การทีค่ นในชุมชนได้รบั รูเ้ รือ่ งราวต่างๆ ในชุมชน รูจ้ กั คน ค่านิยม วัฒนธรรมของชุมชน อันเป็นข้อมูลติดตัวของแต่ละคน เมือ่ น�ำมาท�ำความเข้าใจ คิดวิเคราะห์กจ็ ะเห็นว่าคนในชุมชนนัน้ มีความเข้าใจชุมชนในหลากหลายมิติ ทัง้ ในเชิงปรากฎการณ์และเบือ้ งลึกเบือ้ งหลังของเรือ่ งราว ความเป็นมา ความ เปลีย่ นแปลงต่างๆ ว่าเปลีย่ นแปลงเมือ่ ไหร่ อย่างไร เพราะอะไร อันเป็นเรือ่ ง ของความเข้าใจต่อสภาพปัญหาต่างๆ ในชุมชน รวมไปถึงสภาพปัญหาของเด็ก เยาวชน และครอบครัวของคนในชุมชนด้วย 3. เชื่อว่าคนในชุมชนมีความรู้ และศักยภาพ ขึ้นอยู่กับการน�ำ ศักยภาพนัน้ ไปใช้ในทางใดได้บา้ ง อีกทัง้ มีศกั ยภาพทีซ่ อ่ นอยูท่ ยี่ งั ไม่ได้ดงึ มาใช้ ความสามารถทีม่ แี ต่ไม่คอ่ ยได้ใช้ และศักยภาพทีเ่ มือ่ หลายๆ คนน�ำมารวมกัน กลายเป็นศักยภาพใหม่ ในชุมชนนัน้ เรามีผคู้ นทีแ่ ตกต่างหลากหลาย คนที่ท�ำงานในโรงพยาบาลชุมชนก็มีความรู้ด้านสุขภาพและเข้าถึง ความรูด้ า้ นสุขภาพได้ คนท�ำงานในโรงเรียน ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ก็มคี วามรูด้ า้ น การศึกษา ด้านพัฒนาการเด็ก การดูแลให้การเรียนรูก้ บั เด็ก คนท�ำงานด้าน


10

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

พัฒนาชุมชน พัฒนาอาชีพ ก็มคี วามรูเ้ กีย่ วกับอาชีพต่างๆ ในท้องถิน่ เช่นเดียว กับผูค้ นในชุมชน ชาวนารูเ้ รือ่ งการปลูกข้าวเป็นอย่างดี เกษตรกรรูว้ ธิ กี ารปลูก พืชผัก ผลไม้ ทีเ่ หมาะกับพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ชาวประมงรูว้ ธิ เี ลีย้ งปลาท�ำการประมง คน ค้าขายก็มีความรู้เรื่องการบริโภคสินค้าของคนในชุมชน เราจะเห็นได้ว่า ศักยภาพของคนในชุมชนนัน้ มีเต็มไปหมด แต่อาจจะยังกระจัดกระจาย ต่างคน ต่างก็ทำ� ของตัวเอง ไม่ได้มกี ารน�ำศักยภาพเหล่านัน้ มารวมกัน มาจัดระบบใหม่ ให้สามารถขับเคลือ่ นการท�ำงานในแต่ละด้านได้ 4. เชือ่ ว่าชุมชนมีตน้ ทุนทรัพยากรทัง้ เรือ่ งคนทีพ่ ร้อมจะท�ำงานและ งบประมาณทีจ่ ดั สรรได้ ทุกชุมชนยังมีตน้ ทุนส�ำคัญคือคนมีจติ อาสาทีพ่ ร้อม ท�ำงานเพือ่ ส่วนรวม และมีงบประมาณทีใ่ นชุมชนท้องถิน่ สามารถจัดสรรได้ ทัง้ จากระบบงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมไปถึงงบประมาณจากกองทุนในลักษณะต่างๆ เช่น กองทุนสุขภาพต�ำบล ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กองทุนจากหน่วยงานภาครัฐ อืน่ ๆ รวมไปถึงการจะระดมทรัพยากรในชุมชนท้องถิน่ เพือ่ มาช่วยกันพัฒนา ชุมชนก็มคี วามเป็นไปสูง 5. เชือ่ ว่าคนในชุมชนอยากท�ำอะไรเพือ่ บ้านเกิด รักถิน่ ฐานบ้านเกิด รักชุมชน อยากเห็นชุมชนมีสภาพแวดล้อมทีด่ ี เหมาะสมทีจ่ ะอยูอ่ าศัยและเลีย้ ง ดูลกู หลาน ผูค้ นในชุมชนดูแลช่วยเหลือซึง่ กันและกัน มีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน ท�ำให้ผอู้ ยูอ่ าศัยรูส้ กึ อบอุน่ ใจ ชุมชนเป็นพืน้ ทีป่ ลอดภัย มีพนื้ ทีใ่ ห้คนทุกเพศทุก วัยได้ทำ� กิจกรรมสร้างสรรค์ ได้แสดงออก ความเชือ่ ว่าทุกชุมชนอยากให้ชมุ ชนของตนเองน่าอยูม่ คี วามสุข ซึง่ หากเราเข้าใจเรือ่ งระบบทีส่ ง่ ผลสะท้อนต่อกันแล้ว เราก็จะเข้าใจและเห็นแนวทาง ว่า ชุมชนทีด่ สี มั พันธ์กบั ระบบครอบครัว ระบบชุมชน ระบบโรงเรียน และระบบ อืน่ ๆ ในชุมชนท้องถิน่ ในจังหวัด และในประเทศ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

11

ทำ�ไมชุมชนยังแก้ปญ ั หาไม่ได้ แม้ในหลายพืน้ ที่ คนในชุมชนจะรูด้ วี า่ ชุมชนเผชิญกับปัญหาอะไรบ้าง และเกิดจากอะไร แต่กย็ งั ไม่ได้ลกุ ขึน้ มาแก้ปญ ั หา บางพืน้ ทีอ่ าจมีคนลุกขึน้ มา พยายามแก้ปญ ั หาแล้ว แต่ทำ� ไมยังแก้ไม่ได้ สาเหตุทชี่ มุ ชนยังแก้ปญ ั หาไม่ได้ หรือ ไม่ได้ทำ� อาจจะเกีย่ วกับเรือ่ งดัง ต่อไปนี้ 1. ขาดกลุม่ คนผูร้ เิ ริม่ ทีท่ ำ� งานต่อเนือ่ งและแก้ปญ ั หาจริงจัง หลาย ชุมชนมีคนทีห่ ว่ งใยชุมชนอยูจ่ ำ� นวนมาก แต่ขาดคนจุดประกายและริเริม่ เมือ่ ใด ทีม่ คี นริเริม่ ชวนท�ำก็จะมีคนอยากร่วมมากมาย ที่ผ่านมา หลายพื้นที่มีผู้ริเริ่มชวนคนในชุมชนลุกขึ้นมาจัดการกับ ปัญหาก็จริง แต่เมือ่ เจอกับสารพัดปัญหาก็ทอ้ แท้ทำ� ต่อไปไม่ไหว หรือแบบแผน ทีม่ กั เห็นเกิดขึน้ ก็คอื การรวมกลุม่ คนในชุมชนทีเ่ กิดจากการริเริม่ โดยภาครัฐ ทีจ่ ดั ตัง้ คนตามนโยบายของรัฐแต่ละยุคแต่ละสมัย ก�ำหนดสัง่ การลงมา การรวม กลุม่ แบบนัน้ เมือ่ หมดงบประมาณต่างคนต่างก็แยกย้ายกันไป ยังไม่ได้เริม่ แก้ ปัญหาก็ตอ้ งเลิกรากันไป การท�ำเช่นนีจ้ ะลดทอนศักดิศ์ รีและความเข้มแข็งของ ชุมชน ท�ำให้ชมุ ชนกลายเป็นผูร้ อ้ งขอ รอรับความช่วยเหลือ หวังพึง่ พาคนอืน่ โดยไม่กระตือรือร้นลุกขึน้ มามีสว่ นร่วมในการแก้ปญ ั หาเอง มีตวั อย่างทีน่ า่ เรียนรูม้ ากมาย ทีใ่ นชุมชนมีคนทีร่ เิ ริม่ อยากท�ำและชวน ผูค้ นมาท�ำกิจกรรมในชุมชนกันเป็นกลุม่ ๆ แต่ละกลุม่ ช่วยกันแก้ปญ ั หาแต่ละ ด้านตามความสนใจและความถนัดประสานร่วมมือกันเป็นเครือข่าย มองภาพ รวมของชุมชนด้วยกัน จนสามารถจัดการปัญหาในหลายๆ เรือ่ งได้ 2. ขาดเจ้าภาพเป็นตัวกลางประสานความร่วมมือในพืน้ ที่ การมี เจ้าภาพในการท�ำงานก็เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีค่ ล้ายๆ กับการมีคนหรือกลุม่ คนทีช่ วน


12

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

กันลุกขึน้ มาท�ำงานให้กบั ชุมชน แต่รปู แบบของการมีเจ้าภาพมาชวนกลุม่ คน หน่วยงาน องค์กรในชุมชนท�ำงานแก้ปญ ั หาชุมชนนัน้ เจ้าภาพไม่จำ� เป็นต้องเป็น องค์กรชุมชน แต่เป็นองค์กรทีต่ อ้ งการเข้าไปชวนคนในชุมชนมาท�ำงานเพือ่ แก้ ปัญหาชุมชนในด้านทีเ่ ขาถนัดหรือเขาสนใจจริงๆ หากมีเจ้าภาพเข้าไปสร้าง กระบวนการให้ชมุ ชนเกิดการรวมกลุม่ รวมตัวกันลุกขึน้ นมาท�ำงานเพือ่ ชุมชน และเน้นให้กลุ่มต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องก็จะเกิด ประโยชน์กบั ชุมชนได้เช่นเดียวกัน ยิ่งเจ้าภาพเข้าไปท�ำงานโดยเริ่มที่คนหรือกลุ่มคนที่มีหัวใจอยากจะ ท�ำงานเพือ่ ชุมชนอยูแ่ ล้ว ยิง่ ท�ำให้การท�ำงานเพือ่ ชุมชน การแก้ปญ ั หาชุมชนยิง่ ท�ำได้อย่างมีความหวังว่าจะประสบความส�ำเร็จได้ เพราะจะเป็นการผสมผสาน องค์ความรูข้ ององค์กรทีเ่ ป็นเจ้าภาพกับองค์ความรูท้ คี่ นและกลุม่ คนในชุมชนมี อยูแ่ ล้ว ก็จะเพิม่ โอกาสในการท�ำงานได้สำ� เร็จ 3. หน่วยงานต่างๆ ในต�ำบล ต่างคนต่างท�ำ ตามภารกิจของตัวเอง ในแต่ละต�ำบลนัน้ พบว่า มีหลายหน่วยงานทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายในการท�ำงานเป็น กลุม่ เดียวกัน แต่การแบ่งหน่วยงานตามภารกิจท�ำให้เกิดจัดการปัญหาแบบ แยกส่วน เช่น หน่วยงานทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายเป็นเด็กปฐมวัยและครอบครัวนัน้ มีทงั้ องค์การบริหารส่วนท้องถิน่ ทีท่ ำ� งานผ่านสภาการศึกษา ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) ยกตัวอย่างเช่น เด็กหนึง่ คนใน ต�ำบลนัน้ เรือ่ งการศึกษาเป็นเรือ่ งของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กหรือโรงเรียน เรือ่ ง สุขภาพเป็นเรือ่ งของ รพ.สต. เรือ่ งการดูแลเหมาะสมหรือไม่เป็นเรือ่ งของ ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวัด (พมจ.) ยิง่ ถ้าเด็กและ ครอบครัวมีปญ ั หาอืน่ ๆ ก็จะมีหน่วยงานทีด่ แู ลเด็กหลายหน่วยงานขึน้ ไปอีก แต่ ค�ำถามก็คอื ว่า ท�ำไมเด็กถึงเข้าไม่ถงึ บริการบางด้านของต�ำบล หรือการดูแลใน บางเรือ่ งยังท�ำได้ไม่ดพี อ ตกส�ำรวจบ้าง ไม่มขี อ้ มูลปัญหาทีแ่ ท้จริงของเด็กบ้าง หรือไม่ได้แก้สาเหตุของปัญหาเพราะไม่ใช่ภารกิจของหน่วยงานบ้าง บางครัง้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

13

เราอาจจะพบว่าภารกิจต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับเด็กก็มกี ารทับซ้อนท�ำให้โยนกันไป โยนกันมา ท�ำให้เด็กไม่ได้รบั การดูแลอย่างทีค่ วรจะเป็นก็มี การน�ำภารกิจของแต่ละหน่วยงานมาดูดว้ ยกันให้เห็นชัดๆ ว่าเด็กหนึง่ คนจะได้รบั การดูแลอย่างไรอย่างเป็นองค์รวมจึงส�ำคัญอย่างยิง่ 4. มองความจริงจากคนละด้านท�ำให้ไม่เห็นภาพรวมของปัญหา เนือ่ งจากภารกิจทีแ่ ตกต่างของแต่ละหน่วยงาน ท�ำให้การท�ำงานมุง่ ไปเฉพาะ ด้านและมีขอ้ มูลเฉพาะด้าน แต่ละหน่วยงานเมือ่ มองไปทีเ่ ด็กคนหนึง่ ก็จะมอง เห็นเฉพาะส่วนของตน เช่น โรงพยาบาลก็จะเห็นแต่เรือ่ งน�ำ้ หนัก ส่วนสูง การ เจริญเติบโตทางร่างกายของเด็ก แต่ไม่เห็นด้านอืน่ ๆ ว่า เด็กไม่คอ่ ยได้เล่นท�ำให้ ไม่มพี ฒ ั นาการ การเรียนรูข้ องเด็กช้ากว่าทีค่ วรจะเป็น หรือเด็กได้รบั การเลีย้ ง ดูไม่เหมาะสม ส่วนหน่วยงานทีด่ แู ลอีกด้านก็จะไม่เห็นด้านอืน่ ๆ เป็นต้น รวม ทัง้ ภาพรวมของปัญหาครอบครัวของเด็กด้วย เพราะโดยส่วนใหญ่แล้วปัญหาของ เด็กไม่ได้เกิดขึน้ จากตัวเด็ก แต่เกิดจากสภาพแวดล้อม ฐานะของครอบครัว การ เลีย้ งดู การดูแลเอาใจใส่ของครอบครัว ความรูค้ วามคิดความเชือ่ ในการดูแลเด็ก ของครอบครัว เป็นต้น การมองความจริงของตัวเด็กให้รอบด้านจึงเป็นกระบวน การทีต่ อ้ งท�ำร่วมกันของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็ก เพือ่ ให้ทกุ หน่วยงานมี ข้อมูลชุดเดียวกัน การจัดการปัญหาก็จะเกือ้ กูลกันได้

ปลุกพลังชุมชนแก้ปญ ั หาของตนเอง จากแนวความคิด ความเชือ่ ต่อชุมชนขององค์กรทีต่ อ้ งการท�ำงานให้ ชุมชนลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาและสร้างสรรค์ชมุ ชนเอง และการวิเคราะห์เกีย่ วกับ การจัดการปัญหาของชุมชน น�ำไปสูค่ ำ� ถามส�ำคัญว่า “ถ้าอยากเห็นคนในชุมชน ลุกขึน้ มาจัดการกับปัญหาของชุมชนเอง ต้องท�ำอย่างไร”


14

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

กระบวนการท�ำงานทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารลุกขึน้ มาจัดการปัญหาของคนใน ชุมชนนัน้ อยูท่ กี่ ารริเริม่ สร้างสรรค์และเข้าไปท�ำงานร่วมกับคนในชุมชน โดย เริม่ ต้นจาก 1. การเป็นเจ้าภาพชวนคนทีเ่ กีย่ วข้องให้มาร่วมมือกันท�ำงานเพือ่ ชุมชน เมือ่ เรามองเข้าไปในชุมชนเราจะเห็นว่ามีหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการ ท�ำงานในแต่ละประเด็นอยูแ่ ล้ว แต่หน่วยงานเหล่านีย้ งั ไม่มใี ครลุกขึน้ มาริเริม่ เป็นเจ้าภาพทีจ่ ะชวนคนอืน่ ๆ ในชุมชนมาร่วมกัน การเชือ้ เชิญผูค้ นเข้ามาจึงต้อง มีหน่วยงานกลางทีอ่ ยากท�ำเพือ่ ให้หน่วยงานต่างๆ ในชุมชนได้ประสานร่วมมือ กันจริงๆ มองเห็นประโยชน์ของชุมชนเป็นทีต่ งั้ การมีองค์กรทีล่ กุ ขึน้ มาเป็น เจ้าภาพจะช่วยให้ชมุ ชนเริม่ ต้นหันหน้าเข้าหากัน พูดคุยกัน เพือ่ สร้างความ ร่วมมือกันได้ การเป็นเจ้าภาพในช่วงเริ่มต้น เมื่อศึกษาข้อมูลของชุมชนว่ามีใคร หน่วยงานใดเกีย่ วข้องบ้าง ไม่วา่ จะเป็นหน่วยงานขนาดไหน หรือ กลุม่ ชมรม ต่างๆ ในชุมชน ทีม่ ใี จอยากจะท�ำบางอย่างเพือ่ ชุมชน เจ้าภาพหรือองค์กรควร จะประสานคนจากต่างหน่วยงานนัน้ เข้ามาพูดคุย เชือ่ มโยงผูค้ นให้มพี นื้ ทีใ่ นการ พบปะพูดคุยกันถึงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน และบอกถึงเป้าหมายทีอ่ ยากจะเห็นว่า ต้องการความร่วมมือจากผูค้ นทีอ่ ยูใ่ นต่างหน่วยงานให้เข้ามาร่วมกันขับเคลือ่ น การท�ำงานเพือ่ ให้ชมุ ชนดีขนึ้ อย่างไร เพือ่ จัดการกับปัญหาด้านใดบ้าง ในขัน้ ตอนนีอ้ งค์กรต้องแสดงความจริงใจว่าเข้ามาเป็นเจ้าภาพ เป็น สือ่ กลางท�ำงานเพือ่ อะไร ให้เห็นว่าเรายึดชุมชนเป็นตัวตัง้ คนทีม่ าจากแต่ละ หน่วยงานมีบทบาท มีความส�ำคัญ และประโยชน์ทไี่ ด้เป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชน ไม่ใช่การท�ำโครงการแค่โครงการ เข้ามาชวนท�ำแล้วพอหมดโครงการอนาคตจะ เป็นอย่างไรต่อ ในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรสนับสนุนต้องบอกให้ชดั แม้วา่ การท�ำ โครงการจะมีวนั ทีจ่ บลง แต่องค์กรมีความตัง้ ใจอย่างไร คนทีเ่ ข้ามาร่วมมือจะ เพิม่ ความสามารถ และพัฒนาตนเองไปอย่างไร และผลลัพธ์ของการลงมือท�ำ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

15

นัน้ เป็นประโยชน์กบั คนทีเ่ ข้ามาร่วมมือแต่ละหน่วยงานอย่างไร ชุมชนจะได้รบั ประโยชน์อย่างไรบ้าง 2. ชีช้ วนให้เห็นภาพรวมของปัญหาและความจริงรอบด้านร่วมกัน เมือ่ เราเชือ่ มโยงคนทีเ่ กีย่ วข้องและสนใจในการจัดการปัญหาทัง้ จากหลากหลาย หน่วยงาน กลุม่ ชมรม ต่างๆ เข้ามาแล้ว การน�ำข้อมูลมาพูดคุยกันเป็นเรือ่ ง ส�ำคัญมาก เพือ่ ให้แต่ละหน่วยงานได้บอกเล่าถึงข้อมูลทีต่ นมีอยู่ สิง่ ทีห่ น่วยงาน ก�ำลังท�ำมีอะไรบ้าง ท�ำอย่างไร มีปญ ั หาอุปสรรคอย่างไร เมือ่ ทุกหน่วยงาน แลกเปลีย่ นข้อมูลกันแล้ว เราจัดระบบของข้อมูล เราก็จะเห็นความจริงได้อย่าง รอบด้าน สามารถน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ และถ้าเรามีขอ้ มูลไม่พอ เราก็จะ มองเห็นว่ามีอะไรบ้างทีเ่ รายังไม่รแู้ ละต้องเก็บข้อมูลเพิม่ เติม กระบวนการในการ เก็บข้อมูลเพิม่ เติม ท�ำข้อมูลให้เป็นชุดเดียวกัน ก็จะเป็นการเริม่ ต้นการท�ำงาน ของกลุม่ คนทีเ่ ราชวนให้เข้ามาร่วมมือกัน การได้ทำ� งานร่วมกันในช่วงแรกจึงเป็น เรือ่ งของการท�ำให้เห็นข้อมูลความเป็นจริงร่วมกัน เพือ่ จะน�ำไปสูก่ ารวิเคราะห์ ข้อมูลร่วมกันต่อไป 3. น�ำกระบวนการหลอมใจ สร้างเป้าหมายร่วม สิง่ ทีอ่ งค์กรควรศึกษา ก็คือกระบวนการในการท�ำให้คนในชุมชนที่มาจากต่างหน่วยงานมาท�ำงาน ร่วมกันได้ คนที่ต่างภารกิจ ต่างวัฒนธรรมองค์กร มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการท�ำงานในหน้าทีข่ องตนมาพอสมควร เราจะท�ำอย่างไร หรือ มีกระบวนการอย่างไรให้เขาเหล่านีร้ สู้ กึ ตระหนักต่อปัญหา เห็นเป้าหมายร่วม แล้วอยากลุกขึน้ มาท�ำบางอย่างเพือ่ จัดการกับปัญหานัน้ ร่วมกัน กระบวนการท�ำเป้าหมายร่วมต้องไม่ไปติดกับอยู่กับวิสัยทัศน์หรือ เป้าหมายร่วมทีเ่ ป็นเหมือนค�ำขวัญ แต่ตอ้ งเป็นภาพทีช่ ดั กว่านัน้ ทุกคนมองเห็น ตนเองอยูใ่ นภาพฝันของชุมชน และรูว้ า่ จะต้องไปให้ถงึ จุดนัน้ ให้ได้


16

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ภาพฝันทีก่ ระจ่างชัดจะมีพลังมากพอทีจ่ ะเข้าไปอยูใ่ นใจของผูค้ น เป็น ส่วนหนึง่ ของเจตจ�ำนงค์อนั มุง่ มัน่ ของคนทีเ่ ข้ามาร่วมกันตรงนี้ เพราะฉะนัน้ กระบวนการสร้างเป้าหมายร่วมหรือสร้างภาพฝันอาจจะต้องค่อยๆ ท�ำ เหมือน เป็นการน�ำจิก๊ ซอว์ของแต่ละคนมาค่อยๆ วางให้ได้ภาพฝันร่วม และทุกคนเป็น เจ้าของเป้าหมายร่วมกัน เมือ่ ภาพฝันของชุมชนทีท่ กุ คนอยากเห็นชัดเจนแล้ว ก็มามองภาพนัน้ กันทีละเรือ่ ง เป้าหมายของแต่ละเรือ่ งนัน้ คืออะไร เป้าหมายย่อยนีจ้ ะต้องท�ำให้ ส�ำเร็จภายในช่วงเวลาใด ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าเราจะบรรลุเป้าหมายร่วมทีเ่ ป็น ภาพฝันของชุมชน เราต้องแก้ปัญหาเรื่องเด็กยากจน ต้องแก้ปัญหาเรื่อง สุขภาพเด็ก แก้ปญ ั หาเรือ่ งการเลีย้ งดูเด็กทีไ่ ม่ถกู ต้อง ท�ำให้ครอบครัวมีความรู้ ในการดูแลเด็กให้มพี ฒ ั นาการทีด่ ี เป็นต้น เป้าหมายย่อยเหล่านีเ้ มือ่ ท�ำส�ำเร็จ แต่ละเรือ่ ง น�ำมาเชือ่ มโยงกันแล้ว จะน�ำไปสูเ่ ป้าหมายใหญ่ทตี่ งั้ ไว้รว่ มกันได้ อย่างไร เป็นการมองเห็นภาพของเป้าหมายตลอดเส้นทาง 4. วางแผนและลงมือท�ำเพือ่ ภาพฝันชุมชน เมือ่ ทีมชุมชนมีเป้าหมาย และภาพฝันร่วมกันอย่างชัดเจนแล้ว ขัน้ ต่อไปก็เป็นเรือ่ งกระบวนการวางแผน ร่วมกันเพือ่ เดินไปสูเ่ ป้าหมายของชุมชน ในแต่ละขัน้ ตอนมีเป้าหมายย่อยอะไรบ้าง มีเรือ่ งใดทีส่ ำ� คัญต้องท�ำก่อน ร่วมกันคิดวางแผนเพือ่ ลงมือปฏิบตั กิ าร แบ่งบทบาทของคนในทีม ใคร ท�ำอะไร อย่างไร ฯลฯ ลงรายละเอียดให้ทกุ คนเห็นภาพการท�ำงานร่วมกัน การวางแผนไม่ใช่การตัง้ หัวข้อ แต่ตอ้ งท�ำให้ทกุ คนเห็นถึงรายละเอียด ในการลงมือปฏิบตั ิ และอยูบ่ นพืน้ ฐานความรู้ ความสามารถ ความถนัด ความ ต้องการและความพร้อมของคนในทีมทีอ่ ยากจะท�ำด้วย หากส่วนไหนทีย่ งั ขาด ความรู้ ความสามารถ ควรเพิม่ เติมความรูค้ วามสามารถเหล่านัน้ ได้จากทีไ่ หน อย่างไร เหล่านีอ้ ยูใ่ นขัน้ ตอนการวางแผนและการเตรียมในการลงมือปฏิบตั กิ าร


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

17

หลังจากลงมือปฏิบตั กิ าร ควรมีการถอดบทเรียน สรุปบทเรียนเพือ่ ให้ เห็นว่ากิจกรรมทีท่ ำ� ลงไปนัน้ ท�ำได้สำ� เร็จหรือไม่สำ� เร็จเพราะอะไร มีปญ ั หา อุปสรรคอะไรบ้าง หากท�ำกิจกรรมอีกควรปรับปรุงอะไรบ้าง และสิง่ ทีท่ ำ� ได้ดอี ยู่ แล้วจะพัฒนาอย่างไรให้ดยี งิ่ ขึน้ พร้อมกันนัน้ ก็ตอ้ งประเมินตนเอง ว่าเราท�ำงาน ถึงจุดไหนแล้ว ใกล้หรือไกลเป้าหมายแค่ไหน เพือ่ ให้เราน�ำมาวางแผนการ ท�ำงานของเราเพิม่ ในขัน้ ต่อไป ให้เราได้ขยับเข้าใกล้เป้าหมายหรือภาพฝันที่ วางไว้ ทัง้ หมดนีน้ ำ� ไปสูแ่ นวคิดเรือ่ ง “การโค้ช” เพือ่ ให้คนจากต่างหน่วยงาน ในชุมชนเข้ามาร่วมมือกันเป็นทีม มีการแบ่งปันและค้นหาข้อมูลเพือ่ เข้าใจภาพ รวมสถานการณ์รว่ มกัน มีเป้าหมายร่วม วางแผนการท�ำงานและลงมือปฏิบตั ิ การร่วมกัน โดยมี “โค้ช” เป็นผูใ้ ช้ทกั ษะโค้ชในการเชือ่ มโยงผูค้ นและการ ท�ำงานให้ไปด้วยกันได้

เข้าใจกระบวนการโค้ชกับการทำ�งานชุมชน องค์กรต่างๆ ทีท่ ำ� งานกับชุมชน หากจะน�ำเรือ่ ง “การโค้ช” และ “การ สร้างทีม” มาใช้ในการท�ำงาน ควรมีความเข้าใจในเรือ่ งต่างๆ ต่อไปนี้ เพือ่ ช่วย ให้สามารถน�ำความเป็น “โค้ช” มาใช้ทำ� งานให้ประสบความส�ำเร็จ ตามบทบาท หน้าทีแ่ ละคุณค่าความหมายของ “โค้ช” ทีแ่ ท้จริง

1. การวางบทบาทขององค์กรต่อชุมชน

การโค้ชเป็นกระบวนการท�ำงานทีม่ คี วามชัดเจนในแง่ทวี่ า่ ผูท้ เ่ี ป็นโค้ชไม่ ได้เป็นผูล้ งมือปฏิบตั กิ าร การวางบทบาทแบบนีต้ งั้ แต่ตน้ ในการท�ำงาน จะท�ำให้ ทีมชุมชนไม่รสู้ กึ ว่า ก�ำลังจะมีคนเข้ามาท�ำให้กบั ชุมชน หรือมีคนเข้ามาจัดการ ปัญหาให้ แต่เป็นการบอกชัดว่า มาโค้ชให้คนในชุมชนลุกขึน้ มาท�ำเอง โค้ชเป็น


18

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

เพียงผูท้ คี่ อยดูแล สนับสนุน ให้คนในชุมชนรวมตัวกันเป็นทีมและจัดการปัญหา ในชุมชนตนเองโดยโค้ชมีทกั ษะการโค้ช การสร้างทีม และเสริมทักษะในการ ท�ำงานให้ทมี ชุมชนท�ำงานเองได้ 2. กระบวนการโค้ชเป็นกระบวนการทีเ่ หมาะสมกับการท�ำงานชุมชน องค์กรทีใ่ ห้ความส�ำคัญในการพัฒนาศักยภาพของคนท�ำงานให้เติบโต อย่างต่อเนือ่ ง จะเลือกใช้การโค้ชมาเป็นเครือ่ งมือในการช่วยพัฒนาคนและการ ท�ำงานไปพร้อมกัน ผ่านรูปแบบของทัง้ การอบรม (training) การโค้ชทีม (Team Coaching) และการโค้ชตัวต่อตัว เพราะกระบวนการโค้ชจะช่วยในเรือ่ งต่อไปนี ้

• การกระตุน้ ให้คนในทีมรูจ้ กั ตนเอง วิเคราะห์และอยากจะพัฒนา ตนเอง หลายคนอาจไม่รวู้ า่ ตัวเองมีจดุ แข็งอะไร ท�ำให้ไม่อาจน�ำศักยภาพทีด่ ี ภายในออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม แต่โค้ชสามารถใช้ทกั ษะ การโค้ชช่วยดึงศักยภาพของแต่ละคนออกมาได้ ช่วยให้เขารูจ้ กั ตัวเอง จุดเด่น จุดแข็ง และจุดทีต่ อ้ งปรับปรุงพัฒนาตนเอง

• การโค้ชเป็นเครือ่ งมือในการสร้างการมีสว่ นร่วมและอ�ำนาจร่วมของทีม การโค้ชใช้วธิ กี าร/หรือกระบวนการสนทนาอย่างสร้างสรรค์ เปิดพืน้ ที่ ทีเ่ อือ้ ให้ทกุ คนได้มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและความรูส้ กึ เพือ่ จัดการปัญหาในชุมชนด้วยกัน การให้ความส�ำคัญกับทุกเสียงท�ำให้ทกุ คนเกิดความมัน่ ใจ กล้าคิด กล้าท�ำ กล้าแสดงออก กล้าน�ำเสนอสิง่ ใหม่ๆ และเกิดความรูส้ กึ ร่วมเป็นทีมเดียวกัน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

19

• การโค้ชเป็นกระบวนการพัฒนาศักยภาพ การโค้ชเป็นกระบวนการในการช่วยพัฒนาศักยภาพ ค่อยๆ ปรับปรุง การท�ำงาน และท�ำให้แต่ละคนมีความสามารถในการท�ำงานเพิม่ ขึน้ เปิดโอกาสให้คนในทีมได้ชว่ ยกันคิด ช่วยกันท�ำสิง่ ใหม่ๆ แสวงหาแนว ทางใหม่ๆ ด้วยการตัง้ ค�ำถามของโค้ชทีจ่ ะก่อให้เกิดความคิดต่อยอด ทีมฟังกันมากขึน้ สะท้อนความคิดเพิม่ มุมมองจากโค้ช ท�ำให้การ สือ่ สารภายในทีมดีขนึ้ สร้างความสัมพันธ์ทดี่ แี ละก่อให้เกิดความร่วม มือของทีมเพือ่ ท�ำงานในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ

3. การโค้ชเป็นกระบวนการทีเ่ น้นศักยภาพด้านใน หลักการโค้ช เกิดขึน้ จากความเชือ่ ทีว่ า่ “แต่ละคนมีความสามารถ มี ศักยภาพทีย่ งั ไม่ได้นำ� ออกมาใช้ และมีความสามารถในการค้นหาวิธกี ารทีด่ แี ละ เหมาะสมของตัวเอง น�ำไปสูเ่ ป้าหมายของตัวเองได้ดกี ว่าวิธขี องคนอืน่ ” จึงมีการ ออกแบบกระบวนการและทักษะทีแ่ ตกต่างจากการพัฒนาคนในแบบอืน่ ๆ การ โค้ชเป็นทางเลือกหนึง่ ส�ำหรับคนทีม่ คี วามเชือ่ ในแนวทางนีท้ จี่ ะน�ำไปใช้ การโค้ชเป็นกระบวนการช่วยเหลือให้ผอู้ น่ื เติบโตจากภายใน ให้เขารูจ้ กั ตัวเอง โค้ชจึงมีละเอียดอ่อนมากในการฟัง การใช้คำ� ถาม เพือ่ ให้เข้าใจผูร้ บั การโค้ช อย่างแท้จริงอย่างทีเ่ ขาเป็น ไม่ใช่มาตรฐานทีโ่ ค้ชเป็นคนตัดสินว่าอยากให้เป็น ปัจจุบนั นี้ หลายองค์กรได้นำ� เรือ่ งการโค้ชเข้ามาใช้ โดยให้หวั หน้างาน โค้ชการท�ำงานให้กับคนในทีม เพื่อให้การท�ำงานเป็นทีมสามารถสร้าง ประสิทธิภาพประสิทธิผลได้มากยิง่ ขึน้ ให้คนในทีมมีความรูค้ วามเข้าใจต่องาน ทีท่ ำ� มีแรงบันดาลใจในการท�ำงาน และรูว้ า่ งานทีท่ ำ� อยูน่ นั้ เป็นประโยชน์อย่างไร รวมทัง้ โอกาสในการเติบโตของคนท�ำงานทัง้ ในเรือ่ งของศักยภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ และ ความก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน


20

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

“การโค้ช” จึงเป็นเครือ่ งมือใหม่ทมี่ กี ารน�ำมาใช้กนั มากขึน้ ในเกือบทุก วงการ เรือ่ งราวเกีย่ วกับหลักการโค้ช ทักษะการโค้ช จึงเป็นความรูท้ แี่ พร่หลาย สามารถหาอ่านได้จากหนังสือหลายเล่ม เว็บไซต์เผยแพร่ความรูจ้ ากหลายแห่ง และมีหลักสูตรให้ได้เรียนรูแ้ นวคิด หลักการ ทดลองฝึกฝน รวมไปถึงหลักสูตร การโค้ชทีต่ อ้ งมีการฝึกกันอย่างจริงจังและต้องมีประสบการณ์ในการโค้ชหลาย ชัว่ โมง หรือเป็นปี เพือ่ ให้โค้ชเกิดความแม่นย�ำในการใช้เครือ่ งมือและทักษะที่ เกีย่ วข้องกับการโค้ชก่อนทีจ่ ะได้ใบรับรองจากสถาบันทีฝ่ กึ สอนให้ไปท�ำงานด้าน การโค้ชได้จริงๆ การทีอ่ งค์กรน�ำเรือ่ งของการโค้ชมาใช้ในการท�ำงาน ก็หมายความว่า องค์กรเชือ่ ว่ากระบวนการโค้ชเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญเครือ่ งมือหนึง่ ทีจ่ ะช่วยให้ องค์กรสามารถขับเคลือ่ นการท�ำงานเพือ่ ให้ทมี ชุมชนท�ำงานได้ตามเป้าหมายที่ วางไว้ได้ สิง่ ส�ำคัญส�ำหรับองค์กรก็คอื การเลือกคนทีเ่ ป็น “โค้ช” ทีใ่ ช้เครือ่ งมือ ในการโค้ชเป็น มีทกั ษะการโค้ช (การจะเรียกว่ามีทกั ษะได้นน้ั ต้องสามารถใช้ได้ อย่างดีไม่ตดิ ขัด ใช้เป็น ท�ำเป็น ท�ำได้) และเข้าใจเรือ่ งหรือประเด็นทีจ่ ะท�ำการโค้ช “ท�ำงานเป็นทีม” ส�ำคัญอย่างไร • เพราะเรือ่ งยาก ท�ำคนเดียวไม่ได้ องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ทีน่ ำ� เรือ่ ง “การท�ำงานเป็นทีม” มาใช้ในการท�ำงาน เพราะตระหนักดีวา่ การท�ำงาน เรือ่ งยากๆ เรือ่ งทีซ่ บั ซ้อนนัน้ ท�ำงานคนเดียวไม่ได้ ท�ำงานแค่เฉพาะในองค์กร ตนเองไม่ได้ องค์กรจึงต้องมีแนวคิดเรือ่ งของการร่วมมือกันเป็นทีมหรือการ ท�ำงานเป็นทีมด้วย และยกระดับสูก่ ารเป็นทีมเรียนรู้ เพราะว่าความเป็นทีมนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งของความสามัคคี ความขัดแย้งก็สามารถท�ำให้คนร่วมมือกันเป็นทีมได้ เรียนรูแ้ ละปฏิบตั กิ ารกันเป็นทีมได้ หากมีความเข้าใจในความเป็นทีมอย่าง แท้จริง


