ทีมมีฝัน โค้ชด้วยใจ
แนวทางการเป็นโค้ช
ทีมกลไก
เพื่อให้ชุมชนเป็นพื้นที่เหมาะสม ในการเลี้ยงดูเด็ก ผูเ้ ขียน ปิยนาถ ประยูร หนูเพียร แสนอินทร์ บรรณาธิการ กรรณจริยา สุขรุง่
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ : ถอดบทเรียนการโค้ช เพือ่ พัฒนาทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบลเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัว บรรณาธิการหนังสือ และกระบวนกรถอดบทเรียน คณะผูเ้ ขียน ออกแบบปกและรูปเล่ม ดูแลการผลิต พิมพ์ครัง้ ที่ 1 เดือนตุลาคม 2563
ทีป่ รึกษาโครงการ ทีมมูลนิธเิ ครือข่ายสุขภาพ (HealthNet) ทีมโค้ช ประเมินภายใน ทีมถอดบทเรียน จัดพิมพ์และเผยแพร่ สนับสนุนโดย
กรรณจริยา สุขรุง่ ปิยนาถ ประยูร, หนูเพียร แสนอินทร์ หนูเพียร แสนอินทร์ Media by fiends
ดร.พูลสุข ศิรพิ ลู , ฐาณิชชา ลิม้ พานิช, จิตติมา ภาณุเตชะ ทิพวัลย์ โมกภา, ศักดิช์ ยั ไชยเนตร, ธวัลพร สิรวิ ารินทร์, ธงชัย พันธ์มกร, ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว, อัจฉรา ทาท่าหว้า เมธาวี นินนานนท์, มนัส ปลีกชัยภูม,ิ ราตรี จูมวันทา, พรรณงาม หวายเค, จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์, ณัฏฐ์ นงภา, เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ, อิฐธิชยั ก๊กศรี, ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว จิตติมา ภาณุเตชะ ปิยนาถ ประยูร, หนูเพียร แสนอินทร์, กรรณจริยา สุขรุง่ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ ส�ำนักงานภาคอีสาน 9/32 หมูบ่ า้ นพิมานธานี ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
คำ�นำ�จากโครงการ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ (HealthNet) ส�ำนักงานภาคอีสาน ได้รบั การสนับสนุนการด�ำเนินงานจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (ส�ำนักสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว - ส�ำนัก 4) ระหว่างปี พ.ศ.25622563 นัน้ เพือ่ ด�ำเนินงานภายใต้โครงการพัฒนากลไกท้องถิน่ เพือ่ สนับสนุน สุขภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว โดยมีเป้าหมายหลัก เพือ่ เด็กปฐมวัยใน ชุมชน ได้รบั การดูแลตามพัฒนาการตามวัยอย่างเหมาะสม ส�ำหรับแนวทาง การด�ำเนินงานภายโครงการฯ ได้เน้นกระบวนการพัฒนาโค้ชพีเ่ ลีย้ ง สานพลัง ของเครือข่ายฯและเชือ่ มประสานงานและสนับสนุนให้เกิดทีมกลไกท้องถิน่ โดย มีสดั ส่วนของหน่วยงานท้องถิน่ (อปท.) หน่วยงานด้านสาธารณสุข (รพ.สต.) และท้องที่ ผูน้ ำ� ชุมชน อสม. ศพค. ศพด. และสภาเด็กฯ ให้พร้อมด้านแนว ความคิดในการท�ำงานด้านเด็กปฐมวัยและครอบครัวเป็นส�ำคัญ และความ พร้อมในการร่วมมือร่วมใจกันในการออกแบบและวางแผนการท�ำงานร่วมกัน อย่างเป็นระบบและเป็นเครือข่ายฯ ดังนัน้ เอกสาร ถอดบทเรียน ภายใต้โครงการฯ จะท�ำให้ผทู้ สี่ นใจการ ท�ำงานกับเด็กปฐมวัยและครอบครัวได้อา่ นและศึกษาในครัง้ นี้ ได้เห็นแนวคิด และการกระบวนการท�ำงานภายใต้โครงการฯ ของมูลนิธิพัฒนาเครือข่าย สุขภาพ (HealthNet) ในการสนับสนุนทีมโค้ชพีเ่ ลีย้ ง ทีมกลไกท้องถิน่ โดย การใช้เครื่องมือและทักษะต่างๆ ที่หลากหลายที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นของการ ท�ำงาน และจะได้เรียนรูแ้ ละท�ำความเข้าใจผ่านกระบวนการสร้างทีมกลไก ชุมชน เพือ่ สนับสนุนเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทีส่ ามารถน�ำไปประยุกต์และ ใช้กบั การท�ำงานในพืน้ ทีข่ องท่านอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึน้ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ ส�ำนักงานภาคอีสาน
จากใจบรรณาธิการ ในฐานะผู้ชวนคุยถอดบทเรียนเพื่อสร้างความรู้จากประสบการณ์ การท�ำงาน สิง่ ทีด่ ฉิ นั สนใจใคร่คน้ หาในล�ำดับต้นๆ คือ แรงบันดาลใจของผูค้ น ทีร่ ว่ มโครงการ ทัง้ ทีมโค้ช ทีมกลไกชุมชน -- พวกเขารูส้ กึ อะไร ท�ำไมจึงตัดสินใจ เข้าร่วมท�ำโครงการนี้ อะไรคือความหมายของงานทีพ่ วกเขาพบระหว่างการ ท�ำงาน ส�ำหรับดิฉันแล้ว แรงบันดาลใจ ความหมายของงานและชีวิต และ คุณภาพของความสัมพันธ์ในทีม คือ ตัวชีว้ ดั ความส�ำเร็จทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ดิฉนั และ ทีมมีหน้าทีฟ่ งั ให้เห็นค�ำตอบทีม่ าจากหัวใจ มากกว่าค�ำตอบทีถ่ อดออกมาจาก วัตถุประสงค์โครงการในกระดาษหรือหน้าจอ “ทีแรก ตอนเขามาชวนร่วมท�ำ โครงการ ก็คดิ ว่าคงเหมือนโครงการอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามานัน่ แหละ จบโครงการก็จบ ไป หมดงบก็เลิกไป ไม่ทำ� ต่อเนือ่ ง ไม่ได้อะไร เสียเวลา ผลาญงบเปล่าๆ ไม่ ค่อยอยากร่วมท�ำด้วยหรอก ท�ำไปงัน้ ๆ แต่เมือ่ ทีมโครงการและทีมโค้ชมาหา เราสม�ำ่ เสมอ ชวนคิด ชวนคุย ชวนท�ำ ถามความเห็นพวกเรา เลยรูส้ กึ ว่า นี่ เขาเอาจริง! รูส้ กึ ดีและเอาด้วยเต็มที”่ “ชีวติ วัยเด็กยากล�ำบาก ไม่มขี องเล่น ไม่ได้เรียนสูง เลยอยากให้ลกู หลานในชุมชนเราได้มโี อกาสทีเ่ ราไม่มี .... เคยเห็นจิตอาสาดูแลเพือ่ นทีป่ ว่ ย เราประทับใจรูส้ กึ ว่า ถ้ามีโอกาสเราอยากท�ำอะไรดีๆ เพือ่ คนอืน่ บ้าง” “เจ้าหน้าทีร่ ฐั หรือคนอืน่ ทีเ่ ข้ามาท�ำโครงการในชุมชน เขามาแล้วก็ไป แต่ พวกเราต้องอยูท่ นี่ ี่ เพราะทีน่ เี่ ป็นบ้านเกิดและชุมชนของเรา เราต้องลุกขึน้ มา ท�ำเพือ่ ชุมชนของตัวเอง ท�ำให้ลกู หลานเห็นเป็นตัวอย่างเพือ่ วันข้างหน้า พวก เขาจะได้ทำ� งานเพือ่ ชุมชนอย่างทีพ่ วกเราท�ำให้เขาในวันนี”้
เสียงสะท้อนเหล่านีท้ ำ� ให้หวั ใจดิฉนั พองโต ไม่เพียงเพราะถ้อยค�ำภาษา แต่เพราะแววตาทีท่ อประกาย น�ำ้ เสียงหนักแน่น และสีหน้ามุง่ มัน่ ทีส่ อื่ ให้ผฟู้ งั รับรูไ้ ด้วา่ งานนีเ้ ป็นมากกว่าโครงการ แต่เป็นงานของชีวติ อย่างทีค่ นในหลายชุมชนสะท้อน ทีผ่ า่ นมา พวกเขาถูกลดทอนเป็นเพียง “ติง่ ” หรือ “หางเครือ่ ง” ทีต่ อ้ งเต้นไปตามจังหวะนโยบาย โครงการ และเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ขององค์กรในระบบราชการ ธุรกิจ และองค์กรพัฒนาเอกชน พวกเขา ไม่ได้ทำ� สิง่ ทีฝ่ นั อยากท�ำ ไม่ได้เป็นสิง่ ทีอ่ ยากเป็นและเป็นได้ ไม่ได้เรียนรูส้ งิ่ ส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้พวกเขายกระดับชีวติ ตนเอง การขาดโอกาสเหล่านีเ้ องทีท่ ำ� ให้ พวกเขาหมดพลัง และจมจ่อมอยูก่ บั วังวนของปัญหาอย่างสิน้ หวัง ทว่า ในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา โครงการพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุขภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว ออกแบบแนวทางและกระบวนการ การด�ำเนินงานทีช่ ว่ ยฟืน้ พลังใจ ปลุกไฟฝัน และสานพลังความร่วมมือให้กบั ผูค้ นในพืน้ ทีน่ ำ� ร่อง 5 ชุมชน -- ชาวบ้านผูม้ จี ติ อาสา เจ้าหน้าทีส่ ว่ นท้องถิน่ ครู แพทย์ และ อสม. จาก รพ.สต. เยาวชน ฯลฯ ทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน เรียน รูพ้ ฒ ั นาศักยภาพไปด้วยกัน ล้อมวงพูดคุยระดมสมอง หลอมหัวใจ และร่วม แรงลงมือท�ำกิจกรรมต่างๆ โดยมีเป้าหมายร่วมทีจ่ ะน�ำรอยยิม้ กลับมาให้เด็กๆ และครอบครัวทีเ่ ผชิญความยากล�ำบาก แก้ปญ ั หาเช่นยาเสพติด เด็กติดเกม เพือ่ สุดท้ายจะช่วยยกระดับความสุขในชุมชน ถึงแม้ในระยะต้นของการท�ำงานโครงการจะยังไม่ปรากฏผลเชิงรูปธรรม ชัดเจน แต่หากมีปจั จัยตัง้ ต้นทีส่ ำ� คัญ --- แรงบันดาลใจ ความหมายของงานกับ ชีวติ และคุณภาพความสัมพันธ์ในทีมหรือชุมชน – ก็เชือ่ ได้วา่ ผลทีป่ รารถนา จะเกิดขึน้ อย่างแน่นอน และอาจจะมากกว่าทีว่ างเป้าหมายไว้ดว้ ยซ�ำ้ โลกปัจจุบนั พลิกผันและเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา การแก้ปญ ั หาหรือสร้าง โอกาสใหม่ๆ ต้องเกิดขึน้ ในจุดเล็กๆ ทีร่ บั รูก้ ารเปลีย่ นแปลงและมีศกั ยภาพใน
การปรับตัวให้ทนั สถานการณ์อยูเ่ สมอ ตรงนีเ้ องที่ ชุมชนคือค�ำตอบของโลก สมัยใหม่และโลกประชาธิปไตย เนือ่ งจาก... คนในชุมชนย่อมปรารถนาทีจ่ ะพัฒนาชีวติ ตนเอง ครอบครัวและชุมชน เพราะเขาเป็นผูไ้ ด้รบั ประโยชน์หรือเสียประโยชน์โดยตรงจากสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ คนในชุมชนมีต้นทุนชีวิต มีศักยภาพพอที่จะเรียนรู้และสร้างการ เปลีย่ นแปลงทีด่ ขี นึ้ ให้ชมุ ชน ทีส่ ำ� คัญ คนในชุมชนอยูก่ บั ความเป็นจริงในพืน้ ที่ สัมผัสรับรูป้ ญ ั หาอยู่ ทุกเมือ่ เชือ่ วัน พวกเขามีขอ้ มูลรูจ้ กั พืน้ ทีแ่ ละผูค้ นในชุมชนดี ในขณะทีภ่ าครัฐ ส่วนกลาง องค์กรธุรกิจต่างๆ และคนภายนอกอยูไ่ กลจากปัญหา ไม่อาจเท่าทัน การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ เมือ่ จะช่วยคิดวางแผนแก้ปญ ั หาของชุมชนในวัน นี้ กว่าจะได้ลงมือท�ำ ผ่านระบบระเบียบต่างๆ ปัญหาก็ลำ�้ หน้าไปไกลแล้ว บทพิสจู น์ทเี่ ห็นชัดในเรือ่ งนีค้ อื ในช่วงสถานการณ์โรคระบาดโควิด - 19 ที่ ทัง้ 5 พืน้ ทีน่ ำ� ร่องของโครงการเข้าไปดูแลและช่วยเหลือคนในพืน้ ทีไ่ ด้ทวั่ ถึง รวดเร็ว และเหมาะสมกับสภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เช่น ทีมชุมชนกะฮาดลงพืน้ ที่ แล้วเห็นว่าหน้ากากอนามัยทีท่ างส่วนกลางแจกจ่ายมานัน้ ไม่เหมาะกับเด็กเล็ก จึงระดมคนในชุมชนมาช่วยกันเย็บหน้ากากส�ำหรับเด็กเล็ก หรือการแจกจ่าย ข้าวของจ�ำเป็นให้เหมาะสมกับความต้องการของครอบครัวทีแ่ ตกต่างกัน ทีม ชุมชนรูจ้ กั คนในพืน้ ทีด่ จี งึ แจก “ถุงยังชีพ” ตามความจ�ำเป็นของแต่ละครอบครัว ครอบครัวขนาดเล็กและมีปจั จัยมากพอก็อาจได้รบั แจกของน้อยหน่อย เพือ่ ไป เจือจานให้ครอบครัวทีข่ าดแคลนมากกว่า เป็นต้น ดิฉนั ได้เคยอ่านข้อเขียนชือ่ “เก้าอี้ 4 ขา” ของ จอหน์ แมคไนท์ ผูว้ จิ ยั เรือ่ งภาคประชาสังคมในอเมริกา ทีก่ ล่าวถึงสมดุลของประชาธิปไตยว่าต้อง ประกอบด้วยเก้าอี้ 4 ขา คือ 1) ภาครัฐ 2) ภาคธุรกิจ 3) ภาคประชาสังคม
และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) และ 4) ภาคพลเมืองทีร่ วมตัวกันเป็นกลุม่ เพือ่ ดูแลชุมชนของตนเอง ทัง้ 4 ขา ต้องท�ำงานไปด้วยกัน เสมอกัน แข็งแรง ไปด้วยกัน เก้าอีส้ งั คมประชาธิปไตยจึงจะมัน่ คง ทัง้ นี้ รัฐ เอกชน และองค์กรพัฒนาต่างๆ ต้องปรับทัศนคติและท่าทีวา่ ผูท้ รี่ ดู้ ที สี่ ดุ และมีพลังในการแก้ปญ ั หาและสร้างการเปลีย่ นแปลงก็คอื ผูท้ อี่ ยูก่ บั ปัญหา และเปิดทางให้คนในชุมชนได้เป็นเจ้าของพืน้ ทีอ่ ย่างแท้จริง ทัง้ 3 ภาค ส่วนดังกล่าวต้องปรับบทบาทตัวเองจากผูส้ งั่ การ ผูก้ ำ� หนด ผูว้ างแผนออกแบบ แทนชุมชน มาเป็น “โค้ช” (coach) หรือ “ผูอ้ ำ� นวยความสะดวก” (facilitator) สนับสนุนและเติมเต็มสิง่ ทีแ่ ต่ละชุมชนขาด (ตามบริบทพืน้ ทีท่ ตี่ า่ งกัน) ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งความรู้ การพัฒนาศักยภาพ งบประมาณ ทุน เชือ่ มเครือข่าย กระบวนการเรียนรูแ้ ละท�ำงานร่วมกันเป็นชุมชน การตลาด ฯลฯ นีค่ อื สิง่ ทีด่ ฉิ นั เห็นในโครงการนี้ – กระบวนการทีก่ ำ� ลังบ่มเพาะความเข้มแข็ง ให้เก้าอีข้ าที่ 4 ภาคประชาชน ได้ยนื อย่างมัน่ คงและมัน่ ใจ ทีมโค้ชในแต่ละพืน้ ทีช่ ว่ ยเชือ่ มประสานผูค้ นทีเ่ ป็นต้นทุนส�ำคัญในชุมชน ให้รว่ มมือกันท�ำงานภายใต้ชอื่ “ทีมกลไกชุมชน” บนความหลากหลายและ กระบวนการเรียนรูแ้ ละสนทนาอย่างมีสว่ นร่วม ก่อเกิดเป็นความสัมพันธ์ที่ เข้าอกเข้าใจ ความรูส้ กึ ผูกพัน “มีเพือ่ นและไม่โดดเดีย่ ว” ความรูส้ กึ ร่วมเป็น เจ้าของและรับผิดชอบผลทีเ่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะผลส�ำเร็จหรือผลกระทบทีเ่ ป็นปัญหา ร่วมกัน ผูค้ นในชุมชนได้ยนิ เสียงของกันและกัน ได้รว่ มกันส�ำรวจและวิเคราะห์ ปัญหาความเป็นจริงในพืน้ ที่ ได้รว่ มกันคิดระดมความเห็นเพือ่ หาทางแก้ปญ ั หา ได้ทำ� กิจกรรม เรียนรูแ้ ละพัฒนาศักยภาพไปด้วยกัน การท�ำลานเล่นที่ไม่เคยมีในชุมชน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเด็ก ติดมือถือ ความรูส้ กึ แน่นแฟ้นผูกพันในชุมชน ฯลฯ อาจจะเป็นชัยชนะเล็กๆ
ของทีมกลไกชุมชน แต่หากได้ท�ำเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่องแล้ว แนวคิดใหม่ๆ กิจกรรมใหม่ๆ ก็จะเกิดขึน้ ตามมา งอกงามตามการเรียนรูข้ องทีม ความมัน่ ใจในศักยภาพตนเองและทีม ความเชือ่ ใจและผูกพันในชุมชน ความรูแ้ ละทักษะทีม่ โี ดยเฉพาะในกระบวนการสนทนาอย่างมีสว่ นร่วม เหล่านี้ เป็นพลังส�ำคัญให้ทมี ชุมชนได้ขยับขยายการท�ำงานจากประเด็นเด็กปฐมวัยไป สูป่ ระเด็นปัญหาอืน่ ๆ ของชุมชนได้อกี ด้วย อย่างทีห่ ลายคนพูดว่า “แม้จะไม่มงี บ ไม่มีโครงการ ก็จะท�ำสิ่งที่ฝันและวางแผนกันไว้ .. อยากลุกขึ้นมาท�ำ กระบวนการเรียนรูใ้ ห้คนในชุมชน...” จากเด็กทีค่ ลาน พูด เดิน วิง่ เริม่ ช่วยเหลือดูแลตัวเอง จนกลายเป็น ผูใ้ หญ่ทสี่ ามารถแบ่งปันช่วยเหลือคนอืน่ ๆ ได้ ต้องอาศัยระยะเวลาและปัจจัย สนับสนุนมากมาย การท�ำงานโครงการทางสังคมเป็นงานทีท่ ำ� กับระบบทีม่ ชี วี ติ ท�ำกับมนุษย์ โดยมนุษย์ และเพือ่ มนุษย์ ก็ตอ้ งการเวลาและปัจจัยทีเ่ หมาะสมอ ย่างต่อเนือ่ งเช่นกัน งานสนับสนุนสุขภาวะเพือ่ เด็กและครอบครัวจึงเป็นงานที่ ต้องเพียรท�ำตลอดชีวติ และทัง้ ชีวติ ไม่เพียงเพือ่ ชีวติ ของเด็กในครอบครัวหรือ ชุมชนใดชุมชนหนึง่ แต่เป็นชีวติ ของสังคมทัง้ ในวันนีแ้ ละวันหน้า กรรณจริยา สุขรุง่