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

21

• เพราะเมือ่ ความแตกต่างมาอยูร่ ว่ มกัน จะเกิดพลังและศักยภาพ ใหม่ทสี่ ร้างสรรค์กว่าเดิม คนทีม่ ศี กั ยภาพ บทบาทหน้าทีต่ า่ งกัน ไม่วา่ จะอยูใ่ น องค์กรเดียวกัน หรือต่างองค์กร เมือ่ ได้พนื้ ทีท่ จี่ ะน�ำเอาศักยภาพทีแ่ ตกต่าง เหล่านัน้ มาหลอมรวมก็จะเกิดเป็นมุมมองใหม่ทสี่ ร้างสรรค์ หรือช่วยเติมเต็ม ความรูใ้ ห้กนั กว้างขวางยิง่ ขึน้ รวมถึงช่วยปิดช่องว่างในการท�ำงานของกันและกัน • เพราะเมือ่ เรารวมทีมกัน ทรัพยากรทีเ่ รามีจะทวีคณ ู ในแต่ละ องค์กรต่างก็จดั สรรงบประมาณและทรัพยากรต่างๆ ในการท�ำงานเพือ่ กลุม่ เป้าหมายกลุม่ เดียวกันอยูแ่ ล้ว สามารถน�ำทรัพยากรเหล่านัน้ มาท�ำงานด้วยกัน จัดสรรการเป็นเจ้าภาพของงานไปตามหน่วยงานต่างๆ ให้เป้าหมายของการท�ำ โครงการและกิจกรรมนัน้ ๆ เหมาะสมกับภารกิจของหน่วยงาน เชือ่ มโยงการ ท�ำงานกันด้วยเป้าหมายสูงสุดทีม่ ตี อ่ กลุม่ เป้าหมาย อย่างเช่น ในโครงการทีท่ กุ หน่วยงานมีเป้าหมายสูงสุดเป็นเป้าหมายเดียวกันคือ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างรอบด้านให้กบั เด็กปฐมวัยและครอบครัว • เพราะทีมจะเติมเต็มกันและกัน งานทีแ่ ต่ละหน่วยงานเคยท�ำซ�ำ้ ซ้อนกันหรือทีค่ ดิ ว่าอีกหน่วยงานท�ำแล้ว จากไม่เคยได้พดู คุยกันมาก่อนจนกลาย เป็นช่องโหว่ ก็จะได้รบั การเติมเต็ม ต่างหน่วยงาน ภารกิจต่าง หากมาเป็นทีม กัน ก็มองเห็นภาพรวม เชือ่ มโยงกิจกรรมและโครงการต่างๆ ทีจ่ ะช่วยแก้ปญ ั หา ได้ กลุม่ เป้าหมายก็จะได้รบั การเติมเต็ม แต่ละหน่วยงานสามารถเป็นเจ้าภาพใน งานทีเ่ กีย่ วข้องกับภารกิจของตนเอง และมีทมี งานจากหน่วยงานต่างๆ ช่วยเสริม การท�ำงานกันอย่างไร เพือ่ ให้การท�ำงานมีความรอบด้านและได้ผลมากทีส่ ดุ สามารถท�ำงานได้ตามเป้าหมายของแต่ละหน่วยงานและได้ตามเป้าหมายร่วมที่ ทีมได้วางไว้รว่ มกันได้


22

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ทำ�ไมต้องมีขอ้ มูลทีเ่ ป็นจริงและรอบด้าน ข้อมูลทีเ่ ป็นจริงและรอบด้านนัน้ ส�ำคัญมากในการวางแผนการท�ำงาน เพราะข้อมูลทีเ่ ป็นปัจจุบนั เมือ่ น�ำไปวิเคราะห์จะท�ำให้รปู้ ญ ั หา มองเห็นจุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาสในการท�ำงาน เราจึงควรศึกษาความจริงให้รอบด้าน ทุกเรือ่ งทุกประเด็น ต้องไม่มอง ความจริงเป็นส่วนๆ เพราะจะท�ำให้เราแก้ปญ ั หาได้เฉพาะส่วนและเป็นเพียงการ แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าเท่านัน้ ความจริงรอบด้านของชุมชนนัน้ ต้องมาจากหลายหน่วยงาน หลาย องค์กรในชุมชน รวมทัง้ การส�ำรวจจากคนในชุมชนเองด้วย เพราะแต่ละคน แต่ละหน่วยงานนัน้ มองเห็นปัญหาไม่เหมือนกัน และมองปัญหาจากคนละมุม เพือ่ ให้เรามองภาพรวมของปัญหา การเชือ่ มโยงของปัญหา เหตุปจั จัยทีท่ ำ� ให้เกิด ปัญหา เราต้องช่วยกันส�ำรวจ ช่วยกันเติมข้อมูล ให้เห็นบริบท สภาพแวดล้อม แล้วน�ำข้อมูลความจริงนัน้ มาวิเคราะห์วา่ จะหาทางออกได้อย่างไร แล้วเรามี ต้นทุน คน ปัจจัย ทรัพยากรอะไรบ้างทีจ่ ะน�ำมาใช้ทำ� งานเพือ่ แก้ปญ ั หา เมือ่ เราเอาข้อมูลจริงมาน�ำเสนอให้คนในชุมชนได้เห็น เราจะเห็นถึงพลัง ของข้อมูลว่าสามารถปลุกให้คนตืน่ ขึน้ มาได้เพราะข้อมูลทีม่ าจากการร่วมกัน ส�ำรวจอย่างรอบด้านท�ำงานเสมือนกระจกทีส่ ะท้อนปัญหาทีค่ นในชุมชนก�ำลัง เผชิญอย่างตรงไปตรงมา ท�ำให้หลายคนไม่อาจทนนิง่ ดูดายต่อไปได้ ต้องลุกขึน้ มาท�ำอะไรบางอย่างเพือ่ ให้ชมุ ชนดีขนึ้

นีค่ อื พลังของความเป็นจริง

การมองเห็นความจริงวันนี้ และท�ำความเข้าใจ วิเคราะห์ วางแผน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

23

ท�ำงาน และลงมือปฏิบตั เิ พือ่ คลีค่ ลายปัญหา คือการใช้ความจริงท�ำงาน และใช้ จินตนาการเพือ่ สร้างความจริงใหม่ ท�ำให้เราบอกได้วา่ สิง่ ทีเ่ ราท�ำนัน้ ได้สร้างการ เปลีย่ นแปลงอย่างไร การกระท�ำของเราต้องท�ำแค่ไหนจึงจะเปลีย่ นแปลงจาก ความจริงปัจจุบนั ไปสูค่ วามจริงใหม่ได้ และเราจะสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ทไี่ ม่ทำ� ให้ ปัญหาวนกลับไปทีเ่ ก่าได้อย่างไร ดังนัน้ การท�ำงานจึงต้องยืนอยูบ่ นความจริงเสมอ

การโค้ชจะช่วยให้ทมี ชุมชนดีขนึ้ ได้อย่างไร การโค้ชนัน้ มีประโยชน์ทงั้ ต่อบุคคลและทีม หากผูท้ เี่ ป็นโค้ชเข้าใจการ ใช้ทกั ษะและเครือ่ งมือต่างๆ ได้ถกู ทีถ่ กู เวลา นอกจากจะช่วยให้แต่ละคนพัฒนา ความสามารถได้มากขึน้ แล้ว ยังเป็นการพัฒนาความเป็นทีมให้มงุ่ มัน่ พัฒนา ชุมชนให้ดขี นึ้ อีกด้วย

ประโยชน์ของการโค้ชจะท�ำให้ชมุ ชนดีขนึ้ ได้ในหลายสถานการณ์ ดังนี้

1. จุดประกายความฝันและหล่อเลีย้ งแรงบันดาลใจ บางครัง้ คน ท�ำงานในหน่วยงานต่างๆ ถึงแม้จะมีหน้าทีโ่ ดยตรงในการท�ำงานนัน้ ๆ และมีใจ อยากจะท�ำงานเพือ่ แก้ปญ ั หาให้ได้ แต่กย็ งั ไม่มแี รงบันดาลใจทีม่ ากพอ ยิง่ ถ้ามี สิง่ มาบัน่ ทอนแรงใจในการท�ำงาน ยิง่ ท�ำงานปัญหาก็ยงิ่ มากขึน้ ไม่ได้ลดลงเลย หน�ำซ�ำ้ ยังมีปญ ั หาใหม่ๆ เข้ามาอีก แรงใจทีเ่ คยมีกล็ ดน้อยถอยลง บางคนอาจ จะหมดไฟ การมีโค้ชจะช่วยท�ำให้ผปู้ ฏิบตั งิ านรูส้ กึ เหมือนมีเพือ่ น ทีจ่ ะช่วยจุด แรงบันดาลใจให้ทกุ คนอยากลุกขึน้ มาจัดการกับปัญหาในชุมชนให้สำ� เร็จ เปลีย่ น มุมมองให้เป็นเรือ่ งท้าทาย โค้ชจะมีกระบวนการทีช่ ว่ ยให้ทมี ชุมชนได้สนทนา กันเรือ่ งเป้าหมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นเป้าหมายส่วนตัว และเป้าหมายส่วนรวมทีเ่ ป็นเป้าหมาย ร่วม มีกระบวนการในการวางเป้าหมายระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว ท�ำให้ ชุมชนอยากเรียนรูม้ ากขึน้ พัฒนาตนเองให้มคี วามสามารถเพิม่ ขึน้ อยากลงมือ ปฏิบตั กิ ารพิชติ เป้าหมาย และทุกคนมีความหวัง มีความฝันทีจ่ ะไปให้ถงึ


24

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

2. ร่วมเดินสู่เป้าหมาย รักษาไม่ให้หลงทิศผิดทาง หลายคนมี แรงบันดาลใจ มีเป้าหมายในการท�ำงานทีช่ ดั เจน แต่มคี วามไม่แน่ใจในแนวทาง ทีจ่ ะไปสูเ่ ป้าหมาย นอกจากโค้ชจะช่วยรักษาพลังใจ ในการท�ำงานและท�ำเป้าหมาย ให้ชดั เจนขึน้ แล้ว โค้ชจะช่วยตัง้ ค�ำถามให้ทกุ คนในทีมได้ชว่ ยกันวางแนวทาง ทีจ่ ะไปสูเ่ ป้าหมายได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ท�ำให้ทมี มีเป้าหมายและอยากจะบรรลุ เป้าหมายไปด้วยกัน โค้ชจะช่วยให้ทมี มองเห็นหนทางและความสามารถของทีม แล้วลงมือท�ำร่วมกันจนบรรลุผลเป้าหมายระยะสัน้ และมุง่ มัน่ พิชติ เป้าหมายต่อ ไปๆ จนส�ำเร็จเป้าหมายระยะยาวทีว่ าดหวังไว้ 3. หลอมความแตกต่าง ลดช่องว่างคนท�ำงาน การมีโค้ชเปรียบ เสมือนการมีเพือ่ นทีพ่ ร้อมจะฟังและสะท้อนความคิดให้กบั คนท�ำงาน โค้ชมี เจตนารมณ์ทดี่ ี ไม่มผี ลประโยชน์ทบั ซ้อน คนทีเ่ ป็นโค้ชจะมีจรรยาบรรณของ โค้ชทีต่ อ้ งยึดถือ ท�ำให้โค้ชชีไ่ ว้ใจได้วา่ โค้ชเป็นผูท้ ชี่ ว่ ยเหลือด้วยความจริงใจ โค้ช มีทกั ษะการตัง้ ค�ำถามทีจ่ ะช่วยให้ทกุ คนในทีมได้ชว่ ยกันคิดให้ชดั เจนขึน้ และ ตัดสินใจลงมือท�ำได้ดขี นึ้ การโค้ชจะช่วยลดช่องว่างระหว่างคนท�ำงาน โดย เฉพาะคนท�ำงานในชุมชนที่มีความแตกต่างหลากหลาย ทั้งหน้าที่การงาน วัฒนธรรมองค์กร ความคิด ความเชือ่ และค่านิยม เนือ่ งจากกระบวนการโค้ช นัน้ เน้นใช้ทกั ษะการตัง้ ค�ำถามเพือ่ ให้ทกุ คนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดย ไม่มกี ารตัดสินกัน ทุกคนจะรับฟังกัน เห็นและเข้าใจกัน 4. เกิดการร่วมมือกันท�ำงานเป็นทีม เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ตอ้ งมีโค้ช หลายคนอาจจะเคยประสบปัญหาว่าแม้แต่คนในหน่วยงานเดียวกัน ท�ำงานใน ฝ่ายงานเดียวกันยังท�ำงานร่วมกันเป็นทีมไม่ได้ หลายหน่วยงานแต่ละคนต่างก็ ท�ำงานตามหน้าทีท่ ตี่ วั เองรับผิดชอบ คิดแค่วา่ ตนเองท�ำหน้าทีใ่ ห้ดที สี่ ดุ ก็จะช่วย ให้สว่ นรวมดี ในโลกแห่งความจริงหาเป็นเช่นนัน้ ไม่ ยกตัวอย่าง การท�ำหน้าที่ ของครูแต่ละคนในการสอนเด็กนักเรียน ท�ำหน้าทีส่ อนเด็กในห้องเรียนอย่าง เต็มที่ ท�ำงานเต็มเวลาเช้าจรดเย็น ทุม่ เทในเวลางาน เมือ่ เด็กกลับบ้านอยูก่ บั


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

25

ครอบครัวก็มองว่าเป็นหน้าทีข่ องครอบครัวทีต่ อ้ งดูแลเด็กเต็มทีเ่ ช่นกัน จะไม่เข้า ร่วมท�ำงานกับครูในโรงเรียนหรือหน่วยงานต่างๆ ในการช่วยเหลือดูแลเด็กที่ ไม่ใช่งานในหน้าทีข่ องตนเอง ซึง่ เด็กอาจจะประสบปัญหาในครอบครัวทีส่ ง่ ผลต่อ เด็กไปจนถึงปัญหาเมือ่ เด็กอยูท่ โี่ รงเรียน ดังนัน้ การจะเชือ่ มโยงให้แต่ละคนเข้ามาท�ำงานร่วมกันเป็นทีมและ ท�ำงานดูแลช่วยเหลือเด็กทีอ่ ยูน่ อกกรอบความคิดและแนวทางการท�ำงานของ แต่ละคนจึงเป็นเรือ่ งยาก แต่ไม่ใช่เป็นไปไม่ได้ การเข้าร่วมของคนจากหลาก หลายหน่วยงาน หลากหลายแนวคิดจึงจ�ำเป็นต้องมีคนทีจ่ ะคอยเชือ่ มโยงให้ทกุ คนปรับแนวคิดและแนวทางในการท�ำงานเข้าหากัน มองเห็นสิง่ ทีต่ นอยากท�ำให้ ส�ำเร็จเป็นเป้าหมาย และลงมือลงแรงท�ำงานร่วมกันเป็นทีมเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมาย นัน้ หน้าทีข่ องโค้ชจะช่วยให้คนทีแ่ ตกต่างหลากหลายเหล่านีร้ ว่ มมือกันเป็น ทีมได้ มองเห็นเป้าหมายร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าทีก่ นั ก้าวข้ามขีดจ�ำกัดที่ ตนเคยมี ออกจากกรอบความคิดเดิมได้ และท�ำอะไรต่างๆ ได้มากกว่าทีเ่ คยท�ำ 5. ค้นพบศักยภาพภายในตนและของทีม น�ำไปสูแ่ นวทางสร้างสรรค์ ใหม่ๆ การท�ำงานอยูก่ บั เรือ่ งราวเดิมๆ หน้าทีเ่ ดิมๆ ท�ำให้บางคนมองไม่เห็นถึง ศักยภาพที่เป็นจุดแข็งของตัวเอง ขณะเดียวกันก็ไม่เห็นจุดอ่อนของตนเอง เพราะการอยูก่ บั การท�ำงานเดิมๆ จะไม่สามารถท�ำให้สงิ่ ใหม่ปรากฎขึน้ มาได้ อีกทัง้ การท�ำงานในแบบเดิมๆ ก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายใหม่ๆ ได้ การมีโค้ช จะช่วยแต่ละคนค้นพบศักยภาพของตนเองทีซ่ อ่ นอยูห่ รือเคยมองข้าม ให้ได้ น�ำศักยภาพนัน้ มาใช้ ช่วยดึงศักยภาพของคนท�ำงานในชุมชน ให้กล้าออกจาก พืน้ ทีป่ ลอดภัย (comfort zone) ตัง้ ใจเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ ไปพร้อมกับทีม และท�ำให้ อยากเรียนรูเ้ พิม่ ศักยภาพเพือ่ ให้สามารถท�ำสิง่ ใหม่ๆ ทีไ่ ม่เคยท�ำมาก่อน มี การเรียนรูเ้ พิม่ ขึน้ ตัง้ ใจพัฒนาตนเองเพือ่ ให้ทมี ท�ำงานตามเป้าหมายได้สำ� เร็จ ร่วมมือร่วมใจกับคนในทีม เพือ่ ให้สามารถท�ำตามเป้าหมายทีว่ างไว้ได้


26

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

องค์กรควรเลือกใครมาทำ�หน้าทีเ่ ป็นโค้ช การเลือก “โค้ช” นัน้ เป็นส่วนส�ำคัญของปัจจัยความส�ำเร็จ อย่างทีเ่ รา เคยได้ยนิ ในข่าวบ่อยๆ นักกีฬาบางทีมเมือ่ เปลีย่ นโค้ชก็สามารถท�ำผลงานให้ดี ขึน้ ได้ บางทีมเปลีย่ นโค้ชแล้วท�ำผลงานได้ไม่ดี นักบริหารธุรกิจหลายคนใช้เวลา ในการเลือกโค้ชนาน เพราะต้องหาคนทีส่ ะดวกใจ สบายใจทีจ่ ะมอบความไว้ วางใจให้ บางองค์กรจ้างโค้ชชีวติ (Life coach) มาเพือ่ ให้เจ้าหน้าทีใ่ นองค์กรใช้ ชีวติ อย่างมีความสุข มีเป้าหมาย มีความหมาย ดังนัน้ การเลือก “โค้ช” จึง เกีย่ วข้องกับเป้าหมายขององค์กรว่าต้องการอะไรจากโค้ช แล้วโค้ชมีผลงานหรือ มีคณ ุ สมบัตทิ ที่ ำ� ให้เห็นว่าองค์กรจะบรรลุเป้าหมายนัน้ ได้หรือไม่

คุณสมบัตขิ องโค้ชทีด่ ี คุณสมบัตขิ องโค้ชนัน้ เป็นสิง่ ที่ “โค้ช” ควรจะมีหรือพัฒนาตนเองให้มี สิง่ เหล่านี้ และส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการโค้ชก็พอจะใช้คณ ุ สมบัตเิ หล่านีม้ าเป็นเกณฑ์ ในการมองหาโค้ชได้ ในหลักสูตรพัฒนาศักยภาพเรื่อง “การเป็นโค้ชและกัลยาณมิตร” (Coaching and Mentoring) โดยอาจารย์ชยั วัฒน์ ถิระพันธุ์ กระบวนกรด้าน การพัฒนาศักยภาพ ได้กล่าวถึงคุณสมบัตขิ องโค้ชทีด่ วี า่ ควรมีความสามารถ 3 ด้าน คือ ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางสังคม และความฉลาดทางสติปญ ั ญา ความฉลาดทางอารมณ์ หรือ EQ (Emotional Quotient) เป็นความ สามารถในการรับรู้ เข้าใจอารมณ์ตนเองและผูอ้ นื่ สามารถควบคุม อารมณ์และ ยับยัง้ ชัง่ ใจตนเองและแสดงออกอย่างเหมาะสม รูจ้ กั เอาใจเขามาใส่ใจเรา รูจ้ กั รอคอย รูจ้ กั กฎเกณฑ์ระเบียบวินยั มีจติ ใจร่าเริงแจ่มใส และ มองโลกในแง่ดี ความฉลาดทางสังคม หรือ SQ (Social Quotient) ความฉลาดทาง สังคมทีจ่ ะใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ เพราะมนุษย์ไม่สามารถอยูค่ นเดียวได้ ต้อง


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

27

พึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน มีนาํ้ ใจเอือ้ อาทรต่อเพือ่ นร่วมสังคมด้วยกัน ไม่คดิ ว่า ตนเองเหนือกว่าใคร ต้องมีใจเปิดกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ นื่ อีกทัง้ ต้องไม่เบียดเบียนซึง่ กันและกัน ความฉลาดทางสติปญ ั ญา หรือ IQ (Intelligence Quotient) มีความ สามารถในการคิด วิเคราะห์ การค�ำนวณ และการใช้เหตุผล คุณสมบัตโิ ดยภาพรวมทีต่ อ้ งมีความฉลาดทัง้ 3 ด้านแล้ว ในราย ละเอียดของคุณสมบัตขิ องโค้ช สรุปได้ ดังนี้ 1. เป็นผูท้ เี่ ชือ่ มัน่ ในคุณค่าและศักยภาพของมนุษย์ เชือ่ ว่ามนุษย์นนั้ พัฒนาได้ คนทุกคนอยากเปลีย่ นแปลงตัวเองให้เติบโต อยากพัฒนาตัวเองให้ ดีขนึ้ และอยากประสบความส�ำเร็จ 2. เป็นผูท้ ตี่ อ้ งการช่วยเหลือผูอ้ นื่ อยากเห็นผูอ้ นื่ ประสบความส�ำเร็จ อย่างแท้จริง มีความเมตตา กรุณาและอุทศิ ตัว รวมไปถึงมีความเห็นอกเห็นใจ ผูอ้ นื่ 3. เป็นผูท้ มี่ คี วามรูเ้ รือ่ งการโค้ช และใช้ทกั ษะการโค้ชเป็น ไม่ใช่แค่รู้ ว่าทักษะโค้ชมีอะไรบ้าง แต่ตอ้ งใช้ทกั ษะเป็นด้วย เช่น ทักษะการฟัง ทักษะการ ตัง้ ค�ำถาม การสือ่ สารสร้างแรงบันดาลใจหรือสือ่ สารเชิงบวก การสังเกต และ การสังเคราะห์ เป็นต้น 4. มีเครือ่ งมือและกระบวนการโค้ช เช่นเดียวกับเรือ่ งของทักษะการ โค้ช ผูท้ เี่ ป็นโค้ชต้องมีกระบวนการในการโค้ช โดยกระบวนการดังกล่าวเป็นการ ออกแบบของโค้ชทีน่ ำ� ไปใช้กบั แต่ละคน เพราะว่าโค้ชชีแ่ ต่ละคนนัน้ มีความแตก ต่างกัน การทีโ่ ค้ชมีเครือ่ งมือและกระบวนการโค้ช จะท�ำให้โค้ชสามารถท�ำการ โค้ชได้ตรงกับกลุม่ เป้าหมาย เนือ่ งจากการโค้ชเป็นศิลปะทีใ่ ช้ควบคูก่ บั จิตวิทยา ทางสังคม มนุษย์แต่ละคนนัน้ มีความแตกต่างกัน เพือ่ ให้การโค้ชได้ผล แผนใน


28

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การโค้ชของแต่ละคนจึงไม่เหมือนกัน คุณสมบัตขิ องโค้ชนัน้ เป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาตนของโค้ชเอง ดังนัน้ โค้ชโดยส่วนใหญ่จงึ มักใช้คณ ุ สมบัตเิ หล่านีใ้ นการสะท้อนย้อนมองตนเองว่าตน มีคณ ุ สมบัตเิ พียงพอทีจ่ ะเป็นโค้ชหรือไม่ นอกจากคุณสมบัตหิ ลักๆ แล้ว โค้ชยัง มีคณ ุ สมบัตอิ นื่ ๆ ขึน้ อยูก่ บั การก�ำหนดคุณสมบัตขิ องผูท้ คี่ ดั เลือกโค้ช และ คุณสมบัตทิ โี่ ค้ชจะก�ำหนดให้ตนเองควรมี อาทิ • โค้ชเป็นผูท้ มี่ สี มาธิ มีสติ อยูก่ บั ปัจจุบนั เป็นคนทีม่ สี ามารถท�ำให้ตนเอง จิตใจสงบ ดึงสติมาอยู่กับตัวได้ แสดงให้เห็นถึงความพร้อมในการ สนทนากับโค้ชชี่ • โค้ชเป็นคนทีเ่ ข้าใจเรือ่ งราวต่างๆ ได้ดี เรียกได้วา่ มีความเข้าใจโลก เข้าใจ ชีวติ พอสมควร มีความเห็นอกเห็นใจผูอ้ นื่ แต่ไม่ถงึ กับจมลงไปในเรือ่ งที่ โค้ชชีเ่ ล่าให้ฟงั สามารถจัดระยะห่างของความสัมพันธ์และความรูส้ กึ ได้ เพือ่ ให้โค้ชสามารถช่วยเหลือโค้ชชีไ่ ด้อย่างมีสติ เพราะหากโค้ชจมอยูใ่ น ความรูส้ กึ ไม่สามารถดึงตนเองออกมาได้ อาจมีผลต่อการตัดสินใจใน การโค้ช การเห็นอกเห็นใจเป็นเรือ่ งทีด่ แี ละโค้ชควรมี แต่อย่าเอาความ รูส้ กึ นัน้ มาเป็นความรูส้ กึ ของตนเอง • โค้ชต้องรูจ้ กั รักษาระยะห่างของความสัมพันธ์ เพือ่ ให้สามารถรักษามุม มองแบบไม่มอี คติและเป็นกลาง แม้โค้ชจะมีความปรารถนาดีทจี่ ะ ช่วยเหลือโค้ชชี่ แต่ตอ้ งไม่ให้อารมณ์หรือความผูกพันส่วนตัวท�ำให้การ ช่วยเหลือนัน้ ยิง่ ท�ำให้โค้ชชีก่ ลายเป็นผูท้ ตี่ อ้ งพึง่ พาโค้ช แต่ตอ้ งท�ำให้เขา เป็นตัวของตัวเอง • โค้ชทีด่ ตี อ้ งไม่ตดั สินผูอ้ นื่ โดยใช้กรอบความคิดหรือมุมมองของตัวเอง หลายเรือ่ งมีทมี่ าและเหตุผลทีแ่ ตกต่างกัน การตัดสินใจว่าจะท�ำอะไร


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

29

ของแต่ละคนก็มคี วามซับซ้อนแตกต่างกัน โค้ชต้องเปิดมุมมอง ความ คิดและรับฟังด้วยใจทีน่ งิ่ พอ • โค้ชต้องมีความเชือ่ มัน่ ในตนเองว่าสามารถช่วยเหลือผูอ้ นื่ ด้วยการโค้ชได้ แต่ตอ้ งไม่มอี ตั ตาหรือมีอตั ตาน้อย เพราะหากโค้ชมีอตั ตาสูงมองตนเอง เป็นศูนย์กลางอาจท�ำให้โค้ชครอบง�ำทางความคิดและชีน้ ำ� ให้โค้ชชีไ่ ปใน ทิศทางทีต่ นต้องการ • โค้ชต้องรูจ้ กั ปล่อยวาง เช่นเดียวกับเรือ่ งของการมีอตั ตาน้อย บางครัง้ โค้ชต้องวางความรู้ ประสบการณ์ กรอบความคิด ความเชือ่ และค่านิยม ของตนไว้กอ่ น เพือ่ ให้สามารถมองเห็นความรู้ ประสบการณ์ ความคิด ความเชือ่ ค่านิยมของโค้ชชี่ และท�ำความเข้าใจเขาจากสิง่ เหล่านัน้ • โค้ชที่ดีต้องไม่ใช้การโน้มน้าวหรือชี้น�ำให้โค้ชชี่ไปในเส้นทางที่โค้ช ต้องการ สิง่ ทีค่ วรใส่ใจมากทีส่ ดุ คือเป้าหมายของโค้ชชี่ และตัวตนของ เขา สิง่ ทีโ่ ค้ชควรท�ำคือการท�ำให้โค้ชชีไ่ ปถึงเป้าหมายของเขาด้วยตัวของ เขาเอง รายละเอียดของคุณสมบัตทิ โี่ ค้ชควรมีเหล่านี้ แม้จะไม่ใช่เรือ่ งหลักๆ แต่เป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญมาก เพราะโค้ชทีด่ นี นั้ ต้องใส่ใจในรายละเอียด มองเห็นข้อ ควรระวัง สิง่ ทีค่ วรท�ำและไม่ควรท�ำ เพือ่ ให้การโค้ชนัน้ เป็นประโยชน์กบั โค้ชชีใ่ ห้ มากทีส่ ดุ 1

1 ศึกษาเพิม่ เติมมุมมองอืน่ ๆ ได้ท่ี https://coachbee.wordpress.com/2013/05/27/the-spirit-ofcoaching-part2


30

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ตัวอย่างการท�ำงานเกีย่ วกับการสนับสนุนและพัฒนาทีมกลไกชุมชน เพือ่ สร้างความเปลีย่ นแปลงด้านสุขภาวะของเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทีมถอด บทเรียนได้สรุปคุณสมบัตขิ องโค้ชไว้ดงั นี้ 1. มีความเชือ่ มัน่ ในคุณค่าและศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถ สร้างการเปลีย่ นแปลงให้กบั ชุมชนและสังคมทีต่ นอยูไ่ ด้ 2. มีความต้องการสนับสนุนคนทีม่ คี วามตัง้ ใจและมีแนวคิดในการลงมือ ท�ำเพือ่ สร้างการเปลีย่ นแปลง 3. มีความเข้าใจในบทบาท หน้าทีข่ องโค้ช 4. มีความรู้เรื่องการโค้ช ใช้ทักษะการโค้ชเป็น มีเครื่องมือและ กระบวนการทีใ่ ช้ในการโค้ช 5. มีความรูเ้ รือ่ งการสร้างทีม การท�ำงานเป็นทีม และการเรียนรูก้ นั เป็น ทีมหรือทีมเรียนรู้ 6. มีประสบการณ์ทำ� งานเพือ่ เปลีย่ นแปลงสังคม ประสบการณ์ในการท�ำ กิจกรรมหรือโครงการ และการท�ำงานเป็นทีม 7. สามารถให้เวลาในการโค้ชการท�ำงานให้กบั ทีมชุมชนทีต่ นดูแลได้ ตลอดระยะเวลาโครงการอย่างน้อย 1 ปี คุณสมบัตขิ องโค้ชในข้อ 1 - 4 นัน้ ถือเป็นคุณสมบัตหิ ลักทีโ่ ค้ชควรมี อยูแ่ ล้ว ส่วนข้ออืน่ ๆ นัน้ หากเป็นโค้ชการท�ำงานด้านอืน่ ๆ ก็สามารถ เพิม่ เติมคุณสมบัตเิ ฉพาะด้านเข้าไปได้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

31

คุณสมบัตขิ องทีมชุมชนทีพ ่ ร้อมสำ�หรับการโค้ช ความส�ำเร็จของการแก้ปญ ั หาชุมชนด้วยกระบวนการโค้ชนัน้ ความ ส�ำเร็จไม่ได้อยูท่ โี่ ค้ชเพียงล�ำพัง แต่ทมี่ ากกว่านัน้ ก็อยูท่ ที่ มี ชุมชนทีเ่ ปิดใจรับการ โค้ชด้วย นอกจากจะดูทคี่ นมีใจ มีความมุง่ มัน่ จะพัฒนาตัวและชุมชนแล้ว ใน ช่วงแรก จ�ำเป็นทีจ่ ะตัองคัดเลือกคนเข้าร่วมทีมจากคุณสมบัตทิ สี่ อดคล้องกับ ประเด็นงานทีจ่ ะท�ำร่วมกัน และคุณสมบัตเิ กีย่ วข้องส�ำคัญอืน่ ๆ อย่างเช่น • เป็นคนที่มีใจอยากเอาชนะปัญหา อยากแก้ปัญหาและสนใจใน ประเด็นนัน้ ๆ เช่นในโครงการทีเ่ ป็นประเด็นเด็กปฐมวัยและครอบครัว ไม่วา่ คน เหล่านัน้ จะสนใจโดยหน้าทีก่ ารงานทีร่ บั ผิดชอบในหน่วยงาน หรือสนใจเพราะ เป็นประเด็นทีห่ ว่ งใยอยากแก้ปญ ั หา • เป็นคนทีต่ อ้ งการคิดนอกกรอบ มองทะลุปญ ั หา มีกระบวนการคิด วิเคราะห์ปญ ั หาได้ คิดรอบด้าน • เป็นคนทีอ่ ยากท�ำงานอย่างมีเป้าหมาย มีคณ ุ ค่าและมีความสุข อยาก เห็น อยากท�ำ อยากมีเป้าหมายทีช่ ดั เจนและผลักดันตนเองให้กา้ วไปสูเ่ ป้าหมาย นัน้ อย่างมัน่ ใจ และอยากท�ำให้สำ� เร็จ • เป็นคนทีอ่ ยากก้าวข้ามอุปสรรคปัญหา กรอบความคิด ความเชือ่ ทีม่ าขวางกัน้ ให้ไม่สามารถท�ำสิง่ ทีต่ อ้ งการให้สำ� เร็จได้ • เป็นคนทีต่ อ้ งการเพิม่ ศักยภาพของตัวเอง เพิม่ โอกาสและทางเลือก ทีเ่ ป็นไปได้ในการท�ำงานตามเป้าหมาย


32

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

• เป็นคนทีอ่ ยากมีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ คนอืน่ ทัง้ ในครอบครัว ในที่ ท�ำงาน ในชุมชน ในการท�ำงานร่วมกับคนอืน่ (ในทีม) • เป็นคนทีอ่ ยากมีความมัน่ ใจ รูค้ ณ ุ ค่าในตนเอง ภูมใิ จในตนเอง และ ต้องการใช้ชวี ติ อย่างมีความหมาย อยากใช้ชวี ติ อย่างสร้างสรรค์ มีมมุ มองความ คิดเชิงบวก • เป็นคนที่อยากเห็นประเด็นที่ตนท�ำงานหรือกลุ่มเป้าหมายที่ตน ท�ำงานด้วยมีความสุข มีพฒ ั นาการทีด่ ี อยากพัฒนาตนเองทัง้ IQ และ EQ

ความสัมพันธ์ของโค้ชกับชุมชน

ความแตกต่างระหว่างโค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายนอก กับ โค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายใน

ปัจจุบนั ทักษะการโค้ชเป็นหนึง่ ในทักษะของผูน้ ำ� ดังนัน้ ผูน้ ำ� องค์กร สมัยใหม่ ผูน้ ำ� ทีมทีม่ ภี าวะผูน้ ำ� มักจะใช้ทกั ษะการโค้ชในการท�ำงานกับคนในทีม เพือ่ ให้ทมี ท�ำงานได้ประสบผลส�ำเร็จ การโค้ชของคนทีท่ ำ� งานด้วยกัน หรืออยู่ องค์กรเดียวกัน เป็นโค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายใน รวมทัง้ ผูท้ เี่ ป็นโค้ชเป็นคนทีอ่ ยู่ ในชุมชนเดียวกันกับโค้ชชีก่ ถ็ อื ได้วา่ เป็นโค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายใน โค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายใน มักจะให้ความสนใจอย่างมากในเรือ่ งของ การตัดสินใจของผูร้ บั การโค้ชเพราะเกีย่ วข้องกับคุณภาพของงาน รวมทัง้ คนเป็น โค้ชรูเ้ รือ่ งราวต่างๆ มากมายภายในองค์กร ภายในชุมชน หรือในสายงานนัน้ ๆ และเขาจะสามารถโค้ชได้เป็นอย่างดีเพราะเขามีสว่ นได้สว่ นเสียกับผลลัพธ์ทผี่ รู้ บั


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

33

การโค้ชตัดสินใจท�ำ ดังนัน้ โค้ชภายในจึงมักคาดการณ์ลว่ งหน้าถึงผลลัพธ์ และ สามารถโค้ชให้ผรู้ บั โค้ชไปถึงเป้าหมายได้ตามแผนทีโ่ ค้ชได้คาดการณ์ลว่ งหน้า ไว้แล้ว ส่วนโค้ชทีเ่ ป็นโค้ชภายนอก อาจจะเป็นโค้ชทีเ่ ข้ามาเพราะมีทกั ษะ มี คุณสมบัตใิ นการโค้ช หรือเป็นโค้ชมืออาชีพทีไ่ ด้รบั การเลือกเข้ามาท�ำหน้าทีโ่ ค้ช แต่เขาจะไม่ได้เชีย่ วชาญในงานของผูร้ บั การโค้ช อีกทัง้ ไม่มสี ว่ นได้สว่ นเสียในการ ตัดสินใจใดๆ เป็นคนทีโ่ ค้ชด้วยความรูส้ กึ ยินดีทเี่ ห็นผูร้ บั การโค้ชประสบความ ส�ำเร็จ โค้ชอาจจะไม่รจู้ กั แต่ละคนมาก่อน ไม่มภี าพความคิดต่อบุคคลนัน้ ๆ และ ไม่เกีย่ วข้องกับการมีผลงานในหน้าทีก่ ารงานของคนเหล่านัน้ ไม่มสี ว่ นได้สว่ น เสียกับคุณภาพของผลงานทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละหน่วยงาน หมายความว่าไม่ใช่คนที่ จะตัดสินใจว่างานนัน้ ออกมาดีหรือไม่ดี ส�ำเร็จหรือไม่สำ� เร็จ แต่เป็นกัลยาณมิตร ทีช่ ว่ ยให้ผรู้ บั การโค้ชสามารถท�ำตามเป้าหมายทีเ่ ขาต้องการได้ ถ้างานส�ำเร็จ ท�ำให้ชมุ ชนน่าอยูข่ นึ้ แก้ปญ ั หาในชุมชนได้ โค้ชก็ยนิ ดีกบั ความส�ำเร็จของผูร้ บั การโค้ช โค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายนอก จึงเน้นกระบวนการโค้ช เพือ่ ให้โค้ชชีไ่ ด้ เข้าใจสิง่ ทีเ่ ขาได้เรียนรู้ ไม่วา่ เขาจะน�ำสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูน้ นั้ ไปปรับใช้กบั การท�ำงาน ใดๆ ก็ตาม โค้ชภายนอกจึงเน้นกระบวนการระหว่างทางทีจ่ ะท�ำให้ผรู้ บั การโค้ช ไปถึงเป้าหมายได้ดว้ ยตัวเอง ขณะทีโ่ ค้ชภายใน จะใช้กระบวนการโค้ชเพือ่ ให้โค้ชชีไ่ ด้เรียนรูท้ จี่ ะ ท�ำงาน หรือท�ำกิจกรรมนัน้ ให้ประสบผลส�ำเร็จ โค้ชภายในจะสนใจประสิทธิภาพ ประสิทธิผลเป็นอย่างมาก อาจจะแนะน�ำเทคนิค กระบวนการ วิธกี ารทีจ่ ะท�ำให้ ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายได้ และอาจเป็นไปได้วา่ เป้าหมายของผูร้ บั การ โค้ชกับเป้าหมายของโค้ชนัน้ เป็นเป้าหมายเดียวกัน


34

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

โค้ชภายนอก จะใช้กระบวนการโค้ชในการช่วยเหลือให้แต่ละคน พัฒนาการแก้ปญ ั หาของตนเอง ไม่เข้าไปเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญทีแ่ สดงความคิดเห็นชีน้ ำ� แต่จะใช้กระบวนการตัง้ ค�ำถามแบบเปิด ชวนให้ครุน่ คิดใคร่ครวญค้นหาค�ำตอบ จนท้ายทีส่ ดุ ผูร้ บั การโค้ชจะค้นพบค�ำตอบของเขาเอง แน่นอนว่า โค้ชทีด่ จี ะไม่กระโจนเข้าสูก่ ารแก้ปญ ั หาของผูร้ บั การโค้ช แต่ จะใช้กระบวนการโค้ชให้โค้ชชีส่ ำ� รวจปัญหาด้วยวิธกี ารของตัวเอง ตัง้ ค�ำถามให้ เขาวิเคราะห์ปญ ั หา ค้นหาทางออกของปัญหาด้วยตัวเอง และเมือ่ เขาลงมือแก้ ปัญหาเขาจะได้เรียนรูผ้ า่ นกระบวนการทัง้ หมดด้วยตัวเอง ซึง่ ในประเด็นนีโ้ ค้ช ภายนอกสามารถท�ำได้งา่ ยกว่า เพราะไม่มสี ว่ นได้สว่ นเสียกับการแก้ปญ ั หานัน้ แต่ถา้ เป็นโค้ชภายในซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับปัญหาทีโ่ ค้ชชีต่ อ้ งการแก้ อาจท�ำให้ โค้ชกระโจนเข้าสูก่ ารแก้ปญ ั หาได้ ข้อควรระวังไม่ว่าโค้ชภายในหรือโค้ชภายนอก ก็คือ โค้ชที่ดีต้อง ตระหนักถึงสมมุตฐิ านหรือข้อสันนิษฐานของตนเอง โค้ชจึงต้องเข้าใจเรือ่ ง บันไดแห่งการวินจิ ฉัย (อ่านเพิม่ เติมเรือ่ งบันไดแห่งการวินจิ ฉัยในทักษะและ ความสามารถของโค้ช หน้า 66) เพือ่ ช่วยให้โค้ชมีความตระหนัก รูจ้ กั แขวน ความคิดของตนเองไว้กอ่ น ถ้าวินจิ ฉัยบางอย่างเร็วเกินไปอาจท�ำให้เกิดความผิด พลาดได้ ส�ำหรับผู้รับการโค้ช มีข้อพึงระวังคือ เมื่อมีโค้ชที่มีความสัมพันธ์ ภายใน บางครัง้ อาจจะมีความคาดหวัง ความรูส้ กึ พึง่ พาโค้ชอยูม่ าก ไม่พยายาม ค้นหาทางออกด้วยตัวเอง เพราะคิดว่าอย่างไรเสียโค้ชก็จะช่วยเหลือเอง อาจ ท�ำให้รสู้ กึ เฉือ่ ยชาไม่กระตือรือร้น แต่หากบุคลิกภาพของโค้ชภายในค่อนข้าง เข้มงวด ก็อาจจะท�ำให้เกร็ง ไม่กล้าคิด ไม่กล้าตัดสินใจ ก็เป็นความรูส้ กึ พึง่ พา อีกแบบหนึง่


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

35

แต่หากเป็นโค้ชภายนอก ความรูส้ กึ พึง่ พาในรูปแบบของโค้ชภายในอาจ จะไม่เกิดขึน้ สิง่ ทีค่ วรระวังส�ำหรับโค้ชทีม่ คี วามสัมพันธ์ภายนอกและท�ำให้ชดั เจน ตัง้ แต่เริม่ ต้นก็คอื บางครัง้ ผูร้ บั การโค้ชอาจเกิดความไม่เชือ่ มัน่ ในตัวโค้ช ลังเล สงสัย อันเนือ่ งมาจากกระบวนการโค้ชทีค่ อยรับฟัง ตัง้ ค�ำถามชวนคิด อาจท�ำให้ ผูร้ บั การโค้ชไม่เข้าใจว่าท�ำไมต้องถามอะไรมากมาย ท�ำไมไม่บอกว่าต้องท�ำอะไร จึงจะท�ำให้ตนเองประสบความส�ำเร็จ ดังนัน้ โค้ชภายนอกจึงต้องใช้เวลาในการสร้างความไว้วางใจ ความเชือ่ มัน่ เชือ่ ถือ มากกว่าโค้ชภายใน ยิง่ ไม่มสี ว่ นได้สว่ นเสียในความส�ำเร็จหรือความ ล้มเหลวของผูร้ บั การโค้ช ยิง่ ถ้าเจอกับผูร้ บั การโค้ชทีอ่ ยากจะกระโจนเข้าสูก่ าร แก้ปญ ั หาเลย ก็จะเกิดความรูส้ กึ ว่าท�ำไมโค้ชไม่ทำ� อะไรเสียที ซึง่ ความรูส้ กึ เหล่านี้ เป็นเรือ่ งปกติทอี่ าจเกิดขึน้ ได้ เพียงแต่โค้ชและผูร้ บั การโค้ชต้องคุยกันให้ชดั เจน ตัง้ แต่เริม่ ต้น และโค้ชต้องอธิบายกระบวนการ วิธกี ารโค้ชของตนให้ผร้ ู บั การโค้ช เข้าใจเสียก่อนตัง้ แต่เริม่ ต้น เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาในความสัมพันธ์ภายหลัง


โค้ช และ การโค้ช กระบวนการเพื่อสร้างทีมให้ไปสู่เป้าหมาย


Coach เรามักใช้ทบั ศัพท์วา่ “โค้ช” เป็นค�ำทีใ่ ช้กนั มานานจนค่อนข้าง เห็นภาพว่าเป็นอย่างไร โดยมากเราคุน้ กับการมีโค้ชในวงการกีฬา เบือ้ งหลังนัก กีฬาเก่งๆ มักจะมีโค้ชทีช่ ว่ ยมองสถานการณ์ วางแผนทัง้ ในการฝึกซ้อมและการ แข่งขัน ให้คำ� ปรึกษาและชีแ้ นะ ช่วยให้นกั กีฬาเอาชนะในการแข่งขันได้ การโค้ชได้รบั ความสนใจมากขึน้ ในช่วงปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ.2523) เมือ่ มีนกั คิดในสหรัฐอเมริกา สนใจศึกษาว่าเหตุใดทีมบาสเก็ตบอลหลายทีมเมือ่ เปลีย่ นตัวโค้ช ทีมสามารถท�ำผลงานได้ดขี นึ้ ในทางกลับกันก็มหี ลายทีมทีผ่ ล งานแย่ลงเมือ่ โค้ชคนเดิมออกไป ทัง้ ๆ ทีป่ จั จัยอืน่ ๆ ก็ยงั คงเดิม ไม่วา่ จะเป็น นักกีฬา คูแ่ ข่ง สภาพแวดล้อมในการแข่ง ทีส่ ำ� คัญเหตุการณ์เช่นนีเ้ กิดขึน้ กับ ทุกทีม และเกิดขึน้ ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ เล่า นักคิดเหล่านัน้ จึงท�ำการศึกษาว่าโค้ชท�ำอะไรในทีม เหตุใดจึงมีความ ส�ำคัญและส่งผลมากมายต่อผลงานของทีม ผลการศึกษาพบว่า แนวทางและ กิจกรรมหลายอย่างของโค้ชกีฬาสามารถน�ำมาปรับใช้เพือ่ เพิม่ ศักยภาพของคน ท�ำงานในวงการธุรกิจได้ ท�ำให้คนท�ำงานมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ เช่นเดียวกับการ พัฒนาความสามารถของนักกีฬา1 ปัจจุบนั การโค้ช (Coaching) ก�ำลังเป็นทีน่ ยิ มแพร่หลายในเมืองไทย ในวงการธุรกิจน�ำการโค้ชมาปรับใช้กบั การท�ำงานในองค์กร การมีโค้ชส�ำคัญ มากส�ำหรับคนทีจ่ ะขึน้ ไปท�ำงานในต�ำแหน่งทีส่ งู ขึน้ เช่น ผูบ้ ริหารระดับสูง มักมี โค้ชทีท่ ำ� หน้าทีต่ งั้ ค�ำถาม ชวนคิด และเป็นเหมือนกระจกทีช่ ว่ ยส่องให้ผรู้ บั การ โค้ชมองเห็นอะไรบางอย่างทีม่ คี วามหมายนัน่ เอง

1 สรุปความจาก https://thaiappreciative.wordpress.com/2017/01/31/การโค้ช


38

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

นอกจากนี้ ในการท�ำงานขององค์กรสมัยใหม่ทเี่ น้นการท�ำงานเป็นทีม ผูน้ ำ� องค์กร และผูน้ ำ� ทีมท�ำงานมักน�ำทักษะการโค้ชมาปรับใช้กบั การท�ำงาน เพือ่ ให้ทมี สามารถท�ำผลงานได้ดี มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ หลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับ การโค้ชจึงเป็นทีแ่ พร่หลาย ซึง่ มีแนวทางและหลักการไม่ได้แตกต่างกันมากนัก ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการน�ำไปปรับใช้วา่ เหมาะสมกับผูท้ รี่ บั การโค้ช บริบท สถานการณ์ รวมไปถึงสภาวะและหัวใจของผูเ้ ป็นโค้ช การโค้ชในการท�ำงานทางสังคมก็มกี ารน�ำแนวทางและหลักการมาใช้ มากขึน้ เช่นกัน หลายองค์กรปรับบทบาทคนท�ำงานจากผูป้ ระสานงาน พีเ่ ลีย้ ง มาเป็น “โค้ช” และสนใจการใช้ทกั ษะการโค้ชมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ มีการโค้ชผ่าน การอบรมพัฒนาศักยภาพขององค์กรทางสังคมต่างๆ อยูบ่ า้ ง แต่ไม่ได้เรียกตัว เองว่าเป็น “โค้ช” เหมือนกับในแวดวงธุรกิจ ทีเ่ รามักจะเห็นผูท้ เี่ รียกตัวเองว่า “โค้ช” อยูม่ ากมายผ่านสือ่ Social media ซึง่ อาจมีขอ้ สงสัยว่า โค้ชเหล่านัน้ เป็น โค้ชของใคร มีใครบ้างทีเ่ ป็น “ผูร้ บั การโค้ช” หรือ โค้ชชี่ (Coachee) ซึง่ อยูใ่ น หัวข้อประเภทของโค้ช เพือ่ ให้มองเห็นภาพของโค้ชแต่ละประเภทได้ชดั ขึน้

นิยามความหมายของ “โค้ช” อย่างทีเ่ คยกล่าวไปแล้วว่าเราคุน้ เคยกับ “โค้ช” ในวงการกีฬา เมือ่ เรา กล่าวถึงโค้ช ดูเหมือนว่าเราจะเข้าใจ แต่เมือ่ หลายคนต้องมาท�ำหน้าทีเ่ ป็น “โค้ช” ก็ตอ้ งนิยามตัวเองให้ชดั ว่า โค้ชคือใคร มีความหมายกว้างหรือเฉพาะเจาะจงแค่ ไหน เพือ่ ให้คำ� อธิบายในเรือ่ งอืน่ ๆ ทีเ่ ป็นค�ำถามตามมาชัดเจนทัง้ ค�ำตอบและใน การลงมือท�ำด้วย แม้จะมีนยิ ามความหมายของ “โค้ช” ในหนังสือต�ำราต่างๆ ที่ ค่อนข้างหลากหลาย แตกต่างกันไปตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้รับการโค้ช (Coachee) ยกตัวอย่าง เช่น


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

39

โค้ช คือ ครู หรือ เพือ่ นร่วมทาง ทีใ่ ช้ทกั ษะเฉพาะของการโค้ช (Coaching skills) กระตุน้ ให้ผร้ ู บั การโค้ชเกิดกระบวนการเรียนรู้ จากภายใน เพือ่ พัฒนาและแสดงศักยภาพทีซ่ อ่ นอยู่ เรียนรู้ หาค�ำตอบ และตัดสินใจด้วยตนเอง ซึง่ โค้ชจะไม่ได้สงั่ สอน เหมือนครู และโค้ชจะเชื่อมั่นในความสามารถ ให้ก�ำลังใจ กระตุน้ และเคียงข้างผูร้ บั การโค้ช เพือ่ ให้เขาไปถึงเป้าหมายใน ชีวติ ด้วยตัวเอง 2 (ธาดา เศวตศิลา) โค้ช คือ บุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ใน การช่วยแนะน�ำ ชีแ้ นะ ผ่านศาสตร์ตา่ งๆ ทีต่ วั เองเชีย่ วชาญ เพือ่ ให้คณ ุ เปลีย่ นแปลงตนเองไปสูค่ วามส�ำเร็จและจุดหมายที่ 3 ตัง้ ไว้ (ดร.เมธยา ป้อมสุวรรณ)

ส�ำหรับคนทีท่ ำ� งานด้านการพัฒนาศัยกภาพ ได้ให้ความหมายไว้วา่ โค้ช คือ คนทีช่ ว่ ยพัฒนาทักษะในการบรรลุถงึ ศักยภาพของ บุคคลเพือ่ ให้ประสบความส�ำเร็จในสิง่ ทีบ่ คุ คลนัน้ ต้องการ

การนิยามความหมายของโค้ชนัน้ มีความส�ำคัญ ก่อนเริม่ น�ำเรือ่ งของ การโค้ชมาใช้ในการท�ำงาน ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องนิยามความหมายเพือ่ ให้ เกิดความเข้าใจทีต่ รงกันเสียก่อน เพราะนิยามของโค้ชนัน้ จะบ่งบอกถึงบทบาท หน้าทีแ่ ละแนวทางการโค้ชว่าจะไปในทิศทางใด 2 ธาดา เศวตศิลา ผูเ้ ขียน People Champion ยอดคน ชนะใจคน แหล่งทีม่ า : http://coachthada. com/โค้ช-coach-คืออะไร/ 3 โค้ชชีวติ (Life Coach) ดร.เมธยา ป้อมสุวรรณ แหล่งทีม่ า : https://www.livingwisecoaching.com/


40

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การโค้ชคืออะไร เมือ่ มีการค้นพบว่า นักกีฬาทีป่ ระสบความส�ำเร็จต่างก็มโี ค้ชเป็นผูอ้ ยู่ เบือ้ งหลัง และได้มกี ารค้นคว้าว่าโค้ชได้ทำ� อะไรกับนักกีฬาบ้าง หากจะน�ำมาปรับ ใช้กบั ธุรกิจและการท�ำงานด้านอืน่ ๆ ส�ำหรับคนทีจ่ ะเป็น “โค้ช” ไม่วา่ จะเป็นโค้ช ประเภทใด ต้องเข้าใจว่า “การโค้ช (Coaching) คืออะไร” ในการท�ำงานของตน เพราะการโค้ชเป็นเครือ่ งมือ และกระบวนการทีผ่ เู้ ป็นโค้ชน�ำมาใช้กบั ผูร้ บั การ โค้ชแต่ละประเภทซึง่ มีความแตกต่างกัน อาทิ ในภาคธุรกิจ การโค้ชผูบ้ ริหารระดับสูง สหพันธ์การโค้ชนานาชาติ (ICF) หรือ International Coach Federation กล่าวว่า “การโค้ชคือการเป็นหุน้ ส่วนกับผูร้ บั การโค้ชในกระบวนการ กระตุน้ ความคิดอย่างสร้างสรรค์ เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้ พวกเขาเอาศักยภาพทัง้ ส่วนตัวและวิชาชีพมาใช้อย่างสูงสุด” 4

นอกจากนีย้ งั มีการให้ความหมายโดยโค้ชแต่ละคน อาทิ “การโค้ช” (Coaching อ่านว่า โค้ชชิง่ ) คือกระบวนการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างโค้ชซึง่ เป็นผูท้ ชี่ ว่ ยเหลือ ชวนคิด หรือปลดล๊อ คบางอย่างในตัวผูร้ บั การโค้ช (Coachee อ่านว่า โค้ชชี)่ มี ศักยภาพสูงขึน้ หรือมีความสุขอย่างทีเ่ ขาต้องการ ผ่านวิธกี าร และเครือ่ งมือต่างๆ เพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ช ได้เรียนรู้ ตระหนักใน ตัวเอง และลงมือท�ำด้วยความคิด ความถนัด ความสามารถ

4 แหล่งทีม่ า : http://www.smartcoachthailand.com/what-is-coaching/


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

41

ตัวเองของตัวเอง การโค้ช จึงเป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง โค้ช(Coach) และผูร้ บั การโค้ช (Coachee) ให้ถงึ จุดหมายที่ โค้ชชีต่ อ้ งการ 2 (ศศิมา สุขสว่าง) 5

ส�ำหรับการโค้ชกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นนักกีฬา ก็มกี ารให้ความหมายเฉพาะว่า การโค้ช หมายถึง การวางแผน การฝึกสอนทักษะให้กบั ผูเ้ ล่น ดึงศักยภาพของผูเ้ ล่นในต�ำแหน่งต่างๆ มองเห็นจุดอ่อน จุดแข็ง ของผูเ้ ล่น การวางตัวผูเ้ ล่น ก�ำหนดยุทธศาสตร์หลักและวิธกี าร ในการเล่นของทีม แก้ปญ ั หาระหว่างการเล่นทัง้ การตัง้ รับและ การรุกของทีม กระตุน้ ขวัญและก�ำลังใจของคนทีม เพือ่ ให้ นักกีฬาสามารถเอาชนะในการแข่งขันได้ 6

การโค้ชกลุ่มเป้าหมายทั้งสองประเภทนั้นมีความแตกต่างกันอย่าง ชัดเจน เนือ่ งจากการโค้ชผูบ้ ริหารระดับสูงไม่สามารถใช้วธิ กี ารเดียวกับการโค้ช นักกีฬา เพราะโดยธรรมชาติของผูบ้ ริหารนัน้ ย่อมมีความรูค้ วามเชีย่ วชาญใน สายงานของตน การทีโ่ ค้ชจะไปสัง่ การให้ผบู้ ริหารท�ำแบบนัน้ แบบนีจ้ งึ เป็นสิง่ ที่ ไม่สมควร นอกจากนัน้ บุคคลทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารส่วนใหญ่ชนิ กับการบังคับบัญชา ไม่ชินกับการตกเป็นเบี้ยล่างในทุกสถานการณ์ การโค้ชผู้บริหารอย่างมี ประสิทธิภาพ คือการใช้ “ค�ำถาม” กระตุน้ ให้ผบู้ ริหารคิดได้ดว้ ยตนเอง หรือ กล่าวอีกนัยหนึง่ ว่า การใช้คำ� ถามหรือการท�ำตัวเป็นกระจกสะท้อนเป็นการโค้ช ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการโค้ชผูบ้ ริหาร 7 5 อาจารย์ศศิมา สุขสว่าง โค้ช ด้านการพัฒนาองค์กรและพัฒนานวัตกรรม แหล่งทีม่ า : https://www. hcdcoaching.com/17013723/การโค้ชคืออะไร-what-is-coaching 6 การโค้ชนักกีฬา แหล่งทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/ผูฝ้ กึ สอน 7 สรุปข้อมูลจาก https://thaiappreciative.wordpress.com/2017/01/31/


42

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

แต่กลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นนักกีฬานัน้ การโค้ชส่วนใหญ่เป็นการสัง่ การเพือ่ ให้ฝกึ ฝนและเล่นตามแผนทีว่ างไว้ นักกีฬาจึงต้องฝึกฝนตามแผนการฝึกอย่าง เคร่งครัด แก้ไขจุดอ่อน พัฒนาจุดแข็งตามค�ำแนะน�ำของโค้ชให้ได้ และสามารถ เล่นได้ตามแผนทีโ่ ค้ชวางไว้ นักกีฬาทีป่ ระสบความส�ำเร็จจึงค่อนข้างมีวนิ ยั ใน การฝึกฝนและมีความมุง่ มัน่ ปรารถนาอันแรงกล้าทีจ่ ะเอาชนะในการแข่งขัน ส�ำหรับคนท�ำงานเพือ่ เปลีย่ นแปลงสังคม ทีมถอดบทเรียนของโครงการ ได้สรุปความหมายของการโค้ช ไว้วา่ การโค้ช คือ การสนับสนุนการเรียนรูแ้ ละพัฒนาผูร้ บั การโค้ช ด้วยกระบวนการรับฟังความคิด ตัง้ ค�ำถาม สะท้อนความคิด เชิงบวก ดึงศักยภาพ สร้างแรงบันดาลใจและให้กำ� ลังใจ แบ่งปัน ประสบการณ์และมุมมองทีจ่ ะช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้ผรู้ บั การโค้ชสามารถบรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ได้ดว้ ยตัวเอง

เกร็ดความรู้ : ค�ำทีม่ คี วามหมายและมีนยั ยะคล้ายกันอยูม่ าก คือ ค�ำว่า โค้ช (coach) และ เมนเทอร์ (mentor) โค้ชนัน้ มี ความหมายว่าด้วยการดูแลกันและช่วยดึงศักยภาพสูงสุดให้ผู้ อืน่ ลักษณะการโค้ชมักเป็นการชวนคุย ตัง้ ค�ำถาม ท�ำหน้าที่ เหมือนกระจกส่องให้ผรู้ บั การโค้ชเห็นนัน่ เอง ส่วนเมนเทอร์นนั้ ความหมายตามพจนานุกรมแปลความหมายเป็นไทยว่า ทีป่ รึกษา, พีเ่ ลีย้ ง แต่อย่าเพิง่ มองไปว่า ความหมายตามภาษาไทยนีจ้ ะ คล้ายกับต�ำแหน่งที่ปรึกษาที่เรามักเรียกว่า คอนซัลแทนต์


(consultant) และ พีเ่ ลีย้ ง ซึง่ คนไทยมักใช้ในแง่ของพีเ่ ลีย้ งเด็ก (nanny) หรือความหมายของการเป็นพีเ่ ลีย้ งทัว่ ไป แท้ทจี่ ริง แล้วค�ำว่า เมนเทอร์ นัน้ มีความยิง่ ใหญ่ เป็นผูท้ ดี่ แู ลฟูมฟัก ให้ ความรู้ ความสามารถ เป็นทัง้ ครูและทีป่ รึกษาในคนเดียวกัน และอาจจะต้องท�ำความเข้าใจผ่านตัวอย่าง เช่น พระมหาเถร คันฉ่องเป็นเมนเทอร์ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นต้น ทัง้ นี้ ทีม่ าของค�ำว่า เมนเทอร์ (mentor) นัน้ มาจากชือ่ ของคน mentor เป็นชือ่ ของพระสหายของกษัตริยก์ รีก นาม โอดิส เซียส เมือ่ กษัตริยต์ อ้ งออกรบในศึกโทรจัน เขาได้มอบหมายให้ เมนเทอร์ ช่วยดูแล เทเลมาคัส ลูกชายของเขา เมนเทอร์ได้ทำ� หน้าที่ฟูมฟักอบรมดูแลเทเลมาคัสจนเขาเติบใหญ่เก่งกล้า มีความรู้ ความสามารถ ท�ำให้ชอื่ ของ เมนเทอร์ กลายเป็นค�ำ เรียกผู้ที่ได้รับมองหมายให้ดูแลฟูมฟักผู้อื่นให้เติบโต ให้มี ความรู้ ความสามารถทีพ่ ร้อมจะท�ำงาน ดังนัน้ ไม่วา่ เราจะใช้ทบั ศัพท์ในความหมายของ โค้ช เมนเทอร์ หรือใช้ภาษาไทยว่า ทีป่ รึกษา พีเ่ ลีย้ ง ให้เราใช้คำ� เหล่านีอ้ ย่าง ตระหนักว่าเป็นเรือ่ งของการดูแลให้ผอู้ นื่ มีศกั ยภาพ มีความ สามารถ ให้เขาท�ำตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการได้ดว้ ยตัวเอง ไม่ใช่ การดูแลในแง่ของพีเ่ ลีย้ งทีต่ อ้ งประคบประหงม ท�ำทุกอย่างให้ จนเขาไม่สามารถคิดและท�ำได้ดว้ ยตัวเอง


44

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

คุณลักษณะทีด่ ขี องโค้ช

คุณลักษณะคือสิง่ ทีช่ ใี้ ห้เห็นว่าคนทีจ่ ะเป็น “โค้ช” ควรมีลกั ษณะเช่นนี้

คุณลักษณะทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของโค้ชคือ เป็นคนทีต่ อ้ งการช่วยเหลือคนอืน่ มีจติ ทีเ่ ป็นผูใ้ ห้ (givers) หมายถึงเป็นคนทีช่ อบเป็นฝ่ายให้มากกว่ารับ ให้ดว้ ยใจ ให้ดว้ ยความรัก ให้ในสิง่ ทีด่ ี ทีถ่ กู ต้อง มีความปรารถนาทีอ่ ยากจะเห็นผูอ้ นื่ ประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริง ใจกว้าง มีทศั นคติเชิงบวก ละเอียดอ่อน ไวต่อ ความรูส้ กึ และเป็นกัลยาณมิตร คุณลักษณะเหล่านีจ้ ะสะท้อนตัวตน (Being) ของโค้ช อันเป็นเรือ่ งของ คุณค่าความหมายของการด�ำรงอยูข่ องโค้ช เพราะการเป็นโค้ชนัน้ ให้ความ ส�ำคัญกับการช่วยเหลือให้ผอู้ นื่ เจริญงอกงาม ได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาไปในทางทีด่ ี บุคลิก (Character) ของโค้ช จึงมักเป็นคนใจกว้าง คิดบวก คนรอบ ข้างอยูใ่ กล้แล้วรูส้ กึ อบอุน่ พึง่ พาได้ และเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน รักการเรียน รูแ้ ละพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ เพราะโค้ชทีด่ นี นั้ ต้องไม่เห็นว่าตนเองดีกว่าคนอืน่ หรือเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญทีส่ ามารถแก้ไขปัญหาได้ทงั้ หมดและมีคำ� ตอบกับทุกเรือ่ ง แต่โค้ชจะเป็นคนทีร่ ว่ มเรียนรูแ้ ละเป็นผูส้ นับสนุนการเรียนรูข้ องผูร้ บั การโค้ช กล่าวกันว่า คุณลักษณะข้อแรกของคนทีค่ ดิ จะมาเป็นโค้ช ก็คอื ต้อง เป็นคนที่ “ชอบเรือ่ งคน” เพราะต้องท�ำเรือ่ งของการพัฒนาคน จึงต้องเป็นคนที่ มีจติ วิทยาในการรูจ้ กั คน และอยูร่ ว่ มกับคน คนทีไ่ ม่ชอบเรือ่ งคนแม้จะท�ำได้ ก็ ไม่คอ่ ยจะมีความสุขนัก ซึง่ ขัดกับหลักการของโค้ชทีต่ อ้ งท�ำงานอย่างมีความสุข ทัง้ ตัวโค้ชเองและผูร้ บั การโค้ช คุณลักษณะทีด่ อี กี ข้อหนึง่ คือ โค้ชต้องมีจริยธรรม ข้อนีส้ ำ� คัญมาก เพราะคนทีเ่ ป็นโค้ชนัน้ นอกจากจะเห็นจุดเด่น (ศักยภาพ) ของผูร้ บั การโค้ชแล้ว


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

45

ก็ยอ่ มสามารถเห็นจุดอ่อน (ข้อด้อย) ของผูร้ บั การโค้ชด้วยเช่นกัน การโค้ชทีจ่ ะ ให้ผลดีนนั้ ผูเ้ ป็นโค้ชก็ตอ้ งสร้างความไว้วางใจให้กบั ผูร้ บั การโค้ชทีจ่ ะเล่าถึงเรือ่ ง ต่างๆ ให้โค้ชฟัง ทัง้ นีห้ ากผูร้ บั การโค้ชต้องเล่าเรือ่ งราวต่างๆ ให้โค้ชฟังซึง่ บาง เรือ่ งเป็นเรือ่ งละเอียดอ่อน หากโค้ชไม่รกั ษาความลับของผูร้ บั การโค้ช ความไว้ วางใจทีม่ ตี อ่ กันก็จะลดลงหรือหมดไป ท�ำให้การโค้ชไม่ประสบความส�ำเร็จ นอกจากนัน้ ก็เป็นคุณลักษณะทีเ่ กิดจากความเป็นโค้ช นัน่ คือ การมี ภาวะผูน้ ำ� มีความรับผิดชอบสูง เป็นผูท้ มี่ สี มาธิ สติ ตระหนักรู้ มีความสงบ มัน่ คง ไม่กลัวความล้มเหลว มีความกล้าคิด กล้าท�ำ กล้าทดลองท�ำสิง่ ใหม่ๆ ค้นหาความรูใ้ หม่ๆ เรียนรูท้ งั้ จากประสบการณ์ภายนอกและภายในได้ดี มีพลัง ในตนเพือ่ แผ่ขยายสร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผูอ้ นื่ ได้ ภาวะผูน้ ำ� นัน้ มีสว่ นจ�ำเป็น ในแง่ทโี่ ค้ชต้องมีสว่ นร่วมในการกระตุน้ จูงใจ และเพิม่ เติมแนวคิดและมุมมอง สะท้อนความคิดให้กบั ผูร้ บั การโค้ชและเป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยผลักดันให้ผรู้ บั การ โค้ชบรรลุเป้าหมาย คุณลักษณะเหล่านี้ จะท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชเกิดความรูส้ กึ ไว้วางใจ เปิดใจ ยอมรับการโค้ช หรือ ยอมรับให้เป็นโค้ช และเป็นส่วนส�ำคัญทีอ่ งค์กรหรือ หน่วยงานใช้ในการคัดเลือกโค้ช หากต้องมีการว่าจ้างโค้ชให้เข้ามาเป็นโค้ชให้กบั คนในทีม ในหน่วยงาน หรือเป็นโค้ชส่วนตัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ การว่าจ้างโค้ช ส่วนตัวนัน้ มักเน้นกันทีค่ ณ ุ ลักษณะมากกว่าคุณสมบัติ


46

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ประเภทของโค้ช เนื่องจากเรื่องของการโค้ชก�ำลังได้รับความสนใจในแวดวงของคน ท�ำงานทางสังคม ซึง่ เชือ่ มโยงกับการพัฒนาศักยภาพเพือ่ ให้นำ� ไปใช้ในการ ท�ำงานสร้างการเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ ความรูเ้ รือ่ งของการโค้ชจึงได้รบั ความสนใจ ในแง่ของการมีโค้ชเป็นผูท้ ำ� ให้คนท�ำงานสามารถท�ำงานตามเป้าหมายได้ นัน่ คือ เอาชนะปัญหา และสร้างสรรค์สังคมได้ โลกปัจจุบันที่มีการสื่อสารสังคม ออนไลน์ เราจะได้ยนิ ค�ำว่า “โค้ช” อยูบ่ อ่ ยๆ แล้วเขาเหล่านัน้ เป็นโค้ชให้กบั ใคร โค้ชเรือ่ งอะไรกันบ้าง มีความแตกต่างกันอย่างไร การแบ่งประเภทก็เพือ่ ให้เรา สื่อสารให้เห็นภาพความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้นเท่านั้น ไม่ได้หมายความว่า ประเภทของโค้ชมีเท่าทีเ่ ราสรุปมานี้ ประเภทของโค้ชทีพ่ อจะสรุปให้เห็นภาพ ได้จงึ มีดงั นี้ • โค้ชกีฬา (Sport Coach) โค้ชจะท�ำหน้าทีฝ่ กึ แนะน�ำ บอกหรือ สอนเทคนิคการเล่น การท�ำแต้ม การเล่นเกมรุก เกมรับ มีโปรแกรมการฝึกที่ ชัดเจน มองเห็นจุดแข็งจุดอ่อนของนักกีฬาทีต่ นโค้ช และช่วยปรับจุดแข็งให้เก่ง ยิง่ ขึน้ แก้จดุ อ่อน เพิม่ ศักยภาพของนักกีฬา รวมไปถึงวางแผนการเล่นกีฬา การ แข่งขัน โค้ชกีฬานัน้ ก็แบ่งย่อยลงไปอีกว่า เป็นกีฬาประเภทไหน เช่น โค้ช ฟุตบอล โค้ชวอลเลย์บอล โค้ชว่ายน�ำ้ โค้ชนักวิง่ ซึง่ โค้ชแต่ละประเภทกีฬาก็จะ มีความรูใ้ นกีฬาประเภทนัน้ ๆ เป็นอย่างดี โค้ชกีฬา มีทงั้ โค้ชแบบรายบุคคลและ โค้ชทีม • โค้ชผูบ้ ริหาร (Executive coach) โค้ชท�ำหน้าทีเ่ ป็นคูส่ นทนา ทีร่ บั ฟัง ตัง้ ค�ำถาม สร้างแรงบันดาลใจ สะท้อนความคิดและเพิม่ มุมมอง จุด ประกายให้ผบู้ ริหารได้ใช้ศกั ยภาพทีแ่ ท้จริงในการท�ำงานให้สำ� เร็จตามเป้าหมาย โค้ชจะเป็นผูส้ นับสนุนและกระตุน้ การเรียนรูม้ ากกว่าทีจ่ ะใช้วธิ กี ารบอกหรือสอน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