คำ�นำ�จากผูเ้ ขียน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทีมงานถอดบทเรียนได้เรียนรู้กระบวนการ เทคนิคและเครือ่ งมือการท�ำงานหลายอย่างผ่านกระบวนการจัดอบรม แน่นอนว่า นีเ่ ป็นต้นทุนของทีมทีไ่ ด้จากการเป็นทีมจัดกระบวนการเรียนรูก้ บั อาจารย์ ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ วิทยากรกระบวนการด้านพัฒนาศักยภาพ จากประสบการณ์ทำ� ให้เราได้เรียนรูว้ า่ กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นการฝึก อบรมนัน้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ของการพัฒนาศักยภาพของแต่ละคน และไม่มใี คร เก่งขึน้ มาได้เพียงเพราะได้เข้ามาอยูใ่ นห้องฝึกอบรม แต่เก่งขึน้ ได้เพราะน�ำสิง่ ที่ ได้จากการฝึกอบรมนัน้ ไปปรับใช้กบั การท�ำงานจริง และพัฒนาการเรียนรูข้ อง ตนเองเพือ่ ท�ำงานให้ดยี งิ่ ขึน้ ประสบผลส�ำเร็จได้มากขึน้ จากการลงมือท�ำนัน้ ทีมถอดบทเรียนเองก็เรียนรูผ้ า่ นกระบวนการลงมือท�ำเช่นกัน เราท�ำ กระบวนการถอดบทเรียนให้กบั คนหลายกลุม่ ใช้เครือ่ งมือในการถอดบทเรียน หลายเครือ่ งมือ เทคนิค กระบวนการทีไ่ ด้เรียนรูม้ า ท�ำให้เราอยากท�ำกระบวนการ ถอดบทเรียนให้ดยี งิ่ ขึน้ ท�ำให้เห็นผลชัดเจนขึน้ ให้เป็น “บทเรียน” ทีส่ ามารถ น�ำไปใช้พฒ ั นายกระดับขึน้ ไปได้อกี เราเฝ้าสังเกตการเรียนรูแ้ ละถอดบทเรียน ของคนลงมือท�ำในแต่ละโครงการ ทัง้ สิง่ ทีเ่ ขาได้เรียนรูร้ ะหว่างการลงมือท�ำ ทัง้ สิง่ ทีเ่ ขาได้พดู และไม่ได้พดู ออกมา สิง่ ทีเ่ รามองเห็นพัฒนาการของแต่ละคนที่ ลงมือท�ำ และอีกเช่นกัน ทีมได้เคยเขียนเอกสารถอดบทเรียนออกมามากมาย ทัง้ ที่ ได้รบั การตีพมิ พ์เป็นหนังสือ ทัง้ ทีเ่ ผยแพร่ผา่ นสือ่ ออนไลน์ ทัง้ ทีเ่ ป็นเอกสารที่ ทีมไม่อาจรูไ้ ด้วา่ จะมีการน�ำไปใช้ประโยชน์ตอ่ หรือไม่ แต่ทกุ ครัง้ ทีล่ งมือเขียนงาน
เราได้พฒ ั นาตนเองเพิม่ ขึน้ เราเห็นความแจ่มกระจ่างในความคิดของเรามากขึน้ มองเห็นสิง่ ทีต่ วั เราเองได้เรียนรูช้ ดั เจนยิง่ ขึน้ แต่กย็ งั ไม่ใช่เป้าหมายของเรา เพราะสิง่ ทีเ่ ราท�ำนัน้ เราอยากให้เป็นประโยชน์ทงั้ ต่อตัวเราและผูอ้ นื่ เราอาจบอกไม่ได้วา่ สิง่ ทีค่ นเราได้เรียนรูแ้ ล้วนัน้ เขาจะน�ำไปพัฒนาการ ท�ำงานต่อไปของเขาได้มากน้อยแค่ไหน แต่ในนามของคนทีเ่ ขียนหนังสือถอด บทเรียน เราจะรูส้ กึ เสียดายมากหากสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูแ้ ล้วนัน้ ไม่ได้นำ� ไปพัฒนา ต่อยอดให้เป็นประโยชน์เพิม่ พูนยิง่ ขึน้ ไม่ได้นำ� ไปใช้เพือ่ ให้การท�ำงานนัน้ มี ความหมายยิง่ ขึน้ และเราเองก็อยากท�ำเช่นนัน้ ท�ำให้มปี ระโยชน์และมีความหมาย ต่อยอด ยกระดับ หรือจะเรียกอะไรก็ตาม แต่อยากให้เป็นมากกว่าเป็นเอกสาร ถอดบทเรียน หนังสือเล่มนี้ ทีมถอดบทเรียนจึงจัดท�ำออกมาเป็น 2 ส่วน ในส่วน แรกเป็นการถอดบทเรียนโครงการ และในส่วนที่ 2 เป็นคูม่ อื เพือ่ การพัฒนาการ โค้ชเพือ่ สร้างทีมชุมชน ทัง้ นี้ เพราะเรามองไปถึงการน�ำไปใช้เป็นคูม่ อื ในการ ท�ำงานส�ำหรับคนที่มีความสนใจ และท�ำให้เป็นต้นทุนของผู้ที่สนใจศึกษา สามารถน�ำไปสร้างการเรียนรู้ พัฒนาตนเอง ทดลองท�ำ ค้นคว้าต่อ แล้วถอด บทเรียนให้เป็นความรูข้ องตัวเองได้ ขอขอบคุณทุกคนในทีมถอดบทเรียนของเรา ที่ทุ่มเทช่วยเหลือ สนับสนุนกันในทุกขัน้ ตอน ทัง้ พีอ่ ุ๊ – กรรณจริยา สุขรุง่ และ นก – หนูเพียร แสนอินทร์ ทีร่ ว่ มกันท�ำหนังสือเล่มนีใ้ ห้เป็นหนังสือทีม่ คี วามหมายอีกเล่มหนึง่ คณะผูเ้ ขียน – ทีมถอดบทเรียน ขอขอบคุณทุกท่านทีเ่ กีย่ วข้องกับ การจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ อาทิ ทีมงานของมูลนิธิพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ (HealthNet) ทีม่ อบความไว้วางใจและดูแลเอาใจใส่ตลอดการท�ำงานร่วมกัน และทีมโค้ชและทีมชุมชนทุกท่านทัง้ 5 พืน้ ที่ อาจารย์พนู สุข ศิรพิ ลู พีจ่ ติ – จิตติมา ภาณุเตชะ ทีป่ รึกษาของโครงการ ทีไ่ ด้ให้ขอ้ คิดและค�ำแนะน�ำดีๆ ใน
การท�ำงาน และขอขอบคุณ ส�ำนัก 4 - ส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ใน การสนับสนุนโครงการและท�ำให้คณะผูเ้ ขียนมีโอกาสได้เขียนหนังสือเล่มนี้ คณะผูเ้ ขียนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า แนวคิด ความรู้ ทักษะ เครือ่ งมือและ กระบวนการในหนังสือเล่มนี้ จะมีสว่ นช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อการโค้ชและการ สร้างทีม สามารถน�ำความรูไ้ ปพัฒนาตนเอง พัฒนาทีม พัฒนาสังคมของเรา ให้ดขี นึ้ กว่าเดิม มีจติ ใจทีอ่ ยากจะช่วยเหลือให้ผอู้ นื่ เจริญงอกงาม อันเป็นหัวใจ ส�ำคัญของการเป็นโค้ช ปิยนาถ ประยูร
สารบัญ ทีมมีฝัน โค้ชมีใจ เพื่อเด็กน้อยของชุมชน
14
ถอดบทเรียนการโค้ช เพื่อพัฒนาทีมกลไกท้องถิ่นระดับตำ�บล 122 เพื่อเด็กปฐมวัยและครอบครัว สร้างระบบการทำ�งานที่ขับเคลื่อน 127 การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นได้ ศึกษาความเป็นไปได้ ทั้งสถานการณ์ปัญหาและสถานการณ์ในการทำ�งาน 128 ชุมชนที่พร้อมทำ�งานเป็นทีม และโค้ชที่ใช่ 131 องค์ประกอบของคนทำ�งานที่รอบด้าน 134 โค้ชมีต้นทุนทักษะความสามารถ
143
ศึกษาโครงสร้างของชุมชน และค้นหาคนที่ใช่เข้ามาร่วมทีม
156
เชื่อมโยงคนเข้ามาร่วม เพื่อสร้างทีมของชุมชน
160
สร้างความสัมพันธ์ ความไว้วางใจ
161
สร้างเป้าหมายร่วมของทีม ตั้งเป้าหมายของโค้ช
164
ค้นหาความจริงในปัจจุบัน เข้าใจปัญหาและต้นทุนของชุมชน
167
วางแผนการทำ�งานเพื่อไปสู่เป้าหมาย 171 พัฒนาศักยภาพคน ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และการเสริมแรง
175
การลงมือปฏิบัติการของทีมและการสรุปบทเรียน
178
บทเรียนที่ได้เรียนรู้จากการทำ�งาน 181
14
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมมีฝัน โค้ชมีใจ เพื่อเด็กน้อยของชุมชน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ต�ำบลกะฮาด จังหวัด ชัยภูมิ 16 ต�ำบลดงเย็น จังหวัด มุกดาหาร 38 ต�ำบลนาหนองทุ ่ ม จังหวัด ขอนแก่น 60 ต�ำบลพระธาตุ จังหวัด มหาสารคาม 80 ต�ำบลบึงเนีย ม จังหวัด ขอนแก่น 98 HealthNet มูล นิธิพัฒนาเครือ ข่า ยสุ ข ภาพ 116
15
ตำ�บลกะฮาด จั ง หวั ด ชั ย ภู ม ิ ผู้ให้สัมภาษณ์ สุภาพ เทือกชัยภูมิ เรณู พินนอก ปราณี นนทค�ำจันทร์ สวรรยา เทพันดุง ประสาน ศรีสงคราม มะยุรี อิทธิกุล อรัญธรรม ค�ำแก้วแจ่ม รุ่งรัตน์ ดิเรกโชค
ทีมโค้ช เมธาวี นินนานนท์ มนัส ปลีกชัยภูมิ
ต�ำบลกะฮาด ตัง้ อยูใ่ นอ�ำเภอเนินสง่า จังหวัดชัยภูมิ ห่างจากตัวเมือง ชัยภูมริ าว 20 กิโลเมตร ในต�ำบลมีทงั้ หมด 10 หมูบ่ า้ น มีผอู้ ยูอ่ าศัยเกือบ 6,000 คน ทัง้ หมดกว่า 1,800 ครัวเรือน ทีน่ มี่ ลี ำ� น�ำ้ ชีไหลผ่านและมีแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติอกี หลายแหล่ง ผูค้ นส่วนใหญ่จงึ ประกอบอาชีพท�ำการเกษตร ท�ำนา ท�ำไร่ จากการส�ำรวจของทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล ครัง้ ล่าสุดเมือ่ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 พบว่า มีเด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี จ�ำนวน 395 คน เป็นเด็ก ทีอ่ ยูใ่ นภาวะปกติ 75 คน เด็กอยูใ่ นครอบครัวอบอุน่ ได้รบั การดูแลเอาใจใส่ทงั้ ด้านโภชนาการและการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ส่วนเด็กอีก 320 คน เป็นเด็ก ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงและประสบปัญหา เกือบทั้งหมดเป็นครอบครัวที่มีฐานะ ยากจน รายได้ตำ�่ ไม่มที ดี่ นิ ท�ำกินเป็นของตนเอง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้าง หลายครอบครัวพ่อแม่ของเด็กออกไปรับจ้างท�ำงานนอกพืน้ ที่ ท�ำให้เด็ก ต้องอยูอ่ าศัยกับปูย่ า่ ตายาย บางครอบครัวพ่อแม่แยกทางกัน ท�ำให้เด็กขาด ความอบอุน่ และไม่คอ่ ยได้รบั ความเอาใจใส่เท่าทีค่ วร อีกทัง้ สภาพทีอ่ ยูอ่ าศัยไม่ เหมาะแก่การเลีย้ งดูเด็ก นอกจากนีย้ งั พบปัญหาเด็กอยูใ่ นครอบครัวทีใ่ ช้ความรุนแรง ทัง้ ทะเลาะ กันให้เด็กเห็นอยูบ่ อ่ ยๆ และครอบครัวทีก่ ระท�ำรุนแรงทุบตีเด็ก ต่อว่าด่าทอเด็ก บางครอบครัวเด็กอยูก่ บั ผูป้ กครองทีต่ ดิ สารเสพติด ติดยา ติดเกม สูบบุหรี่ ส่ง ผลต่อสุขภาพเด็กทัง้ ร่างกายและจิตใจ ปัญหาด้านพฤติกรรมของเด็ก มีทง้ั เด็กทีม่ คี วามก้าวร้าว ด่าทอ ตะโกน งอแง เอาแต่ใจ ทีเ่ กิดจากผูป้ กครองเลีย้ งดูแบบตามใจเด็ก เด็กติดโทรศัพท์ มือถือ ติดทีวี เพราะผูป้ กครองปล่อยให้เด็กอยูก่ บั สือ่ เหล่านี้ เด็กมีพฒ ั นาการ ไม่สมวัย เด็กพิการ เด็กมีพฒ ั นาการช้า สมาธิสนั้ รวมทัง้ เด็กอ้วน ทีเ่ กิดจาก ให้กนิ ขนมกรุบกรอบและน�ำ้ อัดลม และเด็กผอมทีเ่ ป็นปัญหาด้านโภชนาการ ในช่วงแรกของการท�ำโครงการ ยังพบเด็กทีเ่ ข้าไม่ถงึ สวัสดิการเด็กแรก เกิด และไม่ได้รบั บริการต่างๆ ทัง้ เนือ่ งจากแม่ของเด็กท้องไม่พร้อม ไม่รขู้ อ้ มูล การบริการของรัฐ บางคนไม่ได้ยา้ ยสิทธิเ์ ข้ามารับบริการในต�ำบล ซึง่ ได้รบั การ ช่วยเหลือให้เข้าถึงสิทธิตา่ งๆ แล้ว
18
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
คือความจริงและความจริงใจที่เปลี่ยนชีวิต
เรือ่ งราวในวันธรรมดาๆ ของบ้านหลังหนึง่ ณ ต�ำบลกะฮาด อ.เนินสง่า จังหวัดชัยภูมิ หญิงสูงวัยขีเ้ มาคนหนึง่ เลีย้ งหลานสาววัยไล่เลีย่ กัน 2 คน อายุ 5 และ 7 ขวบ แต่ละวันนางรับจ้างท�ำงานเล็กๆ น้อยๆ และน�ำรายได้วนั ละประมาณ 60 บาทแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึง่ นางซือ้ เหล้าแบ่งใส่ขวดลิโพไว้ 3 ขวดส�ำหรับ กิน 3 มือ้ ส่วนทีเ่ หลือก็เจียดไว้ซอื้ อาหารการกินทัง้ ของตัวเองและหลานๆ กิน ตามมีตามเกิดไปวันๆ แทบทุกวัน เพือ่ นบ้านจะได้ยนิ เสียงนางตะโกนด่าทอหลานๆ หากไม่ได้ ดัง่ ใจ หรือเมือ่ เสียไพ่ ถ้ามีใครหวังดีไปเตือน อย่าหวังว่านางจะฟัง เพราะบางที นางก็เมามายไร้สติ บางวันหากใครเดินผ่านบ้านนีก้ จ็ ะเห็นหลานสองคนนัง่ เฝ้า ยายทีเ่ มาหลับอยู่ ได้กนิ ข้าวบ้าง ไม่ได้กนิ ข้าวบ้าง เรือ่ งราวของบ้านหลังนีว้ นเวียนแบบนีอ้ ยูท่ กุ เมือ่ เชือ่ วัน วันหนึง่ ในเดือนพฤษภาคมอันร้อนอบอ้าว มอเตอร์ไซด์พว่ งข้างบรรทุก ข้าวของเต็มคันวิง่ ฝ่าแดด ฝุน่ คลุง้ เข้ามาตามทางดินแคบๆ ในหมูบ่ า้ น
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
19
เสียงเบรกมอเตอร์ไซต์ดงั ลัน่ เมือ่ มาถึงหน้าบ้านหญิงสูงวัยขีเ้ มา คนขีร่ ถ เครือ่ งและผูโ้ ดยสารสองคนกุลกี จุ อหยิบไข่ 1 แผง (30 ฟอง) นม เจลล้างมือ หน้ากากผ้าส�ำหรับกันเชือ้ โรค และของใช้จำ� เป็นอืน่ ๆ ออกมา พร้อมส่งเสียง เจือ้ ยแจ้วเรียกหาหญิงสูงวัย หนึง่ ในทีมผูม้ าเยือนเป็นเพือ่ นบ้านของหญิงสูงวัย ซึง่ เป็น อสม. ประจ�ำ หมูบ่ า้ น ส่วนอีกสองคนเป็นสมาชิกของทีมกลไกต�ำบลทีอ่ าสามาร่วมกิจกรรม เยีย่ มเยือนด้วย หลังจากทักทายกันตามประสาคนคุน้ เคยและส่งมอบของฝากให้หญิงสูง วัยแล้ว ผูม้ าเยือนทัง้ สามก็นงั่ ล้อมวง หยิบกระดาษ ปากกา ออกมาพร้อมจด บันทึกข้อมูลของเด็กๆ ทีบ่ า้ นหลังนี้ มนัส ปลีกชัยภูมิ หรือ มูมู่ หนึง่ ในทีมโค้ชต�ำบลกะฮาดทีม่ าเยีย่ มเยียน ส�ำรวจข้อมูล เผยว่า “การลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจข้อมูลไม่ใช่เรือ่ งง่ายเหมือนกรอกแบบ ฟอร์ม กว่าจะได้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นจริง เราต้องไปเยีย่ มเยียนบ้านต่างๆ มากกว่า 1 ครัง้ พูดคุยเรือ่ งราวต่างๆ กว่าครึง่ ชัว่ โมงเป็นอย่างน้อย เพือ่ สร้างความไว้วางใจ และ แสดงจุดยืนว่า เราไม่ได้มาเล่นๆ หรือลงมาอย่างฉาบฉวย” มูมู่ เล่าต่อไปว่า สองครัง้ แรกทีม่ าเยีย่ มครอบครัวนี้ หญิงสูงวัยบอกความ จริงบ้าง เลีย่ งความจริงไปบ้าง ทัง้ เรือ่ งการดืม่ ของนาง การดูแลหลาน และการ ใช้จา่ ยเงิน “ถึงแม้จะยากจน แต่กไ็ ม่มใี ครอยากรูส้ กึ ผิดหรือเสียหน้า” มูมเู่ ล่าอย่าง เข้าอกเข้าใจ แต่การลงเยีย่ มรอบที่ 3 นี้ นางยอมเผยความจริง และเปิดใจรับ ฟังข้อแนะน�ำจากทีมส�ำรวจข้อมูลด้วย “ยาย เอางีไ้ หม ลองเก็บเงินวันละ 30 บาท ครึง่ หนึง่ ใส่กระปุกเก็บไว้ ให้หลาน อีกครึง่ ก็คอ่ ยซือ้ เหล้าแบ่ง 3 ขวดลิโพเหมือนเดิมนัน่ แหละ แต่นอ้ ย ลงหน่อย ยายก็ยงั ได้กนิ หลานก็มเี งินเก็บนะยาย”
20
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
มูมเู่ ล่าสิง่ ทีเ่ แนะน�ำ “พวกเราพยายามให้ยายนึกถึงอนาคตของหลานให้ มากๆ ยิง่ ในช่วงโรคระบาดโควิด-19 เราก็พดู ถึงการป้องกัน ทีห่ ากผูส้ งู วัยติด โรคขึน้ มา ก็อาจถึงขัน้ ตายได้ ยายแกอยากมีชวี ติ อยูท่ นั เห็นหลานสาวโต ก็เลย ได้คดิ ” หญิงสูงวัยรูส้ กึ ตืน้ ตันกับข้าวของ โดยเฉพาะไข่ทงั้ แผงทีไ่ ด้รบั เพราะ นัน่ คืออาหารทีส่ ามารถท�ำกินได้เกือบเดือนในช่วงทีง่ านไม่มี เงินก็ไม่รจู้ ะได้ เมือ่ ไร อีกทัง้ เห็นความหวังดีของผูท้ มี่ าพูดมาคุย วันธรรมดาๆ ของบ้านนีจ้ งึ เปลีย่ นไปตัง้ แต่วนั นัน้ เป็นต้นมา
ไม่รู้ว่า การดื่มของหญิงสูงวัยสัมพันธ์กับความรู้สึกสิ้นหวังในชีวิต เพียงใด แต่การได้กำ� ลังใจและรูส้ กึ มีหวังกับอนาคตของหลานๆ ก็ทำ� ให้การดืม่ น้อยลง เพือ่ นบ้านของนางยังเล่าด้วยว่า เสียงด่าทอหลานๆ ลดน้อยลง ใส่ใจ
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
21