47

โค้ชไม่จำ� เป็นต้องเก่งเท่าผูบ้ ริหาร โค้ชจะเป็นผูส้ งั เกตการณ์ และหาทางช่วยให้ ผูบ้ ริหารไปสูจ่ ดุ ทีย่ อดเยีย่ มยิง่ ขึน้ เท่าทีผ่ บู้ ริหารหรือผูร้ บั การโค้ชจะสามารถไป ถึงได้ ในแง่ธรุ กิจแล้วโค้ชไม่ได้เป็นผูม้ าสอน แต่จะเป็นผูท้ มี่ องจากอีกมุมมอง หนึง่ ให้ขอ้ มูลบางประการเพือ่ สะท้อนกลับให้ผบู้ ริหารได้เห็นตนเองในมุมทีไ่ ม่ เคยมองเห็น และหารือร่วมกันเพือ่ หาแนวทางแก้ปญ ั หาหรือเพิม่ ประสิทธิภาพ โค้ชผูบ้ ริหารเป็นการโค้ชรายบุคคล • โค้ชชีวติ (Life Coach) โค้ชท�ำหน้าทีเ่ ป็นคูส่ นทนา รับฟัง แต่ไม่ แก้ปญ ั หาให้ สะท้อนให้ผรู้ บั การโค้ชได้เห็นสิง่ ทีเ่ ขาเป็น เขาคิด เขาวุน่ วายใจ ให้เขาเข้าใจจุดยืนและความคิดของตน คอยตัง้ ค�ำถามเพือ่ ให้เขาหาค�ำตอบได้ ด้วยตัวเอง ให้เขาเรียนรูว้ า่ เวลาทีเ่ กิดปัญหาขึน้ ในชีวติ จะจัดระบบความคิดได้ อย่างไร หาทางแก้ไขปัญหาด้วยตัวเองได้อย่างไร และก้าวเดินต่อไปได้อย่างไร ช่วยให้กา้ วข้ามขีดจ�ำกัดต่างๆ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชมักใช้ปดิ กัน้ ตัวเองโดยไม่รตู้ วั พร้อม ก�ำหนดจุดมุง่ หมายใหม่ทสี่ ร้างสรรค์และชัดเจน สร้างแรงบันดาลใจและทัศนคติ ทีด่ ี แก้ไขจุดอ่อน ค้นหาจุดแข็งและรูจ้ กั ใช้จดุ แข็งนัน้ ท�ำในสิง่ ทีป่ รารถนาได้ และ น�ำพาตัวเองไปสูก่ ารใช้ชวี ติ ทีม่ คี วามสุข โค้ชชีวติ ถ้าเป็นการโค้ชรายบุคคลแบบ เป็นคูส่ นทนาจะได้ผลมากกว่าการโค้ชเป็นกลุม่ หรือโค้ชผ่านสือ่ ทีก่ ล่าวถึงหลัก การในการด�ำเนินชีวติ ให้คำ� แนะน�ำในการแก้ปญ ั หาในชีวติ ทีเ่ ป็นปัญหาซึง่ หลาย คนประสบแบบเดียวกัน แต่ไม่สามารถหวังผลได้แบบการโค้ชรายบุคคลทีจ่ ะ ช่วยแก้ปมปัญหาและก้าวข้ามบางอย่างในชีวติ ได้ • โค้ชการเงิน (Money Coach) โค้ชท�ำหน้าทีใ่ ห้คำ� แนะน�ำทางการ เงิน ความรูท้ างการเงิน วางแผนด้านการลงทุน การออม สอนวินยั ทางการ เงินและความเสีย่ งต่างๆ ทัง้ นีเ้ พือ่ ช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชบรรลุเป้าหมายทางการ เงินตามทีต่ งั้ ใจไว้ โค้ชการเงินบางคนนัน้ สามารถให้คำ� ปรึกษาทางธุรกิจ การ บริหารทัง้ การเงินและธุรกิจได้อกี ด้วย โค้ชการเงินหากเป็นการโค้ชรายบุคคล จะใช้ทงั้ วิธบี อก สอน แนะน�ำ ตัง้ ค�ำถามเพือ่ ปลดล็อคทางความคิดบางอย่างของ


48

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ผูร้ บั การโค้ช ฝึกให้ผรู้ บั การโค้ชมีวนิ ยั ทางการเงิน ปัจจุบนั นีค้ นรุน่ ใหม่สนใจค�ำ แนะน�ำของโค้ชการเงินทีเ่ ผยแพร่ผา่ นสือ่ มากยิง่ ขึน้ หากน�ำไปทดลองปฏิบตั แิ ละ ขอค�ำแนะน�ำเฉพาะเพิม่ เติมจากโค้ชซึง่ เป็นผูม้ คี วามรูจ้ ริงๆ ก็ชว่ ยให้หลายคน ปลดล็อคทางการเงินได้เช่นกัน • โค้ชการท�ำงาน (Performance coach) หรือ โค้ชเพือ่ ผลการ ปฏิบตั งิ าน บางคนอาจจะเรียกว่า โค้ชงาน โค้ชประเภทนีโ้ ดยส่วนใหญ่เป็นโค้ช ภายในองค์กร มีคำ� กล่าวทีว่ า่ “ทักษะทีผ่ นู้ ำ� องค์กรสมัยใหม่ตอ้ งมีคอื ทักษะ การโค้ช เพือ่ ดึงศักยภาพของคนทีท่ ำ� งานร่วมกับเรา ให้ทำ� งานให้ได้ผลลัพธ์ตาม ทีต่ อ้ งการ” หมายความว่า ผูน้ ำ� องค์กร หัวหน้างาน หรือ หัวหน้าทีม สามารถ เป็นโค้ชการท�ำงานให้กบั คนในองค์กร คนในทีมได้ ถ้าเขามีคณ ุ สมบัตใิ นการโค้ช มีทกั ษะการโค้ช เพราะโค้ชการท�ำงานจะเป็นคนทีส่ ามารถช่วยให้คนในองค์กร เข้าใจการท�ำงานได้เป็นอย่างดี ช่วยดึงศักยภาพและเพิม่ ความสามารถในการ ท�ำงานให้กบั คนในทีมได้ สามารถใช้ทกั ษะการฟัง การตัง้ ค�ำถาม การสะท้อน กระตุน้ ความคิดให้คนในทีมเข้าใจว่าเขาควรท�ำงานอะไร อย่างไร ท�ำไปด้วย เหตุผลใด มีอะไรทีเ่ ขาต้องเรียนรูเ้ พิม่ เติม ช่วยให้เขาวางแผนในการท�ำงานการ แก้ไขและจัดการกับปัญหา สามารถท�ำงานตามแผนทีว่ างไว้ได้ ทีส่ ำ� คัญคนเป็น โค้ชต้องมีทกั ษะการมองคน อ่านคนให้ออกว่าคนในทีมแต่ละคนควรเรียนรูด้ ว้ ย วิธใี ด และจะท�ำอย่างไรให้เขาเกิดการพัฒนาให้มากขึน้ ได้ โค้ชการท�ำงาน สามารถโค้ชรายบุคคลได้และโค้ชเป็นกลุม่ หรือเป็นทีมก็ได้ โค้ชการท�ำงานมี แนวทางการโค้ชพืน้ ฐานคือ GROW Model หลีกเลีย่ งการโค้ชแบบการบอก หรือสอน เพือ่ ให้คนท�ำงานมีแรงบันดาลใจ สร้างสรรค์ผลงาน เรียนรูแ้ ละพัฒนา ตนเองได้อย่างต่อเนือ่ ง ส�ำหรับการน�ำเรื่องโค้ชมาใช้ในการท�ำงานด้านการพัฒนาเพื่อ เปลีย่ นแปลงสังคม อาจจะยังไม่มกี ารแบ่งประเภทของโค้ชอย่างชัดเจน แต่กล่าว โดยหลักการแล้วก็พอจะอธิบายได้ดงั นี้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

49

• โค้ชด้านการพัฒนาศักยภาพ หรือ การโค้ชเพือ่ การพัฒนาศักยภาพ ผู้ท�ำกระบวนการพัฒนาศักยภาพจะท�ำหน้าที่ในฐานะเป็นโค้ช ด�ำเนินการ พัฒนาศักยภาพให้กบั ผูร้ บั การโค้ชให้มคี วามรู้ ความสามารถ มีกระบวนการ เรียนรู้ กระบวนการคิด รวมถึงพัฒนาคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ พัฒนาสภาวะ ผูน้ ำ� โดยใช้วธิ กี ารสร้างกระบวนการเติบโตทางความคิด การสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้ การให้ความรูเ้ พือ่ กระตุน้ การเรียนรู้ การใช้พลังของค�ำถาม การฟัง อย่างลึกซึง้ ให้การดูแล การติดตามสนับสนุนการเรียนรู้ การประเมินเพือ่ การ เรียนรู้ การสะท้อนความคิด ท�ำให้เกิดวินยั ในการเรียนรู้ ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง น�ำความรูไ้ ปใช้ในการวางแผน ทดลองลงมือท�ำ ถอดบทเรียน และมีกระบวนการ ในการพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนือ่ ง • โค้ชการท�ำงานเพือ่ การเปลีย่ นแปลงสังคม หรืออาจจะเรียกว่า โค้ช นักปฏิบตั กิ ารทางสังคม (Social worker coach) น่าจะเป็นโค้ชอีกประเภทหนึง่ ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นคูส่ นทนา หรือสร้างกลุม่ สนทนาทีจ่ ะมาช่วยสนับสนุนการท�ำงาน ทางสังคมให้สามารถท�ำงานได้ผลและเกิดการเปลีย่ นแปลงได้จริง เพราะโค้ชจะ เป็นผูส้ งั เกตการณ์ และหาทางช่วยให้คนท�ำงานทางสังคมแก้ปญ ั หาในประเด็น ทีต่ นอยากแก้ให้มคี วามคืบหน้าหรือแก้ปญ ั หาได้สำ� เร็จ ช่วยเพิม่ มุมมอง แลก เปลีย่ นความรู้ เครือ่ งมือ กระบวนการท�ำงานเพือ่ ให้คนท�ำงานได้พฒ ั นาตนเอง จนเกิดความคิดทีส่ ร้างสรรค์ วางแผน ลงมือท�ำและถอดบทเรียนเพือ่ พัฒนาการ ท�ำงานของตนได้ นอกจากนีย้ งั มีโค้ชเฉพาะด้านอีกหลากหลาย เช่น โค้ชการใช้เสียง (voice coach) โค้ชด้านบุคลิกภาพ (Image Coach) โค้ชด้านสุขภาพ (health coach) เป็นต้น


50

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

บทบาทหน้าทีข่ องโค้ช บทบาทหน้าทีข่ องโค้ชนัน้ ก็ขนึ้ อยูก่ บั การเป็นโค้ชแต่ละประเภท ซึง่ ได้ กล่าวไปแล้วในหัวข้อก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตามบทบาทและหน้าทีห่ ลักของโค้ช ทุกประเภททีม่ เี หมือนกันได้แก่ • โค้ชสร้างความไว้วางใจ (trust) ปฏิบต ั ติ อ่ ผูร้ บั การโค้ชด้วยความ เคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ให้ความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม ดูแลอย่าง สม�ำ่ เสมอ ส�ำหรับการโค้ชทีม การสร้างความไว้วางใจจะต้องขยายให้ทวั่ ถึงทุกคน ปฏิบตั ติ อ่ ทุกคนเหมือนกัน สร้างสัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างโค้ชกับทีม และสร้าง ความไว้วางใจระหว่างคนในทีมให้อยูบ่ นพืน้ ฐานของการยอมรับนับถือ ปฏิบตั ติ อ่ คนในทีมด้วยความเคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ ให้ความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม ดูแล ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน • โค้ชมีหน้าทีร่ บ ั ฟังและท�ำความเข้าใจผูร้ บั การโค้ชว่าเขามีเป้าหมาย อะไร ต้องการท�ำอะไรได้สำ� เร็จ การฟังและท�ำความเข้าใจจะช่วยให้โค้ชรูว้ า่ ต้อง ตัง้ ค�ำถามอย่างไร หรือให้เครือ่ งมือ กระบวนการอะไรทีจ่ ะน�ำพาผูร้ บั การโค้ชไป สูเ่ ป้าหมายได้ • โค้ชมีหน้าทีก่ ระตุน ้ ความคิดของผูร้ บั การโค้ช ด้วยค�ำถาม ด้วยข้อมูล ความรู้ ท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชเกิดการเรียนรูแ้ ละค้นหาศักยภาพภายในของตนเอง ช่วยให้โค้ชชีเ่ ห็นศักยภาพนัน้ เพือ่ น�ำศักยภาพมาท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงใน ทางทีด่ ขี นึ้ • โค้ชท�ำหน้าทีส่ อื่ สารพูดคุยอย่างสม�ำ่ เสมอ สร้างแรงบันดาลใจให้เกิด ในตัวของผูร้ บั การโค้ชและคงไว้ซงึ่ พลังใจนัน้ โค้ชท�ำหน้าทีผ่ ลักดันให้ผรู้ บั การโค้ชลงมือท�ำสิง่ ทีต่ งั้ ใจไว้ให้สำ� เร็จ ตามเป้าหมายทีต่ งั้ ใจได้สำ� เร็จ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

51

บทบาทหน้าทีข่ องโค้ชด้านการพัฒนาศักยภาพในการท�ำงาน ก็จะ มีหน้าที่ รับฟังผูร้ บั การโค้ชเพือ่ ร่วมกันค้นหาสิง่ ทีเ่ ขาจะต้องพัฒนา ค้นหาจุดอ่อน จุดแข็ง ร่วมกัน โค้ชออกแบบกระบวนการพัฒนาศักยภาพทีส่ ามารถท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชได้เรียนรู้ เชือ่ มโยงเนือ้ หากับสถานการณ์การท�ำงานจริง เพือ่ น�ำความรู้ ไปปรับใช้ได้ และ โค้ชสามารถให้ความรู้ เครือ่ งมือ เทคนิคกระบวนการ ในการ พัฒนาศักยภาพในด้านทีผ่ รู้ บั การโค้ชน�ำไปใช้ได้ ให้วธิ กี ารฝึกฝน มีกระบวนการ ทดลองฝึกฝน แล้วโค้ชคอยสังเกตการณ์ ตัง้ ค�ำถาม เพือ่ ช่วยให้ผรู้ บั การโค้ช พัฒนาได้เร็วกว่าการเรียนรูด้ ว้ ยตัวเอง รวมไปถึงโค้ชต้องติดตามสนับสนุนการเรียนรูข้ องผูร้ บั การโค้ชในการ ท�ำงานจริง การน�ำความรูไ้ ปปรับใช้กบั การท�ำงาน รับฟัง ตัง้ ค�ำถาม เพิม่ มุมมอง ความคิด ตัง้ ข้อสังเกต ให้ผรู้ บั การโค้ชมองเห็นได้ดว้ ยตัวเอง จนกระทัง่ ผูร้ บั การ โค้ชมีศกั ยภาพในการท�ำงานตามเป้าหมายและสามารถต่อยอดด้วยการพัฒนา ตนเองต่อไปได้

สิง่ ทีโ่ ค้ชควรตระหนักในการโค้ชทีม หากจะสรุปว่าสิง่ ทีโ่ ค้ชควรตระหนักมีอะไรบ้าง เพือ่ ให้เห็นภาพรวมของ การโค้ชทีช่ ดั เจน 10 ประการ ให้มรี ายละเอียดสัน้ ๆ ง่ายในการจดจ�ำ ดังนี้ 1. เป้าหมายในการโค้ช ผูท้ เี่ ป็นโค้ชต้องสามารถกุมเป้าหมายในการ โค้ชได้วา่ โค้ชไปท�ำไม เพือ่ อะไร ถ้าโค้ชรูเ้ ป้าหมายของการโค้ชก็จะสามารถ รักษาบทบาทของตนได้ 2. บรรยากาศในการโค้ช โค้ชต้องแสดงท่าทีวา่ มีความพร้อมในการ สนทนากันและสามารถสร้างบรรยากาศในการโค้ชให้ผอ่ นคลาย ไม่กดดัน แต่


52

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

จริงจัง ไม่ทำ� แบบผ่านๆ เร่งรีบ ขอไปที ถ้าโค้ชสามารถสร้างบรรยากาศทีด่ ใี น การโค้ชได้ ผูร้ บั การโค้ชก็จะรูส้ กึ ไว้วางใจ ผ่อนคลาย เปิดใจเข้าหากันได้ 3. รักษาความสัมพันธ์ โค้ชต้องท�ำให้ทกุ คนไว้วางใจ ยอมรับในตัวโค้ช และต้องสร้างความสัมพันธ์ทเี่ ท่าเทียม เป็นแนวราบ ทัง้ ระหว่างโค้ชกับผูร้ บั การ โค้ช และระหว่างผูร้ บั การโค้ชกันเอง ความสัมพันธ์เป็นสิง่ เปราะบางทีก่ ระทบ ได้ง่าย โค้ชพึงระวังไม่ท�ำให้เกิดความรู้สึกว่ามีใครในทีมเหนือกว่าใครหรือ ต�ำ่ ต้อยกว่า หากมีใครรูส้ กึ เหนือกว่าหรือต�ำ่ ต้อยกว่าโค้ชต้องหาวิธที จี่ ะท�ำให้ ความสัมพันธ์นนั้ เท่าเทียมและเป็นแนวราบเพือ่ ให้ทำ� งานด้วยกันอย่างราบรืน่ และมีพลัง 4. ทุกคนมีอสิ ระทางความคิด โค้ชต้องไม่ครอบง�ำความคิดของผูร้ บั การโค้ช และขณะเดียวกันก็ระวังไม่ให้ถกู ครอบง�ำความคิดโดยใครในทีม รวม ทัง้ ไม่ปล่อยให้มกี ารครอบง�ำกันทางความคิด โค้ชคือผูช้ วนคิด ชวนสนทนา ชวน ค้นหา ให้ผรู้ บั การโค้ชมีการครุน่ คิด ไตร่ตรองจนเกิดความคิดของตนเองและน�ำ เสนอความคิดนัน้ ได้อย่างอิสระ จะช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชกล้าคิด 5. มีความยุติธรรม เป็นกลาง โค้ชต้องให้ทุกคนในทีมได้แสดง ความคิด และรับฟังทุกคน เคารพในความคิดเห็นของแต่ละคนอย่างเท่าเทียม กัน ไม่ดว่ นสรุป ไม่ดว่ นตัดสิน ไม่แสดงออกว่าความคิดของใครส�ำคัญกว่าหรือ ดีกว่า หากโค้ชสามารถรักษาความเป็นกลางไว้ได้ จะช่วยให้ทมี ได้เรียนรูท้ จี่ ะ เคารพความเห็นซึง่ กันและกันด้วย 6. ควบคุมประเด็นในการสนทนา จับประเด็นและสรุปประเด็น โค้ช ต้องท�ำหน้าทีใ่ ห้การสนทนาอยูใ่ นประเด็น ในการโค้ชทีมนัน้ โค้ชจะต้องจับ ประเด็นและสรุปประเด็นด้วย เพือ่ ให้การสนทนากันไม่เป็นการอภิปรายเยิน่ เย้อ ออกนอกประเด็น แต่กต็ อ้ งท�ำอย่างระมัดระวังและใส่ใจความรูส้ กึ ด้วย ถ้าโค้ช ควบคุมประเด็น จับประเด็นและสรุปประเด็นได้ดี จะท�ำการสนทนากันแต่ละ ครัง้ มีความชัดเจน และคนในทีมมีความเข้าใจต่อประเด็นนัน้ ตรงกัน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

53

7. เชือ่ มโยงความคิดของคนในทีม สรุปได้ถกู ต้องแม่นย�ำ ให้เป็น ความคิดร่วมกันของทุกคนในทีม โค้ชต้องจินตนาการตามความคิดของแต่ละคน และมองเห็นสิง่ เชือ่ มโยง สังเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากทุกคนในทีมประมวลความ คิดอย่างรวดเร็ว สรุปความคิดร่วมของทุกคน (wrap up) ท�ำให้ทกุ คนเห็น แนวทางทีจ่ ะไปต่อข้างหน้าอย่างไร (way forward) 8. ตัง้ ค�ำถาม ให้ขอ้ สังเกต เพิม่ มุมมอง ในการโค้ชจะมีบอ่ ยครัง้ ทีโ่ ค้ช ต้องตัง้ ค�ำถามเพือ่ ให้ขอ้ มูลหรือการคิดของผูร้ บั การโค้ชชัดเจนและเกิดความคิด ใหม่ๆ ในบางช่วงของการสนทนาโค้ชอาจให้ขอ้ สังเกตทีเ่ ป็นประโยชน์หรือเพิม่ มุมมองความคิด เป็นการเพิม่ ทางเลือก (option) ของมุมมองความคิดทีผ่ รู้ บั การโค้ชอาจจะไม่เคยมองในมุมนัน้ มาก่อน น�ำมาประกอบการตัดสินใจของผูร้ บั การโค้ชได้ 9. ให้กำ� ลังใจเป็น เสริมพลังบวกได้ โค้ชต้องรูจ้ กั จังหวะของการให้ ก�ำลังใจและเสริมพลังบวก แต่ตอ้ งไม่กล่าวเกินจริงเหมือนไม่จริงใจหรือท�ำให้ ผูร้ บั การโค้ชเข้าใจผิด และต้องระวังอย่าให้คำ� ชมไปเพิม่ อีโก้ หรือท�ำให้ผรู้ บั การ โค้ชคิดว่าท�ำได้ดแี ล้วและไม่พฒ ั นาต่อ การให้กำ� ลังใจและการชืน่ ชมนัน้ เป็น ศิลปะอย่างหนึง่ และไม่ควรใช้คำ� กล่าวหรือน�ำ้ เสียงทีเ่ ราพูดกับคนทีด่ อ้ ยกว่า การชมว่าเก่งอาจท�ำให้รสู้ กึ ว่าเป็นการพูดไปอย่างนัน้ เอง ไม่เจาะจง แต่หากโค้ช บอกว่า เห็นความพยายามในการท�ำงานของทุกคนแล้วเห็นว่าสามารถท�ำผลงาน ออกมาได้ดี จะเป็นการบอกว่าเขาท�ำอะไรได้ดี 10. คลีค่ ลายความขัดแย้งภายในทีม ความเห็นไม่ลงรอย หรือความ รูส้ กึ ทีไ่ ม่ดตี อ่ กันในทีม ในบางสถานการณ์หากในทีมมีขอ้ ขัดแย้งเกิดขึน้ โค้ช ต้องสามารถหากลวิธใี นการคลีค่ ลายข้อขัดแย้งได้โดยเร็ว ถ้าโค้ชสามารถท�ำให้ ทีมเคารพความคิดของกันและกัน รับฟังกันอย่างเอาใจเขามาใส่ใจเรา ไม่ดว่ น สรุป ไม่ดว่ นตัดสิน เข้าใจการสนทนาอย่างสร้างสรรค์ ให้เกียรติกนั และกัน ในทีม สร้างความสัมพันธ์ทดี่ ใี ห้เกิดขึน้ ในทีม ก็จะช่วยไม่ให้เกิดความขัดแย้งได้ แต่หากเกิดขึน้ ก็สามารถคลีค่ ลายได้


54

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ทักษะ และความสามารถในการโค้ช การโค้ชเป็นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ มีทงั้ การให้และการรับทีเ่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งของความรู้ ความสามารถ การสร้างแรงบันดาลใจให้ผอู้ นื่ เติบโตและมีความ สามารถเพิม่ ขึน้ ผูเ้ ป็นโค้ชจึงต้องมีความสามารถในการพัฒนาตนเอง พัฒนา ภาวะผูน้ ำ� ในตน อย่างไม่หยุดยัง้ “ยิง่ ผูอ้ นื่ เติบโต เรายิง่ เติบโต” ความสามารถ ของโค้ชโดยส่วนใหญ่นนั้ ไม่ใช่เรือ่ งของเทคนิค แต่เป็นสภาวะภายในทีม่ องเห็น ตนเอง มองเห็นผูอ้ นื่ มีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันและสร้างบรรยากาศการสนทนา ทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูข้ องทัง้ โค้ชและผูร้ บั การโค้ช ทักษะของโค้ชจึงเป็นทักษะแห่ง ปฏิสมั พันธ์ โค้ชจะรูว้ า่ ตนมีทกั ษะการโค้ชอยูใ่ นระดับไหน ก็ตอ่ เมือ่ ได้ใช้ทกั ษะนัน้ และสถานการณ์ทตี่ อ้ งใช้ทกั ษะนัน้ มีอยูห่ ลายรูปแบบ ตัวอย่างการประเมิน สถานการณ์และการใช้ทกั ษะโค้ชทีน่ า่ สนใจ เช่น เมือ่ ผูร้ บั การโค้ชบอกว่า ท�ำไม่ได้หรอก อันเป็นการสะท้อนถึง ความเชือ่ ในข้อจ�ำกัดของตัวเอง สิง่ ทีน่ า่ สนใจคือท�ำไมผูร้ บั การ โค้ชถึงเชือ่ เช่นนัน้ และหากจะท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชเชือ่ มัน่ ว่า ท�ำได้ โค้ชต้องใช้คำ� ถามทีท่ ำ� ให้ผรู้ บั การโค้ชคิดถึงสิง่ ทีเ่ ขาเคย ท�ำส�ำเร็จในอดีต สิง่ ทีเ่ ขาเคยก้าวข้ามอุปสรรคได้ เอาชนะได้ ท�ำให้เกิดความเชือ่ มัน่ ในตนเองว่าสามารถท�ำได้ ในสถานการณ์ทผี่ รู้ บั การโค้ชมีความคิดเชิงลบต่อเหตุการณ์ หรือบุคคล เพราะมองแต่ดา้ นไม่ดขี องเรือ่ งนัน้ ๆ โค้ชต้อง ท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชเกิดความคิดใหม่เชิงบวก ค้นหาความหมาย ดีๆ ของเหตุการณ์นนั้ ๆ ชวนให้มองมุมอืน่ ๆ ให้รอบด้าน ในสถานการณ์ทผี่ รู้ บั การโค้ชเกิดความรูส้ กึ เชิงลบ อันเกิด


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

55

จากความรูส้ กึ กลัว กังวล ท้อ หงุดหงิด โค้ชต้องชวนให้คดิ ถึง สิง่ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชจะได้เรียนรูแ้ ล้วท�ำให้เกิดประโยชน์จากเรือ่ ง นัน้ ๆ ท�ำให้เห็นว่าเรือ่ งนัน้ จะมีประโยชน์ตอ่ เขาอย่างไร

ในสถานการณ์ที่ผู้รับการโค้ชไม่สามารถตัดสินใจเลือกท�ำ อย่างใดอย่างหนึง่ มีความรูส้ กึ ขัดแย้งอยูภ่ ายใน สิง่ ทีโ่ ค้ชท�ำ ก็คอื ค้นหาจุดประสงค์ของการท�ำแต่ละเรือ่ งร่วมกัน ให้เห็นว่า ทางเลือกนัน้ ๆ มันมีเส้นทางอย่างไร เพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชได้คดิ ไตร่ตรองใหม่วา่ จะเลือกปฏิบตั ใิ นทางใดได้ดขี นึ้

สถานการณ์ตา่ งๆ เหล่านีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ทีโ่ ค้ชอาจจะต้องเจอ ดังนัน้ โค้ช จึงต้องมีทักษะที่จะช่วยให้ผู้รับการโค้ชได้รับการดูแลและพัฒนาตนเองให้ สามารถท�ำตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการได้ ความเข้าใจและการฝึกฝนทักษะและ ความสามารถต่างๆ ของโค้ชนัน้ เป็นไปเพือ่ ช่วยให้โค้ชสามารถช่วยเหลือผูร้ บั การ โค้ชให้ได้มากขึน้ และโค้ชเองก็ตอ้ งก้าวข้ามข้อจ�ำกัดของตนเอง เป็นการพัฒนา ทักษะของตนเองเพือ่ ผูอ้ นื่ และสามารถน�ำทักษะเหล่านีไ้ ปฝึกให้กบั ผูร้ บั การโค้ช ได้ดว้ ย เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน ในการโค้ชไม่วา่ จะเป็นการโค้ชตัวต่อตัวหรือการโค้ชทีม ทักษะและ ความสามารถทีโ่ ค้ชควรมี ได้แก่ 1. ทักษะการสนทนาทีส่ ร้างสรรค์และมีพลัง เข้าใจสนามการสนทนา ทีไ่ ด้ประโยชน์ตามเป้าหมายและมีพลังร่วม 2. ทักษะการฟัง เท่าทันตนเองเรือ่ งระดับการฟังและบันไดแห่งการ วินจิ ฉัย 3. ความสามารถในการคิดกระบวนระบบ (systems thinking) ทีช่ ว่ ย ในการวิเคราะห์ปญ ั หา เข้าใจภาพรวมของปัญหา วิเคราะห์ความ


56

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

สัมพันธ์และการเชือ่ มโยงสิง่ ต่างๆ การป้อนกลับของเรือ่ งราวต่างๆ และค้นหาจุดคานงัดเพือ่ จัดการกับปัญหาได้ 4. ทักษะการตัง้ ค�ำถาม เพือ่ ความเข้าใจผูอ้ นื่ และเติมศักยภาพ 5. การสะท้อนมุมมอง (feedback / reflect) การสะท้อนความคิด (reflection) การให้ขอ้ สังเกต เพิม่ มุมมอง 6. การสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงจูงใจและให้กำ� ลังใจ (aspiration, motivation) 7. การจดบันทึก (journal) ให้เห็นถึงการเรียนรู้ พัฒนาการของ ตนเองและผูอ้ นื่ ในการสร้างความเปลีย่ นแปลง 8. การให้เครือ่ งมือต่างๆ การแนะน�ำการใช้เครือ่ งมือและเทคนิคต่างๆ 1. ทักษะการสนทนาทีส่ ร้างสรรค์มพ ี ลัง ทักษะการสนทนาเป็นทักษะหลักของโค้ช ซึง่ เกีย่ วข้องกับทักษะการฟัง และการพูดสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โค้ชทีด่ ตี อ้ งสร้างการสนทนาทีม่ คี วามหมาย ท�ำให้ผเู้ ข้าร่วมการสนทนาทุกคนเกิดพลัง และได้ประโยชน์ตามเป้าหมายของ การสนทนา โค้ชสามารถน�ำการสนทนาทีม่ คี วามหมายได้ทงั้ การสนทนาของ โค้ชกับผูร้ บั การโค้ช การสนทนากันในทีม ใช้ในการประชุมอย่างสร้างสรรค์ทใี่ ห้ ทุกคนในการประชุมได้มีส่วนร่วมในการสนทนาเพื่อให้การประชุมนั้นเกิด ประโยชน์สงู สุด หากโค้ชท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูเ้ อือ้ อ�ำนวยการสนทนา (facilitator) ไม่ ว่าวงสนทนาใดก็ตาม ควรตระหนักเข้าใจสนามการสนทนาต่างๆ ให้ดี และใช้ ทักษะนีใ้ ห้เกิดประโยชน์ อดัม คาเฮน วิทยากรผูอ้ อกแบบกระบวนการสันติวธิ ใี ห้กบั หลายพืน้ ที่ ขัดแย้งในโลกเช่น แอฟริกาใต้กล่าวว่า การสนทนามี 4 ลักษณะ ด้วยกัน คือ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

57

1. การสนทนาแบบรับข้อมูลฝ่ายเดียว (downloading) หลายการประชุมหรือการสนทนามักมีลกั ษณะเช่นนี้ คือ รายงานว่า ใครท�ำอะไร เกิดผลอะไร พูดทีละคน หรืออาจจะมีเพียงคนเดียวทีพ่ ดู บรรยายครองพืน้ ทีก่ ารสนทนา ส่วนคนอืน่ ๆ ก็เป็นผูฟ้ งั รับข้อมูล ความรู้ หรือเรือ่ งราวนัน้ ๆ ผูฟ้ งั ท�ำหน้าทีด่ ดู รับข้อมูล เหมือนกับการ ดาวน์โหลดไฟล์บนอินเทอร์เน็ต หรือในชัน้ เรียน เป็นการรับข้อมูล รับ ความรูเ้ ข้ามา สนามนีจ้ ะใช้ได้ผลดีถา้ ผูฟ้ งั ต้องการรับข้อมูลความรูบ้ าง อย่าง ท�ำอย่างไรไม่ให้นา่ เบือ่ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ผูพ้ ดู ว่าจะพูดได้เร้าใจแค่ไหน แต่จะเกิดจุดอ่อนขึน้ ถ้าหากในวงสนทนาทีต่ อ้ งการให้ทกุ คนได้ แลกเปลีย่ นกัน แต่มคี นทีส่ นทนาเพียงคนเดียวแล้วคนอืน่ ต้องเป็นผูฟ้ งั หรือในกลุม่ ไม่มใี ครร่วมแลกเปลีย่ น ท�ำตัวเองเป็นคนดาวน์โหลดข้อมูล เพียงอย่างเดียว การสนทนากัน คุยกันก็จะไม่เกิดขึน้ วงคุยก็จะมีพลัง น้อยลง เว้นแต่วา่ คนในวงคุยเห็นร่วมกันทีจ่ ะให้วงคุยนีเ้ ป็นวงทีต่ อ้ งการ ดาวน์โหลดเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ จริงๆ 2. การสนทนาแบบโต้เถียง โต้แย้ง (debate) มีผพู้ ดู หลาย คน เป็นการพูดถึงเรือ่ งเดียวกัน แต่ละคนมีมมุ มองหรือจุดยืนทีต่ า่ งกัน จึงต้องมาถกเถียงกันเพือ่ หาข้อสรุป การสนทนาในสนามนี้ เช่น การ อภิปรายในสภาผูแ้ ทนราษฎร การโต้วาที การตอบโต้กนั ในศาล สนาม นีม้ ขี อ้ ดีทผี่ ฟู้ งั จะได้เห็นมุมมองหลายด้าน เป็นการค้นหาความจริง หา ข้อสรุป การน�ำเสนอมุมมองทีแ่ ตกต่างเพือ่ ให้วงสนทนาไม่เอนเอียง หรือเออออตามๆ กันไป แล้วท�ำให้วงคุยไม่เกิดสิง่ ใหม่ แต่ขอ้ เสียของวงสนทนาแบบดีเบทก็คอื การพยายามเอาชนะ กันมากเกินไป ขาดเหตุผลทีม่ นี ำ�้ หนักเพียงพอ หรือบางครัง้ ผูส้ นทนา ก็ขาดสติ ซึง่ เรือ่ งของสตินนั้ ส�ำคัญมากในทุกสนามการสนทนา


58

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

3. การสนทนาแบบใคร่ครวญ (reflective) สุนทรียสนทนา (dialogue) บางคนอาจจะเรียกสานเสวนา เป็นสนามการสนทนาที่ พัฒนาการอีกขัน้ จาก debating แต่พฒ ั นาสูก่ ารคุยกันอย่างเปิดใจรับ ฟังกัน เอาใจเขามาใส่ใจเรา ผ่านการครุน่ คิดและใคร่ครวญ สะท้อน ความคิดความเห็นกันด้วยสภาวะทีพ่ ร้อมจะพูดและฟังกัน แก่นของ การสนทนาแบบนีค้ อื สนทนาให้เกิดความหมาย เกิดการเรียนรู้ รวม ไปถึงเกิดความหมายและการเปลีย่ นแปลงภายในของผูส้ นทนา การ สนทนาแบบนีต้ อ้ งมีสติ สมาธิทงั้ การพูดและการฟังทีผ่ า่ นการครุน่ คิด ใคร่ครวญ หากเราฝึกคุยกันในสนามสนทนานีบ้ อ่ ยๆ จะท�ำให้การ สนทนามีพลัง และสามารถยกระดับวงสนทนาไปสูส่ นามทีส่ ไี่ ด้ 4. การสนทนาให้เกิดปัญญาร่วม เกิดความหมายร่วมและ สร้างอนาคต (generative/presencing) เป็นการสนทนาทีต่ อ่ ยอด จากทักษะการสนทนาแบบ dialogue ผูส้ นทนาไม่เพียงเปิดใจรับฟัง อย่างเข้าอกเข้าใจเท่านัน้ แต่ตอ้ งมีทกั ษะความสามารถทีจ่ ะเชือ่ มโยงสิง่ ต่างๆ เรือ่ งราวทีส่ นทนากันทัง้ ในมิตทิ เี่ หมือนและต่างกัน จนเกิดความ เห็นใหม่ (ดวงตาใหม่) เกิดปัญญาร่วมกันของวงสนทนา ไม่เพียงเห็น เรือ่ งราวจากอดีตเชือ่ มกับปัจจุบนั แต่ยงั สามารถสนทนาให้เห็นแนวโน้ม ในอนาคตและช่วยกันก�ำหนดท่าทีและทิศทางต่ออนาคตได้ดว้ ย ทั้ง 4 สนามการสนทนาต่างก็มีข้อดีในตัวเอง ขึ้นอยู่กับ เป้าหมายของการสนทนา ข้อควรระวังคือ การจัดวงสนทนานัน้ ต้องไม่เป็นไปเพือ่ เป้าหมาย ของเราเพียงฝ่ายเดียว แต่ควรเปิดโอกาสให้คนในวงสนทนาได้เข้าใจ เป้าหมายของการสนทนาร่วมกันก่อน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การสนทนา 4 ลักษณะ

1. การสนทนาแบบรับข้อมูลฝ่ายเดียว (downloading) 2. การสนทนาแบบโต้เถียง โต้แย้ง (debate) 3. การสนทนาแบบใคร่ครวญ (reflective) สุนทรียสนทนา (dialogue) 4. การสนทนาให้เกิดปัญญาร่วม เกิดความหมายร่วม และสร้างอนาคต (generative/presencing)

59

2. ทักษะการฟัง เท่าทันตนเองเรือ่ งระดับการฟัง และบันไดแห่งการวินจิ ฉัย 80 เปอร์เซ็นต์ของการโค้ชนัน้ เป็นเรือ่ งของการฟัง นัน่ หมายความว่า ทักษะการฟังเป็นพืน้ ฐานทีจ่ ะท�ำให้ทกั ษะอืน่ ๆ ของโค้ชดีขนึ้ ด้วย คุณภาพของ การฟังนัน้ มีความส�ำคัญมากในทุกกิจกรรมและทุกความสัมพันธ์ ทัง้ ในการ ประชุมต่างๆ การจัดวงคุย วงสนทนา มีความหมายต่อการอยูร่ ว่ มกัน การเรียน รูร้ ว่ มกัน ความสามารถในการฟังของโค้ชนัน้ ต้องอยูใ่ นระดับทีเ่ รียกว่า การฟัง อย่างตัง้ ใจ และ การฟังด้วยหัวใจ หรือการฟังอย่างลึกซึง้ เป็นการฟังทีม่ ากกว่าการ ได้ยนิ “เสียง” แต่ตอ้ งฟัง “น�ำ้ เสียง” และภาษากายของผูร้ บั การโค้ชด้วย ส�ำหรับโค้ช สติและการรูเ้ ท่าทันการฟังของตนเองว่าก�ำลังใช้การฟังใน ระดับใดนัน้ ส�ำคัญมากต่อการเป็นโค้ช หากเป็นโค้ชทีไ่ ม่ฟงั หรือทักษะการฟังไม่ ดีกจ็ ะท�ำให้ไม่สามารถมองเห็นความจริงทีเ่ กิดขึน้ และไม่สามารถท�ำการโค้ชได้