เรือ่ งอาหารการกินให้หลานๆ มากขึน้ ผูว้ า่ จ้างทีใ่ ห้หญิงสูงวัยได้ทำ� งานเล็กๆ น้อยๆ บอกว่า บางครัง้ นางขอเปลีย่ นค่าแรงจากเงินเป็นเนือ้ สดและผัก เพือ่ เอาไปท�ำกับข้าวให้หลานๆ “พวกเราภูมใิ จทีไ่ ด้มสี ว่ นช่วยให้ความช่วยเหลือเด็กในพืน้ ที่ ได้เป็นคน ประสานงานให้กับคนในชุมชน เป็นสะพานเชื่อมให้คนในชุมชนได้รับการ ช่วยเหลือ” มูมยู่ มิ้ กว้าง การเยีย่ มบ้านหญิงสูงวัยผูน้ เี้ ป็นเพียงตัวอย่างหนึง่ ของการลงพืน้ ทีข่ อง ทีมกลไกชุมชนต�ำบลกะฮาด เพือ่ ส�ำรวจสถานการณ์ สภาพความเป็นอยูข่ อง ครอบครัวและสุขภาพของเด็กปฐมวัยประจ�ำหมูบ่ า้ น ซึง่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การ วางแผนแก้ปญ ั หาและให้ความช่วยเหลือได้ตรงจุด แม้จะเป็นงานหนัก ท้าทาย อีกทัง้ ต้องใช้ไหวพริบในการแก้ปญ ั หาเฉพาะ หน้า เช่นบางครัง้ ต้องใช้ตาชัง่ สินค้ามาชัง่ น�ำ้ หนักตัวของเด็ก แต่ทมี ชุมชน กะฮาดก็เต็มทีก่ บั ภารกิจนี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ช่วงวิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ที่ ทีมมีมติรว่ มกันว่า จะปูพรมลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มบ้านและส�ำรวจข้อมูลทัง้ หมด 395 หลังคาเรือน ทัง้ 10 หมูบ่ า้ นในต�ำบล เพือ่ ให้ความรูเ้ รือ่ งการดูแลสุขภาพ และ แจกถุงยังชีพ ให้กบั ครอบครัวทีม่ เี ด็กปฐมวัย “ต�ำบลของเราแม้จะอยูใ่ กล้ตวั เมือง แต่กเ็ หมือนจะขาดแคลนไปเสียทุก อย่าง” เมธาวี นินนานนท์ หรือ พีป่ ลา โค้ชทีมกะฮาดพูดถึงบ้านเกิด ทีเ่ ธอ เลือกปักหลักท�ำงานพัฒนาหลังจากทีไ่ ด้ไปเก็บเกีย่ วประสบการณ์งานพัฒนา ชุมชนในพืน้ ทีภ่ าคอีสานมากว่า 20 ปี ต�ำบลกะฮาดอยูไ่ ม่ไกลจากตัวเมืองชัยภูมิ ขับรถออกนอกเมืองไป 20 นาที ก็ถงึ แต่เมือ่ มองสภาพในต�ำบลเหมือนชนบท พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นไร่นา อาชีพ การเกษตรทีท่ ำ� ให้รายได้นอ้ ยไม่พอกับค่าใช้จา่ ยในครัวเรือนทีส่ งู ขึน้ ทุกวัน หนุม่ สาวเดินทางไปหารายได้ตา่ งจังหวัด หากมีลกู ก็ฝากไว้ให้ปยู่ า่ ตายายดูแล
22
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
สภาพของท้องถิน่ ดังกล่าวเป็นทีร่ กู้ นั ในหมูท่ มี กลไกต�ำบลกะฮาดกว่า 20 ชีวติ แต่การลงพืน้ ทีก่ ท็ ำ� ให้พวกเขาได้รายละเอียดของชีวติ ผูค้ น ได้รบั รูป้ ญ ั หา ของเด็กและครอบครัว สภาพความยากล�ำบากทัง้ ความเป็นอยูแ่ ละความไม่รใู้ น การเลีย้ งดูเด็ก “ไม่อยากจะเชือ่ ว่ายังมีแบบนีอ้ ยูใ่ นหมูบ่ า้ นเรา อย่างเช่นไปพบเด็กเข้า ไม่ถงึ สิทธิ เราก็อยากรูว้ า่ มันติดขัดตรงไหน” ประสาน ศรีสงคราม หนึง่ ใน ทีมชุมชนกล่าวด้วยน�ำ้ เสียงคับข้องใจ “เราได้รบั รูเ้ รือ่ งเกีย่ วกับเด็กแต่ละรายแล้วสงสาร อยากช่วยเหลือ บาง เรือ่ งไม่เคยรู้ ผูป้ กครองเด็กเขามาปรึกษา ระบายให้ฟงั เพราะเขาไว้ใจทีมงาน ของเรา” สวรรยา เทพันดุง หรือ พีแ่ มว บอกความรูส้ กึ ยิง่ ลงพืน้ ที่ ยิง่ เห็นปัญหา ยิง่ อยากจะช่วยเหลือ ยิง่ เป็นกรณีเร่งด่วนทุก คนในทีมกะฮาดยิง่ กุลกี จุ อช่วยกันประสานงาน ส่งต่อ เจรจา ไม่วา่ จะเรือ่ งการ ย้ายสิทธิการรักษาของหญิงตัง้ ครรภ์เพือ่ ให้เข้าถึงสิทธิ ทัง้ เรือ่ งของหญิงลาวต้อง ผ่าท้องคลอดลูกแฝดทีต่ อ้ งมีการเจรจาขอให้เป็นกรณีสงเคราะห์ ประสานทุน อุปถัมภ์ให้กบั เด็กและครอบครัวจ�ำนวน 60 ทุน แม้แต่เรือ่ งทีอ่ ยูอ่ าศัย ทีมชุมชนกะฮาดก็ประสานความร่วมมือของบ ประมาณทัง้ ทางท้องถิน่ เองและสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) จนสามารถ ช่วยเหลือสร้างบ้านให้ครอบครัวทีย่ ากล�ำบาก 2 ครอบครัว และซ่อมแซมบ้าน อีก 130 หลัง บางครอบครัวปรับสภาพจากเพิงน้อยๆ ให้เป็นบ้านมากขึน้ เพือ่ สร้าง สภาพแวดล้อมทีป่ ลอดภัยให้กบั เด็กได้ “การทีไ่ ด้รขู้ อ้ มูลเชิงลึกของหมูบ่ า้ นท�ำให้เราสามารถประสานงานช่วย เหลือเด็กได้ในรูปแบบต่างๆ ทีม่ งี บประมาณช่วยเหลือให้ความช่วยเหลือเด็กๆ ได้ พวกเราภูมิใจที่ได้มีส่วนช่วยให้ความช่วยเหลือเด็กในพื้นที่ ได้เป็นคน ประสานงานให้กบั คนในชุมชน เป็นสะพานเชือ่ มให้คนในชุมชนได้รบั การช่วยเหลือ”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
23
ปราณี นนทค�ำจันทร์ ประธาน อสม. ต�ำบลกะฮาด อาสาสมัครพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ประจ�ำหมูบ่ า้ น (อพม.) อ�ำเภอเนินสง่า เลขาศูนย์ พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ต�ำบลกะฮาด และท�ำงานในกองทุนบทบาท สตรี หนึง่ ในทีมชุมชนทีท่ ำ� หน้าทีป่ ระสานสิบทิศกล่าว โดยเฉพาะในสถานการณ์การระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ทีมกลไก ชุมชนกะฮาดกลายเป็นหน่วยเคลือ่ นทีเ่ ร็วทีพ่ ร้อมกระจายความช่วยเหลือใน ชุมชนได้อย่างทัว่ ถึงและรับมือกับปัญหาได้อย่างทันท่วงที “จากการลงพืน้ ที่ เราเห็นว่าหน้ากากผ้าและหน้ากากอนามัยทีห่ น่วยงาน ภาครัฐแจกกันอยู่นั้น เด็กเล็กไม่สามารถสวมได้พอดี จึงระดมทุนเพื่อท�ำ หน้ากากผ้าทีเ่ หมาะส�ำหรับเด็ก ชวนกลุม่ แม่บา้ นมาช่วยกันตัดเย็บท�ำหน้ากาก แล้วน�ำไปแจกให้เด็กๆ จากข้อมูลทีไ่ ด้สำ� รวจไว้แล้ว เราก็สามารถก�ำหนดได้วา่ ต้องท�ำกีช่ นิ้ จึงจะทัว่ ถึง” พีป่ ลาให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม ไม่เพียงเรือ่ งหน้ากากอนามัยส�ำหรับเด็กเล็ก แต่ทมี กะฮาดยังได้แจกจ่าย อาหาร ถุงยังชีพ ข้าวของต่างๆ ให้กบั คนในชุมชนได้อย่างทัว่ ถึง พร้อมให้ความ รูเ้ รือ่ งการดูแลสุขภาพด้วย “เห็นแววตาทีเ่ ขามีความซาบซึง้ ใจตอนทีเ่ รามีของไปฝาก มันตืน้ ตัน หัวใจพองโต แล้วก็หายเหนือ่ ย” มูมเู่ ล่า พร้อมรอยยิม้
แม้ตา่ งทีม่ า แต่มเี ป้าหมายเดียวกัน ภาพความสามัคคีและการช่วยเหลือกันในชุมชนเริม่ ต้นขึน้ เมือ่ กว่าหนึง่ ปีมาแล้ว เมือ่ มีโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุขภาวะเด็ก ปฐมวัยและครอบครัวเข้ามา โดยพีป่ ลาและมูมู่ ผูม้ ปี ระสบการณ์ในการท�ำงาน
24
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ชุมชนมายาวนานรับท�ำหน้าที่ทีมโค้ช ทั้งสองชักชวนตัวแทนของแต่ละ หน่วยงานทีท่ ำ� งานเกีย่ วข้องกับเด็กปฐมวัย มาประชุมพร้อมกันทีส่ ำ� นักงาน อบต.กะฮาด เพือ่ บอกกล่าวถึงเป้าหมาย ความหมาย ทิศทางโครงการ เพือ่ หา แนวร่วมมาเป็นทีมกลไกชุมชน เมือ่ “เด็ก” คือ เป้าหมาย หลายคนก็พร้อมจะร่วมทาง เพราะเห็นชีวติ ตัวเอง เนือ้ งาน และความยัง่ ยืนของชุมชน อยูใ่ นเรือ่ งราวของเด็ก “ชุมชนเราไม่มโี ครงการเกีย่ วกับเด็กปฐมวัย มีแต่วยั เยาวชน ถึงเรารู้ ว่ามีปญ ั หาแต่กไ็ ม่รจู้ ะช่วยอย่างไร และเราก็รวู้ า่ ทุกหมูบ่ า้ นก็มปี ญ ั หาไม่ตา่ งกัน คิดว่าเมือ่ ท�ำงานในโครงการนีแ้ ล้ว ชุมชนเราจะพัฒนามากขึน้ เมือ่ เรายิง่ ท�ำก็ ยิง่ รูม้ ากขึน้ และยิง่ อยากร่วมกิจกรรมทีเ่ กิดประโยชน์กบั ชุมชนจริงๆ” ปราณี เล่าถึงการเข้ามาร่วมทีมกลไกและความรูส้ กึ ในการท�ำงานทีผ่ า่ นมา จากนัน้ อสม. และคนท�ำงานเพือ่ ชุมชนของต�ำบลกะฮาดก็ยกขบวนเข้า ร่วมเป็นทีมชุมชนเพือ่ ขับเคลือ่ นงานเพือ่ เด็กและครอบครัวด้วย พีแ่ มว - สวรรยา เทพันดุง หนึง่ ในทีมกลไกชุมชน ซึง่ มีบทบาทการ ท�ำงานทัง้ อสม.กรรมการศูนย์พฒ ั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) ต�ำบลกะฮาด และ สมาชิก อบต.กะฮาด พูดเสียงดังฟังชัดว่า “เรามีลกู หลานเหมือนกัน พอ พูดเรือ่ งเด็กก็สนใจ อยากให้ลกู หลานมีคณ ุ ภาพทีด่ ี อย่างประเด็นส�ำคัญเลย คือ หาแนวทางที่จะให้เขาหลุดพ้นจากการติดยา ไม่อยากเห็นภาพที่เด็ก ทุรนทุรายอยากยา พ่อแม่กท็ รมาน เราอยากจะท�ำอะไรก็ได้เพือ่ ช่วยเหลือเด็ก จะได้มอี นาคตทีด่ ไี ม่อยากเห็นภาพแบบนีอ้ กี ” พีภ่ าพ - สุภาพ เทือกชัยภูมิ ทีเ่ ป็นทัง้ อสม. และช่วยเหลืองาน กองทุนหมูบ่ า้ น เล่าเสริมว่า “เราท�ำงาน อสม. ก็แค่ตรวจลูกน�ำ้ และท�ำเอกสาร เมือ่ มาเรือ่ งเด็กในชุมชนก็ดแู ต่วา่ เด็กมีชอื่ ตามทะเบียนบ้านไหม ใครเข้า-ออก เราจะไม่รู้ เพราะเราท�ำแค่เรือ่ งสุขภาพ แต่ในโครงการนี้ เราได้รขู้ อ้ มูลเด็กใน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
25
ชุมชนลึกขึน้ เห็นความเป็นไปของเด็กในชุมชน ถึงเราจะเป็นแค่ชาวไร่ ชาวนา เราก็ภมู ใิ จว่าเราท�ำเรือ่ งดีๆ ให้ชมุ ชนได้” อสม. หลายคนของต�ำบลกะฮาด อาจจะจบการศึกษาในระบบเพียงชัน้ ประถมปีท่ี 6 แต่โดยมากเป็นผูม้ ใี จใฝ่เรียนรูแ้ ละมีจติ อาสา อันเป็นคุณสมบัติ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้พวกเขาท�ำงานรับใช้ชมุ ชนอย่างแข็งขัน และพัฒนาความรูใ้ นตน ได้ไม่สนิ้ สุด “ถึงเราจะจบแค่ ป.6 แต่กอ็ ยากหาความรู้ ชอบไปประชุม อบรม ได้ ความรู”้ พีแ่ มวกล่าว ถึงแม้จะมีภาระเลีย้ งหลาน ก็ไม่ขดั ขวางการเรียนรู้ บางที พีแ่ มวก็พาหลานไปวงประชุมและการเรียนรูด้ ว้ ย การท�ำงานของ อสม. มีผสู้ นับสนุนชัน้ ดีอย่าง คุณหมอมะยุรี อิทธิกลุ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลกะฮาด “เราเองก็ท�ำงาน เกีย่ วข้องกับเด็กตัง้ แต่กอ่ นเด็กเกิด เราก็เต็มที่ สิง่ ใดทีเ่ ราช่วยได้กช็ ว่ ย เชิญประชุม ก็จะไป เราอยากเห็นประสบการณ์ทำ� งานของทีอ่ นื่ เพือ่ จะเอามาปรับใช้ในโรง พยาบาลของเรา เช่น กรณีมหี ญิงตัง้ ครรภ์ในชุมชนเป็นคนนอกชุมชน ไม่ได้รบั สิทธิจ์ ะช่วยเหลือกันอย่างไร เราก็ได้เครือข่ายทีจ่ ะเชือ่ มโยงข้อมูลกันและกัน” คุณหมอมะยุรยี มิ้ นอกจากช่วยทีมกลไกชุมชนท�ำงานแล้ว คุณหมอมะยุรยี งั เปิดห้องประชุม ของ รพ.สต. ให้ทมี ได้เข้ามาใช้พนื้ ทีใ่ นการประชุม พูดคุย วางแผนการท�ำงาน และท�ำกิจกรรมเพือ่ ชุมชน ไม่เพียงด้านสาธารณสุข ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับงานท้องถิน่ ก็มาร่วมในทีม ชุมชนด้วย เช่น ประสาน ศรีสงคราม อดีต อบต. สองสมัย ประธานกรรมการ สถานศึกษา และงานจิตอาสาในต�ำแหน่งอืน่ ๆ ฯลฯ
26
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“เดิมก็ชอบไปงานอบรมต่างๆ อยูแ่ ล้ว โดยเฉพาะเรือ่ งสิทธิเด็ก พอได้ ไปเรียนรูท้ ำ� ความเข้าใจเรือ่ งนี้ (จากโครงการนี)้ ก็เอามาใช้กบั เด็กในชุมชน ก็ได้เห็นว่าเด็กเข้าไม่ถงึ สิทธิตา่ งๆ เช่น เงินแรกเกิด เห็นการติดขัดว่าเขาไม่ได้ เพราะอะไร ตรงไหน ก็พยายามหาหนทางช่วย” ประสานยังเล่าถึงการใช้ทนุ ประสบการณ์การท�ำงานส่วนท้องถิน่ ของตัว เองในการประสานขอความช่วยเหลือจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เพือ่ ซ่อมแซมบ้านให้ครอบครัวเด็กให้เหมาะสมกับการพักอาศัยยิง่ ขึน้ อีกคนในภาคการปกครองท้องถิน่ ทีม่ าในเวทีแนะน�ำโครงการฯ คือ เรณู พินนอก ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นและประธานกองทุนหมูบ่ า้ น เธอย้อนนึกถึงแรง บันดาลใจตัง้ ต้นทีท่ ำ� ให้เธอก้าวเข้ามาเสริมทัพทีมกลไกชุมชนกะฮาดว่า “แรกเริม่ ก็มาประชุมแทนผูใ้ หญ่บา้ น แต่เมือ่ ฟังพีป่ ลาแล้ว รูส้ กึ ว่าดีนะ ทีจ่ ะได้ชว่ ยเด็กในชุมชน นึกถึงตัวเองในวัยเด็ก เราก็ยากจน ไม่ได้เล่นเหมือน คนอืน่ ๆ เลยอยากจะช่วยเด็กไม่ให้ลำ� บากเหมือนเรา พอได้เข้ามาท�ำกิจกรรม ในโครงการ เห็นเด็กยิม้ เราก็ดใี จ มีความสุข แล้วก็ยงิ่ อยากท�ำอีกเรือ่ ยๆ” เรณู กล่าวด้วยรอยยิม้ ทีมกะฮาดหลายคนพลอยยิม้ เมือ่ ได้ฟงั เช่นนัน้ เรณูยงั เป็นผูม้ คี วามรู้ มี ใจอาสา และเห็นความส�ำคัญของเด็ก หลายคนจึงบอกว่า เธอเป็นหนึง่ ในความ หวังของชุมชนทีจ่ ะสืบสานงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัวให้ตอ่ เนือ่ งยัง่ ยืน ในชุมชน ในภาคการศึกษา ครูรงุ่ - รุง่ รัตน์ ดิเรกโชค ครูโรงเรียนบ้านหนองดินด�ำ ก็อาสาเข้ามาร่วมทางเป็นทีม ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู เธอท�ำงานนอกเวลา การสอนทัง้ วันธรรมดาและเสาร์อาทิตย์กม็ าท�ำงานร่วมกับทีมชุมชน ลงเยีย่ มเยียน เด็กตามบ้าน ท�ำกิจกรรมลานเล่น และอืน่ ๆ อย่างไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
27
“ความอยากจะช่วยเหลืออยูใ่ นสายเลือด ไม่เพียงเด็กและคนสูงอายุ คน อืน่ ๆ เราก็อยากช่วยเหลือ เมือ่ เราเห็นเด็กทีเ่ ราสอนมีคญ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ก็อยาก เห็นเขาดีขนึ้ อีก” ครูรงุ่ พูด สายตามุง่ มัน่ เป็นประกาย การมีทมี ท�ำให้เธอมี ความหวัง เพราะมีเพือ่ นร่วมทางทีจ่ ะช่วยเธอท�ำกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ ให้กบั เด็กๆ นอกห้องเรียนได้อกี ด้วย นอกจากนี้ ทีมกะฮาดก็มเี ยาวชนคนรุน่ ใหม่เข้ามาเสริมแรง เช่น น้อง แพร - วริสรา นนทค�ำจันทร์ และ น้องน�ำ้ พริก - อริศรา นนทค�ำจันทร์ ลูกสาวของปราณี ทีเ่ ข้ามาร่วมช่วยกิจกรรมชุมชนอย่างแข็งขัน ทัง้ มาตามค�ำ ชวนของแม่ และมาเป็นตัวแทนจากสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลกะฮาด ซึง่ เมือ่ มีกจิ กรรมทัง้ สองก็ชวนเพือ่ นๆ จากสภาเด็กฯ มาร่วมทีมกับผูใ้ หญ่ดว้ ย “ส่วนตัวหนูชอบงานอาสา ยิง่ ท�ำก็ยงิ่ รูส้ กึ ดี มีความสุข หนูรสู้ กึ ว่าเมือ่ แม่ชวนให้มาร่วมท�ำอะไรมันจะเป็นเรือ่ งดีๆ แล้วมันก็จริง หนูเองได้รบั ประโยชน์ จากชุมชน จากป้าๆ น้าๆ ลุงๆ ก็อยากแบ่งปันต่อไปบ้าง” “ตอนทีไ่ ด้มาช่วยท�ำกิจกรรมลานเล่น เราก็มาชวนเด็กๆ เล่น เห็นน้องๆ มีความสุข เราก็มคี วามสุข เราได้เท่าๆ กัน” น้องแพรเล่า เอ็ม - อรัญธรรม ค�ำแก้วแจ่ม ก็เป็นคนรุน่ ใหม่อกี คนทีเ่ ป็นก�ำลังส�ำคัญ ของทีม ทีแ่ ม้จะไม่คนุ้ เคยกับงานชุมชน แต่เมือ่ เข้าวง เขาก็พร้อมทีจ่ ะเอา ศักยภาพทีม่ มี าหนุนช่วยทีม “เราท�ำงานแต่ในเมือง ไม่รวู้ า่ เด็กในชุมชนเป็นอย่างไร เมือ่ ได้ชว่ ยลง เยีย่ มบ้าน เก็บข้อมูล ก็รสู้ กึ อยากมีสว่ นช่วยแก้ปญ ั หา และเมือ่ ได้รว่ มเข้าอบรม กับโครงการฯ เรือ่ งสิทธิเด็ก ก็ได้นำ� มาใช้ให้เป็นประโยชน์ พอท�ำแล้วเห็นผล ว่าดี ก็ยงิ่ อยากเข้ามาช่วยมากขึน้ ” เอ็มยิม้ และเล่าเสริมว่า เวลาลงพืน้ ที่
28