60

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

อ็อตโต ชาเมอร์ (Otto Scharmer) จากสถาบัน MIT ผูเ้ ขียนทฤษฎี ตัวยู (Theory U) และผูก้ อ่ ตัง้ สถาบัน Presencing ได้ศกึ ษาเรือ่ งของ “การฟัง” โดยพิจารณาการฟังออกมาเป็น 4 ระดับ ดังนี้ 1. การฟังแบบดาว์นโหลด (download listening) เป็นการ ฟังทีเ่ ลือกฟังเฉพาะสิง่ ทีค่ นุ้ และรูอ้ ยูแ่ ล้ว เป็นการยืนยันสิง่ ทีต่ นรูแ้ ล้ว เลือกฟังในสิง่ ทีร่ แู้ ละอยากฟังเท่านัน้ สิง่ ใดทีฟ่ งั แล้วรูส้ กึ ว่าเข้ากับความ คิดความเชือ่ หรือประสบการณ์ทตี่ นมีกจ็ ะฟังและเห็นด้วยกับเรือ่ งนัน้ แต่หากเรือ่ งใดทีไ่ ม่เข้ากับความคิดความเชือ่ ของตนก็จะฟังแบบผ่านๆ ไม่เห็นด้วย ต่อต้านหรือปฏิเสธอยูภ่ ายใน

ลักษณะการฟังแบบนีจ้ ะเป็นการเอาตัวเองเป็นตัวตัง้ หรือ ตัวฉันเอง เป็นศูนย์กลาง เรียกว่า I-in-me สังเกตการฟังแบบนีไ้ ด้จากการพูดคุยทีผ่ ฟู้ งั มีขอ้ สรุปอยูใ่ นใจ อยูแ่ ล้ว หรือการพูดคุยทีผ่ ฟู้ งั แสดงท่าทีไม่ให้ความสนใจในการฟัง และ พูดถึงแต่เฉพาะสิ่งที่ตนพอใจและเห็นด้วยเพราะมันไปย�้ำความคิด ความเชือ่ เดิมของผูฟ้ งั ส�ำหรับโค้ชหากรูต้ วั ว่าตนตกอยูใ่ นการฟังระดับนี้ จะต้องพยายามปรับการฟังของตัวเองทันที เพราะการเป็นโค้ชจะต้อง ไม่เลือกฟัง และไม่ตดั สินตามความพอใจของตนแม้วา่ สิง่ ทีฟ่ งั ขัดกับ ความคิดความเชือ่ ของตนก็ตาม ในการโค้ชทีม โค้ชต้องเป็นผูส้ งั เกตการสนทนาของคนในทีม ว่าเป็นอย่างไร หากสังเกตเห็นว่าเมือ่ มีการสนทนากันทีมของเรานัน้ ผูร้ บั การโค้ชแต่ละคนต่างคนต่างอยากจะพูดในสิง่ ทีต่ วั เองอยากพูด หรือการพูดคุยกันเป็นไปในลักษณะทีค่ ยุ กันอย่างสุภาพและผิวเผิน คนในวงสนทนาไม่มอี ารมณ์ความรูส้ กึ ใดๆ ทัง้ สิน้ เป็นแบบลักษณะ รักษาท่าที หรือในวงสนทนานัน้ มีการโต้เถียงกันเนือ่ งจากต่างฝ่ายต่าง เลือกฟังแต่ในสิง่ ทีต่ นเชือ่ มุง่ แต่จะตอบโต้และหาข้อผิดพลาด หากใน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

61

วงสนทนาเป็นแบบใดแบบหนึง่ โค้ชต้องสร้างกระบวนการสนทนาที่ ช่วยพัฒนาทักษะการพูดและการฟังของคนในทีมให้พฒ ั นาขึน้ ก่อน 2. การฟังความเป็นจริง (factual listening) เป็นการฟังที่ อาศัยการเปิดใจ (open mind) ไม่เลือกฟังแต่สงิ่ ทีต่ นเองคิดหรือเชือ่ แต่จะหยุดความคิดภายในของตนและเปิดรับข้อมูลทีไ่ ม่คนุ้ มาก่อนได้ จดจ่อในการฟัง มีความอยากรูอ้ ยากเข้าใจในมุมมองของผูพ้ ดู ท�ำความ เข้าใจกับเนือ้ หานัน้ แม้จะเป็นเรือ่ งทีเ่ คยมีประสบการณ์แต่จะไม่เข้าไป ตัดสินสิง่ นัน้ ว่าต้องเป็นแบบนัน้ แบบนี้ การฟังในแบบเอาเรือ่ งทีฟ่ งั มาเป็นตัวตัง้ หรือเอาข้อมูลเนือ้ หา เป็นศูนย์กลาง เรียกว่า I-in-It สังเกตการฟังแบบนี้ได้จากการพูดคุยกันแบบมีข้อมูลและ เหตุผลเป็นหลัก อาจจะมีแหล่งอ้างอิง การเก็บข้อมูลเชิงสถิติ การวิจยั ต่างๆ ท�ำให้อยากเข้าใจว่าเกิดอะไรขึน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร เพราะอะไร หรือเป็นข้อมูลเฉพาะทีไ่ ม่เคยรูม้ าก่อน ในการโค้ชทีม การสนทนาในระดับนีจ้ ะเกิดขึน้ เมือ่ เราต้องการ วิเคราะห์ขอ้ มูล การอภิปรายเพือ่ แลกเปลีย่ นมุมมองหาข้อสรุป การ แลกเปลีย่ นระดมความคิด ซึง่ เป็นการพูดคุยกันด้วยเหตุผล 3. การฟังแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathetic listening) ฟังด้วยความรูส้ กึ (open heart) เชือ่ มหัวใจและตัวตนกับคน ทีพ่ ดู หรือสิง่ ทีไ่ ด้ยนิ (ฟังจากแหล่งทีผ่ พู้ ดู สะท้อนออกมา) เห็นเรือ่ งราว จากสายตาของคนอืน่ ท�ำให้ผฟู้ งั วางตัวตนลงและอยูก่ บั คนอืน่ อย่างที่ เขารูส้ กึ ฟังความทุกข์ ความเดือดร้อนของเขา เข้าใจผูพ้ ดู ว่าสิง่ ทีเ่ ขาพูด นัน้ ส�ำคัญกับเขาอย่างไร แม้ผฟู้ งั จะไม่มคี วามรูห้ รือประสบการณ์ใน เรือ่ งนัน้ แต่รบั รูถ้ งึ ความรูส้ กึ ของผูพ้ ดู ได้


62

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

นัน่ เพราะผูฟ้ งั เปิดใจในการรับฟัง เรียกว่า I-in-you สังเกตการฟังระดับนีไ้ ด้จากการพูดคุยทีผ่ ฟู้ งั มีอารมณ์ความ รูส้ กึ ร่วมไปกับผูพ้ ดู เข้าใจสิง่ ทีเ่ ขาเล่าเหมือนเป็นคนๆ นัน้ ไม่มคี วาม รูส้ กึ หงุดหงิดไม่เห็นด้วย เพราะไม่มวั ไปสนใจสิง่ เหล่านัน้ เท่ากับความ รูส้ กึ ของผูพ้ ดู ทีพ่ ดู ออกมาด้วยความรูส้ กึ แบบไหน ในการโค้ชทีม โค้ชจะต้องใช้การฟังในระดับนี้ เปิดใจรับฟัง ผูร้ บั การโค้ชถึงสิง่ ทีเ่ ขารูส้ กึ สิง่ ทีเ่ ขากังวลใจ ไม่มนั่ ใจ ไม่สบายใจ หรือ เป็นความทุกข์ความเดือดร้อน การเผชิญกับความยากล�ำบาก การจะ ท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชพูดคุยกับโค้ชในระดับนีไ้ ด้นนั้ เกิดจากความไว้วางใจ และพูดออกมาจากหัวใจ จากความรูส้ กึ รับรูไ้ ด้วา่ โค้ชใส่ใจในการรับฟัง แต่โค้ชต้องไม่จมไปกับความรูส้ กึ ของผูพ้ ดู ซึง่ ส่วนนีเ้ ป็นข้อควรระวัง ของโค้ช 4. การฟังจากแหล่งพลังภายในตน (generative listening from the Deep Source) เป็นการฟังทีท่ ำ� ให้ผฟู้ งั เปิดตัวตน ไม่ยดึ ติดกับความคิดความเชือ่ ความรูส้ กึ อนุญาตให้สงิ่ ต่างๆ ผ่านเข้ามาสู่ การรับรู้ เปิดรับพลังภายในหรือพลังธรรมชาติ (open Will) การฟัง ทีเ่ ชือ่ มกับตัวเองกับสภาวะภายนอกและภายใน การฟังเช่นนีเ้ ป็นการ ฟังทุกสรรพสิง่ ไปพร้อมกัน ทัง้ ในวงสนทนา บรรยากาศภายนอก สิง่ ที่ เกิดขึน้ ภายในใจตนและสภาวะต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน การฟังทีเ่ ปิดกว้าง เช่นนีเ้ กิดขึน้ ได้จากความพร้อมของสภาวะภายในของผูฟ้ งั ทีพ่ ร้อมด้วย สติสมั ปชัญญะ จิตทีส่ งบ นิง่ สว่าง การฟังระดับนีส้ ามารถท�ำให้เกิด ความคิดทีส่ ดใหม่ได้ การฟังระดับนีท้ ำ� ให้เกิดการรับรูส้ ภาวะต่างๆ รอบตัว สิง่ ที่ เกิดขึน้ ภายในตนเองและวงสนทนา เรียกว่า I-in-now


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

63

การฟังระดับนี้เป็นการให้ความส�ำคัญกับสิ่งที่ปรากฎใน ปัจจุบนั แต่ละขณะและอนุญาตให้สงิ่ ทีไ่ ม่รู้ ไม่พอใจ ปรากฎขึน้ มาได้ อย่างรูเ้ นือ้ รูต้ วั ในการโค้ชทีม หากโค้ชเตรียมสภาวะของคนในทีมให้พร้อม ทุกครัง้ ทีม่ กี ารสนทนากัน ให้ทกุ คนเตรียมสภาวะจิตให้สงบ มีสติรเู้ นือ้ รู้ตัว การสนทนากันด้วยการฟังในระดับนี้จะช่วยให้วงสนทนาเกิด ปัญญาร่วมกันได้ ทักษะการฟังเป็นทักษะทีเ่ กิดจากการฝึกฝน หากต้องการรูว้ า่ การฟัง ของเราอยูใ่ นระดับใดจะต้องมีวงสนทนาทีส่ ามารถสะท้อนให้แก่กนั และกันได้ อย่างกัลยาณมิตรที่ร่วมเรียนรู้ไปด้วยกันหรือมีโค้ชที่ช่วยสังเกตการณ์เพื่อ สะท้อนถึงระดับการฟัง ในการฟังนัน้ โค้ชจะต้องรูเ้ ท่าทันและมองเห็น บันไดแห่งการวินฉิ ยั ของตน การโค้ชทีต่ อ้ งใช้การฟังถึง 80 เปอร์เซ็นต์ โค้ชจะต้องมองเห็นทัศนคติ ของตนเองว่า เวลาทีเ่ ราฟังนัน้ เราคิดอะไร เราตีความอย่างไร แล้วเราใช้อะไร

การฟัง 4 ระดับ

1. การฟังแบบดาว์นโหลด (download listening) 2. การฟังความเป็นจริง (factual listening) 3. การฟังแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathetic listening) ฟังด้วยความรูส้ กึ (open heart 4. การฟังจากแหล่งพลังภายในตน (generative listening from the Deep Source)


64

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ในการตีความ ความคิดเช่นนัน้ ของเรามาจากไหน เรามีความคิด ความเชือ่ มี ประสบการณ์มาอย่างไร แล้วความคิดความเชือ่ ของโค้ชนัน้ อยูบ่ นพืน้ ฐานอะไร สิง่ ทีโ่ ค้ชให้ความส�ำคัญคืออะไร คุณค่าทีย่ ดึ ถือคืออะไร ความยุตธิ รรม เสรีภาพ การให้เกียรติกนั ฯลฯ คริส อาร์กรี สี (Chris Argyris) ศาสตราจารย์ทศี่ กึ ษาวิจยั การวินจิ ฉัยและตัดสินใจของมนุษย์ เสนอทฤษฎีเรือ่ ง “บันไดแห่งการวินจิ ฉัย” แสดงให้เห็นว่าระหว่าง 2 ถึง 3 นาที เราปีน “บันไดแห่งการวินจิ ฉัย” ทางความคิด ดังนี้

บันไดขัน้ แรก เมือ่ เรารับรู้ “ข้อมูล” เรือ่ งราวต่างๆ เข้ามา

บันไดขัน้ ทีส่ อง จากนัน้ เราก็กรองข้อมูลต่างๆ แล้ว “เลือก” ในสิง่ ทีเ่ ราสังเกตเห็น และ เพิม่ เติม “ความหมาย” เราเชือ่ หรือไม่เชือ่ แบบ ไหนจะอยูบ่ นฐานประสบการณ์ ความคิด ความเชือ่ และคุณค่าทีเ่ รายึดถือ บันไดขัน้ ทีส่ าม แล้วเราก็สร้าง “สมมุตฐิ าน” บนพืน้ ฐาน ความหมายทีเ่ ราเติมเข้าไปนัน้ คิดเอาว่า เรือ่ งราวต่างๆ จะเป็นอย่างไร จากข้อมูลทีเ่ ราเลือกมา

บันไดขัน้ ทีส่ ี่ เราก็ได้ “ข้อสรุป” ของเรือ่ งราวนัน้

บันไดขัน้ ทีห่ า้ เราลงมือ “กระท�ำหรือพูด” โดยอิงข้อสรุปที่ สร้างขึน้ มาจากความเชือ่ ของเรา (ซึง่ จะเป็นการตอกย�ำ้ ความเชือ่ เดิม ของเราไปเรือ่ ยๆ) เมือ่ เรารับรูเ้ รือ่ งราวใดๆ ถ้าเราปีนบันไดแห่งการวินจิ ฉัยอย่าง อัตโนมัตแิ ละรวดเร็วตามความคุน้ ชิน ก็จะไม่เห็นความจริงในมุมมองอืน่ ๆ และบางครั้งทั้งเราและคนอื่นต่างก็ปีนบันไดแห่งการวินิจฉัยอย่าง


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

65

รวดเร็วเช่นเดียวกัน การเข้าถึงความจริงก็จะยิง่ ยากขึน้ ไปอีก เช่นเดียวกับเมือ่ นักวิจยั ลงภาคสนามพร้อมด้วยโจทย์วจิ ยั ตาม ทฤษฎี มีแว่นตาในการมอง ในการตัง้ ค�ำถามทีย่ นื อยูบ่ นความเชือ่ นัน้ ชาวบ้านเองก็ตอบค�ำถามไปตามความคิดความเชือ่ ทีว่ า่ นัน่ เป็นสิง่ ทีน่ กั วิจยั อยากได้ เมือ่ นักวิจยั ได้ขอ้ มูลไม่ตรงตามความจริง ชาวบ้านก็ไม่ได้ ให้ขอ้ มูลทีเ่ กิดขึน้ จริง ข้อสรุปทีไ่ ด้กไ็ ม่ยนื อยูค่ วามบนความเป็นจริง การวางแผนเพือ่ ลงมือท�ำก็ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง ผลทีไ่ ด้คอื เราไม่อาจแก้ไขปัญหาได้ และอาจสร้างปัญหาใหม่ได้

ตัวอย่างการใช้บนั ไดแห่งการวินจิ ฉัย ฉันจะไม่เสนอความคิดใหม่แก่สมชาย เขาก�ำลังใช้ความคิดเหล่านีต้ อ่ ต้านฉัน สมชายคือคนน่ารังเกียจ ทีก่ ระหายอ�ำนาจ สมชายไม่เคยชอบความคิดของสมหญิง ทัง้ ทีค่ วามคิดนัน้ เป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง สมชายไม่ได้กำ� ลังฟังสมหญิงเลย

สมชายหันหน้ามองออกไปข้างนอก ห้องขณะทีส่ มหญิงก�ำลังพูด


66

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

โค้ชจะต้องเท่าทันความคิดของตนเองบนบันไดแต่ละขัน้ กระบวนการ ทีจ่ ะช่วยให้เข้าใจความจริงอย่างหนึง่ ก็คอื ให้เราคอยตรวจสอบความคิด ทฤษฎี ความเชือ่ คุณค่าทีเ่ รายึดถืออยูเ่ สมอ และรับฟังความคิดเห็นของคนอืน่ โดยใช้ การฟังอย่างลึกซึง้ ค่อยๆ คิดว่าบนบันไดแห่งการวินจิ ฉัยแต่ละขัน้ ทีเ่ ราก�ำลังก้าว ขึน้ ไปนัน้ เรายืนอยูบ่ นสมมุตฐิ านอะไร อยูบ่ นคุณค่าอะไร แล้วคุณค่านัน้ มาจาก ไหน เราอาจจะไม่เห็นด้วยกับคนอืน่ แต่เราสามารถท�ำความเข้าใจกับทีม่ าทีไ่ ป กับความเห็นของคนอืน่ ได้ บันไดแห่งการวินจิ ฉัยจะช่วยให้โค้ชไม่ดว่ นสรุป เร่งตัดสินตีความเรือ่ ง ราวใดๆ ทัง้ สิน้ และยืนอยูบ่ นความจริงเพือ่ ช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชได้วางแผนและ ท�ำงานสอดคล้องกับความเป็นจริงของปัญหาให้มากทีส่ ดุ 3. ความสามารถในการคิดกระบวนระบบ (systems thinking) ทีช่ ว่ ย ในการวิเคราะห์ปญ ั หา เข้าใจภาพรวมของปัญหา และมองเห็นจุดคาน งัดในการจัดการกับปัญหา ความสามารถในการมองเห็นระบบทีซ่ บั ซ้อน และเห็นระบบใหญ่ทเี่ ป็น ภาพรวม มองเห็นปัจจัยต่างๆ ทีส่ ง่ ผลอยูใ่ นระบบนัน้ ๆ โดยเฉพาะปัจจัยที่ เกีย่ วข้องกับปัญหาทีซ่ บั ซ้อน ความสามารถนีจ้ ะแสดงให้เห็นถึงความเกีย่ วโยง สัมพันธ์กนั เห็นว่าอะไรส่งผลต่ออะไรและอย่างไร และน�ำมาอธิบายให้เข้าใจถึง ความเชือ่ มโยงเกีย่ วพันกันและกันได้ อันเกีย่ วข้องกับทักษะการจับประเด็น การคิดกระบวนระบบนัน้ สามารถน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์ปญ ั หาทีย่ าก และซับซ้อนแล้วน�ำมาอธิบายรูปแบบของการเกิดปัญหาได้ หากสามารถน�ำการ คิดกระบวนระบบมาใช้ได้ จะท�ำให้เราเข้าใจสิง่ เหล่านี้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

67

1. ท�ำให้เราเข้าใจในเรือ่ งของทีมและเครือข่าย (Network) โยงใยของผูค้ นทีม่ ตี อ่ กัน เข้าใจปฏิสมั พันธ์ของคนในชุมชนว่าชุมชนนี้ มีปฏิสมั พันธ์กนั อย่างไร และเข้าใจว่าแต่ละชุมชนนัน้ มีปฏิสมั พันธ์ของ ผูค้ นในชุมชนแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยและตัวแปร เช่น ประวัตศิ าสตร์ ชุมชน วัฒนธรรมของชุมชน ความเชือ่ และค่านิยมของชุมชน โครงสร้าง ความสัมพันธ์ของชุมชน เป็นต้น 2. ท�ำให้เราเข้าใจว่าปัญหานัน้ ซ่อนอยูใ่ นระบบต่างๆ ทีซ่ อ้ นกัน และสัมพันธ์กนั ในระบบใหญ่นนั้ มีระบบย่อยๆ ลงมาเรือ่ ยๆ เป็นชัน้ ๆ เช่น เดียวกับระบบในร่างกายเรา เราจะเข้าใจได้วา่ จากระบบย่อย คือ ระบบของ เด็กหนึง่ คนนัน้ มีระบบทีเ่ กีย่ วข้องเป็นชัน้ ๆ ตัง้ แต่ระบบครอบครัว ระบบ ชุมชน ระบบโรงเรียนหรือศูนย์เด็กเล็กถ้าเป็นเด็กปฐมวัย ระบบหมูบ่ า้ น ระบบต�ำบล ระบบอ�ำเภอ ระบบจังหวัด ระบบของสังคมใหญ่ ระบบของ ประเทศ ไปจนถึงระบบโลก ระบบเหล่านีล้ ว้ นเชือ่ มโยงกัน การเปลีย่ นแปลง ของระบบในแต่ละชัน้ จึงกระทบถึงกัน ถ้าเราอยูใ่ นระบบประเทศทีเ่ ป็น แบบไหนก็จะกระทบกันไปเป็นชัน้ ๆ จนถึงตัวเด็กเลยทีเดียว 3. ท�ำให้เราเข้าใจปัญหาทีส่ มั พันธ์กบั บริบท (context) มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ แวดล้อม ของระบบ ท�ำให้เราเข้าใจสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัวสิ่งนั้น และ สามารถคิด วิเคราะห์ทำ� ความเข้าใจว่าคุณสมบัตขิ องบริบทเกีย่ วข้องกับ ระบบที่เราต้องการเข้าไปแก้ไขอย่างไรบ้าง และบริบทไหนที่เป็น ประโยชน์ต่อการท�ำงานของเรา เช่น บริบทของต�ำบลที่มีสภาพ แวดล้อมอยูใ่ กล้กบั เมืองใหญ่กบั บริบทของต�ำบลทีอ่ ยูช่ ายแดน ย่อมมี ผลกระทบจากระบบทีแ่ ตกต่างกัน เป็นต้น


68

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

4. ท�ำให้เรามองเห็นว่าปัญหานัน้ มีเรือ่ งของความสัมพันธ์ หรือปฏิสมั พันธ์ทปี่ อ้ นกลับ (feedback) ระหว่างองค์ประกอบหรือ ส่วนต่างๆ หากเรามองเห็นเส้นของความสัมพันธ์ทปี่ อ้ นกลับกันไปมา เราจะรูว้ า่ เราจะไปปรับเส้นความสัมพันธ์อย่างไรให้สถานการณ์ปญ ั หา ดีขนึ้ ได้ เช่นหลายครัง้ ทีม่ กี ารแก้ปญ ั หาความยากจนด้วยการให้งบ ประมาณไปท�ำการท่องเทีย่ วในชุมชน ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วหลัง่ ไหลเข้ามา โดยไม่มกี ารจัดระบบระเบียบ เกิดการกว้านซือ้ ทีด่ นิ ของนายทุน ส่งผล ต่อการท�ำลายสิง่ แวดล้อม วัฒนธรรมชุมชนถูกท�ำลาย น�ำไปสูป่ ญ ั หา อืน่ ๆ อีกหลายปัญหา การป้อนกลับกันไปมาของปัญหา บางครัง้ ท�ำให้ การแก้ปญ ั หากลายเป็นปัญหาเสียเอง หากเรามองการป้อนกลับของ ความสัมพันธ์เหล่านีอ้ อก จะท�ำให้เข้าไปแตะเส้นของความสัมพันธ์ เหล่านีอ้ ย่างระมัดระวังและท�ำให้เกิดการป้อนกลับเชิงบวกได้มากกว่า 5. ท�ำให้เรามองเห็นและแก้ปญ ั หาด้วยการคิดเป็นกระบวนการ (process) ไม่คดิ เป็นสิง่ ๆ แยกส่วนเป็นเรือ่ งๆ แต่มองเห็นเป็นพลวัต (dynamic) การเลือ่ นไหลไม่หยุดนิง่ มีการวิวฒ ั นาการ การเติบโต พัฒนาการ การคิดให้ เป็นกระบวนการนัน้ ส�ำคัญมากในการพัฒนาสิง่ มีชวี ติ เพราะกระบวนการจะส่ง ผลต่อเนือ่ งกันไป อย่างเช่น หากเราคิดถึงการให้ความรูก้ บั ผูป้ กครองเกีย่ วกับ เด็กปฐมวัยเป็นกระบวนการ เราจะไม่ทำ� อะไรเป็นเรือ่ งๆ เป็นกิจกรรมๆ แต่เรา สามารถมองเห็นว่าจากเรือ่ งหนึง่ จะพัฒนาไปสูอ่ กี เรือ่ งหนึง่ อย่างไร และเห็นว่า จะพัฒนาเป็นอะไรได้อกี บ้าง อย่างไร หากเราสามารถคิดเป็นกระบวนการเรา จะมองเห็นภาพต่างๆ ล่วงหน้าและเข้าใจภาพรวมของสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้ทงั้ หมด แต่ทงั้ นีต้ อ้ งมองเห็นเหตุ ปัจจัย ทีจ่ ะมาเกีย่ วข้องและท�ำให้สงิ่ ทีเ่ ราคิดว่าอาจจะ เป็นเช่นนัน้ อาจจะไม่เป็นอย่างทีเ่ ราคิดก็ได้ หากการมองของเรายังไม่รอบด้าน มอง เห็นเป็นองค์รวมได้ทงั้ 5 แบบไปพร้อมๆ กัน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

69

เครือ่ งมือทีช่ ว่ ยฝึกการคิดกระบวนระบบได้ ในทีน่ ขี้ อยกตัวอย่าง 2 เครือ่ งมือ ทัง้ นีย้ งั มีเทคนิค กระบวนการอืน่ ๆ ทีช่ ว่ ยฝึกการคิด วิเคราะห์ เพือ่ ให้เราเข้าใจปัญหาและแก้ปญ ั หาได้ดขี นึ้ 2 เครือ่ งมือในการคิดกระบวนระบบที่ ว่านี้ ได้แก่ 1. การคิดเชือ่ มโยงเหตุและผล (causal loops) ด้วยการ ฝึกลากเส้นเชือ่ มโยงเหตุและผล ยกตัวอย่างเช่นเราจะค้นหาเหตุและ ผลเรือ่ งของเด็กปฐมวัย ปัญหาใดปัญหาหนึง่ ให้เรานิยามปัญหาใช้ชดั เช่น ปัญหาเด็กติดมือถือ จากนัน้ ให้เราตัง้ ค�ำถามย้อนกลับไปเรือ่ ยๆ ว่า “ท�ำไมจึงเกิดปัญหานีข้ นึ้ ” ยกตัวอย่างเช่น

“ท�ำไมเด็กถึงติดมือถือ”

เพราะ ผูป้ กครองให้ใช้มอื ถือ ก็คน้ ต่อไปว่า

“ท�ำไมผูป้ กครองถึงให้เด็กใช้มอื ถือ”

เพราะผูป้ กครองไม่อยากให้ไปเล่นทีอ่ นื่ หรือ เพราะผูป้ กครอง ไม่มเี วลาเล่นด้วย (ซึง่ อาจจะมีเหตุผลอืน่ มากกว่า 1 เหตุผล สมมุตวิ า่ มี 2 เหตุผลนี้ ก็คน้ กลับทัง้ 2 เหตุผล) ถามต่อไปว่า

“ท�ำไมไม่อยากให้ไปเล่นทีอ่ นื่ ” เพราะกลัวเด็กจะไม่ปลอดภัย อาจจะเกิดอุบตั เิ หตุ

“ท�ำไมกลัวเด็กไม่ปลอดภัย” เพราะสภาพแวดล้อมไม่ปลอดภัย เช่น บ้านอยูต่ ดิ ถนน บ้าน อยูร่ มิ น�ำ้ เป็นต้น หรือ เพราะผูป้ กครองอายุมากแล้วไม่สามารถดูแล ให้เด็กปลอดภัยได้ (ในกรณีเด็กอยูก่ บั ผูส้ งู อายุ)


70

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

เราก็จะค้นพบสาเหตุวา่ เป็นเพราะสภาพแวดล้อมไม่เอือ้ ให้เด็ก เล่นอย่างอืน่ หรือผูป้ กครองไม่สามารถเล่นกับเด็กได้ เล่นกับเด็กไม่เป็น เป็นต้น การแก้ปญ ั หาอาจจะต้องมีระบบในการช่วยเหลือผูป้ กครองสูง อายุทเี่ ล่นกับเด็กไม่เป็น เล่นไม่ได้ เล่นไม่ไหว ท�ำอย่างไรให้ผปู้ กครอง ไม่ยนื่ มือถือให้กบั เด็กอันเนือ่ งมาจากสาเหตุตา่ งๆ เหล่านี้

หากตอบอีกเหตุผลหนึง่ เช่น ตอบว่า “ผูป้ กครองไม่วา่ งเล่นด้วย”

ต้องค้นต่อว่า “ท�ำไมผูป้ กครองไม่วา่ งเล่นด้วย” เพราะ ผูป้ กครอง ต้องท�ำงาน (รับจ้างท�ำการเกษตร รับจ้างท�ำก่อสร้าง ไปไร่ไปนา ท�ำสวน) วันละ 8 ชัว่ โมง ท�ำให้เหนือ่ ยมาก ต้องค้นต่อว่า “ท�ำไมผูป้ กครองต้องท�ำงานหนักและเหนือ่ ย ขนาดนัน้ ” อาจจะเพราะรายได้นอ้ ย - รายได้ไม่พอกับค่าใช้จา่ ยในครอบครัว, ค่าแรงต�ำ่ , ราคาพืชผลตกต�ำ่ , ไม่มที ดี่ นิ ท�ำกินเลยต้องไปรับจ้าง (ซึง่ แต่ละ คนจะมีเหตุผลต่างกัน) ก็ตอ้ งตัง้ ค�ำถามต่อไปว่า ท�ำไมรายได้นอ้ ย ท�ำไมค่าแรงต�ำ่ ท�ำไม ราคาพืชผลตกต�ำ่ ท�ำไมไม่มที ดี่ นิ ท�ำกิน ท�ำไมต้องท�ำงานรับจ้าง ฯลฯ หากเราค้นหาค�ำตอบไปเรือ่ ยๆ ว่า “ท�ำไมถึงเป็นเช่นนี”้ แล้ว ค้นหาค�ำตอบทีเ่ ป็นเหตุเป็นผลให้มากทีส่ ดุ เราก็จะพบกับสาเหตุของ ปัญหาทีแ่ ท้จริง ของการทีเ่ ด็กติดมือถืออาจจะเป็นเรือ่ งทีผ่ ปู้ กครองไม่มี ทีด่ นิ ท�ำกิน แล้วปัญหาของการไม่มที ดี่ นิ ท�ำกินนัน้ อยูต่ รงไหน เราจะเป็นว่า “ปัญหาเด็กติดมือถือ” สาเหตุทแี่ ท้จริง อาจเป็น เรือ่ งปัญหาทีด่ นิ ท�ำกิน ซึง่ เป็นหนึง่ ในเรือ่ งของปัญหาความยากจน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

71

ปัญหาเศรษฐกิจของครอบครัว หรือ สาเหตุอาจจะอยูท่ ผี่ ปู้ กครองสูง อายุไม่สามารถเล่นกับเด็กได้และเป็นห่วงความปลอดภัยของเด็ก หากเราสามารถค้นหาสาเหตุทแี่ ท้จริงของปัญหาได้ เราจะ ไม่แก้ปญ ั หาทีป่ ลายเหตุ ไม่แก้ปญ ั หาแบบเหมารวม และคิดแก้ปญ ั หา ด้วยวิธกี ารเดียว ทัง้ ๆ ทีส่ าเหตุนนั้ แตกต่างกัน 2. การวิเคราะห์ดว้ ยการคิด 4 ระดับ หรือภูเขาน�ำ้ แข็ง เช่น เดียวกับการคิดเชือ่ มโยง ก็คอื เราต้องนิยามปัญหาให้ชดั ว่าเราต้องการ วิเคราะห์ปญ ั หาอะไร แล้ววิเคราะห์ออกมาเป็น 4 ระดับ หรือภูเขาน�ำ้ แข็ง นัน่ เอง ระดับที่ 1 คือ ระดับปรากฎการณ์หรือระดับเหตุการณ์ (event) เป็นระดับทีเ่ ราสามารถเห็นด้วยตาเหมือนกันภูเขาน�ำ้ แข็งทีโ่ ผล่พน้ น�ำ้ ยอดของภูเขาน�ำ้ แข็งเป็นสิง่ ทีเ่ รามองเห็นได้ชดั หรือเกิดจากเราได้ยนิ ได้รบั รู้ มีคนมาเล่าให้ฟงั เป็นเหตุการณ์ ยกตัวอย่างเช่น เด็กถูกผูป้ กครอง ท�ำร้ายด้วยการทุบตีดดุ า่ นีค่ อื ภาพเหตุการณ์ทเี่ ราสามารถมองเห็นได้ อาจจะเป็นเหตุการณ์อนื่ ๆ ก็ได้ เช่น เด็กเล่นมือถือทัง้ วัน เด็กไม่คอ่ ย กินอาหารกินแต่นมรสหวาน เด็กกินน�ำ้ อัดลมวันละหลายขวด เหล่านี้ เรียกว่าระดับปรากฎการณ์ ถ้าเราเห็นเหตุการณ์แล้วไม่ตอบสนอง เช่น เห็นเด็กโดนท�ำร้ายก็ทำ� แผล ใส่ยา หรือเห็นเด็กเล่นมือก็คดิ ว่าเด็กคน อืน่ ก็เล่น หรือเป็นเรือ่ งของแต่ละครอบครัว การแก้ไขปัญหาก็จะไม่เกิดขึน้ และอาจจะท�ำให้ลกุ ลามไปสูป่ ญ ั หาทีใ่ หญ่กว่า หรือปัญหาทีม่ ากขึน้ ได้ เพือ่ ให้เราเข้าใจปรากฎการณ์ให้ลกึ ขึน้ เราจึงควรวิเคราะห์ในระดับทีล่ กึ ลงไป


72

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ระดับที่ 2 ระดับแบบแผนพฤติกรรม (pattern) เป็นการเห็น แบบแผนของปรากฎการณ์ทเี่ กิดขึน้ มักเป็นวิถปี ฏิบตั ิ เป็นนิสยั ของคนหรือ นิสยั ของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ เช่น กรณีเด็กโดนท�ำร้าย จะพบแบบแผน ของพฤติกรรมว่าจะเกิดขึน้ ทุกครัง้ ทีผ่ ปู้ กครองมึนเมา หรือเล่นการ พนันแล้วเสียเงิน เหตุการณ์อนื่ ๆ ก็เช่นกัน เราต้องมองให้เห็นแบบแผน พฤติกรรมคือสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ซ�ำ้ ๆ บ่อยๆ เหมือนกับบางคนพอเด็กงอแงก็ ซือ้ น�ำ้ อัดลมให้เด็กก็จะไม่งอแง ก็เกิดแบบแผนพฤติกรรมว่าถ้าไม่อยาก ให้เด็กงอแงก็ให้กนิ น�ำ้ อัดลม ท�ำแบบนีบ้ อ่ ยๆ จนเกิดเป็นแบบแผน พฤติกรรม เด็กก็จะติดน�ำ้ อัดลม เป็นต้น การมองเห็นแบบแผนพฤติกรรม นัน้ จะช่วยให้เราเห็นแนวโน้มเพือ่ ดักทางไว้กอ่ นได้ หรือปรับตัวตัง้ รับกับ สถานการณ์ได้ทนั การปรับแก้พฤติกรรมก็จะช่วยให้ไม่เกิดเหตุการณ์ ทีเ่ ป็นปัญหา เช่นเดียวกับการสร้างแบบแผนพฤติกรรมทีท่ ำ� ให้มแี นวโน้ม ไปในทางทีด่ กี จ็ ะช่วยให้เกิดเรือ่ งสร้างสรรค์ได้เช่นกัน ยกตัวอย่าง เมือ่ เห็นเด็กงอแงผูป้ กครองก็จะชวนเด็กเล่นหรืออ่านหนังสือนิทานให้ฟงั หากท�ำบ่อยๆ เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่ดี แนวโน้มที่เด็กจะมี พัฒนาการจากการเล่นหรือมีพฒ ั นาการด้านภาษาและจินตนาการจาก การฟังนิทานก็จะเป็นแนวโน้มทีด่ สี ง่ ผลต่อเด็กเมือ่ เติบโตขึน้ และเพือ่ ให้เราแก้ปญ ั หาได้ถงึ สาเหตุ หรือเพือ่ ให้สร้างสรรค์เหตุปจั จัยทีด่ ไี ด้ เรา ก็จะวิเคราะห์ให้ลกึ ลงไปอีกในระดับถัดไป ระดับที่ 3 ระดับโครงสร้าง (structure) ระดับนีจ้ ะเป็นตัว ก�ำหนดแบบแผนพฤติกรรมทีท่ ำ� ให้เกิดเหตุการณ์ทเี่ ป็นปัญหา เราต้อง มองเห็นโครงสร้างของเรือ่ งราวนัน้ ว่ามีโครงสร้างใดบ้างทีเ่ กีย่ วข้อง ยก ตัวอย่าง เด็กติดมือถือ เกิดจากแบบแผนพฤติกรรมของผูป้ กครองทีท่ กุ ครัง้ เมือ่ ไปท�ำงานก็เอามือถือให้เด็กเล่น เกิดจากโครงสร้างอะไรได้บา้ ง เช่น โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ทีผ่ ปู้ กครองต้องท�ำมาหากินไม่มเี วลา


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

73

โครงสร้างของครอบครัว ไม่มคี นดูแลเด็ก โครงสร้างทางเทคโนโลยี ความทันสมัย เป็นต้น ระดับที่ 4 ระดับโลกทัศน์ ความเชือ่ (mental models) ความคิดนัน้ ก่อให้เกิดการกระท�ำ ทัศนคติ ความคิด ความเชือ่ การ มองโลกจะสะท้อนออกมาเป็นโครงสร้างนัน้ ๆ ยิง่ เป็นคนทีม่ บี ทบาทที่ จะก�ำหนดให้เกิดโครงสร้างทีม่ ผี ลกระทบต่อชีวติ ผูค้ นเรายิง่ ต้องเข้าใจ ถึงความคิด ความเชือ่ หรือบางคนอาจจะเรียกว่า mind set ของคนๆ นัน้ เพราะจะเป็นสิง่ ทีก่ ำ� หนดโครงสร้างและก่อให้เกิดพฤติกรรมของระบบ จนกระทัง่ ปรากฎออกมาเป็นสิง่ ทีม่ องเห็นได้ชดั เจนเป็นปรากฎการณ์ หรือเหตุการณ์ ยกตัวอย่างเช่น หากคนของรัฐทีม่ คี วามคิดความเชือ่ ว่า ประชาชนไม่มคี วามสามารถในการจัดการตนเองได้ แก้ปญ ั หาตนเอง ไม่ได้ ก็จะสร้างโครงสร้างในการช่วยเหลือประชาชนทีเ่ กิดแบบแผน พฤติกรรมซ�ำ้ ๆ คือ เมือ่ ชาวบ้านเดือดร้อนต้องแจกของ ภาพทีป่ ราก ฎก็คอื รัฐลงไปแจกของให้ประชาชนทีเ่ ดือดร้อน ซึง่ เป็นรูปแบบการช่วย เหลือประชาชนเฉพาะหน้าเท่านัน้ แต่รฐั ไม่ได้ทำ� โครงสร้างในการช่วย เหลือประชาชนทีม่ คี วามยัง่ ยืน เป็นโครงสร้างทีท่ ำ� ให้ชาวบ้านลุกขึน้ มา ช่วยเหลือตัวเอง หรือช่วยเหลือกันเองได้โดยไม่ตอ้ งพึง่ พารัฐตลอดทุก ครัง้ ทีเ่ ดือดร้อน สิง่ ทีท่ ำ� ให้คดิ โครงสร้างความช่วยเหลือทีย่ งั่ ยืนไม่ได้ก็ เพราะวิธคี ดิ ทีไ่ ม่เชือ่ มัน่ ในความสามารถของประชาชนนัน่ เอง หากเปลีย่ น วิธคี ดิ ได้ การกระท�ำก็จะเปลีย่ นไปก็จะสามารถสร้างโครงสร้างทีด่ ใี น การแก้ปญ ั หาได้


74

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การคิด 4 ระดับทีส่ ามารถน�ำไปจัดการทีม จัดการองค์กร จัดการปัญหาต่างๆ ได้นนั้ จะต้องฝึกให้สามารถมองเห็นภาพรวมได้ทงั้ 4 ระดับพร้อมๆ กันอย่างเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน การฝึกวิเคราะห์บอ่ ยๆ กับ เหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ จะช่วยให้โค้ชเป็นนักคิดกระบวนระบบทีเ่ ก่งได้ และสามารถโค้ชให้กบั ผูร้ บั การโค้ชมีความสามารถเพิม่ ขึน้ ได้อกี ด้วย

การวิเคราะห์โดยวิธคี ดิ 4 ระดับ

เด็กเลนมือถือวันละ ประมาณ 8 ชั่วโมง

1 ระดับเหตุการณ

ทุกๆ วันที่ผูปกครองทำงาน ก็จะเอามือถือใหเด็กเลน

2 ระดับแบบแผนพฤติกรรม

โครงสรางทางเศรษกิจ ของครอบครัว / โครงสราง ครอบครัวเดี่ยวที่ไมมีคนดูแลเด็ก เด็กไดเลนมือถือก็จะเงียบ ไมงอแง / เด็กจะไดเกงเทคโนโลยี / มือถือเปนของเลนที่ทันสมัย

3

ระดับโครงสรางและระบบ

4 ระดับความเชื่อ คานิยม ทัศนคติ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

75

4. ทักษะการตัง้ คำ�ถาม กล่าวกันว่าโค้ชไม่ควรเป็นผูเ้ สนอความคิดเห็น แต่ใช้คำ� ถามทีด่ ใี ห้โค้ช ชีค่ น้ หาค�ำตอบเอง โค้ชไม่ชแี้ นะแนวทาง แต่ใช้คำ� ถามเพือ่ ให้แนวทางนัน้ ปรากฎ อยูใ่ นความคิดและค�ำตอบของโค้ชชีเ่ อง ค�ำถามจะค่อยน�ำไปสูค่ ำ� ตอบทีแ่ ท้จริงได้ ดังนัน้ ค�ำถามทีโ่ ค้ชใช้จงึ มักเป็นค�ำถามทีช่ วนให้คดิ ไม่ใช่คำ� ถามเพือ่ หาข้อสรุป การครุน่ คิดใคร่ครวญของโค้ชชีน่ นั้ จะได้รบั การพัฒนาขึน้ มาจากการตัง้ ค�ำถามที่ ดีของโค้ช และค�ำถามทีช่ วนให้คดิ จะเป็นค�ำถามปลายเปิด บางครัง้ อาจจะเป็น ลักษณะของชุดค�ำถาม เช่น เรือ่ งนีม้ ใี ครเกีย่ วข้องบ้าง เกิดขึน้ ได้อย่างไร เมือ่ เกิดเช่นนัน้ แล้วรูส้ กึ อย่างไร ท�ำไมถึงรูส้ กึ เช่นนัน้ ท�ำไมเราถึงคิดแบบนัน้ เป็นต้น โค้ชมีหน้าทีต่ งั้ ค�ำถามให้โค้ชชีค่ น้ หาสิง่ ทีต่ อ้ งการหรือเป้าหมาย ท�ำให้ คมให้ชดั ขึน้ ให้เป้าหมายนัน้ เห็นเป็นภาพทีช่ ดั เจน ในระหว่างการโค้ชควรมีการ ทบทวนและย�ำ้ เป้าหมายเป็นระยะสม�ำ่ เสมอ การตัง้ ค�ำถามทีล่ กึ ซึง้ ค�ำถามทีท่ ำ� ให้เกิดความคิดใหม่ๆ นัน้ ต้องเกิด จากสภาวะของโค้ชทีม่ สี มาธิ มีการฟังอย่างตัง้ ใจ การฟังแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา และโค้ชต้องพัฒนาการคิดสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบ เพือ่ ให้การตัง้ ค�ำถามนัน้ สามารถค้นหาความหมายทีซ่ อ่ นอยู่ การตัง้ ค�ำถามดีๆ นัน้ จะท�ำให้สามารถสืบค้น ความรูล้ กึ ๆ ทีอ่ ยูใ่ นตัวของโค้ชชี่ รวมไปถึงความต้องการทีแ่ ท้จริง สิง่ ทีม่ คี วาม หมายกับผูร้ บั การโค้ชจริงๆ การถามเป็นการเติมศักยภาพ (empowering) ให้โค้ชชีค่ ดิ จากตัวเขา เอง ในขณะทีก่ ารบอก (telling) เป็นเหมือนกับการบังคับ สัง่ ให้ทำ� (controlling) การถามจึงเป็นวิธกี ารทีจ่ ะท�ำให้โค้ชชีม่ ศี กั ยภาพและสร้างแรงผลักดันภายในได้ มากกว่าการบอกให้ทำ� อะไรและท�ำอย่างไร แม้วา่ ในบางการโค้ชจะมีการให้คำ� แนะน�ำหรือท�ำให้ดเู ป็นตัวอย่าง แต่ตอ้ งเป็นไปเพือ่ ให้โค้ชชีเ่ ห็นทางเลือกหรือ ครุน่ คิดแนวทางในแบบของตัวเอง การท�ำให้ดจู งึ มีประโยชน์ในแง่ของการสร้าง


76

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

แรงบันดาลใจให้กบั โค้ชชี่ และน�ำไปสูก่ ารตัง้ ค�ำถามเพือ่ ให้เกิดการครุน่ คิดทีย่ ก ระดับให้โค้ชชีม่ ศี กั ยภาพเพิม่ ขึน้ ลักษณะค�ำถามทีโ่ ค้ชควรฝึกฝน มนุษย์มคี ำ� ถามพืน้ ฐาน 6 ประการส�ำคัญ คือ ใคร (ท�ำ) อะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไหร่ ท�ำไม และอย่างไร แต่สว่ นใหญ่เรามักรับรูก้ นั เพียงแค่ ใคร ท�ำอะไร ท�ำทีไ่ หน และท�ำเมือ่ ไหร่ แต่สำ� หรับค�ำถามของโค้ชแล้ว ต้องค้นหาและลงลึกไปถึง “อย่างไร” และ “ท�ำไมหรือเพราะเหตุใด” เพราะค�ำถามเหล่านีจ้ ะช่วยให้เราได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจผูร้ บั การโค้ชมาก ขึน้ อีกทัง้ เป็นการช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชเข้าใจและอธิบายเรือ่ งราวต่างๆ ได้ดขี นึ้ ค�ำถามเพื่อความเข้าใจต่อกันนั้น จะไม่มุ่งไปท�ำให้เกิดการตัดสิน เรือ่ งราว เช่น ถามว่า “เหตุการณ์นเี้ กิดขึน้ ได้อย่างไร” หากเราสามารถช่วยกันค้นหาสาเหตุหรือสิง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดเหตุการณ์นนั้ ได้ ก็จะเห็นช่องทางในการเข้าไปมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาหรือสร้างสรรค์ สถานการณ์ได้ 8 นอกจากนี้ยังมีค�ำถามเชิงบวก “การสืบค้นด้วยพลังอย่างชื่นชม” (Appreciative Inquiry) เป็นค�ำถามทีส่ ง่ เสริมศักยภาพให้มองไปข้างหน้า มอง หาสิง่ ดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในตัวแต่ละคน ในเรือ่ งของการท�ำงาน ในองค์กร ในชุมชน ค�ำถามนีอ้ ยูบ่ นพืน้ ฐานความคิดทีว่ า่ ทุกเรือ่ งมีดา้ นบวก ทีอ่ าจจะสร้างแรง บันดาลใจ และขยายผลในทางบวกได้

อย่างเช่น ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนทีท่ มี ชุมชนต้องการจัดการแก้ไข บางครัง้

8 เมล็ดพันธ์ชีวิตบูรณาการ หน้า 353-354


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

77

ทีมก็ทมุ่ เทพลังทัง้ หมดไปกับการแก้ปญ ั หาจนคนในทีมรูส้ กึ อ่อนล้า หมดพลัง เพราะเห็นแต่เรือ่ งไม่ดที เี่ กิดขึน้ โค้ชอาจใช้คำ� ถามเชิงบวกคูข่ นานไปกับการ ค้นหาต้นตอของปัญหาด้วย โดยให้คนในทีมช่วยกันค้นหาสิง่ ดีๆ เรือ่ งราวดีๆ ที่ เกิดขึน้ ในชุมชน หรือพฤติกรรมของคนดีๆ ทีท่ ำ� งานช่วยเหลือชุมชนทีเ่ ป็น ตัวอย่างทีด่ ี เป็นการค้นหาสิง่ ดีๆ เพือ่ สนับสนุนให้สงิ่ ดีๆ ในชุมชนเข้มแข็งเป็น แรงบันดาลใจกระจายไปในพืน้ ที่ เช่นเดียวกับชวนให้ผรู้ บั การโค้ชคิดท�ำสิง่ ใหม่ ทีส่ ร้างสรรค์ ท�ำให้ดา้ นบวกของชุมชนเข้มแข็ง ด้านลบก็อาจจะอ่อนแอลงไปเอง เราอาจน�ำกระบวนการ “การสืบค้นด้วยพลังอย่างชื่นชม” หรือ Appreciative Inquiry (AI) มาใช้ในการท�ำงานด้วยก็ได้ โดยกระบวนการ ดังกล่าวนัน้ มี 4 ขัน้ ตอน คือ 1. Discovery คือ การค้นหาสิง่ ดีๆ ค้นหาเชิงบวก 2. Dream คือ การจินตนาการถึงสิง่ ทีอ่ ยากเห็น ภาพฝันถึงสิง่ ดีๆ 3. Design คือ การออกแบบสิง่ ทีอ่ ยากเห็น คิดค้นวิธกี ารเพือ่ ท�ำสิง่ ดีๆ ท�ำตามความฝันนัน้ 4. Destiny คือ การลงมือท�ำตามวิธกี ารทีค่ ดิ ไว้เพือ่ ให้เกิดผลส�ำเร็จ ท�ำให้สงิ่ ดีๆ เกิดขึน้

ตัวอย่างค�ำถามในการสืบค้นด้วยพลังอย่างชืน่ ชม เช่น • แต่ละคนรูส้ กึ ประทับใจเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วกับการมีสว่ นร่วมของ คนในทีมในเรือ่ งใดมากทีส่ ดุ เรือ่ งราวเป็นอย่างไร • ลองหลับตาแล้วนึกภาพว่าอีกหนึง่ ปีขา้ งหน้า เราไปพบกับ เด็กทีบ่ า้ นหลังหนึง่ เราอยากเห็นภาพครอบครัวนัน้ เป็นอย่างไร เด็ก ก�ำลังท�ำอะไรอยู่ เราก�ำลังท�ำอะไร


78

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

• ลองนึกภาพว่าในพืน้ ทีส่ ร้างสรรค์ทเี่ ราอยากให้เกิดขึน้ ในชุมชน ของเรา พืน้ ทีน่ นั้ มีอะไรอยูบ่ า้ ง คนทีเ่ ข้ามาใช้พน้ื ทีเ่ ป็นใคร ภาพของ ครอบครัว ผูป้ กครองและเด็กๆ เป็นอย่างไร เขาท�ำกิจกรรมอะไรกันอยู่ แล้วเราก�ำลังท�ำอะไร เพือ่ นร่วมทีมเราก�ำลังท�ำอะไร • ถ้าโครงการทีเ่ ราก�ำลังช่วยกันท�ำอยูน่ สี้ ง่ ผลให้ชมุ ชนของเรา เป็นชุมชนแรกในประเทศทีเ่ ด็กๆ มีความสุขทีส่ ดุ ความสามารถและ จุดแข็งของแต่ละคนมีบทบาทอย่างไรต่อความส�ำเร็จของโครงการ • ถ้ามีคนเข้ามาศึกษาดูงานในชุมชนของเราเกีย่ วกับการดูแล เด็ก เราจะพาเขาไปดูทไี่ หนในชุมชน แล้วเราจะท�ำอะไรให้เขาดูแล้ว รูส้ กึ ว่าชุมชนของเราดูแลเด็กได้ดที คี่ วรเป็นแบบอย่าง 5. การสะท้อนมุมมอง (feedback / reflect) การสะท้อนความคิด (reflection) การให้ขอ้ สังเกต เพิม่ มุมมอง การสะท้อนมุมมองของโค้ชนัน้ เป็นกระบวนการทีเ่ กิดจากการชวน สนทนา การฟังและการตัง้ ค�ำถามของโค้ช โค้ชเป็นเหมือนกระจกสะท้อนของ ผูร้ บั การโค้ช เพือ่ ให้เขามองเห็นตัวเองและตระหนักรูด้ ว้ ยตัวเอง การสะท้อน มุมมองของโค้ชไม่ใช่การตัดสิน แต่การสะท้อนทีด่ จี ะท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชมองเห็น ตนเองในมุมทีเ่ ขาอยากเห็นและต้องการทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงตนเอง ด้วยการตัดสิน ใจของตัวเขาเอง โดยส่วนใหญ่โค้ชใช้การสะท้อนเชิงบวก หรือสะท้อนผ่าน ค�ำถามแบบเปิดเพือ่ ชวนให้คดิ กระตุน้ ให้ผรู้ บั การโค้ชคิดได้เอง การสะท้อนกลับนัน้ โค้ชต้องท�ำอย่างมียทุ ธวิธจี นกระทัง่ สามารถท�ำให้ ผูร้ บั การโค้ชเกิดตระหนักในคุณค่าและค้นพบศักยภาพของตนเอง มีความมัน่ ใจ อย่างเต็มเปีย่ มทีจ่ ะเอาชนะอุปสรรค แก้ปญ ั หา หรือบรรลุเป้าหมายของตนเอง ทีว่ างไว้ได้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

79

โค้ชต้องสร้างพืน้ ทีป่ ลอดภัยให้แก่ผรู้ บั การโค้ชก่อน และปล่อยวางสิง่ ที่ มีอยูใ่ นตัวโค้ช เช่น ทัศนคติ ความเชือ่ การให้คณ ุ ค่า การศึกษา ครอบครัว สังคม หรือแม้กระทัง่ ความมีตวั ตน เพือ่ ให้โค้ชไม่หลงเข้าไปตัดสิน ชีน้ ำ� หรือ แนะน�ำ ในการโค้ชนัน้ ระหว่างโค้ชกับผูร้ บั การโค้ชสามารถฝึกการสะท้อน ความคิด (reflection) เพือ่ ช่วยให้เกิดความสามารถในการครุน่ คิดใคร่ครวญของ ทัง้ สองฝ่าย จนท�ำให้เกิดการตกผลึกและน�ำไปสูก่ ารวางแผนการท�ำงานทีม่ ี ความรอบด้าน มีกลยุทธ์ กลวิธที ดี่ ี อันจะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จได้ นอกจากนี้ โค้ชสามารถให้ขอ้ สังเกต เพิม่ มุมมอง โค้ชไม่ควรใช้การ ชีแ้ นะแนวทาง แต่จะใช้ในเรือ่ งของการให้ขอ้ สังเกตและเพิม่ มุมมองให้กบั ผูร้ บั การโค้ช เป็นการแลกเปลีย่ นความคิดกันว่าสิง่ ทีโ่ ค้ชสังเกตเห็นหรือแสดงความ คิดเห็นต่อเรือ่ งนัน้ ๆ ในมุมมองของโค้ชว่าเป็นอย่างไร และโค้ชต้องยึดให้มนั่ ว่า การโค้ชโดยการให้ขอ้ สังเกตและเพิม่ มุมมองนัน้ เป็นไปเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชได้เห็น มุมมองอืน่ ๆ หรือทางเลือกอืน่ ๆ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชอาจจะไม่ทนั สังเกต การมีมมุ มองอืน่ ๆ จะช่วยเปิดกว้างทางความคิดของผูร้ บั การโค้ช ท�ำให้มมี มุ มองทีห่ ลาก หลาย ช่วยให้การคิดและการตัดสินใจของผูร้ บั การโค้ชมีความชัดเจนขึน้ ลักษณะของการสะท้อนมุมมองทีด่ ี 1. ผูส้ ะท้อนมุมมองหรือโค้ชต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของผูร้ บั การ โค้ชเป็นหลัก 2. โค้ชต้องท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชรูส้ กึ ปลอดภัยและเปิดใจรับฟัง การ สะท้อนมุมมองต้องมีเป้าหมายและประเด็นที่ชัดเจนว่า ต้องการสะท้อนอะไร เพื่อให้เกิดการพัฒนาไม่ใช่เป็นการ ท�ำลายความมัน่ ใจของผูร้ บั การโค้ช และโค้ชต้องไม่ใช้อารมณ์ ความรูส้ กึ หรือความเชือ่ ส่วนตัวในการสะท้อน


80

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

3. โค้ชต้องพิจารณาการสะท้อนทีเ่ กีย่ วกับทักษะ กระบวนการ หรือการท�ำงานทีเ่ ป็นรูปธรรมเฉพาะเจาะจงจะต้องเป็นไปเพือ่ การพัฒนาได้จริงและท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ และหลัง จากการสะท้อนมุมมอง โค้ชจะต้องติดตามสนับสนุนโค้ชชี่ หากเห็นการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นควรชื่นชมและให้ คุณค่ากับการแลกเปลีย่ นมุมมองสะท้อนความคิดเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชเห็นความส�ำคัญของการมีมมุ มองทีห่ ลากหลาย จะ ท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชไม่ตดิ กรอบและสามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างไม่มที สี่ นิ้ สุด 6. การสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงจูงใจและให้กำ�ลังใจ (aspiration, motivation) โค้ชทีด่ ตี อ้ งรูว้ ธิ กี ารกระตุน้ และสร้างแรงบันดาลใจให้ผรู้ บั การโค้ชไม่ ละทิง้ เป้าหมาย รักษาพลังใจ พลังความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำตามเป้าหมายให้ได้ หากเป้าหมายนัน้ เป็นความปรารถนาทีแ่ ท้จริง การสร้างแรงจูงใจ เสริมพลัง ความมุง่ มัน่ จะท�ำได้ไม่ยาก แต่หากไม่ใช่ความปรารถนาทีแ่ ท้โค้ชชิง่ อาจจะล้ม เลิกกลางคันได้ ดังนัน้ การท�ำภาพฝันให้ชดั เจนและเติมพลังใจสม�ำ่ เสมอจะ ท�ำให้โค้ชชีม่ แี รงบันดาลใจในการทีจ่ ะท�ำตามเป้าหมายนัน้ เสมอ วิธกี ารสร้างแรงบันดาลใจ การจูงใจ และให้กำ� ลังใจ อยูท่ จี่ งั หวะและโอกาส อย่างเช่น เมื่อโค้ชชี่สามารถท�ำบางสิ่งบางอย่างได้ส�ำเร็จ หรือ พยายามท�ำบางอย่างทีไ่ ม่เคยท�ำมาก่อน ก้าวข้ามอุปสรรค โค้ชจะให้ ก�ำลังใจด้วยการชืน่ ชมเรือ่ งราวดีๆ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชแสดงออกมา


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

81

บางครัง้ ผูร้ บั การโค้ชอาจจะรูส้ กึ ลังเล ไม่แน่ใจ ไม่มนั่ ใจ ไม่ คิดว่าตนเองจะท�ำตามเป้าหมายได้ หรือรูส้ กึ ว่ายากเกินไป สิง่ ทีโ่ ค้ชท�ำ คือการให้กำ� ลังใจและสร้างแรงจูงใจให้ผรู้ บั การโค้ชเห็นศักยภาพของ ตนเองว่าสามารถท�ำได้ อาจจะกระตุน้ ด้วยการให้ผรู้ บั การโค้ชเล่าเรือ่ ง ทีภ่ าคภูมใิ จในอดีตให้ฟงั หรือเรือ่ งของคนทีผ่ รู้ บั การโค้ชเห็นว่าเป็นต้น แบบของความส�ำเร็จทีต่ นอยากจะเห็นหรืออยากจะเป็น โค้ชอาจจะใช้ วิธกี ารเล่าเรือ่ ง (story telling) ทีแ่ สดงให้เห็นว่าการมองอุปสรรคเป็น เรือ่ งท้าทายความสามารถ และวาดภาพความส�ำเร็จทีจ่ ะเกิดขึน้ ว่าจะ ท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชรูส้ กึ ดีและภาคภูมใิ จกับความส�ำเร็จนัน้ มากเพียงใด และมีตวั อย่างของคนทีส่ ามารถท�ำได้ ก้าวผ่านจุดต่างๆ เหล่านัน้ ได้ เพราะฉะนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งยากเกินไปส�ำหรับผูร้ บั การโค้ชทีม่ คี วามสามารถ อยูแ่ ล้ว •

• หากเป็นสถาการณ์ทผ ี่ รู้ บั การโค้ชรูส้ กึ ว่าล้มเหลวหรือท�ำไม่ ได้ตามทีต่ งั้ ใจไว้ โค้ชต้องให้กำ� ลังใจและชวนถอดบทเรียนให้เป็นว่า ความล้มเหลวก็เป็นประสบการณ์ทดี่ ที จี่ ะเป็นเส้นทางไปสูค่ วามส�ำเร็จได้ • การดูหนัง ก็เป็นวิธกี ารสร้างแรงบันดาลใจอีกรูปแบบหนึง่ โค้ชอาจเลือกหนังที่เป็นเรื่องราวจากเรื่องจริง เพื่อให้โค้ชชี่ได้เห็น รูปแบบ วิธกี าร และแรงบันดาลใจในการท�ำในเรือ่ งทีม่ คี วามหมายใกล้ เคียงกัน เช่น หนังทีแ่ สดงให้เห็นถึงการไม่ยอมแพ้ของครอบครัวหนึง่ ทีต่ อ้ งการดูแลเด็กคนหนึง่ ให้มอี นาคตทีด่ ี ในภาพยนตร์เรือ่ ง The Blind Side ซึง่ สร้างมาจากเรือ่ งจริงของนักกีฬาอเมริกนั ฟุตบอล ทีม่ คี รอบครัว หนึง่ รับเด็กไปดูแล และท�ำทุกอย่างเพือ่ ให้เด็กมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ เป็นต้น ส�ำหรับการสร้างแรงจูงใจให้กบั ผูร้ บั การโค้ชทีเ่ ป็นทีมชุมชนซึง่ ท�ำงาน ด้านเด็กปฐมวัยและครอบครัว นอกจากความส�ำเร็จทีจ่ ะน�ำคุณภาพทีด่ มี าสูช่ วี ติ


82

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ของเด็กๆ และคนในชุมชนแล้ว โค้ชบางคนยังสร้างแรงจูงใจเพือ่ ให้คนในทีมมุง่ มัน่ ว่า หากทีมของเราสามารถท�ำได้เป็นทีมแรกทีจ่ ะท�ำให้ตำ� บลของเราเป็นพืน้ ที่ ทีเ่ หมาะสมในการเลีย้ งดูเด็กและจะสามารถเป็นแบบอย่างให้กบั ต�ำบลอืน่ ๆ ทัง้ ในระดับและระดับประเทศ เป็นต้นแบบต�ำบลที่เด็กมีความสุขมากที่สุดใน ประเทศ นอกจากจะเป็นการช่วยเหลือชุมชนแล้วยังจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจ ให้กบั ต�ำบลอืน่ ๆ ได้อกี ด้วย 7. การจดบันทึก (journaling) โค้ชทีด่ มี กั จะมีการจดบันทึกในทุกช่วงทีท่ ำ� การโค้ช ไม่วา่ จะเป็นการจด บันทึกแผนการโค้ช การเตรียมตัวก่อนโค้ช ทัง้ บันทึกเป้าหมายในการสนทนา ของโค้ชกับผูร้ บั การโค้ชแต่ละครัง้ ค�ำถามส�ำคัญๆ ทีจ่ ะใช้ในการตัง้ ค�ำถาม หัวข้อและรายละเอียดทีจ่ ะชวนผูร้ บั การโค้ชสนทนา และหลังจากการพบกับ ผูร้ บั การโค้ชแต่ละครัง้ จะมีการจดบันทึกสิง่ ทีเ่ ป็นผลของการโค้ชแต่ละครัง้ การจดบันทึกนัน้ เป็นประโยชน์ตอ่ การทบทวนเรือ่ งราวของโค้ช ทัง้ สิง่ ที่ โค้ชได้กระท�ำลงไป และผลทีเ่ กิดจากการกระท�ำนัน้ รวมทัง้ พัฒนาการของผูร้ บั การโค้ช ปัญหาอุปสรรค ข้อสังเกตต่างๆ การจดบันทึกนัน้ ช่วยในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองของโค้ชอีกด้วย เพราะบางครัง้ โค้ชอาจจะลืมว่าในกรณีแบบนีโ้ ค้ชท�ำอย่างไร หากโค้ชใช้เพียงการ จ�ำอย่างเดียวบางทีอาจจะคลาดเคลือ่ นได้ การบันทึกของโค้ชแต่ละช่วงเวลา จะ ท�ำให้โค้ชรูว้ า่ เคยท�ำอะไร อย่างไร ด้วยเหตุผลอะไร และเมือ่ โค้ชท�ำในสิง่ ทีต่ า่ ง ออกไป ก็บนั ทึกถึงผลของการเปลีย่ นแปลงนัน้ ได้ โค้ชสามารถน�ำมาทบทวนและ น�ำไปปรับใช้ เป็นความรูใ้ หม่ของโค้ชได้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

83

ประโยชน์ของการจดบันทึก ได้แก่ • บันทึกเป็นความรูใ้ นส่วนทีโ่ ค้ชได้รบ ั ความรูเ้ พิม่ เติมทัง้ จาก การอบรมความรูอ้ ะไรใหม่ๆ การร่วมกิจกรรม การสนทนา การเรียน รูข้ องทีม บันทึกความเข้าใจ ข้อสงสัย และข้อสังเกต ในระหว่างการ โค้ชแต่ละครัง้ หลายอย่างลืน่ ไหลไป มีการสนทนากันในทีมค่อนข้างมาก แต่มหี ลายเรือ่ งทีโ่ ค้ชต้องบันทึกเป็นความเข้าใจและสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำความ เข้าใจเพิม่ เติมด้วยการค้นหาต่อ บันทึกนีจ้ ะช่วยให้โค้ชรูว้ า่ สิง่ ไหนทีโ่ ค้ช และทีมเข้าใจแล้ว สิง่ ไหนทีย่ งั มีความเข้าใจไม่ตรงกัน สิง่ ใดทีเ่ ป็นข้อ สงสัย การบันทึกไว้จะท�ำให้โค้ชไม่มองข้ามบางสิง่ หรือมองว่าเป็นสิง่ เล็ก น้อย ซึง่ อาจจะเป็นจุดเล็กๆ ทีท่ ำ� ให้เกิดปัญหาในอนาคตได้ •

• บันทึกข้อค้นพบ ข้อคิด ความคิดใหม่ๆ สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ สิง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ในระหว่างการโค้ชนัน้ ทัง้ โค้ชและทีมต่าง ก็เรียนรูก้ นั และกัน ระหว่างสนทนามีความคิดใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจ ทีเ่ ป็น ประโยชน์ และอาจจะเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้โค้ชได้เห็นความเปลีย่ นแปลง การเติบโตทัง้ ของตนเองและของผูร้ บั การโค้ช • การบันทึกเป็นการถอดบทเรียนการเรียนรูข้ องโค้ชเอง การ ใช้ทกั ษะ กระบวนการ เครือ่ งมือของโค้ชแต่ละครัง้ จะช่วยให้โค้ชเห็น รูปแบบการเรียนรูข้ องตัวเอง และสามารถน�ำสิง่ ทีเ่ รียนรูถ้ อดบทเรียน นัน้ ไปปรับใช้ ยกระดับการโค้ชของตนให้ดยี งิ่ ขึน้ เป็นประโยชน์ทงั้ ต่อ ตนเองและผูร้ บั การโค้ช


84

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

8. การให้เครือ่ งมือต่างๆ มีการแนะน�ำการใช้เครือ่ งมือและเทคนิคต่างๆ รวมไปถึงการพัฒนา ศักยภาพให้ผรู้ บั การโค้ช อย่างทีเ่ คยกล่าวไว้แล้วว่าคนเป็นโค้ชนัน้ ต้องมีเครือ่ งมือ ทีห่ ลากหลายในการท�ำงานของตน และสามารถฝึกให้โค้ชชีใ่ ช้เครือ่ งมือเหล่า นัน้ ได้ดว้ ย ยกตัวอย่าง การพัฒนาศักยภาพให้โค้ชชีม่ ที กั ษะในการสนทนา เทคนิคการเช็คอิน การฝึกฝนในเรือ่ งสติ สมาธิ ด้วยการนัง่ สมาธิ หรือการ ภาวนาในแบบต่างๆ การฝึกทักษะการฟัง การจับประเด็น การใช้เครือ่ งมือ ในการส�ำรวจข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล เป็นต้น

(อ่าน เครือ่ งมือและกระบวนการทีใ่ ช้ในการโค้ช หน้า 94)

แนวทางการโค้ช โครงสร้างแห่งการเติบโต (Grow model) โครงสร้างแห่งการเติบโต (GROW Model) เป็นรูปแบบทีถ่ กู พัฒนาขึน้ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางการโค้ชของผูท้ เี่ ป็นโค้ชแทบทุกประเภท ทุกรูปแบบไม่วา่ จะ เป็นการโค้ชตัวต่อตัว การโค้ชทีม การโค้ชองค์กร โดยแนวทางนีจ้ ะเน้นที่ กระบวนการตัง้ เป้าหมายหรือค้นหาเป้าหมาย การมองเห็นความเป็นจริง และ พัฒนาจากความเป็นจริงนัน้ สูค่ วามเป็นไปได้ใหม่ๆ ทีเ่ ป็นการค้นพบทางเลือก และสามารถเลือกตัดสินใจลงมือปฏิบัติการเพื่อการเติบโตและส�ำเร็จตาม เป้าหมายทีต่ อ้ งการ กระบวนการของ GROW Model นัน้ จะเชือ่ มโยงกันทัง้ หมด โดยมีการ ตัง้ เป้าหมาย (Goal) การส�ำรวจข้อมูล สถานการณ์ สภาพความเป็นจริงของ ปัญหา และทรัพยากรต่างๆ ทีม่ ี (Reality) ส�ำรวจสิง่ ทีเ่ รามีอยูไ่ ม่วา่ จะเป็น คน ศักยภาพของคน งบประมาณ สิง่ ทีท่ ำ� อยูแ่ ล้ว ทีเ่ ป็นต้นทุนในทุกรูปแบบ ในการ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

85

โค้ชส่วนนีส้ ำ� คัญมากและต้องให้เวลานานและมากพอเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ช ได้เห็น ความต้องการทีแ่ ท้จริงของตัวเอง คุณค่าทีต่ นเองให้ความส�ำคัญ จากนัน้ จึงคิด ออกแบบ วางแผน ทบทวน เพือ่ ให้มที างเลือก (Options) ก็จะท�ำให้การลงมือ ปฏิบตั ิ ตามแนวทางทีเ่ ป็นไปได้ หรือเกิดเป็นข้อสรุป (Way Forward /will / wrap up) น�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ได้ การใช้แนวทาง GROW Model ไม่ได้เป็นไปตามล�ำดับ แต่เพือ่ ให้เรา จดจ�ำโมเดลได้งา่ ย บางครัง้ เราต้องส�ำรวจสถานการณ์ความเป็นจริงก่อนแล้วจึง จะตัง้ เป้าหมาย และหากเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้อาจจะไม่ใช่เป้าหมายทีแ่ ท้จริง หรือเป็น เป้าหมายหนึง่ ไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด ก็อาจจะต้องส�ำรวจสถานการณ์ความเป็น จริงทีเ่ กีย่ วข้องเพิม่ เติม ก่อนทีจ่ ะวางแผนค้นหาทางเลือกทีเ่ หมาะสมแล้วลงมือ ปฏิบตั ิ และเมือ่ ลงมือท�ำไปแล้วอาจจะกลับมาดูความเป็นจริงอีกครัง้ ก็ได้ เพราะ สถานการณ์หลายอย่างนัน้ มีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตามเหตุปจั จัยทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ จากภายนอกและภายใน

โครงสร้างแห่งการเติบโต (GROW Model) Goal

Options

G R Reality

o w Way Forward


86

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

แนวทางการใช้ GROW Model

1. เป้าหมาย (Goal) ช่วงของการสร้างเป้าหมายของการโค้ช (Goal setting) ซึง่ เป็นการตกลงกันระหว่างโค้ชกับผูร้ บั การโค้ชถึงสิง่ ทีต่ อ้ งการให้เกิด ขึ้นจากการโค้ช ก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญต่อการโค้ชและเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการโค้ช ในการสร้างเป้าหมายซึง่ เป็นเหมือนข้อตกลงร่วมกันของโค้ชและผูร้ บั การโค้ช เป็นการท�ำงานร่วมกันแต่ตา่ งบทบาทกัน สิง่ ทีโ่ ค้ชท�ำคือการพาผูร้ บั การ โค้ชไปสูเ่ ป้าหมายทีผ่ รู้ บั การโค้ชต้องการ ส่วนผูร้ บั การโค้ชนัน้ จะต้องมีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำให้ตนเองไปสู่ เป้าหมายทีต่ อ้ งการให้ได้ ในช่วงนีค้ ำ� ถามของโค้ชเน้นไปทีก่ ารมองเห็นเป้าหมาย ให้ชดั เจนขึน้ ยกตัวอย่างค�ำถาม ซึง่ โค้ชสามารถเลือกถามค�ำถามได้ตามความ เหมาะสม เช่น • ผูร้ บ ั การโค้ชต้องการประสบความส�ำเร็จหรือเอาชนะปัญหาเรือ่ งอะไร แล้วท�ำไมต้องท�ำเรือ่ งนีใ้ ห้สำ� เร็จ • ให้ผร้ ู บั การโค้ชอธิบายลักษณะของผลลัพธ์ทตี่ อ้ งการว่าอยากให้เกิดขึน ้ แบบไหนอย่างไร • เป้าหมายทีผ ่ รู้ บั การโค้ชต้องการคืออะไรกันแน่ แล้วเป้าหมายนี้ ส�ำคัญต่อตัวผูร้ บั การโค้ชอย่างไร