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เยีย่ มเยียน เขาจะอาสาบันทึกข้อมูลให้กบั ทีมป้าๆ น้าๆ ทีเ่ ขียนไม่คล่อง ส่วน ในเวทีเรียนรู้ เขาก็จะอาสาเขียนความเห็นของทีมลงบนกระดาษฟลิปชาร์ท หรือบางครัง้ ก็วาดเป็นภาพ ทีมกะฮาดเห็นศักยภาพของเอ็มในเรือ่ งการขนม ซึง่ เขาเคยท�ำร้านอาหาร และท�ำขนม ทีมจึงคุยกันว่า จะให้เอ็มใช้ความสามารถทีม่ ี มาช่วยงานพัฒนาการ เรียนรูข้ องเด็กเล็กในชุมชนหรือในโรงเรียนอย่างไรได้บา้ ง ปลาร้าไหเดียวกัน “พวกเราเปรียบเหมือนปลาร้าในไหเดียวกัน ไม่ใช่ปลาชนิดเดียวกัน แต่มปี ลาหลากหลายในไหใบนี”้ เป็นค�ำพูดทีอ่ อกมาจากปากของพีภ่ าพ ผูท้ มี่ กั ออกตัวว่าตนเองการ ศึกษาน้อย เขียนหนังสือก็ไม่เก่ง พูดไม่ได้เหมือนคนอืน่ เขา แต่เปรียบเปรย ออกมาให้เห็นภาพเมื่อเจอค�ำถามว่า “รู้ได้อย่างไรว่าทีมชุมชนมีเป้าหมาย เดียวกัน” พีภ่ าพขยายความต่อว่า “เวลาทีร่ ว่ มงานกันเกือบ 2 ปี ถ้าคนไม่มใี จก็คงถอยไปแล้ว แต่พวก เราชืม่ ชมกันและกันรูส้ กึ ว่าเรารักกัน จะบุกน�ำ้ ลุยไฟเราก็จะไปด้วยกัน โค้ชให้ อิสระไม่บงั คับ มาท�ำให้พวกเราช่วยกันคิด ช่วยกันมอง ช่วยกันท�ำงาน ถึงไม่มี ต�ำแหน่งก็อยากจะท�ำต่อไป” ถึงตรงนี้ พีแ่ มว ก็พดู เสริมขึน้ มาว่า “ทีน่ งั่ กันอยูน่ กี่ ค็ อื คนทีม่ ใี จทัง้ หมด ยิง่ ได้พเี่ ลีย้ งดีมาคอยช่วย ใครถนัด อะไรก็ใช้ความสามารถของแต่ละคนเข้ามาท�ำงาน เราไม่ถนัดการเขียน น้องๆ
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
29
ในทีมก็ชว่ ยเขียนให้ ช่วยแบ่งเบากันและกัน พวกเราไว้ใจกัน ไม่คดิ เล็กคิดน้อย ไม่ได้คดิ เรือ่ งผลตอบแทนตัง้ แต่เริม่ แรก พอท�ำงานหลายอย่างด้วยกันเข้า เรา ก็เริม่ สนิทกัน” เมือ่ รูส้ กึ ว่าเป็นปลาร้าไหเดียวกัน ทีมชุมชนก็ยงิ่ คึกคัก ยิง่ ได้ทำ� กิจกรรม ท�ำงานด้วยกัน ไปมาหาสูก่ นั ทีบ่ า้ น มีอะไรก็จะไถ่ถามถึงกันตลอด ครูรงุ่ เล่าความรูส้ กึ ในการเป็นส่วนหนึง่ ของทีมกลไกชุมชนกะฮาดว่า “เวลาอยูด่ ว้ ยกัน เราถอดหัวโขนออก เราเป็นเพือ่ นกัน ไปกินข้าว พูด คุย มีปญ ั หาอะไรก็ถามไถ่พดู กันตลอด มีความสุขมาก รูส้ กึ มีเพือ่ นร่วมทางที่ เข้าใจและสนใจท�ำงานเพือ่ เด็กเหมือนกัน” ความเป็นทีมทีพ่ ร้อมแลกเปลีย่ นพูดคุยกันอย่างเข้าใจ ร่วมมือกันท�ำงาน และเรียนรู้ ฝ่าฟันอุปสรรคร่วมกัน ไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นได้เองหรือเกิดขึ้น ชั่วข้ามวัน แต่เกิดจากกระบวนการทีเ่ ข้าใจความหมายของความงอกงามของ มนุษย์และความผูกพัน ทีมกะฮาดย�ำ้ หลายครัง้ ว่าปลาร้าไหนีจ้ ะยังอยูด่ ว้ ยกัน ท�ำงานด้วยกัน ไม่ ทิง้ กันไปไหนแน่นอน เราเปลีย่ นได้ ชุมชนก็เปลีย่ นได้ พลังของคนในชุมชนเป็นรากฐานส�ำคัญของการพัฒนาชุมชนแล้ว เมือ่ หยัง่ ลึกลงไปในผืนดินเกิด ก็รอวันทีจ่ ะผลิดอกออกใบ เติบโตให้รม่ เงากับผืนดิน เกิดนัน้
30
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมกะฮาดก�ำลังเติบโต และเกิดความรูส้ กึ มีสว่ นร่วม มีความเป็นทีม ด้วยกระบวนการท�ำงานของโค้ช ซึง่ พีป่ ลาและมูมู่ โค้ชผูท้ อี่ ยูเ่ บือ้ งหลังความเป็น ทีมของชุมชนกะฮาด พูดถึงความเชือ่ ในการท�ำงานโค้ชในโครงการนีว้ า่ “เราเชือ่ ว่า พวกเขามีประสบการณ์ชวี ติ และการท�ำงาน มีศกั ยภาพ เวลา ไปเวทีอบรมเรียนรู้ (เรือ่ งสิทธิเด็ก พัฒนาการเด็ก) เราก็จะเป็นพีเ่ ลีย้ งอยูใ่ กล้ๆ คอยถามชวนคิด หรือการท�ำงานในพืน้ ที่ เราก็จะเป็นเหมือนพีเ่ ลีย้ งคอยดูอยู่ ข้างๆ เวที ให้ทมี ได้ทดลองท�ำงานลองผิดลองถูกบ้างเพือ่ ให้มปี ระสบการณ์ ให้ ทีมกล้าท�ำงานได้อย่างอิสระ ตามความสมัครใจ ให้ยอมรับซึง่ กันและกัน ไม่มี ใครว่าใคร ไม่บงั คับ สุดท้ายแล้ว พวกเขาต้องยืนได้ดว้ ยตัวเอง” สิง่ ทีท่ มี โค้ชมักท�ำคือตัง้ ค�ำถามชวนคิด เพือ่ ให้ทมี เกิดการเรียนรูจ้ าก ภายในตน “พีป่ ลากับมูมมู่ กั จะถามเราว่า เก็บข้อมูลได้อะไรบ้าง เมือ่ เราถูกถาม บ่อยๆ ความรูม้ นั ก็เข้าสมอง เราก็ทำ� งานเก็บข้อมูลลึกขึน้ ละเอียดขึน้ จากเมือ่ ก่อน เราไม่รลู้ กึ ก็แก้ปญ ั หาไม่ได้ ตอนนีเ้ รารูข้ อ้ มูลลึกขึน้ ได้รปู้ ญ ั หา ได้ใช้ขอ้ มูลที่ เก็บมา มีโค้ชเพิม่ เติมความรู้ มีเครือข่ายช่วยกันหาทางออก” ปราณี เล่าถึงสิง่ ทีโ่ ค้ชท�ำกับทีมชุมชน สิง่ เหล่านีส้ ะท้อนการท�ำงานของโค้ชว่า โค้ชไม่ใช่ผชู้ ถี้ กู -ผิด ไม่มคี ำ� ตอบส�ำเร็จรูป แต่ชวนถามให้ทกุ คนได้คดิ และหาค�ำตอบในการลงมือท�ำด้วยกัน ไม่วา่ เป็นงานส�ำรวจข้อมูลชุมชน การช่วยเหลือเด็กเปราะบางมีปญ ั หาเร่งด่วน ต้องรับการช่วยเหลือ หรือเรือ่ งการท�ำลานเล่น ฯลฯ ทุกอย่างล้วนใช้กระบวนการ มีสว่ นร่วม ทัง้ ในการคิด การคุย และการลงมือท�ำ นีเ่ องทีท่ ำ� ให้ทมี ชุมชนกะฮาด เติบโตและเปลีย่ นแปลง “ทัง้ สองคนเป็นมากกว่าโค้ช รูส้ กึ เหมือนเป็นพีน่ อ้ ง แต่กอ่ นเคยเห็นแต่ ในการอบรม แต่ไม่คดิ ว่าจะเป็นคนทีเ่ ราจะรูส้ กึ ไว้ใจได้ขนาดนี”้ ปราณียำ�้ ถึง
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
31
ความสัมพันธ์ระหว่างโค้ชกับทุกคนในทีมกะฮาด ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันนี้ ท�ำให้ทกุ คนเปิดใจ กล้าทีจ่ ะบอกกับเพือ่ นร่วม ทีมว่าตนเองท�ำอะไรได้ อะไรทีไ่ ม่ถนัดหรืออยากจะพัฒนาตนเองอย่างไร อยากจะ เข้าไปช่วยเพือ่ นในทีมให้ได้มากขึน้ อย่างไร ซึง่ เป็นกระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกัน ถึงวันนี้ ทุกคนบอกได้วา่ ตนเองเปลีย่ นแปลงไปอย่างไรบ้าง เพือ่ จะน�ำ ศักยภาพนัน้ ไปสร้างการเปลีย่ นแปลงในชุมชน “จากเดิมทีเ่ ราไม่กล้า เมือ่ มาเข้าทีมเรากล้าพูด สังเกตจากเวทีแรกๆ เรา หลบไมค์เลย ตอนนีพ้ ดู ได้ดขี นึ้ แต่กย็ งั เรียบเรียงค�ำพูดได้ไม่ดี ทีไ่ ด้อกี คือเรา ได้ชว่ ยเหลือเด็กๆ ทีเ่ ขายากล�ำบาก เรายิง่ รูส้ กึ มีคณ ุ ค่า” เอ็มพูดถึงสิง่ ทีต่ นเอง รูส้ กึ “มีคนรูจ้ กั เรามากขึน้ ว่าเราถนัดอะไร คนเข้ามาขอค�ำปรึกษามากขึน้ เรา ช่วยคนได้มากกว่าเดิม คนต�ำบลอืน่ ก็สนใจอยากท�ำแบบกะฮาด เราก็เล่าให้ฟงั ก็ได้ให้ขอ้ มูลของโครงการไปด้วย” ปราณีบอกถึงสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� มากขึน้ “เดิมไม่มนั่ ใจ ไม่กล้าพูด เมือ่ อยูเ่ ป็นทีมกันเป็นพีน่ อ้ งกันมันเป็นพลังให้ เรากล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าพูด สามารถสือ่ สารให้ทมี ให้คนอืน่ ได้รดู้ ว้ ย และในหมูบ่ า้ นเองได้รขู้ อ้ มูลเชิงลึก สามารถประสานงานช่วยเหลือเด็กได้ในรูป แบบต่างๆ ทีม่ งี บประมาณช่วยเหลือ เราก็ภมู ใิ จทีไ่ ด้ให้ความสุขกับเขา” เรณู กล่าวด้วยความมัน่ ใจ “เราเห็นการเปลีย่ นแปลงของตัวเองทีพ่ ดู จับใจความไม่ได้ มีเหตุการณ์ หนึง่ ได้มโี อกาสสัมภาษณ์ผนู้ ำ� ชุมชน โดยมีพปี่ ลาสอนเรา ท�ำให้เราคิดได้และ น�ำไปใช้ในการท�ำงาน คนตัวเล็กๆ อย่างเราได้เข้ามาท�ำงานร่วมกับผูท้ มี่ คี วาม รูไ้ ด้ เราภูมใิ จ” พีภ่ าพกล่าวพร้อมรอยยิม้ “ได้เห็นตัวเองนะ จากกิจกรรมผ่อนพักตระหนักรู้ ตอนทีไ่ ปอบรมกับ โครงการ เราก็คดิ นะว่าเมือ่ ก่อนเวลาจะเข้านอนเราไม่เคยคิดอะไร คิดแต่จะด่า
32
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ลูกหลาน เดีย๋ วนีก้ ลับมาฉุกคิด เราท�ำอะไร พูดอะไร แล้วเขาจะคิดยังไง นิง่ ขึน้ ทบทวนตัวเองว่าได้ทำ� อะไรบ้างแต่ละวัน ก็มคี วามสุขขึน้ ” พีแ่ มวพูดอย่าง เปิดใจ ค�ำพูดทีส่ ะท้อนความจริงและความจริงใจเหล่านี้ ท�ำให้เห็นถึงความ จริงจังตัง้ ใจของทุกคนในทีมกะฮาด แม้บางคนจะไม่ได้เข้ามาร่วมพูดคุยแสดง ความคิดเห็น แต่กเ็ ชือ่ ว่าได้แสดงศักยภาพผ่านการท�ำงานร่วมกัน ภาพฝันของชุมชนทีอ่ ยากเห็นเด็กเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ ค่อยๆ เห็น ผลแล้วจากการเติบโตจากข้างในของผูใ้ หญ่ทรี่ วมตัวกันอย่างแข็งขัน นับเป็น บันไดก้าวแรกสูค่ วามส�ำเร็จทีต่ อ้ งเดินต่อ และช่วยกันประคับประคองให้ทกุ คน ได้ถงึ ตามฝันไปพร้อมๆ กัน นีค่ อื เสียงของผูใ้ หญ่ในวันนี้ ทีจ่ ะก�ำหนดอนาคตของเด็กในวันหน้า
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
33
ลงมือทำ�แบบมีเป้าหมายร่วมกัน :
เสียงสุนขั เห่าดังแว่วมาแต่ไกลเมือ่ ได้ยนิ เสียงรถยนต์เลีย้ วเข้ามายัง บริเวณบ้านชัน้ เดียวก่อสร้างด้วยอิฐประสานทัง้ หลังทีม่ นั เฝ้าอยู่ บ้านหลังนีร้ าย ล้อมไปด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ ด้านข้างมีโรงสร้างอิฐรวมถึงอุปกรณ์ตา่ งๆ และอิฐ ที่ท�ำเสร็จแล้ววางตั้งอยู่จ�ำนวนหนึ่ง ด้านหลังของบ้านมีบ่อน�้ำ แซมด้วยต้น ไผ่เป็นระยะ เสียงเห่าเปลี่ยนเป็นเสียงงี๊ดง๊าดดีใจเมื่อผู้เป็นเจ้าของลงไปดุเบาๆ พร้อมทัง้ เปิดประตูบา้ นให้แขกผูม้ าเยือนทัง้ สามทีเ่ ป็นทีมงานมาถอดบทเรียน การท�ำหน้าทีโ่ ค้ชในโครงการ “นีแ่ หล่ะทีท่ ำ� งานของพี”่ พีป่ ลา - เมธาวี นินนานนท์ แนะน�ำสถานทีท่ ำ� งานทีต่ งั้ ชือ่ ว่า โครงการ สนับสนุนการพัฒนาท้องถิน่ (LDP) จ.ชัยภูมิ ส�ำนักงานทีม่ กั มีกลุม่ ต่างๆ ใน ชุมชนแวะเวียนกันเข้ามาใช้ประชุมงานอยูเ่ สมอ เมือ่ นัง่ พักจากการเดินส�ำรวจบ้าน และตามไปดูเจ้าของบ้านตัดหน่อไม้ เป็นทีเ่ รียบร้อย จึงเริม่ การสนทนากัน “เวลาท�ำงานร่วมกันกับทีมชุมชน ต้องหาจังหวะในการท�ำงานด้วย อย่างเวลาจะช่วยกันลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล ก็ตอ้ งท�ำความเข้าใจกับทีมก่อน แต่เรา จะไม่ลงไปด้วย เพราะประสบการณ์มนั สอนว่า ทีมทีย่ งั ใหม่กม็ กั จะเกิดภาวะ พึง่ พิงโค้ช”
34
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
พีป่ ลาขยายความต่อถึงเรือ่ งการวางแผนลงพืน้ ทีร่ ว่ มกับทีม ในช่วงการ ระบาดของไวรัสโควิด-19 ทางพืน้ ทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนของจ�ำเป็นส�ำหรับเด็ก และครอบครัว ก็จะมีขน้ั ตอน คือ การเก็บข้อมูล, ให้ของ, ให้ความรูเ้ รือ่ งโควิด, เล่นกับเด็ก, จดบันทึก, คุยกับพ่อแม่ โดยให้คยุ ก่อนแล้วค่อยมาจดบันทึกทีหลัง ไม่ตอ้ งมาเปิดดูคำ� ถาม พูดคุยปกติแล้วค่อยมาบันทึก เป็นต้น ขณะนัน้ เอง เสียงดังทีค่ นุ้ เคยทักดังมาแต่ไกล เสียงนัน้ คือ มูม่ ู่ - มนัส ปลีกชัยภูมิ ทีมโค้ชอีกคนหนึง่ ซึง่ มาสมทบหลังเสร็จธุระเรียบร้อยแล้ว หลังจากนัง่ พักทักทายผูม้ าสมทบเรียบร้อยแล้ว มูมจู่ งึ เล่าเรือ่ งการน�ำของ ไปช่วยเหลือในช่วงสถานการณ์โควิด ให้เด็กทุกคน 395 ราย เมือ่ น�ำหน้ากาก ไปให้กบั เด็กก็พบปัญหาว่าหน้ากากทีไ่ ด้มาเด็กเล็กใส่ไม่ได้ ทางทีมพืน้ ทีก่ ร็ ว่ มใจ กันผลิตเอง โดยใช้ทนุ จากหลายแหล่งมารวมกัน “นายก อบต. ยังทึง่ ว่าเด็กเราได้ใช้หน้ากากผ้าทีเ่ หมาะสมกับรูปหน้า ทุกคน ทัง้ ๆ ทีต่ ำ� บลอืน่ ไม่มี นีค่ อื สิง่ หนึง่ ทีเ่ ห็นในความเป็นทีมกะฮาด และใน ช่วงการลงพืน้ ที่ ความสัมพันธ์ในทีมของเราก็ดเี พิม่ มากขึน้ ด้วย” มูมพ่ ู ดู อย่างภูมใิ จ พีป่ ลาเล่าต่อว่า ในช่วงแรกทีมกลไกเก็บข้อมูลยังไม่คอ่ ยละเอียด เมือ่ ท�ำความเข้าใจและพากันลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล โดยมีมมู ทู่ ำ� เป็นตัวอย่าง พอท�ำให้ ดูแล้วก็ให้ลงกันเอง จนเกิดความรูส้ กึ เป็นเจ้าของมากขึน้ เรือ่ ยๆ เสร็จจากการ ลงพืน้ ที่ พีป่ ลาก็จะตัง้ ค�ำถามเพือ่ สรุปงานว่า เขาเห็นอะไร และปัญหาต่างๆ ที่ พบนัน้ เกิดจากอะไรบ้าง เป็นต้น “ช่วงการลงส�ำรวจครัง้ ทีส่ องเป็นต้นไป จะมีอาสาสมัครขอตามไปด้วย มากขึน้ หลายคนอยากไปด้วยเพราะอยากจะไปดูพนื้ ทีจ่ ริง ทัง้ ของหมูบ่ า้ น ตนเอง และหมูบ่ า้ นของเพือ่ นในทีม ยิง่ ไปด้วยกัน กลับมาทุกคนก็อยากจะไป ช่วยเด็กและผูย้ ากล�ำบากในชุมชนมากขึน้ เรือ่ ยๆ”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
35
การท�ำงานเพือ่ สร้างคนของพีป่ ลานัน้ เป็นไปอย่างเป็นขัน้ เป็นตอน ใจเย็น ไม่รบี ร้อน แนวคิดในการสร้างคน สร้างทีมของกะฮาดจึงน่าสนใจยิง่ “คนจากหน่วยงานต่างๆ ทีม่ าท�ำงานในพืน้ ทีก่ จ็ ะท�ำงานตามหน้าทีข่ อง เขา พอมีฤดูโยกย้ายก็จากไป แต่ชาวบ้านจะไม่ยา้ ยถิน่ ไปไหน เราจึงเน้นชุมชน เป็นหลัก เอาตัวแทนจากชุมชนมาท�ำงาน” พีป่ ลาย�ำ้ อีกว่า ในการท�ำงาน ใจมาก่อนเป็นอันดับแรก ทีเ่ หลือเติมได้ “หากบีบบังคับกัน เขาก็ไม่มคี วามสุข นึกถึงตัวเองนะ ใจเขาใจเรา หาก ไม่มคี วามสุขก็ไม่อยากท�ำ เขาต้องได้รบั การเจียรไนยจึงจะสวยงาม โอกาสทีจ่ ะ สร้างคนคือให้ลงมือท�ำงาน ปล่อยให้ลงมือท�ำ โดยมีเป้าหมายร่วมว่าสิง่ ทีท่ ำ� ท�ำ ไปเพือ่ อะไร เราจะคอยดูหา่ งๆ” เป้าหมายในการท�ำงานของพีป่ ลามีชดั เจนแล้ว อยูท่ วี่ า่ วิธกี ารเดินเพือ่ ให้ ถึงเป้าหมายจะเดินไปแบบไหน หากเดินไปพร้อมกันทัง้ ชุมชน ก็ตอ้ งอดทน พา กันไปตามศักยภาพทีม่ แี ละค่อยๆ เติมความสามารถในการเดินไปข้างหน้าด้วย กันให้มากขึน้ ทัง้ หมดนีม้ าจากประสบการณ์ของพีป่ ลาทีเ่ คยสร้างคนมาแล้ว กว่า 20 ปี ด้วยประสบการณ์ตรงจากวิทยาลัยพละศึกษาและการเป็นโค้ชกีฬาให้กบั นักกีฬาหลากหลายทีม ทัง้ วอลเล่ยบ์ อล ว่ายน�ำ้ ฟุตบอล ท�ำให้พปี่ ลามองการ โค้ชกีฬาและการโค้ชทีมชุมชนไม่ตา่ งกันมากนัก คือ ต้องอ่านสนามให้ขาด วางแผนการเล่นให้เหมาะกับนักกีฬาแต่ละคนและกีฬาแต่ละประเภท ทีส่ ำ� คัญ คือการฝึกฝน นอกจากนี้ ในช่วงทีท่ ำ� งานด้านการพัฒนาชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี พีป่ ลาได้มสี ว่ นทัง้ ปลุกและปัน้ กลุม่ ชุมชนหลายสิบกลุม่ ให้มคี วามเข้มแข็ง ยืนหยัด ท�ำงานเพือ่ บ้านเกิดด้วยตนเองจนทุกวันนี้ กลุม่ ชุมชนเหล่านัน้ ก็ยงั ท�ำงานใน
36
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ชุมชนของตนอย่างต่อเนือ่ ง นีค่ อื แนวทางการท�ำงานชุมชนของพีป่ ลา คือ ชุมชน ต้องอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง ไม่เพียงโค้ชกลุม่ ชุมชน แต่พปี่ ลาเห็นความส�ำคัญของการสร้างคน โดย เฉพาะคนทีเ่ ป็นทีมงานทีต่ อ้ งเดินเคียงบ่าเคียงไหล่กนั สูเ่ ป้าหมาย “เมือ่ รับคนเข้ามาท�ำงาน เราก็เห็นชัดว่าศักยภาพของคนไม่เท่ากัน อย่างมูม่ ู ก็เข้ากับคนได้งา่ ย ถ้าเติมความรู้ ความเข้าใจในงาน เติมทักษะการสือ่ สาร เขา ก็จะไปได้” พีป่ ลาเล่า มูมู่ จากทีน่ งั่ คุยจนลงไปนอนตะแคงคุย หันมาเสริมความถึงความเข้มข้น ในการฝึกฝนคนของพีป่ ลาว่า ตอนทีเ่ ป็นผูช้ ว่ ยวิทยากรให้พปี่ ลา ได้รบั มอบหมาย ให้เขียนใจความส�ำคัญต่างๆ ขึน้ กระดาน ถ้าเขียนผิดก็ตอ้ งมาคัดลายมือ เช่น ให้คดั ค�ำว่า “อุปสรรค” มา 100 ค�ำ หลังจากนัน้ ค�ำว่าอุปสรรคก็ไม่เป็นปัญหา ส�ำหรับมูมอู่ กี เลย “การเป็นผูช้ ว่ ยวิทยากร ท�ำกระบวนการ ต้องค�ำนึงถึงการเขียน การ จับประเด็น การสะกดค�ำให้ถกู ต้องด้วย” พีป่ ลามองมูมพู่ ร้อมรอยยิม้ “เขียน ผิดๆ ถูกๆ แต่พดู ได้นำ�้ ไหลไฟดับ พูดจนลงไม่ได้ ก็ตอ้ งฝึกกัน เติมในสิง่ ทีเ่ ขาขาด ค่อยๆ เติมไปทีละเรือ่ ง หาหนังสือให้อา่ น คอยถามว่าอ่านหรือยัง อ่านแล้วได้ อะไร เพราะทุกคนไม่ได้มแี นวคิดหรือทักษะด้านการพัฒนาชุมชน คือ การเริม่ ต้นใหม่ทงั้ หมด” พีป่ ลาเล่าวิธกี ารฝึกคนท�ำงานในทีมของเธอ ในส่วนทีมชุมชน พีป่ ลามองว่าก็ยงั ต้องพัฒนาศักยภาพ เสริมทักษะ และสร้างความมัน่ ใจให้กบั ทีมมากยิง่ ขึน้ เพราะหลายคนมักจะคิดว่าตนเองยัง ไม่เก่งพอ เมือ่ ไม่มนั่ ใจ คิดว่าตนเองไม่เก่ง ก็จะโยนงานให้เพือ่ นในทีม เมือ่ ท�ำ บ่อยครัง้ การพัฒนาตนเองของแต่ละคนก็จะถดถอยลงเรือ่ ยๆ ส่วนเพือ่ นทีถ่ กู โยนงานก็จะเก่งขึน้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
37
ทักษะทีพ่ ปี่ ลามองว่าทีมชุมชนต้องฝึกฝนเพิม่ อาทิ การจัดกระบวนการ การจับประเด็น และแนวคิดการพัฒนาศักยภาพคน เป็นต้น “อย่างทีก่ ะฮาดถือว่าเป็นจุดเริม่ ต้น กว่าคนในชุมชนจะยืนได้ ต้องใช้เวลา ประมาณ 3 ปี และต้องเป็นการท�ำงาน 3 ปีอย่างมียทุ ธศาสตร์ หลักสูตรที่ จะช่วยสร้างทีม มองว่าต่อไปจะต้องเรียนรูเ้ รือ่ งการจัดการความขัดแย้ง ถึงตอน นีจ้ ะยังไม่มแี ต่ตอ้ งเรียนรูไ้ ว้ อีกอย่างหนึง่ ทีมกลไกต้องพร้อมให้คำ� ปรึกษากับ พ่อแม่ หรือคนทีม่ าถาม ถ้าท�ำประเด็นเรือ่ งการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ก็ตอ้ ง มีความรูเ้ รือ่ งนี้ ให้กลายเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านนีไ้ ด้เลยยิง่ ดี” พีป่ ลากล่าวว่า ความยากของการท�ำงานเป็นทีมคือ การจูนให้คนมี ความเข้าใจเท่ากัน ต้องท�ำให้เข้าใจเป้าหมายเดียวกัน นอกจากนีย้ งั ต้องมองหา ผูน้ ำ� ทีมไปพร้อมๆ กันด้วยในอนาคต ก่อนถึงเวลาทีต่ อ้ งร�ำ่ ลา พีป่ ลาบอกว่านอกเหนือจากงานเด็กปฐมวัยแล้ว เรือ่ งทีอ่ ยากจะขับเคลือ่ นควบคูก่ นั ไปด้วยก็คอื การค้นหารากเหง้า ประวัตศิ าสตร์ ชุมชนของคนกะฮาด ซึง่ ทุกคนพยักหน้าเห็นด้วย เพราะการทีเ่ รารูร้ ากเหง้าของ ตนเองอย่างแท้จริง จะช่วยเสริมสร้างความมัน่ ใจและสามารถตอบได้เต็มปาก ว่าเราเป็นใคร มาจากไหน หน่อไม้ทตี่ ดั ไว้หลายหน่อ บรรจุใส่ในถุงเพือ่ เป็นของฝากติดไม้ตดิ มือ กลับบ้าน ทุกคนกล่าวลาพีป่ ลา มูมู่ รวมถึงเจ้าสุนขั เฝ้าบ้านทัง้ สาม นอกจาก หน่อไม้แล้วเรายังได้เมล็ดพันธุท์ างความคิดติดตัวกลับไปเช่นกัน
ต� ำ บลดงเย็ น จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ผู้ให้ข้อมูล ศุภชัย สราญรมย์ สุนา ดีดวงพันธ์ ทิพวรรณ์ บริบูรณ์ โสพา รุ่งโรจน์ ชุมภู เที่ยงโยธา
ทีมโค้ช ราตรี จูมวันทา พรรณงาม หวายเค
ต�ำบลดงเย็น อยูใ่ นอ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร เป็นต�ำบลขนาดใหญ่ อยูไ่ ม่ไกลจากตัวเมืองมุกดาหาร ประกอบด้วย 14 หมูบ่ า้ น จ�ำนวนประชากรทัง้ สิน้ 10,709 คน บางส่วนเป็นชาวไทยย้อซึง่ เป็นชาวไทยในภาคอีสาน เช่น จังหวัดสกลนคร มหาสารคาม นครพนม และชาวไทยย้อในต�ำบลดงเย็น อ�ำเภอ เมือง จังหวัดมุกดาหาร ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพปลูกพืช เช่น ท�ำนา, ท�ำสวน ยางพารา, ท�ำไร่ออ้ ย และไร่มนั ส�ำปะหลัง ฯลฯ เลีย้ งสัตว์ เช่น เลีย้ งโค, กระบือ เป็นต้น ในการส�ำรวจของทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล ข้อมูลล่าสุดในปี 2563 พบว่า มีเด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี ในพืน้ ทีต่ ำ� บลดงเย็น ทัง้ หมด 619 คน เป็นเด็ก สภาวะปกติ ครอบครัวดูแลเอาใจใส่สง่ เสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม จ�ำนวน 275 คน เด็กทีอ่ ยูใ่ นสภาพแวดล้อมไม่สมบูรณ์ 146 คน และเด็กทีน่ า่ จะอยูใ่ น สภาวะเสีย่ ง 198 คน สถานการณ์ปญ ั หานับตัง้ แต่หญิงตัง้ ครรภ์ทไี่ ม่มคี วามรูท้ งั้ ก่อนตัง้ ครรภ์ และหลังคลอดในการดูแลตัวเอง เช่น การฝากครรภ์ การดูแลตัวเองในด้านต่างๆ บางรายเป็นหญิงตัง้ ครรภ์อายุนอ้ ย บางรายเสพสารเสพติดระหว่างตัง้ ครรภ์ ปัญหาทีเ่ กิดกับตัวเด็ก เช่น เด็กกินอาหารไม่ครบทุกมือ้ ขาดโภชนาการ เด็กผอม เด็กอ้วน เด็กพัฒนาการไม่สมวัย เรียนรูช้ า้ สมาธิสนั้ บางรายเด็กมี โรคประจ�ำตัว เช่น ธาลัสซีเมีย เลือดจาง หอบ หืด นอกจากนีย้ งั มีปญ ั หา พฤติกรรมของเด็ก ติดโทรศัพท์ ติดเกม ก้าวร้าว เลียนแบบ พักผ่อนไม่ตรงเวลา นอกจากนีย้ งั มีปญ ั หาของผูป้ กครองทีข่ าดความรูเ้ กีย่ วกับการดูแลเด็ก ในทุกด้าน ทัง้ อาหาร การส่งเสริมพัฒนาการ และมักหยิบยืน่ โทรศัพท์ให้กบั เด็ก ปัญหาส�ำคัญทีส่ ง่ ผลต่อเด็กในหลายครอบครัวคือ ความยากจน รายได้ น้อย ไม่มที ดี่ นิ ท�ำกิน
40
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ชะตากรรมเปลีย่ นได้เมือ่ เราร่วมมือกัน
หญิงสาวก้มมองลูกน้อยของเธอด้วยแววตารักใคร่ แต่กแ็ ฝงไว้ดว้ ย ความเศร้า ตัง้ แต่แรกคลอด ลูกน้อยของเธอต้องใส่เครือ่ งช่วยหายใจตลอดเวลา คุณหมอบอกว่า ลูกของเธอเป็นโรคหัวใจ ซึง่ จะส่งผลให้เด็กน้อยมีภาวะกล้าม เนือ้ อ่อนแรง “อาจจะมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ หมอจะนัดให้มาตรวจเช็คทุก 3 เดือนนะ” คุณหมอแนะ ปีกว่าแล้ว ลูกของเธอยังเดินไม่ได้ ขับถ่ายก็ลำ� บาก และยังไม่รวู้ า่ จะ รักษาหายเมือ่ ใด ยามบ่ายของฤดูหนาวเดือนมกราคม 2563 แดดยังร้อนระอุไม่ตา่ งจาก ฤดูอนื่ ทีมกลไกชุมชนต�ำบลดงเย็น 8 คน เดินทางมุง่ หน้าไปเยีย่ มบ้านแม่ลกู คู่ นีท้ บี่ า้ นโพนสวาง หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลดงเย็น จังหวัดมุกดาหาร น�ำทีมโดย ราตรี จูมวันทา หรือ พีต่ รี โค้ชของทีมชุมชน จากองค์กรต้นกล้าเพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชีวติ เด็ก เยาวชน และครอบครัว และ พรรณงาม หวายเค หรือ เล็ก ผูอ้ ำ� นวยการ กองการศึกษา เทศบาลต�ำบลดงเย็น
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
41
บนแคร่ใต้ถนุ บ้าน หญิงสาวก�ำลังนัง่ ป้อนนมลูกในอ้อมกอดของเธอ เด็ก น้อยตัวซีด แขนขาลีบเล็ก ทีมผูม้ าเยีย่ มเข้าไปทักทายถามไถ่ทกุ ข์สขุ ได้ความว่า หญิงสาวเลีย้ งลูกเพียงล�ำพัง “น้องได้ลงทะเบียนรายชือ่ ผูพ้ กิ ารไหม จะได้เบีย้ รายเดือนพอมาเป็น ค่ายา ค่านม” ทีม อสม. ถาม
สาวแม่เลีย้ งเดีย่ วส่ายหน้า พลางลูบแขนและขาลีบแบนของลูก
“ยังไม่ได้ทำ� ค่ะ เพราะลูกยังไปหาหมอรักษาอยู่ ลงทะเบียนรับเบีย้ ผู้ พิการไม่ได้” เธอกล่าวพร้อมถอนหายใจ แววตาเศร้าลงไปอีก “อีกไม่กเี่ ดือน ก็ ต้องหอบลูกไปหาหมอทีโ่ รงพยาบาลจังหวัดอุบลราชธานี ยังไม่รวู้ า่ จะเอาค่ารถ จากไหนเลย” ขณะพูดคุยกัน อสม. ทีร่ ว่ มทีมชุมชนสังเกตเห็นอาการของหนูนอ้ ย และได้ถามไถ่ผเู้ ป็นแม่จนได้ความว่า เด็กมีอาการแพ้นมวัวทีแ่ ม่ชงให้ จึงแนะน�ำ ให้เปลีย่ นมาใช้นมทีม่ โี ปรตีนจากพืชแทน “เดีย๋ วรอบหน้าพีจ่ ะแวะเอานมมาให้ละกัน...อ่ะ! ตอนนีพ้ ผี่ กู ข้อมือ หลานนะ ขวัญเอ้ย ขวัญมานะลูก” ผูเ้ ยีย่ มบ้านทัง้ 8 คนทยอยผูกข้อมือหนูนอ้ ยทีละคน พร้อมมอบค่านม ค่าเดินทางเพือ่ ไปโรงพยาบาล รวมถึงค่ารักษาพยาบาล น�ำ้ ใจของผูม้ าเยือนท�ำให้หวั ใจของแม่เลีย้ งเดีย่ วมีแรงขึน้ อีกครัง้ ไม่รสู้ กึ เดียวดายอีกต่อไป
42
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
วันถัดมา เรือ่ งราวของหญิงสาวแม่ลกู อ่อนคนนีถ้ งึ หู หมอบิม๋ - ศุภชัย สราญรมย์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขช�ำนาญการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบลบ้านป่งโพน ต�ำบลดงเย็น หนึง่ ในสมาชิกทีมกลไกชุมชนต�ำบลดงเย็น หมอบิม๋ ไม่รรี อ จัดสรรเวลาเดินทางเข้าไปเยีย่ มครอบครัวสองแม่ลกู คูน่ ี้
แม่ของเด็กดีใจมากทีม่ คี ณ ุ หมอมาเยีย่ มถึงบ้าน
“พอพี่ อสม. เอานมมาให้ลองเปลีย่ น น้องกินแล้ว ดีขนึ้ ค่ะหมอ ไม่ แหวะนม พีเ่ ขาสอนให้ลองนวดกล้ามเนือ้ ให้นอ้ ง ดูเหมือนจะดีขนึ้ ” แม่เลีย้ ง เดีย่ วเล่าด้วยความดีใจ หมอบิม๋ แนะน�ำเรือ่ งการป้องกันตัวเองและดูแลสุขภาพของทัง้ แม่และ เด็ก อีกทัง้ ควักเงินส่วนตัวออกมาผูกข้อมือให้เด็กน้อย
“เป็นเงินผูกข้อมือของทีมดงเย็นนะครับ” หมอบิม๋ ยิม้
สองเดือนต่อมา ทีมดงเย็นไปเยีย่ มเด็กน้อยอีกเป็นครัง้ ที่ 3 และได้ ข่าวดีวา่ หนูนอ้ ยไม่ตอ้ งใส่เครือ่ งช่วยหายใจแล้ว ผิวพรรณดูมนี ำ�้ นวลขึน้ มาก และแววตาแจ่มใสขึน้ “หนูได้กำ� ลังใจจากพีๆ่ ตอนนีก้ ำ� ลังลงทุนขายของเพือ่ เลีย้ งชีพเพือ่ ลูก” ตาของเธอเป็นประกาย
ทุกคนทีไ่ ปเยีย่ มเธอยิม้ ด้วยความยินดี
ไม่วา่ จะเป็นเวรกรรมหรือพันธุกรรม แต่ชะตากรรมของคนเราเปลีย่ น แปลงได้ อย่างทีไ่ ด้เกิดขึน้ กับเด็กน้อยและหญิงสาวผูเ้ ป็นแม่ ด้วยความรักและ ความร่วมมือกันของหลายฝ่ายในนาม “ทีมกลไกต�ำบลดงเย็น”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
43
น�ำ้ ใจน้องพีช่ าวดงเย็น ความส�ำเร็จเล็กๆ ทีเ่ กิดขึน้ ช่วยเคีย่ วความเป็นทีมให้เหนียวแน่นขึน้ ส่ง ผลให้ทมี ชุมชนดงเย็นพร้อมรับความท้าทายทีส่ งู ขึน้ ในช่วงโรคระบาด “ช่วงโควิด โรงเรียนปิดเทอม ศูนย์เด็กเล็กก็ปดิ ผูป้ กครองหลายคน บอกว่าไม่รจ้ ู ะสอนลูกหลานอย่างไร ก็เลยปล่อยเด็กๆ ให้อยูก่ บั มือถือ เด็กบางคน เล่นโทรศัพท์จนแบตหมด แม้แบตหมดก็ยงั เสียบปลัก๊ เล่นต่ออีก อสม. ทีล่ งพืน้ ทีบ่ อกว่า ช่วงทีผ่ า่ นมา พัฒนาการของเด็กถดถอยลง มือแข็ง ใช้กล้ามเนือ้ มือ ไม่คอ่ ยได้ดี ขีดเขียนอะไรไม่ได้ดเี หมือนก่อน และมีพฤติกรรมก้าวร้าวขึน้ ด้วย” พีต่ รี โค้ชของทีมต�ำบลดงเย็นเล่า ข้อมูลทีไ่ ด้รบั จาก ทีม อสม. ท�ำให้ทมี กลไกดงเย็น ประชุมหารือกันเพือ่ วางแผนลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มเยียน ประสานความช่วยเหลือ และส�ำรวจปัญหาในพืน้ ที่ แต่ละคนเลือกลงพืน้ ทีต่ ามเวลาทีส่ ะดวก และตามบทบาทหน้าทีท่ ตี่ กลงกันไว้ อย่างเช่น คนทีร่ บั หน้าทีป่ ระสานงานและคนในพืน้ ที่ ผูท้ รี่ บั อาสาจดบันทึกการ พูดคุยและส�ำรวจข้อมูล คนให้ความรูพ้ ฒ ั นาการเด็ก และคนให้ความรูเ้ รือ่ ง สุขภาพและโรคระบาดโควิด - 19 เป็นต้น ฤกษ์สะดวกในเดือนพฤษภาคม 2563 หน้ากากผ้าส�ำหรับเด็กและ ผูใ้ หญ่ เจลล้างมือ ภาพวาดระบายสีสำ� หรับเด็ก ข้าวสาร อาหารแห้ง ทีไ่ ด้รบั การ สนับสนุนจากหลายหน่วยงาน ถูกจัดเตรียมไว้พร้อมเพือ่ น�ำออกไปแจกกจ่ายใน การเยีย่ มบ้านเด็กปฐมวัยทัง้ 14 หมูบ่ า้ นในต�ำบล รวมทัง้ สิน้ 540 คน แม้อณ ุ หภูมจิ ะแตะ 40 องศาเซลเซียส แต่ทมี ดงเย็นไม่ถอย พากัน หอบหิ้วของไปมอบให้ตามบ้าน พร้อมทั้งแนะน�ำวิธีการดูแลสุขภาพในช่วง สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด - 19 ถึงจะร้อนจนเหงือ่ ไหลไคลย้อย บางคนถึงกับเป็นลม แต่กห็ ายเหนือ่ ย เมือ่ เห็นรอยยิม้ กว้างของผูร้ บั
44
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“มีความสุขทีไ่ ด้ทำ� งานบริการชุมชน ลงชุมชนแต่ละครัง้ ทัง้ เหนือ่ ยและ ร้อน แต่ทกุ คนร่วมมือกันดี เรายิม้ หัวเราะด้วยกัน จ�ำได้วา่ วันนัน้ 5 โมงเย็น รูส้ กึ หน้ามืด ทุกคนก็มาซักถาม ช่วยนวดเฟ้น เอาผ้ามาเช็ดให้ รูส้ กึ อบอุน่ ใจกับ ทีมของเรา” ครูทพิ ย์ - ทิพวรรณ์ บริบรู ณ์ ครูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านดงเย็น เล่าถึง ช่วงเวลาทีล่ งไปเยีย่ มชุมชน ครูภู่ - ชมภู เทีย่ งโยธา หัวหน้าศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านสามขัว – ดอนสวรรค์ เล่าเสริมความประทับใจ “ทีมของเราเข้มแข็ง ยิง่ มีทมี หนุนเสริมที่ รูข้ อ้ มูลอยูแ่ ล้วว่ามีเด็กจ�ำนวนเท่าไร เราก็คดั กรองและช่วยเหลือได้ทกุ ครัวเรือน จริงๆ ตอนวันไปเยีย่ มเด็กพร้อม อสม. ผูป้ กครองเด็กก็ตนื่ เต้น เราก็มคี วามสุข” เด็กๆ ก็มคี วามสุขเช่นกัน ทีไ่ ด้รบั สมุดวาดภาพระบายสี หรือตุก๊ ตาปูน พร้อมสีเพือ่ มาระบาย อุปกรณ์สร้างเสริมพัฒนาการเด็กเล็กนีเ้ ป็นหนึง่ ในความ หวังทีจ่ ะให้เด็กออกห่างจากมือถือและกลับมาพัฒนากล้ามเนือ้ มัดเล็กทีม่ อื เพือ่ ให้มพี ฒ ั นาการสมวัย “พวกเราดีใจทีผ่ ปู้ กครองบางคนบอกว่า พาเด็กไปนา หรือไปไร่มนั ส�ำปะหลังด้วย ท�ำให้เด็กห่างมือถือได้บา้ ง” พีต่ รีเล่าเสริม
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
45