• ภาพทีผ่ ร้ ู บ ั การโค้ชอยากเห็นหลังการโค้ช หรือภายใน 1 ปีนี้ คืออะไร

หากเป็นการโค้ชทีม ลักษณะของการตัง้ ค�ำถามจะต้องท�ำให้ทกุ คนมอง เห็นเป้าหมายทีม่ พี ลังของตนเอง ต้องเป็นเป้าหมายทีแ่ ท้จริง สามารถบอกได้วา่


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

87

• เป้าหมายนีม ้ คี วามส�ำคัญกับแต่ละคนอย่างไร มีความหมายต่อตัว เราแต่ละคนและคนรอบข้างอย่างไร • เรามองเห็นภาพไหมว่า หากสิง่ ทีเ่ ราท�ำประสบความส�ำเร็จจะเกิดการ เปลีย่ นแปลงอะไรบ้าง และความส�ำเร็จนัน้ จะท�ำให้เรารูส้ กึ อย่างไร • ในภาพฝันทีเ่ ราอยากเห็นมีใครเกีย่ วข้องบ้าง แล้วเกีย่ วข้องกับเรือ่ งอืน ่ๆ

อย่างไรบ้าง

แรงบันดาลใจทีท่ ำ� ให้เราอยากท�ำเป้าหมายนีใ้ ห้สำ� เร็จคืออะไร

ตัวอย่างค�ำถามเหล่านีเ้ ป็นเพียงแนวทางให้โค้ชได้เลือกใช้ในเวลาที่ เหมาะสม ควบคูไ่ ปกับทักษะการตัง้ ค�ำถามและกระบวนการต่างๆ ทีโ่ ค้ชมีอยูแ่ ล้ว 2. ความเป็นจริงในปัจจุบนั ทีส่ มั พันธ์กบั บริบทรอบด้าน (Reality) คือการท�ำให้เห็นความจริง สถานการณ์ปจั จุบนั จะต้องมองสถานการณ์อย่าง รอบด้าน ไม่วา่ เราจะท�ำงานในเรือ่ งอะไรจะต้องมองสถานการณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับ เรือ่ งนัน้ ทัง้ ระบบ และเพือ่ ให้มขี อ้ มูลทีเ่ ป็นจริงอาจจะต้องท�ำข้อมูลการวิจยั มี ข้อมูลของคนทีเ่ กีย่ วข้อง ศักยภาพของคน รวมทัง้ ศักยภาพของตัวผูร้ บั การ โค้ชเอง งบประมาณ ทรัพยากรต่างๆ ทีม่ อี ยู่ บริบท สภาพแวดล้อม สถานการณ์ ปัญหา เราต้องน�ำข้อมูลต่างๆ เหล่านีม้ าวิเคราะห์ให้เห็นภาพความจริงทีช่ ดั เจน นอกจากสถานการณ์ภายนอกแล้ว การค้นหาความจริงจะท�ำให้เห็น สถานการณ์ภายในด้วย ในกระบวนการนีจ้ งึ ต้องให้เวลาเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชได้ มองเห็นสถานการณ์ความเป็นจริงมากทีส่ ดุ เพราะความจริงนัน้ มักจะเกีย่ วข้อง กับ mindset (ความเชือ่ ทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรม) ของผูร้ บั การโค้ชเอง กระบวนการ สนทนาของโค้ชจะช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชรูว้ า่ ความเชือ่ ใดทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมต่างๆ การสร้างกระบวนการเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชมี Growth mindset คือการไม่ยดึ ติด กับความเชือ่ แต่พฒ ั นาความเชือ่ ทีจ่ ะน�ำไปสูพ่ ฤติกรรมทีต่ นเองทีอ่ ยากจะท�ำ


88

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ตามเป้าหมายให้สำ� เร็จให้ได้ กระบวนการเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชค้นหาความเป็น จริงทีเ่ กีย่ วข้องกับตนเองและคนในทีมโดยการมองสิง่ ต่างๆ เหล่านี้ • ความรู้ ความสามารถ (knowledge) ของตัวเองและคนใน ทีมทีจ่ ะน�ำไปใช้ทำ� งานให้บรรลุเป้าหมาย ตนเองมีความรูอ้ ะไร มีความ สามารถอะไรบ้าง ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำงานเพือ่ บรรลุเป้าหมาย นัน่ แสดงว่า ตอนทีส่ ร้างเป้าหมายจะต้องมาดูวา่ การท�ำเป้าหมายนัน้ ให้ ส�ำเร็จต้องใช้ความรูค้ วามสามารถอะไรบ้าง แล้วมาดูสงิ่ ทีม่ แี ละสิง่ ทีข่ าด • คุณค่า (value) กระบวนการนีต้ อ้ งท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชมอง เห็นคุณค่าของตัวเอง และเห็นคุณค่าของสิง่ ทีจ่ ะลงมือท�ำ หากเราน�ำ เรือ่ งของคุณค่าในสิง่ ทีก่ ำ� ลังท�ำออกมาพูดคุยกันให้เห็นได้ชดั จะยิง่ ท�ำให้ เรามีความมัน่ ใจในสิง่ ทีจ่ ะท�ำ และจะช่วยเสริมพลังด้านบวกให้กบั คนใน ทีมได้ดว้ ย เป็นการมองเห็นคุณค่าร่วมของทีมซึง่ มีความส�ำคัญมากต่อ การท�ำสิง่ ทีเ่ ป็นเป้าหมายร่วม • ความเชือ่ (belief) ความเชือ่ นัน้ ทรงพลังมากในการท�ำงาน ถ้าหากเราเชือ่ ในสิง่ ใด เราก็จะมุง่ มัน่ ตัง้ ใจไปในทิศทางนัน้ หากโค้ชชี่ ไม่แน่ใจในความเชือ่ นัน้ โค้ชต้องท�ำหน้าทีก่ ระตุน้ ให้โค้ชชีเ่ ชือ่ ว่าสิง่ ทีเ่ ขา เชือ่ นัน้ เป็นไปได้ อาจจะดึงเอาความภาคภูมใิ จ สิง่ ทีเ่ คยท�ำได้แล้วใน อดีตหรือสิง่ ทีเ่ คยดีงามสิง่ ทีเ่ ป็นความส�ำเร็จในอดีตมากระตุน้ หลาย เรือ่ งอยูค่ วามเชือ่ หากเราเชือ่ ว่าเป็นไปได้มนั ก็จะเป็นไปได้หรือเราจะ หาทางให้มนั เป็นไปได้เอง • ประสบการณ์ (experience) สิง่ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชแต่ละคนมี แต่ยงั ไม่ได้ตระหนักรูถ้ งึ ทักษะ (skill) ของตัวเอง บางครัง้ ไม่รวู้ า่ ตัวเอง ท�ำได้เพราะอะไร หรือไม่มนั่ ใจว่าจะท�ำได้ โค้ชต้องช่วยให้โค้ชชีเ่ ห็นว่า


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

89

ในประสบการณ์ของเขานัน้ มีอะไรบ้าง ท�ำให้เขาคิดค้นวิธกี ารหรือความ เป็นตัวเขาเองได้งา่ ยขึน้ ทีส่ ำ� คัญการโค้ชในช่วงของการส�ำรวจตัวเองให้มองเห็นความจริงใน ปัจจุบนั (Reality) นี้ โค้ชจะต้องมีสติและสมาธิอย่างมาก ทัง้ การฟัง การตัง้ ค�ำถาม ไม่รบี พาผูร้ บั การโค้ชไปสูข่ อ้ สรุปเร็วเกินไป ต้องสังเกตว่าผูร้ บั การโค้ช มองเห็นสถานการณ์ตา่ งๆ ได้ชดั เจนและรอบด้าน มีขอ้ มูลยืนยันไม่ใช่การคิดไปเอง และมองเห็นตนเองได้ชดั เจน จึงจะค่อยๆ พาไปสูข่ นั้ ตอนถัดไป ขัน้ ตอนนีเ้ ป็นรากฐานจึงควรท�ำให้เกิดความมัน่ ใจทัง้ สองฝ่ายทัง้ โค้ช และผูร้ บั การโค้ช ในการท�ำทีมชุมชนนัน้ ช่วงของการส�ำรวจข้อมูลเด็กและครอบครัวใน ชุมชน เป็นการท�ำความจริงให้ปรากฎ ในขัน้ ตอนนีถ้ า้ ยังมีขอ้ มูลไม่ครบ รอบ ด้าน หรือยังไม่ได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นจริง ทีมก็ตอ้ งสร้างความไว้วางใจให้กลุม่ เป้าหมาย ให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นจริงโดยการส�ำรวจซ�ำ้ จนกว่าจะมัน่ ใจในระดับหนึง่ ว่าข้อมูลทีไ่ ด้ มานัน้ เพียงพอต่อการน�ำไปวิเคราะห์ ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ ให้เห็นเรือ่ งราว ในเชิงระบบว่าอะไรส่งผลต่ออะไร และสาเหตุของปัญหามาจากอะไรบ้าง โค้ช สามารถใช้เครือ่ งมือจากการคิดกระบวนระบบ (Systems thinking) ก็จะช่วย ให้ทกุ คนในทีมได้เข้าใจปัญหา นอกจากความจริงทีเ่ ป็นสถานการณ์แล้ว ข้อมูลของแต่ละคนในทีมทีม่ า จากต่างหน่วยงานก็สำ� คัญเพือ่ ให้เห็นต้นทุนศักยภาพของทีม โดยการส�ำรวจว่า แต่ละคนในทีมท�ำงานเกีย่ วกับอะไรบ้าง ได้ทำ� อะไรไปบ้างในเรือ่ งนี้ แต่ละคนมี บทบาทอย่างไรในองค์กร มีทรัพยากรอะไรบ้าง ส�ำหรับการโค้ชทีมช่วงนีโ้ ค้ช จะต้องท�ำกระบวนการให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล 3. โอกาสความเป็นไปได้และทางเลือก (Options) เป็นช่วงของการ ค้นหาแนวทางเพือ่ ใช้เป็นทางเลือกในการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ดังนัน้ โค้ชต้อง


90

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ชวนคิดชวนคุยเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชได้คดิ วางแผนทีจ่ ะท�ำให้ไปสูเ่ ป้าหมาย โดย ตัง้ ค�ำถามทีเ่ กีย่ วกับการวางแผนงาน เช่น มีแผนงานใดบ้างทีจ่ ะท�ำให้เป้าหมาย นัน้ ส�ำเร็จ ให้ผรู้ บั การโค้ชคิดไว้หลายๆ แผน หลังจากนัน้ ก็มาคิดค้นวิธกี ารทีจ่ ะ ท�ำในแต่ละแผนงานว่ามีวธิ กี ารใดบ้างทีจ่ ะท�ำแล้วท�ำให้บรรลุเป้าหมายได้ และ เมือ่ มีทงั้ แผนงานและวิธกี ารแล้วก็มาค้นหาทางเลือกทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะท�ำให้เป้า หมายนัน้ ส�ำเร็จ ส�ำหรับการโค้ชทีม โค้ชต้องท�ำกระบวนการให้ทมี ได้วางแผน การท�ำงานงาน ให้ทกุ คนได้ชว่ ยกันคิดค้นแผนงาน อาจจะแบ่งกลุม่ หรือจับคูใ่ ห้ คนในทีมได้คดิ แผนงานและวิธกี ารออกมา แต่ละคูห่ รือแต่ละกลุม่ ทีค่ ดิ แผนงาน และวิธกี ารทีแ่ ตกต่างกัน ก็นำ� มาแลกเปลีย่ นกัน แล้วเลือกแผนงานและวิธกี าร ทีท่ กุ คนเห็นว่าจะท�ำให้สามารถไปถึงเป้าหมายทีว่ างไว้รว่ มกันได้ • ขัน ้ ตอนการค้นหาทางเลือกของแผนงานและวิธกี ารทีเ่ หมาะ สมนี้ จะเกิดขึน้ หลังจากมองเห็นความจริงในปัจจุบนั แล้ว เพราะเราจะ ได้รตู้ น้ ทุนความรูแ้ ละศักยภาพของผูร้ บั การโค้ช รวมถึงทรัพยากรทีม่ ี อยูไ่ ม่วา่ จะเป็นเรือ่ งคน งบประมาณ ความเข้าใจต่อสถานการณ์ปญ ั หา แล้วเป็นอย่างดี • ทางเลือกไม่ใช่เรือ่ งของแผนงานและวิธก ี ารท�ำงานเพียง อย่างเดียว แต่หลังจากมองเห็นความจริงแล้ว ผูร้ บั การโค้ชจะได้คน้ พบศักยภาพของตนเองว่ามตนมีศกั ยภาพอะไรบ้าง และศักยภาพหรือ ความรูค้ วามสามารถในเรือ่ งใดทีย่ งั มีไม่พอ ซึง่ โค้ชจะต้องชวนผูร้ บั การ โค้ชค้นหาทางเลือกในการพัฒนาศักยภาพตนเองด้วยว่าต้องการ สนับสนุนความรูอ้ ะไร หรือพัฒนาศักยภาพด้านใดเพิม่ เติมบ้าง รวมไป ถึงต้องการการสนับสนุนทรัพยากรหรือการหนุนเสริมแบบไหน จึงจะ ท�ำให้มาเติมเต็มในแผนการ วิธกี ารท�ำงานได้

• โค้ชก็ตอ้ งมีทางเลือกในการน�ำพาผูร้ บ ั การโค้ชไปสูเ่ ป้าหมาย


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

91

เช่นกัน โดยการพิจารณาว่าหากผูร้ บั การโค้ชจะไปถึงเป้าหมายได้ ต้อง ดึงศักยภาพของผูร้ บั การโค้ชอย่างไร หรือหากเห็นว่าศักยภาพของผูร้ บั การโค้ชในขณะนีย้ งั มีไม่พอ ควรจะให้ผรู้ บั การโค้ชเพิม่ ศักยภาพในด้าน ใดบ้าง ก่อนให้ทางเลือก โค้ชต้องท�ำความเข้าใจผูร้ บั การโค้ชให้มาก ทีส่ ดุ เพือ่ ค้นหาแนวทางทีเ่ หมาะสมให้กบั ผูร้ บั การโค้ชเช่นกัน ในการโค้ชทีมชุมชน ทีมโค้ชควรมีแผนทีส่ อดคล้องกับ ความต้องการของทีมชุมชน เมือ่ รูเ้ ป้าหมายทีช่ มุ ชนอยากไปให้ถงึ แล้ว และวิเคราะห์ขอ้ มูลสถานการณ์ความเป็นจริงแล้ว ต้องมีแผนในการ พัฒนาศักยภาพให้กบั ทีมชุมชน ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาให้ความรูเ้ กีย่ ว กับประเด็น พัฒนาด้านการท�ำงานงาน การจัดกิจกรรม เสริมทักษะ กระบวนการต่างๆ รวมไปถึงการให้ผู้รับการโค้ชได้ฝึกทดลองท�ำ กิจกรรม หรืออาจมีการไปดูงาน สร้างการเรียนรูใ้ นเรือ่ งทีผ่ รู้ บั การโค้ช อยากท�ำ เช่น การจัดมหกรรม การท�ำฐานเรียนรู้ การท�ำสือ่ เรียนรู้ ถ้าผูร้ บั การโค้ชต้องไปท�ำงานทีเ่ กีย่ วกับเปลีย่ นวิธคี ดิ ปรับพฤติกรรม ของคนอืน่ ก็ตอ้ งฝึกจัดกระบวนการ การจัดวงสนทนาทีส่ ร้างสรรค์ ค่อยๆ ท�ำจากวิธคี ดิ ขยับไปสูก่ ารจัดกิจกรรมด้วยกันเมือ่ คนในชุมชน พร้อม เป็นต้น

ตัวอย่างค�ำถามและกระบวนการทีโ่ ค้ชใช้ในช่วงนี ้

• หากต้องการท�ำเป้าหมายให้ส�ำเร็จทีมควรวางแผนงาน อย่างไรบ้าง • ให้ผรู้ บั การโค้ชออกแบบเส้นทางการท�ำงานทีจ่ ะท�ำให้ไปถึง เป้าหมายได้ • ในเป้าหมายใหญ่ตอ้ งบรรลุเป้าหมายย่อยอะไรบ้าง หากท�ำ


92

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

เป้าหมายแรกส�ำเร็จจะส่งผลต่อไปยังเป้าหมายทีส่ องอย่างไร จนกว่า จะส�ำเร็จเป้าหมายร่วมซึง่ เป็นภาพฝันทีว่ างกันไว้ • การวางแผนงานนัน้ ต้องค�ำนึงถึงสิง่ ใดบ้าง เช่น คน ความ สามารถ ทรัพยากร • หากจะท�ำแผนงานให้สำ� เร็จมีวธิ กี ารอะไรบ้าง และมีแนวทาง ในการด�ำเนินการอย่างไร เมือ่ มีแผนงาน มีวธิ กี ารต่างๆ และแนวทางในการด�ำเนิน งานเพือ่ ให้เป้าหมายส�ำเร็จแล้ว ก็จะเป็นเรือ่ งของการไตร่ตรองใคร่ครวญ และเลือกว่าแผนงานใดทีม่ คี วามเป็นไปได้ทจี่ ะน�ำมาใช้ในการท�ำงาน

4. สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ / สิง่ ทีล่ งมือท�ำ/สรุปผล (Way forward /will / wrap up) ช่วงนีข้ นึ้ อยูก่ บั ว่าโค้ชเป็นโค้ชประเภทไหน ถ้าเป็นโค้ชการท�ำงานก็ จะเป็นช่วงของการตัดสินใจว่าสิง่ ทีจ่ ะลงมือท�ำหรือสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ คืออะไร มีการ ก�ำหนดระยะเวลาทีจ่ ะลงมือปฏิบตั งิ านแต่ละขัน้ ตอนและเริม่ ลงมือท�ำ โดยต้อง ค�ำนึงถึงว่า ในการท�ำงานนัน้ มีใครเกีย่ วข้องบ้าง แต่ละคนมีบทบาทอย่างไร เป็น ช่วงทีม่ ขี อ้ สรุปแล้วว่าแผนงานของผูร้ บั การโค้ชทีจ่ ะท�ำนัน้ จะเกิดขึน้ ตัง้ แต่เมือ่ ไหร่ เช่น ตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็นต้นไปผูร้ บั การโค้ชจะท�ำอะไรบ้าง, ภายในช่วง 3 เดือน แรกผูร้ บั การโค้ชจะลงมือท�ำอะไร, หลังจากการอบรมพัฒนาศักยภาพแล้วกลับ ไปผูร้ บั การโค้ชจะเริม่ ท�ำอะไรก่อน เป็นต้น การโค้ชในช่วงนีจ้ ะใช้การตัง้ ค�ำถามเพือ่ ให้ผร้ ู บั การโค้ช สรุปวิธกี าร ขัน้ ตอน ระยะยะเวลา และแนวทางต่าง ๆ ทีจ่ ะไปลงมือปฏิบตั ิ ด้วยตัวของผูร้ บั การโค้ชเอง หรือถ้าเป็นทีมก็สามารถระบุได้วา่ ใครจะกลับไปท�ำอะไร อย่างไร เช่น แต่ละคน จะลงมือท�ำขัน้ ตอนอะไรบ้าง ในแต่ละเรือ่ งหรือแต่ละขัน้ ตอนจะท�ำเมือ่ ไหร่


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

93

ผูร้ บั การโค้ชต้องการการสนับสนุนอะไร จากใครบ้าง และเมือ่ ลงมือปฏิบตั แิ ล้ว ผูร้ บั การโค้ชจะประเมินผลอย่างไรและประเมินผลเมือ่ ใด เป็นต้น เมื่อขั้นตอนและระยะเวลาในการท�ำงานตามแผนงานและวิธีการที่ วางไว้ สิง่ ทีโ่ ค้ชจะช่วยสนับสนุนผูร้ บั การโค้ชในช่วงนีค้ อื การให้กำ� ลังใจ ดูแล รักษาพลังใจของผูร้ บั การโค้ช ไม่ให้ลม้ เลิกกลางคันหรือท้อถอย เพราะการลงมือ ท�ำบางครัง้ ก็เจอปัญหาอุปสรรค อาจจะไม่ราบรืน่ โค้ชจะคอยช่วยในแต่ละขัน้ ตอนให้ผรู้ บั การโค้ชก้าวผ่านไปได้และขับเคลือ่ นการท�ำงานด้วยพลังและความ ตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำเป้าหมายให้สำ� เร็จ ผูร้ บั การโค้ชจะสามารถเข้าใกล้กบั เป้าหมายได้มากแค่ไหนนัน้ ต้องมี การสรุปผลและถอดบทเรียนเป็นช่วงๆ เพือ่ ให้สามารถปรับแผนการท�ำงาน ปรับวิธกี าร ดูระยะเวลาทีเ่ หมาะสมในการลงมือท�ำ หากต้องพัฒนาศักยภาพ ก่อนเพือ่ ให้ทำ� ได้ดยี งิ่ ขึน้ โค้ชก็จะช่วยสนับสนุนช่วยเหลือให้ผรู้ บั การโค้ชมี ศักยภาพเพิม่ ขึน้ โค้ชจึงเป็นเหมือนเพือ่ นร่วมทางทีจ่ ะอยูเ่ คียงข้างเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชได้ ประสบความส�ำเร็จตามทีต่ งั้ ใจไว้ โค้ชทีด่ นี นั้ จะอยูเ่ คียงข้างและคอยช่วยเหลือ ด้วยการรับฟัง การตัง้ ค�ำถาม ให้กำ� ลังใจ สร้างแรงบันดาลใจ สะท้อนมุมมอง หรือตัง้ ข้อสังเกตเพิม่ มุมมอง ช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชเพิม่ ศักยภาพความสามารถที่ จะท�ำสิง่ ทีต่ งั้ ใจให้สำ� เร็จ


94

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

เครือ่ งมือและกระบวนการทีใ่ ช้ในการโค้ช เครือ่ งมือและกระบวนการทีใ่ ช้ในการโค้ชมักจะเป็นส่วนหนึง่ ของทักษะ โค้ช เพราะส่วนใหญ่โค้ชจะใช้การสนทนาเป็นหลัก แต่อาจจะมีบา้ งในบางครัง้ ที่ โค้ชต้องท�ำให้ดู หรือให้เครือ่ งมือ เทคนิค กระบวนการ เพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ช สามารถน�ำไปใช้ในการท�ำงานได้ ดังนัน้ ผูท้ เี่ ป็นโค้ชเองก็ตอ้ งมีความเข้าใจและ สามารถใช้กระบวนการต่างๆ ได้ ยิง่ เป็นการโค้ชทีม โค้ชต้องท�ำกระบวนการ เป็นผูเ้ อือ้ อ�ำนวยการสนทนา (facilitator) อยูบ่ อ่ ยๆ การฝึกฝนให้คนในทีม สามารถท�ำกระบวนการสนทนากันเองได้ เพิม่ พูนทักษะ เรียนรูก้ ระบวนการ เทคนิค และเครือ่ งมือต่างๆ ได้ ก็จะสามารถพัฒนาตนเองและทีมได้ โค้ชจึง ต้องท�ำหน้าทีใ่ นการพัฒนาศักยภาพให้กบั คนในทีมได้ดว้ ย ส�ำหรับเครือ่ งมือและกระบวนการทีโ่ ค้ชควรฝึกฝนและน�ำไปพัฒนาทีม ได้แก่ 1. กระบวนการเตรียมความพร้อมเพือ่ ให้อยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ (be present) ทัง้ ในการท�ำงาน การประชุมและการสนทนาต่างๆ เพือ่ ท�ำให้สภาวะ ของทัง้ โค้ชและผูร้ บั การโค้ชหรือทีมทีร่ บั การโค้ช มีสติและพร้อมสนทนากับคน ทีอ่ ยูต่ รงหน้าเป็นเรือ่ งส�ำคัญมาก บางครัง้ การสนทนานัน้ จะเป็นประโยชน์ได้ ตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการหรือไม่กข็ นึ้ อยูก่ บั การเริม่ ต้นเตรียมสภาวะนีเ่ อง หาก เตรียมสภาวะของทุกคนพร้อมก็จะสามารถท�ำให้กระบวนการสนทนาหรือการ ท�ำงานนัน้ เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีพลัง กระบวนการเตรียมความพร้อมนัน้ ท�ำได้หลายรูปแบบแล้วแต่วา่ โค้ชจะ เลือกใช้แบบใด บางคนอาจจะใช้การเตรียมความพร้อมด้วยการนัง่ สมาธิ เจริญ สติภาวนา อาจจะใช้วธิ ใี ห้เคลือ่ นไหวคล้ายกับการเดินจงกรม มีสติรตู้ วั ขณะ ก�ำลังก้าวเท้า การเคลือ่ นไหวมือให้สติรตู้ วั มาอยูท่ มี่ อื หรือการอยูก่ บั ลมหายใจ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

95

นัง่ เงียบๆ มองดูธรรมชาติ สิง่ ส�ำคัญคือการท�ำให้ใจสงบและรูเ้ นือ้ รูต้ วั เป็นการ สร้างบรรยากาศก่อนการสนทนาให้เกิดการ “ชะลอความเร็ว” (slow down) ทัง้ การเคลือ่ นไหวทางกาย และการคิดนัน่ คิดนี่ ให้ชะลอความคิดแล้วกลับมาอยู่ กับสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ตรงหน้า มาอยูก่ บั เพือ่ นร่วมวงสนทนาและอยูก่ บั ตัวเอง โค้ชจะน�ำกระบวนการนีใ้ ห้ผรู้ บั การโค้ชทดลองท�ำก่อนทีเ่ ขาจะสนทนา กันในทีม หรือเริม่ ต้นการประชุม แม้แต่การน�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวันก่อนเริม่ ต้นท�ำงานทุกเช้า ให้ลองนัง่ นิง่ ๆ ท�ำจิตใจให้สงบและอยูก่ บั ปัจจุบนั ระยะเวลา สัน้ ๆ 2 - 3 นาที ถ้าท�ำบ่อยๆ จะท�ำให้ผทู้ ฝี่ กึ ฝนทดลองท�ำ ค่อยๆ มีจติ ทีน่ งิ่ สงบ และมีสติ ซึง่ เป็นรากฐานของการท�ำภารกิจต่างๆ ในชีวติ หากเริม่ ต้นด้วย การมีสมาธิ สติ แล้วความคิดต่างๆ ก็จะแจ่มกระจ่าง เกิดความคิดใหม่ๆ ความ คิดดีๆ หรือความเข้าใจต่อเรือ่ งบางเรือ่ ง ปัญญาก็จะเกิดขึน้ ได้

2. กระบวนการสนทนา 9 และกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้อง

ในการสนทนาทุกครั้งนั้นมีเป้าหมายของการสนทนา แต่ละคนมี การเตรียมตัว เตรียมความพร้อม เตรียมข้อมูล เตรียมใส่ใจรับฟังและร่วม สนทนาอย่างจริงจัง จึงจะเป็นการสนทนาทีม่ คี วามหมายและทุกคนเป็นหนึง่ ใน ปัจจัยทีจ่ ะสร้างสรรค์ให้การสนทนานัน้ มีคณ ุ ภาพทีด่ ี การเตรียมความพร้อมในการสนทนา จ�ำเป็นต้องมีการปรับคลืน่ เข้าหากัน เหมือนกับนักดนตรีกอ่ นจะการแสดงคอนเสิรต์ นักดนตรีทกุ คนจะมีการปรับจู นเครือ่ งดนตรีให้เสียงเครือ่ งดนตรีของตนสอดคล้องกับเสียงของนักดนตรีคน อืน่ ๆ จึงจะเล่นสอดประสานกันได้ราบรืน่ และไพเราะ

9 เมล็ดพันธุ์ชีวิตบูรณาการ หน้า 270-273


96

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การสนทนาก็เช่นเดียวกัน ก่อนเริ่มการสนทนา ควรมีการสร้าง บรรยากาศทีผ่ อ่ นคลาย ให้ทกุ คนรูส้ กึ วางใจ สบายใจ สนิทใจ ด้วยกระบวนการ เตรียมความพร้อมเพือ่ ให้อยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ (be present) จากนัน้ เมือ่ เข้าสูช่ ว่ ง ของการเริม่ ต้นสนทนา ควรมีกติกาตกลงร่วมกัน ซึง่ กติกาทีว่ า่ นีไ้ ม่ใช่เรือ่ ง เคร่งเครียดหรือเป็นกฎบังคับ หากแต่เป็นข้อปฏิบตั ทิ ใี่ ห้เราเกือ้ กูลกันให้การ สนทนาด�ำเนินไปอย่างราบรืน่ ให้เกียรติกนั รับฟังกันและกัน เป็นกิจกรรมอุน่ เครือ่ ง และช่วยให้ผรู้ ว่ มสนทนาเข้าสูส่ นามการสนทนาแบบสุนทรียสนทนา (dialogue)

กระบวนการเช็คอิน และเช็คเอาท์ (check in – check out)

แนวคิดและกระบวนการเช็คอินเริม่ ต้นมาจาก เฟรด คอฟมัน (Fred Kofmann) ผูช้ ว่ ยของ ปีเตอร์ เซงเก้ (Peter senge) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านองค์กร เรียนรูท้ สี่ ถาบันเอ็มไอที สหรัฐอเมริกา เฟรดสังเกตว่า การประชุมหรือการ สนทนาทีด่ นี นั้ ผูเ้ ข้าร่วมต้องมาทัง้ กายและใจ เมือ่ กายมาแล้ว ท�ำอย่างไรให้ ใจมาด้วย จึงเริม่ กระบวนการเช็คอินเพือ่ ให้ทกุ คนได้ตงั้ สติ พาตัวพาใจมาอยูก่ บั วงสนทนา การเช็คอินเป็นช่วงทีใ่ ห้ผเู้ ข้าร่วมสนทนาได้แนะน�ำตัว ท�ำความรูจ้ กั กัน มากขึน้ เพือ่ สร้างพืน้ ทีค่ วามรูส้ กึ ปลอดภัย ไว้วางใจกัน นอกจากนัน้ การเช็ค อินยังเป็นช่วงให้ผรู้ ว่ มสนทนาได้ “วาง” ความกังวล ความไม่สบายใจทีพ่ กติดตัว มาจากทีอ่ นื่ ๆ หรืออาจจะเป็นช่วงทีท่ กุ คนได้คน้ ใจว่า มาร่วมสนทนากันท�ำไม ความหมายและความคาดหวังในใจของเราต่อการสนทนาคืออะไร หัวใจของกระบวนการเช็คอินและการสนทนาตลอดกระบวนการ คือ ความช้า ค่อยๆ ฟัง ค่อยๆ พูด ให้เวลากับการครุน่ คิด พูดจากใจ และรับฟังกัน อย่างลึกซึง้ ความเงียบและช่องว่างระหว่าง การสนทนาเป็นสิง่ ทีย่ อมรับได้และ จ�ำเป็น เพือ่ ให้ขอ้ มูล ความคิด ความรูส้ กึ เป็นพืน้ ทีใ่ ห้เกิดการใคร่ครวญ


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

97

ในการเช็คอินหากผู้ร่วมสนทนายังไม่คุ้นกับกระบวนการสุนทรีย สนทนา ผูน้ ำ� กระบวนการสามารถให้ผพู้ ดู ถืออะไรสักอย่างไว้ในมือ อาจจะเป็น ปากกา ดอกไม้ ก้อนหิน หรืออะไรก็ได้แทนสัญลักษณ์ทเี่ ป็นเสมือนไม้อาญาสิทธิ์ (talking stick) เพือ่ แสดงว่าผูท้ ถี่ อื สิง่ นีไ้ ว้ในมือเท่านัน้ ทีม่ สี ทิ ธิพ์ ดู โดยผูพ้ ดู ได้ ครุน่ คิดก่อนทีจ่ ะหยิบไม้อาญาสิทธิข์ นึ้ มาแล้วพูด การพูดก็ตอ้ งค่อนข้างกระชับ นิง่ มีสมาธิ ส่วนผูฟ้ งั เองก็ตงั้ ใจฟังเต็มที่ ท�ำให้เกิดบรรยากาศแห่งความศักดิส์ ทิ ธิ์ ของการสนทนา หากผูร้ ว่ มสนทนาคุน้ ชินกับกระบวนการสนทนาเช่นนีแ้ ล้ว ต่อไปก็ไม่ จ�ำเป็นต้องใช้ไม้อาญาสิทธิก์ ไ็ ด้ แต่ทกุ คนยังเคารพผูพ้ ดู และผูฟ้ งั ผูพ้ ดู ก็ได้ ครุน่ คิดมาเป็นอย่างดีกอ่ นจะพูด และผูฟ้ งั ก็ตงั้ ใจฟัง ไม่พดู แทรก กระบวนการ สนทนาเช่นนีส้ ามารถน�ำไปใช้ได้ทงั้ ในการแลกเปลีย่ นกลุม่ ย่อย การระดมความคิด หรือวงสนทนาอืน่ ๆ เพือ่ ให้ในวงสนทนามีสมาธิ มีสติรตู้ วั ในการสนทนากัน หาก เป็นวงแลกเปลีย่ นหรือระดมความคิดก็จะได้ยนิ เสียงของทุกคน เป็นการรับฟัง กันและกันทีจ่ ะน�ำไปสูค่ วามคิดสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ได้ เกิดพลังของการสนทนา กระบวนการเช็คเอาท์ รูปแบบการสนทนาเหมือนกันกับกระบวนการ เช็คอิน แต่จะต่างกันที่กระบวนการเช็คเอาท์จะใช้ในตอนท้ายก่อนจบการ สนทนาหรือการประชุมในวันนัน้ ผูร้ ว่ มการสนทนาจะได้ใคร่ครวญถึงสิง่ ต่างๆ ทีไ่ ด้สนทนากันมาทัง้ หมด แล้วพูดถึงสิง่ ทีต่ นได้เรียนรูจ้ ากวงสนทนา ข้อคิดทีไ่ ด้ หรือสิง่ ทีอ่ ยากจะบอกกับวงสนทนา รวมไปถึงอาจจะบอกถึงความคิดใหม่ๆ แผนงานบางอย่างทีเ่ กิดขึน้ จากการสนทนา ประเด็นทีอ่ ยากจะฝากไว้ให้ครุน่ คิด กันต่อ การเช็คเอาท์จะท�ำให้สมั ผัสได้วา่ การพบปะสนทนากันแต่ละครัง้ นัน้ มี ความหมายต่อทุกคนอย่างไร


98

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

กระบวนการสนทนาทีด่ เี ช่นนี้ สามารถน�ำไปใช้ในการสนทนากลุม่ ย่อย เมือ่ มีการแบ่งกลุม่ ในการประชุม บางครัง้ ในการแบ่งกลุม่ ย่อยก็เพือ่ ให้การแลก เปลีย่ นในแต่ละประเด็นทุกคนได้แสดงความเห็นอย่างทัว่ ถึงและมีคนรับฟัง บาง ครัง้ อาจจะมีการสรุปความเห็นในกลุม่ ย่อยเพือ่ น�ำเสนอให้กบั กลุม่ ใหญ่ได้รบั ฟัง ถึงความคิดของกลุม่ โดยทีก่ ารสนทนาในกลุม่ ย่อยนัน้ ยังคงยึดหลักเช่นเดียวกับ กระบวนการเช็คอินคือ การพูดทีละคน และผูพ้ ดู ต้องใคร่ครวญก่อนพูด เมือ่ พูด ก็มสี ติรตู้ วั กระชับชัดเจนในประเด็นทีต่ อ้ งการพูด และผูฟ้ งั ก็ฟงั อย่างตัง้ ใจ มี สติในการฟัง ฟังอย่างใคร่ครวญ ไม่ตดั สิน เป็นการฝึกกระบวนการฟังด้วยหัวใจ ก็จะท�ำให้ได้ยนิ สิง่ ทีผ่ พู้ ดู ต้องการบอกทัง้ ในน�ำ้ เสียงและท่าที เปิดการรับรูข้ อง ผูฟ้ งั ให้สมั ผัสได้ถงึ หัวใจของผูพ้ ดู หากฝึกเช่นนีบ้ อ่ ยๆ จะท�ำให้ผฟู้ งั เกิดความคิด ใหม่ๆ ไอเดียในการท�ำงานและการแก้ปญ ั หาต่างๆ รวมไปถึงสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ได้ อีกกระบวนการหนึ่งที่ต่อเนื่องกันคือ การสะท้อนการครุ่นคิด (reflection) ซึง่ เป็นกระบวนการเพือ่ ยกระดับการครุน่ คิดให้สงู ขึน้ เป็นการ ถอดบทเรียนหรือท�ำให้เกิดความรูจ้ ากการปฏิบตั กิ ารสดๆ กับสิง่ ทีเ่ พิง่ ท�ำไป โดยส่วนใหญ่กระบวนการสะท้อนการครุน่ คิดมักจะท�ำหลังจากกระบวนการ สนทนา ไม่วา่ จะเป็นการเช็คอิน หรือการแลกเปลีย่ นกันในกลุม่ ย่อย การระดม ความคิดต่างๆ เพือ่ ให้เกิดการตกผลึกทางความคิด ยกระดับให้มากขึน้ กว่าการ พูดคุยกันในกลุม่ ย่อย ส�ำหรับกระบวนการนี้ ผูน้ ำ� การสนทนาจะชวนให้ทกุ คนในวงอยูก่ บั ตนเอง มีความสงบ นิง่ เพือ่ ให้เอือ้ ต่อการใคร่ครวญและตกผลึก ความคิด จากนัน้ หากมีใครพร้อมทีต่ อ้ งการจะเสนอสิง่ ทีต่ นได้ครุน่ คิดใคร่ครวญ ก็สามารถน�ำเสนอให้ทกุ คนในวงฟังได้ กระบวนการนีไ้ ม่จำ� เป็นต้องมีการน�ำ เสนอทุกคน ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละคนว่าต้องการจะน�ำเสนอสิ่งที่ ครุน่ คิดให้กบั คนในวงได้รบั ฟังหรือไม่ หากยังไม่พร้อมหรือเป็นการตกผลึกความ คิดของตนเองก็สามารถจดบันทึกไว้ได้