หมอบิม๋ ก็รสู้ กึ อิม่ ใจเช่นกัน แม้จะท�ำงานที่ รพ.สต. อย่างเต็มเวลาแล้ว ก็ยงั อาสาลงเยีย่ มบ้านกับทีมเพือ่ ให้ความรูช้ มุ ชนเกีย่ วกับเรือ่ งสุขภาพและการ ป้องกันโรคระบาด “ผมไม่ได้ใกล้ชดิ งานเด็กมากเท่านีม้ าก่อน ครัง้ นีผ้ มต้องเดินสายเป็น ตัวแทนของสาธารณสุขร่วมกับทีมชุมชน ได้สมั ผัสพืน้ ทีด่ งเย็นทัว่ ถึงจริงๆ” หมอบิม๋ ยิม้ “ผมออกไปให้ความรูเ้ รือ่ งโควิด ก็มคี วามสุข คนในชุมชนรูส้ กึ เชือ่ ถือหมออยูแ่ ล้ว เมือ่ เราให้ความรูแ้ ล้วเขาฟัง เห็นรอยยิม้ เราก็รสู้ กึ ภูมใิ จใน ตนเอง หรือตอนไปเยีย่ มเคส เรารับฟังปัญหาของเขา คุยกันก็รบั รูป้ ญ ั หาทีท่ ำ� ให้ พัฒนาการของเด็กไม่ดี เราได้ใกล้ชดิ ครอบครัวเด็กมากขึน้ เปิดใจมากขึน้ ” ความสุขและรอยยิม้ จากการลงเยีย่ มบ้าน ต้องขอบคุณผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลัง ที่ประสานการลงพื้นที่ให้เป็นไปอย่างราบรื่น หนึ่งในนั้น คือ ผู้ใหญ่สุนา ดีดวงพันธ์ ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ 1 บ้านดงเย็น “ผมประสานการลงพืน้ ทีท่ กุ ครัง้ ก็ได้รบั การตอบรับและความร่วมมือ อย่างดีจากทัง้ ผูป้ กครอง และทีม อสม. การร่วมงานกับทีมกลไกช่วยให้เข้าถึง ปัญหาได้รวดเร็ว โดยเฉพาะเด็กทีม่ ปี ญ ั หาด้านร่างกาย เราได้เห็นการพัฒนาการ ทีด่ ขี นึ้ จากทีเ่ ดินไม่ได้ ก็เดินได้ จากทีก่ นิ ไม่ได้ ก็กนิ ได้มากขึน้ บางที ผมไป ส่วนตัว เขาก็ถามหาทีมของเราตลอด ผมรูส้ กึ มีความสุข รูส้ กึ ว่าท�ำงานได้สำ� เร็จ ตามเป้าหมายทีต่ ง้ั ใจ ดีใจทีไ่ ด้ชว่ ยเด็กให้พน้ จากความยากล�ำบาก และพัฒนา ชุมชนให้ดขี นึ้ ตามทีต่ นเองตัง้ ใจในฐานะทีเ่ ป็นผูใ้ หญ่บา้ น” การลงเยีย่ มบ้านของทีมชุมชนท�ำให้ชาวดงเย็นรูส้ กึ อุน่ ใจในยามทีเ่ ผชิญ วิกฤต ทีมชุมชนไม่เพียงแบ่งปันอาหารข้าวของจ�ำเป็น แต่ยงั ติดตามดูพฒ ั นาการ เด็กเพือ่ ให้คำ� แนะน�ำในการเลีย้ งดูกบั ผูป้ กครองให้เหมาะสม รวมถึงยังได้เก็บ ข้อมูลทัง้ จากการพูดคุยและการสังเกตสภาพความเป็นอยู่ เพือ่ น�ำมาหารือ ออกแบบ การท�ำงานเพือ่ เด็กและครอบครัวต่อไป
46
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ความเป็นทีมไม่ได้สร้างได้ในวันเดียว
ความส�ำเร็จในวันนีม้ าจากหลายร้อยวันก่อนหน้า
ความเป็นทีมของชุมชนดงเย็นทีร่ ว่ มอกร่วมใจกันท�ำงานจนเกิดผลที่ น่าชืน่ ใจเกิดจากหลายเรือ่ งราวของผูค้ นทีม่ ารวมตัวกัน โดยการชักชวนของพีต่ รี นักพัฒนาเอกชนทีท่ ำ� งานในพืน้ ทีจ่ งั หวัดมุกดาหารมากว่า 20 ปี ในฐานะโค้ชทีมชุมชนในโครงการฯ ภารกิจแรก คือ การเฟ้นหาผูท้ จี่ ะ มาร่วมเป็นทีมของชุมชน เธอเริ่มด้วยการประสานไปยังเทศบาลเพื่อขอให้ ตัวแทนจากหน่วยงานทีท่ ำ� งานเด็กปฐมวัยและครอบครัวมาร่วมประชุมท�ำความ เข้าใจโครงการและอาสาเข้าท�ำงานในนามทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล หลายครัง้ ทีม่ โี ครงการลงมาในพืน้ ที่ คนท�ำงานในฝ่ายท้องถิน่ เทศบาล หรือหน่วยงานของรัฐ มักจะมาร่วมกิจกรรมตามจดหมายเชิญและค�ำสัง่ แต่ เมือ่ ได้มาพบปะพูดคุยถึงเป้าหมายและกระบวนการกันแล้ว หลายคนเริม่ เปลีย่ น มุมมองและอาสาเข้าร่วมทีมอย่างเต็มใจ ค�ำเชิญและการพบปะพูดคุยกับผูน้ ำ� ชุมชนเพือ่ ชวนคนมาร่วมทีมยังคง เปิดกว้างไว้เสมอเพือ่ ให้แต่ละคนได้ทำ� ความเข้าใจการท�ำงานของทีมและเห็น ประโยชน์ของการท�ำงานเพือ่ เด็กๆ ในตอนนีจ้ งึ มีผใู้ หญ่บา้ น 2 คน ทีเ่ ป็นก�ำลัง ส�ำคัญและร่วมหัวจมท้ายกับทีมดงเย็น หนึง่ ในนัน้ ผูใ้ หญ่สนุ า “ตัวแทนหมูบ่ า้ น เขาให้ผมไปเป็นตัวแทน ซึง่ ก่อนหน้านัน้ ยังไม่รรู้ ายละเอียด แต่กไ็ ป เพราะคิด ว่าเราพอผ่านประสบการณ์การท�ำงานกับพื้นที่มาบ้าง มีอะไรเผื่อจะเป็น ประโยชน์ชว่ ยได้ พร้อมกับให้เราประสานความร่วมมือกับ อสม.” โสพา รุง่ โรจน์ ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่ 4 บ้านสามขัว เป็นอีกคนทีเ่ ข้าร่วมทีม และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการลงพืน้ ทีแ่ ละการประสานงานไปยังหมูบ่ า้ นต่างๆ ร่วม กับผูใ้ หญ่สนุ า
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
47
“ในฐานะผูน้ ำ� ชุมชน มีหน้าทีใ่ นการช่วยเหลืออยูแ่ ล้ว และเมือ่ ทีมกลไก มาชวน ก็ยนิ ดีทจี่ ะช่วยเหลือ เป็นหน้าทีข่ องเราอยูแ่ ล้ว ไม่รสู้ กึ ว่าเป็นภาระแต่ อย่างใด” เมือ่ ผูใ้ หญ่สนุ าและผูใ้ หญ่โสพาเข้าร่วมทีมชุมชนดงเย็น ทีม อสม. ก็ พ่วงเข้ามาร่วมงานด้วย ในฐานะทีมหนุนเสริมในพืน้ ที่ เนือ่ งจากทีผ่ า่ นมา อสม. และ ผูใ้ หญ่บา้ นทัง้ สองร่วมท�ำงานในพืน้ ทีด่ ว้ ยกันมาโดยตลอด ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเป็นหน่วยงานส�ำคัญทีข่ าดไม่ได้ในการสร้างทีม ชุมชนดงเย็น ครูศนู ย์เด็กฯ หลายคนเล่าว่า ตอนแรก ก็มาตามบทบาทหน้าที่ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโครงการแบบผูส้ งั เกตการณ์ แต่ในทีส่ ดุ ก็อาสาก้าวเข้า มาเป็นทีมกลไกชุมชนเต็มตัว “ตอนแรกพีต่ รีมาทีเ่ ทศบาล กองการศึกษา เชิญหัวหน้าศูนย์เข้าไปคุย เรือ่ งพัฒนาการเด็ก ต่อมา ผอ. เล็ก ก็ชวนให้ไปร่วมอบรมทีข่ อนแก่น แรกๆ ก็ ยังงงๆ ไม่คอ่ ยเข้าใจว่าท�ำอะไร อย่างไร ต่อมาจึงเข้าใจว่าทีท่ ำ� นีค้ อื การสร้าง พัฒนาการเด็กทีย่ งั่ ยืน ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ ราอยากให้เกิดขึน้ ได้จริง” ครูภกู่ ล่าว ครูทพิ ย์กเ็ ช่นกัน แรกเข้ามากับทีมชุมชนในฐานะตัวแทน แต่เมือ่ ได้เข้า ร่วมกิจกรรมแล้ว ก็ไม่ขอเป็นส�ำรองอีกต่อไป “เรือ่ งนีม้ นั เกีย่ วกับงานของเรา เป็นโอกาสทีไ่ ด้เข้าใจงานมากขึน้ เห็น ภาพเด็กทีต่ กอยูใ่ นสภาวะยากล�ำบาก และเห็นทางทีจ่ ะเข้าช่วยเหลือเด็กได้เต็ม ทีม่ ากขึน้ ”
48
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง นอกเหนือจากงานในหน้าทีแ่ ล้ว แต่ละคนทีพ่ ตี่ รีชกั ชวนมาล้วนมีใจ อาสา เมือ่ ใจมา ก็พร้อมเรียนรูแ้ ละท�ำกิจกรรมต่างๆ รวมถึงการเข้าร่วมเวที ฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนือ่ ง 3 ครัง้ เพือ่ เรียนรูใ้ นเรือ่ งสิทธิเด็ก พัฒนาการเด็ก และการออกแบบการให้ความช่วยเหลือ ไม่ใช่แค่ “กินอิม่ นอนอุน่ ” แต่ทกุ คนรูส้ กึ สนุกทีไ่ ด้รจู้ กั เพือ่ นทีมชุมชน จากต�ำบลอืน่ ๆ อีก 4 แห่ง และเรียนรูก้ ระบวนการปรึกษาหารือ การสนทนา อย่างสร้างสรรค์และมีสว่ นร่วม ซึง่ เป็นหัวใจของการสร้างความเป็นทีม เราจะไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง --- ทีมหลักของชุมชนดงเย็นตกลงร่วมกันว่า จะท�ำสถานีการเรียนรูภ้ ายในทีม เพือ่ ให้ทกุ คนในทีมทัง้ ทีมหลักและทีมหนุน เสริมได้รบั รูส้ ถานการณ์ ข้อมูลต่างๆ ร่วมกัน “ในเวทีอบรม เรา (ทีมชุมชน) ไม่ได้ไปกันทุกคน เวลาเราท�ำกิจกรรม เรียนรูอ้ ะไรในเวที เราก็คดิ ถึงทีมของเรา อยากให้ทมี หนุนเสริมหรือทีม อสม. ได้เรียนรูด้ ว้ ย ให้มขี อ้ มูล ความรูต้ า่ งๆ ด้วยกัน” ครูชมภูก่ ล่าว “ภายหลังเวทีอบรมหรือการท�ำกิจกรรมใดๆ เราจะกลับไปเล่าสูก่ นั ฟัง ว่า เจออะไรกันมาบ้าง เราให้ทมี หนุนเสริมได้ซกั ถามเกีย่ วกับการท�ำงานในพืน้ ที่ ทีผ่ า่ นมาและปัญหาเด็กทีเ่ จอ ถอดเป็นหัวข้อ เขียนใส่บอร์ด และสรุปการ วางแผนให้ผเู้ ข้าอบรมได้ทราบบทบาทด้วย” ครูทพิ ย์เสริม ทีมชุมชนดงเย็นจึงมีการพูดคุยกันอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ สร้างความเข้าใจ ร่วม ทัง้ ในช่วงการเตรียมแผนการท�ำกิจกรรม การสรุปงาน และถ่ายทอดการ เรียนรูใ้ ห้กนั และกัน โดยใช้กระบวนการต่างๆ ทัง้ เช็คอินให้ทกุ คนเปิดใจ เล่า สารทุกข์สขุ ดิบสูก่ นั ฟัง กระบวนการกลุม่ เปิดพืน้ ทีใ่ ห้ทกุ คนได้แสดงความคิดเห็น การตัง้ ค�ำถามชวนคิด แล้วเขียนความคิดลงบนกระดาษ เป็นต้น
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
49
“ทีส่ ำ� คัญ พวกเรายอมรับฟังกัน ไม่คดิ ว่าเราเก่งกว่าเพือ่ น หรือแสดง ว่าตนเองรูแ้ ล้ว เราฟังกันด้วยหัวใจ ตามทีไ่ ด้เรียนรูม้ า” ครูทพิ ย์สรุปหนึง่ ใน ปัจจัยส�ำคัญของความเป็นทีม ยิง่ ได้รว่ มคิด ร่วมคุย ร่วมเรียนรู้ และร่วมลงมือท�ำด้วยกันอย่างต่อเนือ่ ง ความสัมพันธ์กย็ งิ่ แนบแน่น คนท�ำงานก็งอกงามเติบโต เด็ก ครอบครัว และ คนในชุมชนก็มคี วามสุขขึน้ ครูทพิ ย์กล่าวว่า “เดิมเราดูแค่เด็กในศูนย์ฯ ไม่รจู้ กั เด็กทีอ่ นื่ ๆ แม้แต่ใน หมูบ่ า้ นตัวเอง แต่เมือ่ เข้าเป็นทีม เราได้รจู้ กั เพือ่ นร่วมงานหลายท่าน สนิทกัน มากขึน้ ก็ได้รจู้ กั เด็กอืน่ ๆ ด้วย ไม่เฉพาะเด็กปฐมวัย แต่เป็นเด็กในหมูบ่ า้ นทีก่ ็ ต้องการความช่วยเหลือเช่นกัน ท�ำให้เรามีความเป็นจิตอาสามากขึน้ นอกเหนือ ไปจากงานตัวเอง” ผูใ้ หญ่สนุ าเสริมว่า “เราคุน้ เคยกับคนท�ำงานในเทศบาลมากขึน้ ทัง้ ที่ เมือ่ ก่อนก็ได้แต่เห็นหน้าค่าตากันบ้าง แต่ตอนนีส้ นิทสนมเชือ่ มงานกันง่าย แถม ได้เสริมความรู้ ได้ทดลองพูดให้ความรูค้ นอืน่ ๆ ตอนลงพืน้ ที่ ท�ำให้ตนเองเก่ง มากขึน้ ด้วย” การรูจ้ กั กันและกันท�ำให้การท�ำงานร่วมกันมีประสิทธิภาพมากขึน้ “เรา รูว้ า่ ใครบ้างเป็นทีม มีทงั้ ทีมหลัก ทีมสนับสนุน รูว้ า่ ใครมาจากไหน ถนัดอะไร เชีย่ วชาญด้านใด และทุกคนเชือ่ มัน่ ในกันและกัน” หมอบิม๋ ขยายความ และเล่า ถึงกรณีทสี่ ะท้อนชัดเจนว่า หลายหัวดีกว่าหัวเดียว “มีเคสหนึง่ เป็นเด็กทีม่ อื เท้าอ่อนแรง ผมเคยคุยกับผูป้ กครองของเด็ก ที่ รพ.สต. ตอนน�ำเด็กมาตรวจ แม่เด็กไม่คอ่ ยเข้าใจ ไม่ให้ความร่วมมือ เคสนีก้ ็ หลุดไป ต่อมา ทีมดงเย็นของเราขอเข้ามาตามเคสนี้ ก็ได้เห็นว่า เด็กแข็งแรงขึน้ จากเดิมทีเ่ คยคิดว่าน่าจะเดินไม่ได้” หมอบิม๋ เล่าด้วยความภาคภูมใิ จในความเป็น แบรนด์ “ทีมดงเย็น” ทีด่ จู ะเข้มแข็งขึน้ เรือ่ ยๆ
50
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ตอนนี้ ไปไหนมาไหน พอแนะน�ำตัวว่าเป็นทีมดงเย็น คนก็รจู้ กั และให้ ความร่วมมือดี ไม่วา่ จะท�ำงานในประเด็นใดก็ตาม”
“ทีมมีวนั นีเ้ พราะโค้ชดี” ทัง้ ผูใ้ หญ่สนุ าและผูใ้ หญ่โสพากล่าว
“ทีมของเราจะแบ่งงานกันรับผิดชอบ และเมือ่ เสร็จงานแล้ว ก็จะ แนะน�ำกันว่าจุดใดน่าจะแก้ไข ต่อไปจะท�ำอย่างไร โดยมีทมี โค้ชแนะแนวทาง ให้ ความรู้ เป็นหลักในการประสานทีม ช่วยขัน้ ตอนการวางแผนการท�ำงาน และ ทุกอย่างทีจ่ ะช่วยให้ทมี ดงเย็นประสบความส�ำเร็จ ทีส่ ำ� คัญอีกอย่างก็คอื ก�ำลังใจ ทีท่ มี โค้ชให้พวกเรา” “อย่างตอนทีล่ งพืน้ ที่ ทีมเราให้ความรูเ้ รือ่ งการป้องกันตนเองจากการ ระบาดของไวรัสโควิด - 19 พอกลับมาถอดบทเรียนกัน ทีมโค้ชก็ให้กำ� ลังใจว่า เรา สือ่ สารเข้าใจง่าย รูส้ กึ มีกำ� ลังใจฮึกเหิมขึน้ ตรงนีย้ งิ่ ท�ำให้เราอยากให้ความรูก้ บั คนอืน่ ๆ ต่อไปอีก” ก้าวต่อไปแห่งความสำ�เร็จ แม้จะมีความส�ำเร็จให้ชนื่ ชม แต่ทมี ดงเย็นก็ยงั มองเป้าหมายข้างหน้าที่ ต้องท�ำร่วมกันต่อไปอีกหลายเรือ่ ง อย่างเช่น การชักชวนให้ผนู้ ำ� หมูบ่ า้ นให้เข้ามา ร่วมทีมกันทุกหมูบ่ า้ น นอกจากนี้ ผูใ้ หญ่สนุ าและผูใ้ หญ่โสพา ก็อยากฟืน้ รูปแบบ การประชุมแบบกินกาแฟไปคุยกันไป ทีเ่ รียกว่า “การประชุมโสเหล่” ซึง่ ขาด ช่วงไป “เวทีสภากาแฟจะท�ำให้เรารับทราบปัญหาแต่ละหมูบ่ า้ น เช่น ปัญหา เด็กเยาวชน ปัญหายาเสพติด ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในหมูบ่ า้ นแม้จะเป็นเรือ่ งเล็กน้อย ก็ถอื ว่าส�ำคัญ จึงจะฟืน้ ให้เกิดวงสนทนานีท้ กุ วันที่ 5 ของเดือน”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
51
ในส่วนพัฒนาการและการเรียนรูข้ องเด็ก ทัง้ ครูทพิ ย์และครูภจู่ ากศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก อยากสานต่องานทีไ่ ด้ทำ� ไว้ และส่อประกายความส�ำเร็จ ครูทพิ ย์อยากสานต่อการท�ำของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ วัสดุเหลือใช้ ที่ ผูป้ กครองหลายคนเริม่ เห็นความส�ำคัญและให้ความร่วมมือ ส่วนครูภอู่ ยากสาน ต่อการแก้ปญ ั หาการรังแกและล้อเลียนกันของเด็ก ทีเ่ ป็นเหตุให้เด็กไม่อยากไป โรงเรียน “เราเห็นปัญหานี้ แล้วลงไปหาเด็กและผู้ปกครอง ถามไถ่อย่าง สม�ำ่ เสมอ ให้กำ� ลังใจเด็ก ให้กำ� ลังใจผูป้ กครอง จนเด็กยอมทีจ่ ะไปโรงเรียน รวม ถึงสือ่ สารกับครูในโรงเรียนให้ชว่ ยดูแลเรือ่ งการรังแกกันอีกทางหนึง่ ด้วย ถ้าเรา ไม่ลงไป เด็กอาจจะไม่เรียนหนังสือถาวร และส่งผลต่อการพัฒนาการ อ่านไม่ ออก เขียนไม่ได้ในอนาคต” ครูภกู่ ล่าวด้วยความภูมใิ จ ทีมดงเย็นยังคงติดตามเยีย่ มบ้านเด็กอย่างต่อเนือ่ ง รอยยิม้ จากทัง้ คน ในชุมชน ผูป้ กครอง และแววตาทีส่ ดใสของเด็กน้อย ท�ำให้ผใู้ หญ่ในทีมดงเย็น เปีย่ มไปด้วยก�ำลังใจ พวกเขาบอกว่ามาถูกทางแล้ว และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะสานงานด้าน เด็กปฐมวัยและครอบครัวต่อไป
ทุกคนในทีมดงเย็นแทบจะกล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า
“ตอนนี้ ไปไหนมาไหน ผูป้ กครอง คนในชุมชน ยิม้ แย้ม ให้การต้อนรับ รูส้ กึ อบอุน่ อยากท�ำงานให้เด็กและชุมชนดีขนึ้ ไปเรือ่ ยๆ”
52
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
บูรณาการที่เห็นเป็นรูปธรรม เพราะกระบวนการที่ใส่ใจ :
วัยเด็ก... เราทุกคนล้วนเดินผ่านเพือ่ การเติบโต
ในวัยนัน้ เราล้วนผ่านประสบการณ์การเล่น การเรียนรูส้ งิ่ ต่างๆ เมือ่ เติบโตจนถึงวัยท�ำงาน บางคนอาจจะลืมความสุข สนุกสนานของการเรียนรูใ้ น วัยเด็ก แต่สำ� หรับคนทีเ่ ติบโตและได้ทำ� งานกับเด็ก มีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ การเล่น ท�ำให้เด็กๆ ได้รบั ความสุขสนุกสนานตามวัยและช่วยเสริมสร้างให้พวก เขาได้เติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ บางครัง้ การท�ำงานของผูใ้ หญ่อาจจะต้องก้าวข้าม ข้อจ�ำกัดนานัปการ เพือ่ ให้การท�ำงานของผูใ้ หญ่กบั เรือ่ งของเด็กๆ เป็นเรือ่ ง เดียวกัน พีต่ รี - ราตรี จูมวันทา ขยับแว่นขณะครุน่ คิดถึงโจทย์ทไี่ ด้รบั มอบ หมายจากทีมมูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ หรือ Health Net ถึงการท�ำเป้าหมาย ให้เด็กปฐมวัยและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยที่ตนเองจะต้องรับ บทบาททีเ่ รียกว่า “โค้ช” หรือพีเ่ ลีย้ งของต�ำบลดงเย็น อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ถึงแม้จะท�ำงานพัฒนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมานาน แต่การบ้าน ครัง้ นีไ้ ม่งา่ ย เพราะประสบการณ์บอกว่าต้องสร้างทีมให้ได้กอ่ น และทีมดังกล่าว ก็ตอ้ งมีคนทีร่ ใู้ จ รูง้ าน เพือ่ แบ่งเบาการท�ำงาน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
53
“ถึงคราวสูก้ ต็ อ้ งสู”้ ในระยะแรกเธอได้ผชู้ ว่ ยฝีมอื ดีอย่าง พลอย อาทิตย์ โพธิไ์ ทรย์ มาประสานงานสิบทิศ ช่วยกันท�ำกิจกรรมลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจ จ�ำนวนเด็กปฐมวัยร่วมกันกับทีม อสม. ให้ได้ขอ้ มูลพืน้ ฐาน เพศ อายุ สภาพ แวดล้อมทีอ่ ยูอ่ าศัย เพือ่ จะได้ดวู า่ มีเด็กคนใดบ้างทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือ เร่งด่วน อีกทัง้ การประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ จะ ได้รว่ มกันก�ำหนดแผนการท�ำงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัวในต�ำบลดงเย็น ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กิจกรรมต่างๆ ก�ำลังด�ำเนินไปได้ตามแผนทีค่ ดิ ไว้ การหาทีมชุมชน เข้ามาร่วมท�ำงานด้วยกันก็กำ� ลังจะเข้ารูปเข้ารอย แต่สงิ่ ทีไ่ ม่ได้คดิ ไว้กค็ อื พลอย ทีมโค้ชของเธอไม่สามารถช่วยประสานงานและท�ำกิจกรรมในฐานะผูช้ ว่ ยได้ ต่อเนือ่ ง เพราะติดภารกิจงานประจ�ำ มิหน�ำซ�ำ้ ผอ.แก้ว (แก้วใจ แสนโสม) ผูอ้ ำ� นวยการกองสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม เทศบาลต�ำบลดงเย็น ทีป่ ระสานงาน ท�ำงานด้วยกันอย่างต่อเนือ่ ง จะลาออกเพือ่ ไปดูแลแม่ทเี่ ชียงใหม่ ท�ำให้พตี่ รี ต้องครุน่ คิดหนักอีกครัง้ “เดีย๋ วพีจ่ ะแนะน�ำคนให้ตรีเอง” ผอ.แก้วช่วยหาทางออกอย่างคนที่ เข้าใจการท�ำงาน พรรณงาม หวายเค หรือทีค่ นมักเรียกติดปากว่า ผอ.เล็ก ได้รบั เชิญจากโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพื่อสนับสนุนสุขภาวะเด็ก ปฐมวัยและครอบครัว ผ่านการแนะน�ำจาก ผอ.แก้ว ให้รจู้ กั กับพีต่ รี ในฐานะ พีเ่ ลีย้ งหรือเรียกว่าเป็นโค้ชของทีมกลไกท้องถิน่ ต�ำบลดงเย็น ในฐานะผูอ้ ำ� นวยการกองการศึกษาทีด่ แู ลบุคลากรศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และเจ้าหน้าที่หลายสิบคน ท�ำให้ ผอ.เล็ก เมื่อได้ฟังพี่ตรีและตัวแทนจาก Health Net น�ำเสนอ และอ่านโครงการฯ อย่างละเอียดก็รสู้ กึ สนใจ จากนัน้ ก็
54
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
รับค�ำเชิญจากพีต่ รีเพือ่ เข้าร่วมกระบวนการอบรมทีจ่ ะจัดให้กบั ทุกพืน้ ทีท่ รี่ ว่ ม โครงการ แล้วก็ไม่ผดิ หวัง เมือ่ กระบวนการฝึกอบรมไม่นา่ เบือ่ ทัง้ ทีค่ ดิ ไว้วา่ จะ ต้องมานัง่ ฟังบรรยาย แต่กลับมีกระบวนการทีแ่ ปลกกว่านัน้ ทัง้ การนัง่ พืน้ ล้อมวงคุย และบางช่วงของการฝึกอบรม สามารถนอนได้ผา่ นกระบวนการที่ เรียกว่า “ผ่อนพักตระหนักรู”้ เมือ่ กลับมาสลับฟังเนือ้ หาก็ทำ� ให้เข้าใจได้ไม่ น่าเบือ่ ซึง่ ผอ.เล็กได้เล่าถึงแรงบันดาลใจก่อนทีจ่ ะเข้าร่วมมาเป็นทีมโค้ชของ โครงการว่า “ในระยะแรกมาเป็นผูฟ้ งั เป็นหนึง่ ในตัวแทนของเทศบาล และพีต่ รีชวน ให้ทำ� กิจกรรมในพืน้ ที่ ให้เราน�ำสิง่ ทีเ่ ราเคยท�ำงานมาพูด เราจึงเริม่ เข้ามาร่วม กับโครงการ ต่อมาพีต่ รีบอกว่ามีอบรมด้านสิทธิเด็ก ด้านพัฒนาการเด็ก และ งานประชุมอื่นๆ ที่ขอนแก่น ท�ำจดหมายเชิญมา เราก็ยินดีเข้าไปร่วม กระบวนการฝึกอบรมด้วย” “ทีแรกตอนอ่านโครงการก็สงสัยว่าท�ำไมต้องพัฒนาคน แต่พอเข้าใจ แล้วก็ยงิ่ ชอบเพราะเป็นการพัฒนาคนก่อนทีจ่ ะท�ำงาน และคนเหล่านัน้ ก็ตอ้ ง ให้ทมี เลือก โดยหาคนทีส่ มัครใจหรือคนทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับเด็ก ก็ตรงกับงานที่ เรารับผิดชอบอยู่ หากไม่พฒ ั นาคนก่อน ให้มาท�ำงานเลยก็อาจจะไม่ไหว”
ส�ำหรับ ผอ. เล็ก นีค่ อื โอกาสทีจ่ ะท�ำงานให้หลากหลายขึน้
“โครงการนีเ้ ป็นโครงการทีใ่ ห้โอกาสและหนุนเสริมงานเรา เพราะหาก ท�ำงานส�ำเร็จก็สามารถท�ำให้งานหลักของเราเดินไปได้ดี มันเอือ้ กัน เราได้ ประโยชน์เพราะได้ทมี กลไกทีเ่ ข้มแข็ง ได้ทมี ใหม่ๆ ทีจ่ ะมาท�ำงานหลักของเรา ไปด้วยกัน”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
55
เนือ่ งจากอยูใ่ นสายงานการศึกษา การร่วมงานกับโครงการในฐานะ ทีมโค้ช ท�ำให้สามารถประสาน และเชือ่ มร้อยงานกับทีม อสม. และผูน้ ำ� ชุมชน ในพืน้ ทีไ่ ด้ราบรืน่ เกิดผลดีตอ่ ทัง้ งานหลักของแต่ละคนและการร่วมกันท�ำงาน ในทีมกลไกชุมชน ผอ. เล็กสะท้อนว่าโครงการเป็นคนกลางทีเ่ ชือ่ มให้คนทีท่ ำ� งานเด็ก ปฐมวัยเป็นทีมมากขึน้ “โครงการท�ำให้งานทุกส่วนมาร่วมกัน ได้รู้จักคนใหม่ๆ ได้มี สัมพันธภาพทีด่ ี ได้บรู ณาการงานร่วมกัน สถานการณ์โควิดท�ำให้เราได้รว่ ม ปรับแผน ได้ลงพืน้ ทีค่ รบทุกหมูบ่ า้ น คนทีไ่ ม่เก่งการพูดก็ได้หดั พูด หัดเป็น วิทยากร ให้กำ� ลังใจกัน เมือ่ ได้ทดลองท�ำก็ได้ดงึ ศักยภาพทีมขึน้ มาอย่างเห็น ได้ชดั โดยมีพตี่ รีชว่ ยสนับสนุน” “ตัวอย่างครูทพิ ย์ - ทิพวรรณ์ บริบรู ณ์ ถึงแม้เรียนด้านพัฒนาการเด็ก มาโดยตรง เมือ่ ต้องให้ความรูก้ บั ทีม อสม. ก็ยงั ประหม่า แต่พตี่ รีให้กำ� ลังใจ ว่าก็เหมือนพูดให้เด็กฟัง เขาก็มกี ำ� ลังใจว่าท�ำได้ เราเห็นว่าเพราะพีต่ รีเห็น ศักยภาพของครู” ผอ.เล็กเล่าถึงการท�ำงานของพีต่ รีในฐานะโค้ช “ครูหลายคนก็สะท้อนว่า เป็นเวทีให้พฒ ั นาตัวเอง และได้เรียนรูข้ อ้ มูล ชุมชนไปด้วย อย่างเวลาทีมโค้ชไม่อยู่ ครูกใ็ ช้กระบวนการทีเ่ ราท�ำกันมาใน โครงการ เช่น เครือ่ งมือเช็คอิน เช็คเอาท์ มาใช้ ก็เห็นว่าเขาท�ำได้ดี แสดง ว่าโครงการกระตุน้ ให้เกิดการเชือ่ มงานกัน ถึงแม้อาจจะไม่ชดั เจน แต่กพ็ อมี รูปธรรมให้เห็นอยูบ่ า้ ง” เธอย�ำ้ ว่า ค�ำว่าบูรณาการ เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน และเกิดขึน้ โดย ธรรมชาติ โดยไม่ตอ้ งท�ำ MOU (Memorandum of Understanding -- เอกสาร หรือหนังสือทีเ่ ก็บบันทึกข้อตกลง ความเข้าใจทีต่ รงกัน หรือ ข้อตกลงทีจ่ ะร่วม มือระหว่างสองฝ่าย)
56
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ถึงแม้ไม่มีงบ เราก็ยังท�ำงานร่วมกัน เชื่อมงานกัน นี่คือการ บูรณาการ” เมือ่ ได้รจู้ กั และท�ำงานร่วมกันมากขึน้ ก็ยงิ่ เห็นพลังของความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ “รูส้ กึ ขอบคุณตนเองทีม่ คี วามเชือ่ ในพลังด้านบวก หากเราท�ำสิง่ ทีด่ ี มีประโยชน์ ก็จะดึงดูดคนประเภทเดียวกันให้มาอยูท่ เี่ ดียวกัน เพราะตอนที่ มองหาทีม ก็จะดูวตั ถุประสงค์ของโครงการ และมองหาคนทีม่ ใี จ ไม่เพียง ท�ำงานตามบทบาทหน้าที่ เมือ่ ได้รว่ มกันกับ ผอ.เล็ก ก็พยายามท�ำความคุน้ เคยให้มากขึน้ ผอ. เขาชอบวิง่ ออกก�ำลังกาย เราไม่เคยวิง่ ก็ตอ้ งออกไปวิง่ ด้วย เพราะอยากรู้จักนิสัยใจคอกันให้มากขึ้น แล้วรู้เลยว่านี่คือคนที่เรา ค้นหา” พีต่ รีกล่าว และแล้ว การท�ำกิจกรรมต่างๆ อาทิ การลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มชุมชนร่วมกัน กับทีมพืน้ ที่ ประกอบไปด้วย หมอ ทีม อสม. ผูน้ ำ� ชุมชน ทุกส่วนสานสัมพันธ์ กันท�ำงานเป็นทีมอย่างมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ ถึงแม้สถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด - 19 ก็ทำ� ให้ตอ้ งมาเริม่ ปรับแผนกันใหม่ เป็นการส�ำรวจและช่วยเหลือเด็กต�ำบลดง เย็นด้วยกัน แต่อย่างไรก็ตามสิง่ ทีเ่ ห็นชัดคือ การน�ำกระบวนการมาใช้ในการ ท�ำทีม “เมือ่ ลงพืน้ ที่ เราเปลีย่ นกิจกรรม จากเดิมทีต่ อ้ งมีพธิ เี ปิด มีการกล่าว ต้อนรับ ก็ปรับมาใช้กระบวนการใหม่ เช่น การเช็คอิน เตรียมความพร้อม ทีแรก ทีม อสม. เขาก็สงสัยว่าท�ำไมต้องมีกจิ กรรมแบบนีก้ อ่ น เมือ่ เราชวนท�ำกิจกรรม เช็คเอาท์ ก็ถามว่ามีอะไรจะแนะน�ำ เขาก็สะท้อนว่ากิจกรรมของเราดี และบอก ว่าหากมีโอกาส อยากจะร่วมกิจกรรมอีก เมือ่ เรา AAR (กระบวนการ After
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
57
Action Review) กัน แต่ละคนจะสะท้อนออกมาเองว่าตนเองท�ำอะไรได้ดี หรือ ต้องปรับปรุงและอยากจะท�ำ และครัง้ ต่อไปก็ให้เขาท�ำในสิง่ ทีอ่ ยากจะท�ำ เป็นการให้กำ� ลังใจกัน ไม่ตำ� หนิ” ผอ. เล็กกล่าว
พีต่ รีพดู เสริมถึงวิธกี ารท�ำงานของตนเอง
“เพราะตนเองไม่ชอบออกค�ำสัง่ แต่ใช้คำ� ถามกระตุน้ แล้วเรารูอ้ ยูแ่ ล้ว ว่าแต่ละคนเก่งอะไร แต่บางคนก็อาสาทดลองท�ำเอง เช่น อยากจะบันทึก เรา ก็หาแบบมาให้ และให้เครดิตกัน แต่ละคนก็ชว่ ยกันแนะน�ำ เพราะหลายคน มีใจทีอ่ ยากจะเรียนรู้ แต่อาจจะไม่รว้ ู า่ ไปทางไหน เราก็คยุ กันว่าเราเรียนรู้ สะท้อน กันได้ บอกกันได้ ท�ำให้หลายคนเขาเปิดใจอยากทดลองท�ำในสิง่ ทีเ่ ขาไม่ถนัด อาจจะประหม่าบ้าง แต่ครัง้ ต่อไปก็ดขี นึ้ เรือ่ ยๆ”
ผอ.เล็กกล่าวชืน่ ชมพีต่ รีดว้ ยรอยยิม้
“พีต่ รีเขาเปิดโอกาสให้คนในทีมได้แสดงความสามารถ คิดบวกกับ ทุกคน ไม่ได้กำ� หนดว่าต้องท�ำอะไร แต่จะปรึกษาว่าสะดวกไหม ท�ำได้ไหม เพราะ ทุกคนมีงานหลักของตัวเอง ครูมกั จะร่วมกิจกรรมวันธรรมดาไม่ได้ เปิดโอกาส ให้คนแสดงความคิดเห็น และทีมไม่ลำ� บากใจทีจ่ ะมาร่วมงาน รวมถึงดูแลทุกคน”
พีต่ รีกล่าวชืน่ ชม ผอ. เล็ก บ้าง
“มองเห็นความเป็นโค้ชของ ผอ.เล็ก เห็นความมุง่ มัน่ จริงใจ ซือ่ ตรง การเปิดโอกาสให้นอ้ งๆ ได้เติบโต ถึงแม้จะท�ำเองได้ทกุ อย่าง เช่น ตอนลงพืน้ ที่ ก็ให้คนในทีมท�ำหน้าทีพ่ ธิ กี รแทน และตนเองก็ถอยออกมาดูภาพรวม ผอ. เล็ก ไม่ใช้ความเป็นหัวหน้า มีวาทศิลป์ ทัง้ กับคนระดับสูง และระดับล่าง สามารถ ประสานได้หมด”
58
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ถึงแม้ทมี ดงเย็นจะเริม่ เข้มแข็งและเหนียวแน่นกันมากขึน้ แล้วก็ตาม โค้ชทัง้ สองมองว่า ทีมชุมชนเองยังต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับประเด็นเด็กปฐมวัยให้ มากขึน้ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในการลงพืน้ ที่ อีกทัง้ การท�ำให้คนในทีม เปิด ใจยอมรับซึง่ กันและกันเพิม่ มากขึน้ กว่าเดิม พี่ตรีกล่าวถึงอนาคตข้างหน้าของทีมดงเย็นกับงานเด็กปฐมวัยและ ครอบครัวว่า “เราอาจจะยังไปไม่ถงึ เป้าหมายเพราะเพิง่ เริม่ ได้ 2 ปี ส่วนตัวก็คดิ ว่า จะต้องมีหลักสูตรการพัฒนาทีม การ retreat หรือการถอยกลับไปมองความ ส�ำเร็จเล็กๆ ให้กำ� ลังใจกันและกันในการมองงานไปข้างหน้า โค้ชเองก็ตอ้ ง พัฒนาศักยภาพเรือ่ ง การกระตุน้ ให้คนแสดงความสามารถ ดึงคนเก่งๆ เข้ามา สร้างแนวคิดให้คนทีด่ งึ เข้ามาใช้ความสามารถ การสร้างคน การ empowerment หรือการเสริมพลังกันและกันด้วย” จากพัฒนาความเป็นทีมสูด่ อกผลความส�ำเร็จทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนดงเย็น ผอ. เล็ก กล่าวว่า แนวทางนีส้ ามารถสร้างคนและพัฒนาชุมชนในทีอ่ นื่ ๆ ได้ แต่ตอ้ งสร้างองค์ประกอบส�ำคัญ “ต้องมีทมี ทีจ่ ะขับเคลือ่ น ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ไฟเขียว ให้เขาเข้าใจการ ท�ำงาน เขาก็จะสนับสนุน มีคนในพืน้ ทีใ่ ห้ความร่วมมือ มาเสริมทีมให้หลาก หลาย ต้องได้คนทีม่ ใี จ เห็นประโยชน์ตอ่ พืน้ ที่ ต่อส่วนรวม ถ้ามีคนในพืน้ ที่ อยากท�ำก่อนแล้วมีความสามารถในการเชื่อมคนที่มีใจอยากช่วยเหลือเด็ก ความเป็นทีมกลไกชุมชนก็จะเกิดขึน้ เอง”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
59
เห็นได้ชดั ว่าการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาคนนัน้ ท�ำได้ไม่สนิ้ สุด แม้เติบโต เป็นผู้ใหญ่วัยท�ำงานก็ยังต้องส่งเสริมพัฒนาการเพื่อให้สามารถท�ำงาน สร้างสรรค์ตามเป้าหมายที่อยากเห็นเด็กๆ ในชุมชนเติบโตขึ้นมาอย่างมี คุณภาพต่อไปในวันข้างหน้า
ต� ำ บลนาหนองทุ ่ ม จั ง หวั ด ขอนแก่ น ผู้ให้สัมภาษณ์ แสงทอง สุวรรณภาพ ยุพิน ประทุมกุล นภาลัย ไชโยแสง เชี่ยวชาญ แก้วเกิน วาสนา บุญจวง ทีมโค้ช จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์ ณัฏฐ์ นงภา
ต�ำบลนาหนองทุม่ ตัง้ อยูใ่ นอ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เป็นพืน้ ที่ ใกล้เขตอุทยานแห่งชาติภผู าม่าน บางส่วนอยูใ่ นเขตป่าสงวนแห่งชาติ มีความ อุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ปัจจุบนั มี 13 หมูบ่ า้ น ผูอ้ ยูอ่ าศัยประมาณกว่า 8,000 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร ท�ำนา ท�ำสวน จากการส�ำรวจข้อมูลของทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล ล่าสุดเดือน สิงหาคม 2563 พบว่า ต�ำบลนาหนองทุม่ มีเด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี จ�ำนวน 576 คน แบ่งเป็น เด็ก 0 - 3 ปี 250 คน และเด็ก 3-6 ปี 326 คน มีเด็กทีม่ ภี าวะปกติ ครอบครัวดูแลเอาใจใส่สง่ เสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม จ�ำนวน 350 คน เป็นเด็กกลุม่ เสีย่ งและประสบปัญหา 78 คน เด็กทีป่ ระสบปัญหาส่วนใหญ่อยู่ ในครอบครัวทีม่ ฐี านะยากจน รายได้นอ้ ย ท�ำให้การเลีย้ งดูเด็กเป็นไปด้วยความ ยากล�ำบาก นอกจากนัน้ ยังพบว่า เด็กบางรายมีพฒ ั นาการผิดปกติ ซึมเศร้า และอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการเลีย้ งดู ส่วนเด็กทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เสีย่ งนัน้ มี ทัง้ ปัญหาเด็กอ้วนซึง่ เกิดจากการจัดโภชนาการอาหารให้กบั เด็ก และผูป้ กครอง ทีเ่ ป็นผูส้ งู อายุให้เด็กกินอาหารแบบตามใจ ปัญหาด้านพฤติกรรมทีพ่ บบ่อยคือ เด็กเล่นโทรศัพท์มอื ถือติดต่อกันเกิน 2 ชัว่ โมง ส่งผลต่อพัฒนาการด้านอารมณ์ ของเด็ก
62
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
สร้างทีมให้แข็งแรง สานฝันให้เป็นจริง