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

99

การถอดบทเรียนชีวติ และการท�ำงาน After Action Review (AAR)10 การท�ำ AAR นัน้ ใช้กระบวนการสนทนา การครุน่ คิดและทบทวน หัวใจหลัก อยูท่ เี่ ป้าหมายของการท�ำ AAR ทีเ่ ป็นการถอดบทเรียน หรือ เป็นการเรียนรู้ ระหว่างท�ำงาน ทบทวนสิง่ ทีท่ ำ� ไป ทัง้ ด้านความส�ำเร็จและปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ นี้ ไม่ใช่เพือ่ ค้นหาคนทีท่ ำ� ผิดพลาด ไม่ใช่การกล่าวโทษใครทัง้ สิน้ แต่เป็นการ ทบทวนเพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์การท�ำงาน เพือ่ แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ และ พัฒนางานให้ดขี นึ้

ค�ำถามหลักๆ เพือ่ ถอดบทเรียนในการท�ำงาน เช่น • เกิดอะไรขึน ้ บ้าง (เฉพาะประเด็นส�ำคัญๆ ทีผ่ า่ นการครุน่ คิด แล้วว่าน่าจะเป็นประเด็นทีจ่ ะน�ำมาแลกเปลีย่ นกัน หรือเป็นประเด็นที่ เราสังเกตเห็นและควรหยิบยกขึ้นมาพูดเพื่อเป็นประโยชน์ในการ ท�ำงาน) • แนวโน้มสถานการณ์จะเป็นอย่างไรต่อไป (เป็นการวิเคราะห์ สถานการณ์ตอ่ ประเด็นนัน้ ๆ ว่าหากสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นเช่นนี้ แนวโน้มของ สถานการณ์ในการท�ำงานจะเป็นอย่างไรบ้าง การวิเคราะห์แนวโน้มต้อง ดูจากสถานการณ์ความเป็นจริงทีเ่ กิดขึน้ ในการท�ำงานครัง้ นีก้ อ่ น) • แล้วเราอยากให้สถานการณ์เป็นอย่างไร (เมื่อทบทวน สถานการณ์แลกเปลีย่ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ และสิง่ ทีค่ าดกว่าจะเกิดขึน้ แล้ว ก็ ต้องมาดูวา่ เป็นไปตามทีเ่ ราอยากให้เป็นไหม หรือว่าเราอยากให้เป็น อย่างไร เพือ่ ให้เราได้มาช่วยกันคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้เป็นไปเป้าหมายที่ เราต้องการ)

10 เมล็ดพันธุ์ชีวิตบูรณาการ หน้า 355-356 หนทางแห่งการฝึกตน


100

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

การท�ำ AAR นัน้ สามารถท�ำได้ในหลายสถานการณ์ ผูท้ เี่ ป็นต้นก�ำเนิด ของกระบวนการนีค้ อื นายพล ฮัล มัวร์ (Lt. Gen. Harold Gregory ‘Hal’ Moore) แห่งสหรัฐอเมริกา ขณะท�ำสงครามเวียดนาม เมือ่ กองพันเข้าสูส่ นามรบ ก็ถกู ระดมยิงทุกทิศทุกทาง พันโท ฮัล มัวร์ (ยศในขณะนัน้ ) ได้เรียกประชุม หน่วยทหารเพือ่ รับมือกับสถานการณ์ โดยให้นายทหารจ�ำนวนหนึง่ ตรึงก�ำลังไว้ แล้วเชิญนายร้อย ผูบ้ งั คับหมูต่ า่ งๆ นัง่ ประชุมกัน เพือ่ สรุปบทเรียนและวางแผน การรบใหม่ให้กองก�ำลังรอดจากสถานการณ์นใี้ ห้มากทีส่ ดุ ค�ำถามง่ายๆ 3 ข้อ คือ

1. What happened? เกิดอะไรขึน้ 2. What could be? อาจจะเกิดอะไรขึน้ อีก มีความเป็นไปได้อย่างไรบ้าง 3. What should be? เราอยากให้เป็นอย่างไร

ค�ำถามเหล่านีแ้ ม้จะดูงา่ ย แต่ความหมายอยูท่ กี่ ารครุน่ คิด การมองเห็น ตีความ การสังเกตและประเมินสถานการณ์ ซึง่ เป็นคุณภาพในการตอบ เมือ่ ได้คำ� ตอบก็สามารถวางแผนการรบเพือ่ ออกจากสถานการณ์สรู้ บ นัน้ ได้ เช่นเดียวกับหาทางออกจากปัญหานัน้ ได้ กระบวนการ AAR มีการน�ำมาใช้ทงั้ ในทางการทหารและในองค์กร ธุรกิจ รวมไปถึงการท�ำงานภาคสังคม แม้วา่ งานทีท่ ำ� อยูจ่ ะไม่ได้อยูท่ า่ มกลาง สนามรบทีม่ เี รือ่ งความเป็นความตายแบบฉับพลันทันใด แต่กระบวนการนีจ้ ะ ช่วยให้สามารถจับสัญญานบางอย่างของการท�ำงานว่าเมือ่ เกิดเช่นนีข้ นึ้ แล้ว มี แนวโน้มจะเป็นอย่างไรต่อ แล้วสิง่ ทีเ่ ราอยากให้เป็นกับสิง่ ทีเ่ ป็นอยูน่ นั้ จะต้องท�ำ อย่างไรจึงท�ำให้เป็นไปอย่างทีเ่ ราต้องการได้ กระบวนการ AAR สามารถน�ำมาใช้ได้หลังการประชุมแต่ละครัง้ ทีม งานอาจจะมานัง่ คุยกันเพือ่ ถอดบทเรียนและสรุปบทเรียนแต่ละวัน รวมทัง้ วางแผนการท�ำงานในวันถัดไป เพือ่ ให้ทกุ คนเข้าใจสถานการณ์รว่ มกันว่าวันที่ ผ่านมาเกิดอะไรขึน้ บ้าง ทัง้ สิง่ ทีเ่ ป็นปัญหาและสิง่ ดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ แล้วน�ำบทเรียน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

101

นัน้ มาวางแผนท�ำงานต่อให้ได้ตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการ การทบทวนเช่นนี้ หาก มีการจดบันทึกไว้กจ็ ะสามารถถอดออกมาเป็นความรู้ และสามารถน�ำความรูน้ นั้ ไปใช้ในการท�ำงานครัง้ ต่อไปได้ ไม่ตอ้ งลองผิดลองถูกทุกครัง้ ในการท�ำงาน แต่ สามารถยกระดับการท�ำงานให้ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ โดยใช้บทเรียนแต่ละครัง้ ของการ ท�ำงานให้เป็นประโยชน์

ตัวอย่างค�ำถามทีจ่ ะน�ำมาใช้ได้อกี เช่น 1. เราคาดหมายให้เกิดอะไรขึน้ 2. แล้วมีอะไรทีเ่ กิดขึน้ บ้าง 3. สิง่ ทีเ่ ราคาดหมายกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มีอะไรทีแ่ ตกต่างไปบ้าง 4. เราได้เรียนรูอ้ ะไรจากสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ 5. เราจะใช้การเรียนรูข้ องเราในการท�ำงานครัง้ นี้ ไปวางแผน ท�ำงานต่อไปอย่างไร 3. เทคนิคการ์ด

ในการโค้ชทีม บทบาทของโค้ชจะมีมากขึน้ ในส่วนของการเป็นผูเ้ อือ้ อ�ำนวยการสนทนา เครือ่ งมือทีส่ ำ� คัญในการประชุมระดมความคิดก็คอื การใช้ เทคนิคการ์ด เพือ่ ให้ทกุ คนได้ออกความเห็นได้ในเวลาทีจ่ ำ� กัด และเป็นรูปธรรม ทีช่ ดั เจน อย่างไรก็ตาม เทคนิคการ์ดนัน้ จะมีความคล่องตัวถ้าเป็นการประชุม กลุม่ ย่อย แต่ถา้ เป็นการประชุมกลุม่ ใหญ่ จ�ำเป็นต้องมีทมี งานทีช่ ว่ ยรวบรวมประเด็น เทคนิคการ์ด คือการใช้กระดาษทีพ่ อเหมาะในการตอบโจทย์นนั้ ๆ ควร ใช้กระดาษสีเพือ่ แบ่งตามโจทย์ทตี่ งั้ ไว้ ในกรณีทมี่ หี ลายโจทย์ แต่ถา้ โจทย์เดียว จะเป็นแบบคละสีกไ็ ด้ เมือ่ โค้ชตัง้ ค�ำถามเป็นโจทย์ขนึ้ มาให้ชว่ ยกันระดมความคิด หรือความเห็นต่อเรือ่ งต่างๆ ผูเ้ ข้าประชุมก็ใช้ปากกาเมจิกเขียนข้อความตาม ความคิดเห็นของตนเองลงไป เสร็จแล้วเมือ่ โค้ชน�ำมาอ่าน ก็จะมาสรุปออกมา


102

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

เป็นแต่ละประเด็นว่าความคิดเห็นทีเ่ ขียนมาในการ์ดนัน้ ประกอบด้วยประเด็น อะไรบ้าง แผ่นไหนทีแ่ ยกตามประเด็นไม่ได้กแ็ ยกออกมาเป็นประเด็นอืน่ ๆ จาก นัน้ น�ำไปติดไว้บนแผ่นกระดาษแผ่นใหญ่แบ่งตามประเด็นให้เห็นได้ชดั น�ำไปติด ไว้ขา้ งฝา หากในกรณีกม็ กี ารโหวตเลือกประเด็น สามารถใช้วธิ แี จกสติกเกอร์ ให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมน�ำสติกเกอร์ไปแปะในประเด็นทีต่ นเองเลือกหรือเห็นด้วย การใช้เทคนิคการ์ดเหมาะกับการระดมความคิดทีต่ อ้ งการให้ทกุ คนได้ มีสว่ นร่วมอย่างเท่าเทียมกัน เพราะบางครัง้ การพูดอาจจะท�ำให้บางคนผูกขาด การแสดงความคิดเห็น และบางคนไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความเห็น ตรงๆ หรือพูดไม่เก่ง อีกทัง้ ช่วยให้การแสดงความเห็นไม่มขี อ้ จ�ำกัด ไม่จำ� เป็น ต้องใส่ชอื่ ว่าเป็นความเห็นของใครก็ได้ เป็นการน�ำความคิดเห็นมากองรวมกัน ช่วยให้ในทีป่ ระชุมได้ขอ้ มูล ความคิดเห็นทีห่ ลากหลายในเวลาทีจ่ ำ� กัด 11 ส�ำหรับโค้ช การใช้เทคนิคการ์ดอาจจะท�ำให้ได้ความคิดความเห็นของ โค้ชชีท่ โี่ ค้ชไม่เคยได้รบั ฟังมาก่อน และท�ำให้สามารถดูแลคนในทีมได้อย่างทัว่ ถึง ทีส่ ำ� คัญโค้ชต้องช่วยกระตุน้ ให้คนทีไ่ ม่กล้าแสดงความคิดเห็นได้แสดงออกเท่าๆ กับคนอืน่ ๆ ในทีม ตัวอย่างเทคนิคการ์ด

11 การประชุมอย่างสร้างสรรค์ หน้า 108-110


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

103

4. แผนทีค่ วามคิด (Mind mapping)

การใช้แผนทีค่ วามคิดหรือ mind mapping บางคนเรียกสัน้ ๆ ว่า mind map เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทีใ่ ช้ในการประชุมอย่างสร้างสรรค์ หรือการสนทนา กันในกลุม่ ย่อย เครือ่ งมือนีเ้ ป็นแนวคิดของ โทนี บูซาน (Tony Buzan) นักคิด ชาวอังกฤษทีไ่ ด้คน้ คว้าวิจยั เรือ่ งของสมอง แล้วเห็นว่าเมือ่ คนเราเริม่ คิดเรือ่ งใด เรือ่ งหนึง่ ก็จะคิดแตกออกไปเรือ่ ยๆ เป็นกิง่ ก้านสาขา ถ้าเราคิดอย่างเดียวโดย ไม่ทำ� อะไรเลย ความคิดก็จะแวบไป แวบมา ไม่มที ศิ ทางทีแ่ น่นอน จนมีคนกล่าว ไว้วา่ จิตของเราก็ไม่ตา่ งอะไรจากลิงทีอ่ ยูไ่ ม่สขุ สนใจเรือ่ งต่างๆ สลับกันไปมา หากปล่อยให้สมองท�ำงานไปตามธรรมชาติ ความคิดดีๆ ก็จะกระจัดกระจาย ดังนัน้ จึงคิดว่าควรท�ำแผนทีค่ วามคิด ซึง่ เลียนแบบการแตกกิง่ ก้านสาขาเหมือน กับการท�ำงานของสมอง และเป็นเช่นเดียวกับต้นไม้ทแี่ ตกกิง่ ก้านสาขา การบันทึกการประชุมหรือการสนทนาทีม่ คี นพูดกันไปมา เสนอความ คิดกันอย่างหลากหลาย การจะจดจ�ำเรือ่ งราวหรือประเด็นทีแ่ ต่ละคนเสนอก็ ท�ำได้ยาก และขาดความต่อเนือ่ งไม่สามารถปะติดปะต่อเป็นภาพรวมได้ อีกทัง้ ไม่เห็นการเชือ่ มโยงกันของแต่ละประเด็น การใช้แผนทีค่ วามคิดก็เพือ่ ให้ทกุ คนได้แสดงความคิดเห็น และมีการ บันทึกความคิดเห็นไว้ให้เห็นแต่ละประเด็นและภาพรวม และการเชือ่ มโยงของ ประเด็นต่างๆ ได้ สามารถน�ำไปอภิปรายขยายความให้ชดั เจนขึน้ ได้ ประโยชน์ของแผนทีค่ วามคิดในการประชุมและการสนทนานัน้ จะช่วย ทุกคนเห็นประเด็นต่างๆ อย่างถีถ่ ว้ น มองเห็นภาพรวมอย่างชัดเจน เป็นการ สรุปการประชุมร่วมกันทีท่ กุ ความคิดเห็นมีคณ ุ ค่าปรากฎอยูใ่ นแผ่นกระดาษ ท�ำให้ไม่ตกหล่นความคิดดีๆ ของใครคนใดคนหนึง่ และไม่ใช่การสรุปเองทีบ่ าง ครั้งอาจจะเข้าข้างตนเองว่าที่ประชุมได้สรุปไว้แบบนั้นแบบนี้ตามที่ตัวเอง ต้องการ


104

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

ตัวอย่าง Mind mapping

ทักษะส�ำคัญของโค้ชในการท�ำแผนทีค่ วามคิดคือการจับประเด็นและ สรุปประเด็น การจัดหมวดหมูท่ อี่ า่ นแล้วเห็นความเชือ่ มโยงของแต่ละประเด็น ดังนัน้ จึงต้องใช้การฟังอย่างตัง้ ใจ และการท�ำกระบวนการสนทนาให้ทกุ คนได้มี ส่วนร่วมอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียม

กระบวนการสร้างทีม กล่าวกันว่า การสร้างทีมทีด่ ี เริม่ ที่ การเลือกคนทีใ่ ช่เข้ามาในทีม เพราะ การเป็นทีมนัน้ เป็นเรือ่ งของคน เรือ่ งของความสัมพันธ์ระหว่างกัน เพราะ อุปสรรคของการท�ำงานเป็นทีมนัน้ ก็คอื ความขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ ภายในทีม

ความแตกต่างระหว่างการท�ำงานเป็นกลุม่ กับการท�ำงานเป็นทีม ก็คอื


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

105

การท�ำงานเป็นทีมนัน้ เป็นการวางระบบการท�ำงาน มีทศิ ทางทีช่ ดั เจน มีการวางแผนการท�ำงานเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายเดียวกัน ความสัมพันธ์ของคนในทีม จะมีความแน่นแฟ้น การท�ำงานเป็นกลุม่ อาจจะไม่ได้มกี ารวางระบบ ไม่ได้วางทิศทาง ทุกคนขับเคลือ่ นการท�ำงานของตนได้อย่างอิสระ มีความสัมพันธ์แบบหลวมๆ

ความส�ำคัญของการสร้างทีม • ไม่มใี ครสามารถท�ำงานส�ำเร็จได้ดว้ ยตัวเองเพียงคนเดียว ไม่ ว่าเก่งแค่ไหน ในการท�ำงานเพือ่ จัดการปัญหายากๆ หรือการสร้างสรรค์ สิง่ ใหม่ๆ ให้กบั ชุมชนนัน้ เราไม่สามารถท�ำงานส�ำเร็จได้ดว้ ยตัวเอง เพียงคนเดียว ยิง่ ปัญหามีความซับซ้อนยิง่ ต้องการทีมท�ำงานทีม่ คี วาม หลากหลาย • การท�ำงานนัน ้ มีระยะเวลาทีต่ อ้ งท�ำให้สำ� เร็จ ยิง่ ปัญหาเร่ง ด่วนยิง่ ต้องเร่งแก้ แม้เรือ่ งไม่เร่งด่วนแต่กต็ อ้ งมีระยะเวลาในการสร้าง รากฐาน การท�ำงานให้เสร็จทันการณ์ยงิ่ ต้องอาศัยคนเข้ามาร่วมเป็นทีม ท�ำงานเพือ่ ให้งานคืบหน้าลุลว่ งตามแผนทีว่ างไว้ • แต่ละงานต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ความเชีย่ วชาญ จากหลายฝ่าย ทักษะทีต่ า่ งกันจะช่วยกันได้ • การท�ำงานต้องการความคิดริเริม ่ สร้างสรรค์ การช่วยกันหา แนวทาง วิธกี ารใหม่ๆ จะเป็นต้องหาความคิดทีห่ ลากหลายจากคนในทีม

การท�ำงานเป็นทีม (Teamwork) เป็นอย่างไร

1. คนในทีมมีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน มีการพูดคุย ปรึกษา ช่วยเหลือ สือ่ สารการท�ำงานระหว่างกัน การสือ่ สารและความสัมพันธ์ตอ่ กันส�ำคัญมาก หากได้รบั ข้อมูลไม่เท่ากัน ไม่สอื่ สารกัน ก็สง่ ผลต่อความสัมพันธ์ในทีมได้ เพิม่ ความสนิทสนม สานสัมพันธ์ ใส่ใจกันและกัน กระบวนการทีจ่ ะช่วยสร้างความ สัมพันธ์ทมี่ ตี งั้ แต่การละลายพฤติกรรม การสนทนาเพือ่ ท�ำให้รจู้ กั กันมากขึน้ การท�ำกิจกรรมทีม่ คี วามสุขด้วยกัน


106

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

2. คนในทีมมีเป้าหมายเดียวกัน มีเป้าหมายทีต่ อ้ งการท�ำให้สำ� เร็จ ร่วมกัน หัวใจส�ำคัญของการท�ำงานเป็นทีมคือมีเป้าหมายร่วมกันทีช่ ดั เจน หาก เป้าหมายไม่ชดั เจน คนในทีมก็จะไม่รวู้ า่ ท�ำไปท�ำไม ไม่รวู้ า่ ความส�ำเร็จอยูต่ รง ไหน ทีท่ ำ� ไปนัน้ ใช่ทศิ ทางทีจ่ ะไปหรือไม่ ความไม่ชดั เจนต่อเป้าหมายส่งผลต่อ ทิศทางที่จะเดินไปของทีม กระบวนการที่ส�ำคัญของการท�ำให้มีเป้าหมาย เดียวกันคือการสร้างเป้าหมายร่วม ซึง่ เป็นเป้าหมายทีเ่ กิดจากทุกคนในทีม และ ทุกคนในทีมต้องแสดงให้เห็นถึงความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายนัน้ 3. ทีมมีระบบการท�ำงานร่วมกันทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีกติกาการท�ำงาน ร่วมกัน ทุกคนรูว้ า่ ตนเองจะมีสว่ นช่วยเหลือทีมได้อย่างไร เข้าใจบทบาทของ ตนเองและคนอืน่ ทุกคนเป็นส่วนหนึง่ ของทีม หากระบบการท�ำงานในทีมไม่ สมดุล บางคนงานหนัก บางคนแทบไม่มบี ทบาทอะไร ไม่วา่ มากไปหรือน้อยไป ก็มปี ญ ั หาต่อความเป็นทีมได้ การสร้างระบบทีมทีด่ ตี อ้ งมาจากการสนทนากัน อย่างเปิดใจว่าใครมีความสามารถอะไร อยากท�ำอะไร หรือสามารถทีจ่ ะท�ำอะไร ได้ แม้ไม่ได้อยูใ่ นบทบาททีถ่ นัดแต่หากพูดคุยกัน เพือ่ นร่วมทีมก็จะรูว้ า่ จะช่วย เหลือเกือ้ กูลกันอย่างไร และในทีมสามารถแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ารท�ำงานจากกัน และกันได้ ช่วยกันสนับสนุนเพิม่ ศักยภาพของกันและกันได้ ร่วมมือกัน ผลักดัน กันและกัน 4. คนในทีมมีทศั นคติในการท�ำงานไปในทิศทางเดียวกัน เรียกได้วา่ เป็นคนทีม่ อี ะไรคล้ายๆ กัน เช่น เป็นคนมุง่ มัน่ ท�ำงานเหมือนกัน ใจสูไ้ ม่ยอมแพ้ มีความพยายาม ชอบความท้าทาย ไม่กลัวล้มเหลว หากความมุง่ มัน่ ไม่พอก็ ท�ำให้ความเป็นทีมแผ่วลงไปได้ เรือ่ งทัศนคติในการท�ำงานนัน้ ส�ำคัญมากเพราะ มักจะเป็นทีม่ าของความขัดแย้งในทีม จึงต้องมีกระบวนการทีช่ ว่ ยปรับจูนแต่ละ คนให้เข้าใจกันและกัน


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

107

5. จริงใจต่อกัน มีความไว้วางใจต่อกัน เปิดเผย ตรงไปตรงมา ความ ส�ำเร็จของทีมนัน้ วัดกันทีใ่ จ ทุกคนในทีมเปิดใจกัน ยอมรับกันและกัน ตรงไป ตรงมาไม่ออ้ มค้อม ท�ำงานช่วยเหลือกัน ให้การสนับสนุนกันและกัน ไม่ปดิ บัง ข้อมูล ไม่เห็นแก่ตวั ไม่คดิ เล็กคิดน้อย ต้องเห็นประโยชน์สว่ นรวมเป็นทีต่ งั้

ทักษะทีจ่ ำ� เป็นในการสร้างทีม (โดยเฉพาะโค้ชและแกนน�ำในทีม)

• ทักษะการสือ่ สาร ประสานงาน ภายในทีมต้องมีการสือ่ สาร กันสม�ำ่ เสมอ ทัว่ ถึง สร้างความเข้าใจร่วม • ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ มนุษย์สม ั พันธ์ ภายในทีมมี ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน ใส่ใจ ช่วยเหลือเกือ้ กูลดูแลกัน • การเป็นผูน ้ ำ� ภาวะผูน้ ำ� รับผิดชอบในการท�ำงาน มุง่ มัน่ ท�ำงานให้สำ� เร็จ • ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปญ ั หา การตัดสินใจ • การน�ำการประชุมอย่างสร้างสรรค์ น�ำกระบวนการ สรุป ประเด็น น�ำเสนอประเด็น • การบริหารความขัดแย้ง ต้องยอมรับว่าความขัดแย้งนัน ้ เป็น เรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ได้ ไม่ใช่ทกุ ความขัดแย้งจะต้องเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งขจัดออก ไปเท่านัน้ แต่ทำ� อย่างไรให้การแก้ไขความขัดแย้งเป็นไปในเชิงสร้างสรรค์ ให้ความขัดแย้งช่วยเสริมความแข็งแกร่งของทีม ความขัดแย้งมีสอง แบบคือแบบทีต่ อ้ งรีบระงับ กับแบบทีจ่ ะช่วยเสริมประสิทธิภาพในการ ท�ำงาน ความแตกต่างทางความคิดอาจจะท�ำให้เกิดความขัดแย้งกันได้ แต่การคิดต่างกันก็ทำ� ให้เกิดการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ได้ อาจท�ำให้ได้ ทดลองสิง่ ใหม่ๆ หรือท�ำให้ทมี ได้เรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ ทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม


สิ่งที่โค้ชควรทำ�และไม่ควรทำ�

สิ่งที่โค้ชควรทำ�

สิ่งที่โค้ชไม่ควรทำ�

ชวนคุยไปเรื่อยๆ ไม่มี มีกระบวนการสนทนาที่สร้างสรรค์ วางเป้าหมายในการสนทนา ใส่ใจทั้งการพูด เป้าหมายการสนทนา และการฟัง โดยเฉพาะการฟังที่ต้องได้ยิน ฟังบ้างไม่ฟังบ้าง ในสิ่งที่ผู้รับการโค้ชไม่ได้พูดออกมา มุ่งการสนทนาไปแต่เฉพาะประเด็น ผู้รับการโค้ชมีส่วนร่วมในการกำ�หนด ประเด็นการสนทนา สิ่งที่อยากจะโฟกัสใน ปัญหาและใจร้อนชวนกระโดด การสนทนาแต่ละครั้ง และให้เวลาในการ เข้าไปแก้ปัญหาทันที สนทนาให้เข้าใจตรงกันในประเด็นนั้นๆ ให้ผู้รับการโค้ชสามารถหาทางออกได้ด้วย ตัวเอง และอาจจะเป็นหนทางที่เหมาะสม กับการใช้ศักยภาพของผู้รับการโค้ชมากกว่า ทางออกที่โค้ชคิดไว้ แม้โค้ชจะรู้ว่าควรแก้ ปัญหาอย่างไร ให้ความสนใจกับสถานการณ์ปัจจุบันของ ไม่อัพเดทสถานการณ์ ไม่สนใจ ผู้รับการโค้ช และถามความคิดเห็นต่อเรื่อง ว่าปัจจุบันผู้รับการโค้ชคิดอย่างไร ราวนั้นๆ เตือนตนเองให้รับฟังผู้รับการโค้ช เมื่อเจอกันก็ชี้แนะแนวทางทันที ก่อนเสมอ แม้ว่าโค้ชจะรู้สถานการณ์มาบ้าง ใช้คำ�ถามที่เปิดกว้าง คำ�ถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้รับการโค้ชได้ครุ่นคิด แสดงความ คิดเห็น แสดงเหตุผลและมุมมองต่างๆ ใช้การฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อเข้าใจมุมมองและ เรื่องราวที่แท้จริงที่ผู้รับการโค้ชพยายาม จะบอก โดยเฉพาะการโค้ชทีม โค้ชจะรับ ฟังในสิ่งที่ผู้รับการโค้ชทุกคนในทีมอยาก จะบอก

ใช้คำ�ถามที่เป็นการถามนำ� คำ�ถาม ปลายปิด เพราะอยากให้ผู้รับการ โค้ชตอบตามที่โค้ชอยากได้ยิน ฟังเพื่อหาข้อมูลที่ตรงใจโค้ชหรือ สนับสนุนมุมมองของโค้ชเอง และ ฟังบางคนที่พูดตรงกับมุมมองของ โค้ชเท่านั้น


คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

109

สิ่งที่โค้ชควรทำ�

สิ่งที่โค้ชไม่ควรทำ�

สังเกตสิ่งที่ผู้รับการโค้ชไม่ได้พูด ออกมา เช่น ความรู้สึก โค้ชต้องอ่าน ภาษากาย ท่าที น�้ำเสียง เพื่อให้รู้ว่าผู้รับ การโค้ชรู้สึกอย่างไร สิ่งที่พูดออกมานั้นเป็น ความรู้สึกที่แท้จริงของผู้รับการโค้ชหรือ เปล่า ไม่ด่วนสรุปจากสิ่งที่ได้ยินเท่านั้น

สรุปจากสิ่งที่ได้ยินและพูดคุยกัน เฉพาะเรื่องที่ผู้รับการโค้ชพูดออก มาเท่านั้น เรื่องไหนที่ไม่พูดออกมา ก็ไม่ให้ความสนใจ ให้ความสำ�คัญแต่สิ่งที่ได้ยินเท่านั้น

เชื่อมั่นว่าผู้รับการโค้ชมีศักยภาพและ สามารถมองเห็นศักยภาพของผู้รับการโค้ช ได้ พร้อมทั้งให้เวลาช่วยให้ผู้รับการโค้ชมอง เห็นศักยภาพของตนเองด้วยการตั้งคำ�ถาม กระตุ้นความคิด เสริมพลัง ไม่ปล่อยให้ผู้รับการโค้ชรู้สึกไม่มั่นใจ จิตตก มองเห็นแต่ข้อบกพร่องของตนเอง เปิดโอกาสให้ผู้รับการโค้ชได้พูดเกี่ยวกับ ความเห็นในการแก้ปัญหาของตนเอง ให้ วางแผนและค้นหาวิธีการด้วยตัวเอง หากเป็นทีมก็ให้เวลากับกระบวนการระดม ความคิดเพื่อช่วยกันหาทางออกของปัญหา สนับสนุนให้ผู้รับการโค้ชคิดหาทางออกหรือ ทางเลือกต่างๆ อย่างน้อย 3 ทาง ก่อน การวางแผนเพื่อลงมือปฏิบัติการ ในช่วง ของการคิดวิเคราะห์เพื่อหาทางออกหรือ ออกแบบการทำ�งาน การคิดหาทางออกไว้ หลายๆ ทาง จะช่วยให้ผู้รับการโค้ชค้บพบ ทางออกที่เหมาะสม

ได้ยินหรือมองเห็นแต่ข้อบกพร่อง ของผู้รับการโค้ช ไม่ให้เวลากับการ ค้นหาศักยภาพของผู้รับการโค้ช มุ่งแต่จะแก้หรือเติมศักยภาพ โดย ไม่สนใจว่าจริงๆ แล้วผู้รับการโค้ชมี ศักยภาพที่ซ่อนอยู่ โค้ชให้ความเห็นเอง เป็นคนพูดเสีย ส่วนใหญ่ว่าควรแก้ปัญหาอย่างไร โดยโค้ชใช้ประสบการณ์ของตนเอง มาบอกวิธีการ เพราะต้องการแก้ ปัญหาให้สำ�เร็จโดยเร็ว เร่งรัดให้ผู้รับการโค้ชคิดหาทางออก และรีบสรุปเพื่อให้ลงมือปฏิบัติการ ทั้งๆ ที่เพิ่งจะค้นหาทางออกแรกได้ เท่านั้น


110

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

สิ่งที่โค้ชควรทำ� ให้ผู้รับการโค้ชประเมินศักยภาพและความ พร้อมของตัวเองก่อนลงมือปฏิบัติการ โดยใช้กระบวนการที่ช่วยให้ผู้รับการโค้ชได้ มองเห็นและประเมินตนเองว่าอยู่ในขั้นตอน ใดของการเปลี่ยนแปลงหรือการทำ�งาน ในเรื่องนี้ โค้ชให้ความสนใจในเรื่องของพัฒนาการ และการเติบโต (growth) ในด้านต่างๆ ของผู้รับการโค้ช ติดตามการทำ�งานของผู้รับการโค้ช เพื่อ กระตุ้นความรับผิดชอบและเพื่อให้การ สนับสนุนผู้รับการโค้ช ก�ำหนดช่วงเวลาเพื่อพูดคุยกันสม�่ำเสมอ เกี่ยวกับพัฒนาการและโอกาสในการเติบโต ของผู้รับการโค้ชในอนาคต แนวโน้มต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากการท�ำงานของผู้รับการโค้ช ให้ผู้รับการโค้ชได้มองเห็นความก้าวหน้า หรือการเปลี่ยนแปลงทั้งในตัวเองและในสิ่ง ที่ผู้รับการโค้ชลงมือสร้างการเปลี่ยนแปลง

สิ่งที่โค้ชควรทำ� กดดันให้ผู้รับการโค้ชต้องลงมือ ปฏิบัติการทันทีโดยยังไม่รู้ว่าตนเอง มีศักยภาพที่จะทำ�ได้หรือไม่

สนใจแต่เรื่องของความคืบหน้า ของงานหรือกิจกรรมเท่านั้น เมื่อวางแผนเพื่อปฏิบัติการแล้วก็ ปล่อยให้ผู้รับการโค้ชลงมือทำ�เอง โดยไม่ได้ติดตามสนับสนุน ไม่สนใจพัฒนาการ โอกาส หรือ แนวโน้มความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด ขึ้นจากการทำ�งานของผู้รับการโค้ช หรือพูดถึงความก้าวหน้าของงาน บ้างนานๆ ครั้ง


หนังสือและแหล่งข้อมูลประกอบการเขียน กรรณจริยา สุขรุง่ และ ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ.์ เล็กก็ลม้ ใหญ่ได้ ถ้าใจถึง: พิมพ์ครัง้ ที่ 1 กรุงเทพฯ : สถาบัน การเรียนรูแ้ ละพัฒนาประชาสังคม, 2558 กรรณจริยา สุขรุง่ , ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ และสุภาพ สิรบิ รรสพ. เมล็ดพันธุช์ วี ติ บูรณาการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3 กรุงเทพฯ : ตถาดา,2555 ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ และ ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์. การประชุมอย่างสร้างสรรค์ ศิลปะแห่งการสร้างพลัง เพือ่ การเปลีย่ นแปลง: พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: สถาบันการเรียนรูแ้ ละพัฒนาประชาสังคม, 2547 เบริต เลกี้ และคณะ. ล่องแพในกระแสเชีย่ ว บ่มเพาะภาวะผูน้ ำ� การน�ำและแนวทางสร้างองค์กรในห้วงยาม ความเปลีย่ นแปลง: พิมพ์ครัง้ ที่ 1 กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ของเรา,2558 ประเวศ วะสี. ยุทธศาสตร์ อบต. จุดเปลีย่ นประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ,2551 ปิยนาถ ประยูร. วิธคี ดิ กระบวนระบบ: พิมพ์ครัง้ ที่ 2, กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสร้างการเรียนรูเ้ พือ่ ชุมชน เป็นสุข (สรส.), 2548. ปีเตอร์ เซงเก้ และคณะ. โรงเรียนแห่งการเรียนรู:้ แปลโดย กิตติพล เอีย่ มกมล. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์ สวนเงินมีมา, 2560 มาร์กาเร็ต เจ. วีตเลย์. หันหน้าเข้าหากัน. แปลโดย บุลยา. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์สวนเงินมีมา, 2549 เอกสารประกอบการอบรม การเป็นโค้ชและกัลยาณมิตร. โครงการภาวะผูน้ ำ� องค์กรสมัยใหม่.สถาบันการ เรียนรูแ้ ละพัฒนาประชาสังคม,2560 เอมิลี เอสฟาฮานี สมิธ. อะไรท�ำให้ชวี ติ คนเรามีความหมาย. แปลโดย อรวรรณ คูหเจริญ นาวายุทธ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์โอ้มายก้อด,2560 เอกสารออนไลน์ ธาดา เศวตศิลา. http://coachthada.com/โค้ช-coach-คืออะไร/ ดร.เมธยา ป้อมสุวรรณ. โค้ชชีวติ (Life Coach). https://www.livingwisecoaching.com/ http://www.smartcoachthailand.com/what-is-coaching/ ศศิมา สุขสว่าง. https://www.hcdcoaching.com/17013723/การโค้ชคืออะไร-what-is-coaching การโค้ชนักกีฬา. https://th.wikipedia.org/wiki/ผูฝ้ กึ สอน https://coachbee.wordpress.com/2013/05/27/the-spirit-of-coaching-part2 https://thaiappreciative.wordpress.com/2017/01/31/การโค้ช https://thaiappreciative.wordpress.com/2017/01/31/


112

คูม่ อื การโค้ชเพือ่ พัฒนาทีมชุมชน

คนที่ต่างภารกิจ ต่างวัฒนธรรมองค์กร มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการทำ�งาน ในหน้าที่ของตนมาพอสมควร เราจะทำ�อย่างไร หรือมีกระบวนการอย่างไร ให้เขาเหล่านี้รู้สึกตระหนักต่อปัญหา เห็นเป้าหมายร่วม แล้วอยากลุกขึ้นมาทำ�บางอย่าง เพื่อจัดการกับปัญหานั้นร่วมกัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.