อาคารชัน้ เดียวหลังขนาดย่อมในพืน้ ที่ อบต.นาหนองทุม่ อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ทีน่ เี่ ป็นโรงเรียนผูส้ งู อายุ ซึง่ เป็นสถานทีท่ ี่ “ทีมกลไกท้องถิน่ ต�ำบลนาหนองทุม่ ” ใช้ในการจัดประชุมพูดคุยและท�ำกิจกรรมเพือ่ เด็กปฐมวัย และครอบครัวเป็นประจ�ำ 2 - 4 ครัง้ ต่อเดือน แต่ละคนในทีมต่างก็พกข้าวห่อ มาคนละอย่างสองอย่าง บ้างเอาของสดมาท�ำอาหารกินด้วยกัน ก่อนนัง่ ล้อมวง คุยจริงจัง บางครัง้ ก็คยุ กันถึงดึกดืน่ แม้แต่ทมี โค้ชก็ไปกางมุง้ นอนทีน่ นั่ โดยมี น้องๆ 4 - 5 คน จากทีมสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลนาหนองทุม่ มากางมุง้ นอน เป็นเพือ่ น ล่าสุด ช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด - 19 ทีมงานนาหนองทุม่ จ�ำนวนหนึง่ นัดมารวมตัวกันทีโ่ รงเรียนผูส้ งู อายุ เพือ่ ประเมินสถานการณ์และ ระดมสมองถึงสิง่ ทีท่ มี กลไกควรยืน่ มือเข้ามาดูแลแก้ปญ ั หาชุมชน “ช่วงโควิด ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กและโรงเรียนปิด เด็กๆ อยูบ่ า้ น ครูศนู ย์ พัฒนาเด็กเล็กเป็นห่วงเด็กๆ กลัวว่าพัฒนาการเด็กจะถดถอย” หญิง - จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์ และ ณัฏฐ์ นงภา ทีมโค้ชของทีมชุมชนนาหนองทุม่ ส่งผ่านเสียง แห่งความห่วงใยของทีมงาน “เราเลยชวนทีมมาคิดกันว่าแล้วจะท�ำอะไรกันดี ทีมก็คดิ และตกลงร่วมกันว่าจะท�ำสือ่ การเรียนรูส้ ำ� หรับเด็ก” อสม. รวมทีมกับคนในพืน้ ทีห่ มูบ่ า้ นละ 3 คน ช่วยกันคิดค้นการลง ไปให้ความรูแ้ ละติดตามกรณีเด็กทีต่ อ้ งช่วยเหลือเร่งด่วน ทัง้ ยังน�ำถุงยังชีพไปให้ ส่วนครูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กและน้องๆ จากสภาเด็กและเยาวชนก็ระดมความ คิดท�ำสือ่ การเรียนรูใ้ ห้กบั เด็กเล็กในชุมชน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
63
ห้องโถงโล่งของโรงเรียนผูส้ งู อายุ กระดาษหลากสี กาว และอุปกรณ์ ส�ำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะนานาชนิดวางเรียงรายอยูท่ วั่ ห้อง ทีมกลไกนาหนอง ทุม่ กว่า 10 ชีวติ - ครูจากศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก (ศพด.) 6 คน น้องๆ สภาเด็ก และเยาวชนอีก 5 - 6 คน และทีมกลไกนาหนองทุม่ ราวๆ 3 คน สาละวนกับ การตัด ฉีก แปะ กระดาษต่างๆ ท�ำเกมโดมิโน่ และท�ำรูปภาพสามมิติ เพือ่ ท�ำหนังสือป๊อปอัพทีม่ เี รือ่ งราวน่าสนใจพร้อมภาพประกอบทีจ่ บั ต้องได้ราวกับ มีชวี ติ ช่วงนัน้ ทีมงานท�ำสือ่ การเรียนรูเ้ ร่งผลิตชิน้ งานกันมาก เพือ่ ไม่ให้เด็กๆ 158 คนในชุมชนต้องขาดตอนการส่งเสริมพัฒนาการ พวกเขานัดมาเจอกัน สัปดาห์ละ 2 วัน ติดต่อกัน 3 อาทิตย์ เพือ่ ท�ำสือ่ การเรียนรู้ เกมโดมิโน่ 160 ชุด และหนังสือนิทานป๊อปอัพ 13 เล่ม เพือ่ แจกให้หมูบ่ า้ นละ 1 ชุด “เราได้คณ ุ ครูจากศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กทัง้ 3 ศูนย์ มาเป็นแกนหลักใน การท�ำสือ่ การเรียนรูใ้ ห้เด็กปฐมวัย คุณครูทมุ่ เทมาก เมือ่ เอาไปแจกให้กบั เด็ก และผูป้ กครองพร้อมในชุดถุงยังชีพ ได้รบั การตอบรับจากบางรายว่าเด็กติดใจ เนือ้ หานิทานป้องกันโควิดทีค่ ณ ุ ครูทำ� ไปให้ และรบเร้าให้ผปู้ กครองอ่านให้ฟัง ทุกวัน คุณครูก็ปลื้มใจ มีก�ำลังใจที่จะคิดค้นกิจกรรมหลังจากพ้นช่วงโควิด นี”้ ค�ำบอกเล่าจาก แสงทอง สุวรรณภาพ หรือทีท่ กุ คนเรียกว่า หัวหน้าโต้ง นักพัฒนาชุมชนช�ำนาญการ ซึง่ ท�ำงานอยูใ่ นส�ำนักปลัด อบต.นาหนองทุม่ หนึง่ ในทีมหลักของนาหนองทุม่ ความภูมใิ จในสือ่ การเรียนรูท้ ที่ กุ คนช่วยกันท�ำนี้ มาจากการร่วมกัน คิดว่าการซือ้ ของส�ำเร็จรูปอาจจะง่าย แต่ซอื้ “ความเป็นเรา” ไม่ได้ นีค่ อื สิง่ ที่ ทีมกลไกนาหนองมตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำของเล่นและหนังสือนิทานด้วยตัวเอง และการ ลงมือท�ำด้วยกัน ไม่เพียงได้ชนิ้ งานทีน่ า่ ภาคภูมใิ จ แต่ยงั ได้เพือ่ น ได้ทมี ระหว่าง ทีน่ งั่ ท�ำงานด้วยกัน พวกเขาสนุก เพลิดเพลิน มีรอยยิม้ เสียงหัวเราะ ล้อมวง กินข้าว และบางครัง้ ก็ทำ� กับข้าวกินกันเอง
64
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เรียนรูด้ ว้ ยกันแบบนาหนองทุม่ เมือ่ ทีมนาหนองทุม่ มีความเป็นทีม ทุกคนพร้อมลุกขึน้ มาจัดการปัญหา และพัฒนาชุมชนด้วยตัวเอง ไม่เพียงการสร้างสือ่ การเรียนรู้ แต่ยงั ไปถึงเรือ่ งอืน่ ๆ ทีพ่ วกเขาไม่เคยท�ำมาก่อน เช่นการเป็นวิทยากรจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้คนใน ชุมชน ทีผ่ า่ นมา สิง่ ทีพ่ วกเขาคุน้ ชินคือการอบรมเรียนรูห้ รือประชุมแบบเป็น ทางการ นัง่ ประชุมเรียงแถวหน้ากระดาน และรอฟังวิทยากรบรรยาย เสร็จ แล้วก็กลับบ้าน ซึง่ พวกเขาบอกว่าแบบนีไ้ ม่ได้อะไร แต่เมือ่ เข้าร่วมโครงการ พัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุขภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว พวกเขาได้เข้าร่วมเวทีการเรียนรูท้ ตี่ า่ งจากเดิม ได้นงั่ ล้อมวง ได้แลกเปลีย่ นความ คิดเห็น ได้ทำ� กิจกรรมเกม เรียนรูก้ ารฟังอย่างตัง้ ใจ นอนคุยก็ได้ นัง่ ฟังก็มี “เวลาทีเ่ ราเข้าอบรมพร้อมกันทัง้ 5 พืน้ ที่ ทีข่ อนแก่น ทีมของเราก็ ต้องประชุมกันก่อนเข้าห้องประชุม เพราะคนของเรายังไม่รวู้ า่ จะมีการอบรม อะไร เราต้องเตรียมวันแรก สรุปของวันนี้ เพือ่ เตรียมของวันถัดไป บางทีโจทย์ มา เราก็ได้ทำ� โจทย์ไว้แล้วจากความน่าจะเป็น” หัวหน้าโต้งยิม้ ด้วยความภูมใิ จ ในการเรียนรูข้ องทีม ในเวทีอบรมของโครงการ หลังการอบรมและรับประทานอาหารเย็น ในแต่ละวัน ทีมนาหนองทุม่ จะรวมตัวกันทีห่ อ้ งพักของโค้ช เพือ่ ทบทวนความ รูท้ ไี่ ด้รบั ในแต่ละวัน แลกเปลีย่ นความเข้าใจในสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูข้ องแต่ละคน รวม ไปถึงการฝึกซ้อมตามโจทย์ของวิทยากรกระบวนการ น้องเวฟ - เชีย่ วชาญ แก้วเกิน เยาวชนจากสภาเด็กและเยาวชน นาหนองทุม่ เล่าถึงการอบรมครัง้ หนึง่ ทีแ่ ต่ละทีมได้รบั โจทย์ให้จำ� ลองกิจกรรม
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
65
ทีจ่ ะจัดในพืน้ ทีภ่ ายในเวลาจ�ำกัด และเขาได้อาสาเป็นคนน�ำกิจกรรม เพราะคิด ว่าจะได้เก็บเกีย่ วประสบการณ์จากการเรียนรูค้ รัง้ นี้ “ผมจ�ำได้วา่ ซ้อมหนักมาก ทัง้ จดและอ่านให้เป๊ะ เพราะเป็นงานแรก อบรมครัง้ แรก ตืน่ เต้นมาก โค้ชคอยช่วยให้คำ� แนะน�ำ ตอนท�ำกิจกรรม ผูใ้ หญ่ ทุกคนก็ชว่ ยสมมุตเิ ป็นคนเข้าอบรม ตอนนัน้ ผมนึกว่าจะท�ำไม่ได้ แต่หลังจาก ท�ำกิจกรรมออกมาแล้ว พีๆ่ บอกว่าดีแล้ว” การสัง่ สมประสบการณ์และมีวถิ กี ารเรียนรูท้ บทวนความรูด้ ว้ ยกันเช่นนี้ ทีมนาหนองทุม่ ก็เริม่ มัน่ ใจขึน้ ว่า พวกเขาสามารถออกแบบและท�ำกระบวนการ เรียนรูใ้ ห้พนื้ ทีข่ องตัวเองได้ ทีมชุมชนจึงวางเป้าหมายในการขยายทีมท�ำงาน ด้านเด็กในพืน้ ที่ ให้มคี ณะท�ำงานอย่างน้อย 3 คน ในแต่ละหมูบ่ า้ น “เวลาเราต้องการความรู้ เราเชิญวิทยากรข้างนอกมา บางทีเขาไม่เข้าใจ พวกเราว่าเป็นใคร เป็นอย่างไร มาถึงก็ให้ความรู้ กระบวนการ แล้วกลับไป มันไม่ ค่อยได้ผล เราเลยคิดว่า เราน่าจะท�ำเอง และท�ำเองได้” พีย่ ุ - ยุพนิ ประทุมกุล ผูช้ ว่ ยเจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลนาหนองทุม่ กล่าวถึงทีม่ าของ ความคิด “เดิมเราอบรมแบบราชการเดิมๆ นัง่ โต๊ะประชุม เรียงแถว ฟังวิทยากร บรรยาย จบก็กลับบ้าน พอได้เห็นกระบวนการเรียนรูแ้ บบใหม่ เรารูส้ กึ ดี ชอบ เลยอยากถ่ายทอดความรูเ้ ทคนิคทีไ่ ด้เรียนมาให้ทมี เราได้อย่างทีเ่ ราได้รบั ด้วย ร้อนวิชา กลัวลืม เลยบอกว่า เราอยากท�ำ” หมอฟ้า - นภาลัย ไชโยแสง รักษาการผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) บ้านวังยาว หนึง่ ในทีมนาหนองทุม่ กล่าวถึงสิง่ ทีจ่ ดุ ประกายให้คนในทีมคิดเรือ่ งการจัดกระบวนการเรียนรูว้ า่
66
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ได้แรงบันดาลใจไปจากการฟังอาจารย์จิต (จิตติมา ภานุเตชะ) อาจารย์ปอ (วารุณี นิลพันธ์ ) ทีม่ าจัดกระบวนการให้ เราเลยทดลองท�ำกันเอง ยิง่ ได้รบั พลังบวกมากขึน้ ” เวทีในพืน้ ทีค่ รัง้ แรกทีพ่ วกเขาทดลองเป็นเรือ่ งการฟังด้วยหัวใจ การ ท�ำความเข้าใจเรือ่ งความส�ำคัญของการดูแลเด็กปฐมวัย มีกจิ กรรมและเกม “เป็ด” ทีท่ งั้ หมอฟ้า พีย่ ุ และหัวหน้าโต้งรูส้ กึ ประทับใจจากเวทีการอบรม “ตอนแรกทีท่ ำ� กระบวนการ ก็กงั วลใจอยูว่ า่ กลุม่ ผูน้ ำ� ในพืน้ ทีท่ เ่ี ราชวน มาอบรม เขาจะฟังเราไหม เขาจะกลับตัง้ แต่ตอนพักเทีย่ งไหม ไม่มนั่ ใจเลย แต่เพือ่ นๆ และโค้ชให้กำ� ลังใจและคอยช่วยแนะน�ำ ปรากฎว่าครัง้ นัน้ ไม่มใี คร กลับก่อน แถมวันต่อมาก็มากันครบ เราดีใจ สบายใจขึน้ เยอะ” ยุ ยิม้ กว้าง “ตอนนีต้ ดิ การประชุมแบบนี้ เพราะบรรยากาศเป็นกันเอง ได้ความรูม้ ากกว่า นัง่ ฟังเฉยๆ” หมอฟ้า และพีย่ ุ พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “พอลองท�ำแล้วก็อยากท�ำ อีก เราก็ได้พฒ ั นาตัวเองด้วย สนุกด้วย เป็นความสนุกของทีมเรา บางทีให้คน อืน่ ท�ำก็ไม่ได้ดงั่ ใจ เราท�ำเองจะได้ดงั่ ใจกว่า” เมือ่ มีครัง้ แรก ทีมนาหนองทุม่ ก็กา้ วต่อ การอบรมครัง้ ที่ 2 จัดขึน้ ช่วง เดือน กุมภาพันธ์ 2563 ใช้เวลา 2 วัน และยังคงกิจกรรมคล้ายกับการอบรม ครัง้ แรก แต่ครัง้ นี้ พวกเขาลองเปลีย่ นกลุม่ เป้าหมายผูเ้ ข้าร่วมเวที จากผูน้ ำ� ชุมชน มาเป็น “ตัวแทนแต่ละหมูบ่ า้ น ใครก็ได้ขอเพียง อยากมา และมาด้วยใจ” “ส�ำหรับการจัดเวทีอบรมครัง้ นีเ้ ป็นการท�ำงานอย่างเต็มรูปแบบและ เป็นระบบ มีการแบ่งหน้าทีก่ นั รับผิดชอบ ใครจะดูเรือ่ งผูเ้ ข้าร่วมงาน การลง ทะเบียน อาหาร สถานที่ การจดบันทึก ใครเป็นวิทยากร ท�ำความเข้าใจเรือ่ งประเด็น และกิจกรรม” หญิงเล่ารายละเอียดทีท่ มี เสนอสิง่ ทีอ่ ยากท�ำให้โค้ชคอยช่วย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
67
“พวกเขายังไม่คอ่ ยมัน่ ใจ เราเลยต้องประชุมและซ้อมกัน 2 วัน ครัง้ แรกเป็นเรือ่ งการแบ่งงานและท�ำความเข้าใจการจัดงานทัง้ หมด ส่วนอีกวัน เรา นัดกันก่อนวันงานเพือ่ ซ้อมใหญ่ ท�ำทุกอย่างเสมือนจริง ผูน้ ำ� กระบวนการ พูด และลองจัดกิจกรรมต่างๆ เลย แล้วทีมช่วยกันสะท้อน โค้ชก็จะคอยช่วยให้คำ� แนะน�ำด้วย” เมือ่ ถึงวันจัดการอบรม ทีมโค้ชก็เป็นพีเ่ ลีย้ งทีอ่ ยูน่ อกวงจริงๆ เพราะนัง่ สังเกตการณ์อยูร่ อบนอก และช่วยสะท้อนข้อคิดค�ำแนะน�ำภายหลัง เสร็จกิจกรรมแต่ละวัน การอบรมครัง้ ที่ 3 ตามมาติดๆ ในเดือนสิงหาคม 2563 หลังจากที่ ทีมนาหนองทุม่ ถกกันถึงปัญหาในการท�ำงานด้านเด็กและสิง่ ทีพ่ วกเขาคิดว่า จ�ำเป็นต้องเรียนรู้ โค้ชเล่าให้ฟงั ต่อว่า “ทีมคุยกันว่า อยากมีความรูใ้ นการท�ำงานกับเด็ก ทีป่ ระสบปัญหา จะช่วยเด็กอย่างไร เลยคิดกันว่า จะออกแบบหลักสูตรและ จัดการอบรมการส่งต่อเคสเด็ก โดยมีทมี หลักและทีมโค้ชน�ำกระบวนการอบรม ส่วนงบก็จะขอจาก อบต.” แม้จะเป็นงานทีง่ อก จากงานประจ�ำทีท่ ำ� ไม่วา่ จะเป็นงานท�ำเวทีอบรม และอีกหลายงาน แต่ทมี นาหนองทุม่ ก็สนุกทีจ่ ะท�ำ เพราะอยากเจอกัน คุยสังสรรค์ คิดงานใหม่ๆ หัวหน้าโต้งสารภาพ “ยอมรับว่าแรกๆ ทีม่ าท�ำโครงการนีจ้ ะถูกให้ทำ� สิ่งที่ไม่ค่อยถนัด และมักจะถูกบอกให้ต้องท�ำอย่างเช่น ต้องขยับมาท�ำ กระบวนการเป็นวิทยากร ซึง่ เดิมเราถนัดงานบริหารจัดการมากกว่า หากมา ให้ทำ� กระบวนการด้วย ดูแลส่วนอืน่ ๆ ด้วยในการอบรม ถึงท�ำได้แต่กอ็ าจจะ ไม่ถนัด ถึงแม้จะคิดอย่างนัน้ แต่เราก็ทำ� ” ไม่เพียงหัวหน้าโต้ง หลายคนในทีมก็สะท้อนว่า ไม่ถนัดทีจ่ ะท�ำในบาง งาน ทีมจึงมีการปรับขบวนใหม่ให้แต่ละคนได้ทำ� งานตามความถนัดและสนใจ ซึง่ ท�ำให้ความสุขของทีมนาหนองทุม่ พุง่ ขึน้ ไปอีก
68
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หมอฟ้าเสริม “ทีจ่ ริงก็เป็นงานเรา แต่เป็นการเพิม่ ศักยภาพเราให้ดขี นึ้ ถามว่างานงอกไหม ก็งอก แต่เราก็พยายามกระจายการมีสว่ นร่วม ช่วยกันท�ำ ไม่ทงิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง” วาส - วาสนา บุญจวง รองปลัด อบต. นาหนองทุม่ หนึง่ ในทีมกลไก นาหนองทุม่ “จากเดิมต่างคนต่างท�ำงานของตัวเองไป ตอนนีส้ ามารถบูรณาการ ร่วมกันได้ เราไม่ได้ทำ� คนเดียว แต่มเี พือ่ นช่วยกันท�ำ มันต่อยอดสิง่ ทีเ่ ราได้ทำ� มา” ยุเสริมจากทีเ่ พือ่ นเล่า “ตอนแรกๆ เลยคิดว่ามันท�ำให้งานเราเพิม่ ขึน้ เพราะงานของเราปกติทำ� งานจันทร์ถงึ ศุกร์ แต่ตอนนีบ้ างทีกต็ อ้ งไปท�ำกิจกรรม วันเสาร์ - อาทิตย์ แต่สกั พักเราก็ปรับตัวได้ เพราะมันเป็นสิง่ ทีเ่ ราต้องรับผิดชอบ ในงานของเรา อีกทัง้ เป็นงานของชุมชน เมือ่ เราอยูก่ บั มันได้แล้วจริงๆ มันก็ รูส้ กึ ว่าไม่ได้เพิม่ งาน” ทีมคือความรูส้ กึ เป็นครอบครัวเดียวกัน กระบวนการท�ำงานร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมคุย ร่วมท�ำ ทัง้ ก่อนท�ำงาน และหลังท�ำงาน เป็นสิง่ ทีท่ มี นาหนองทุม่ เรียนรูแ้ ละฝึกฝนกันเป็นแรมปีนบั แต่ เข้าร่วมโครงการฯ โดยมีทมี โค้ชคอยเกือ้ กูล ทีมนาหนองทุม่ แบ่งเป็นทีมหลักชัน้ ใน 3 คน และทีมหลักชัน้ กลางอีก 6 - 7 คน ทีท่ ำ� งานร่วมกันบ่อยๆ นอกนัน้ ก็เป็นทีมกลไกทีเ่ ข้ามาตามหน้างาน มาจากตัวแทนแต่ละหมูบ่ า้ น อย่างน้อยหมูบ่ า้ นละหนึง่ คน ทัง้ หมดรวมๆ กัน แล้ว ทีมนาหนองทุม่ มีผคู้ นราว 30 คน ในตอนนี้ การขยายทีมในพืน้ ทีเ่ กิดจากความสัมพันธ์ของทีมหลักทีเ่ คยร่วมงาน กันมาก่อนและการบอกต่อผ่านการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ที่ กุ คนสนุกและมี ส่วนร่วม ทีส่ ำ� คัญคือวัฒนธรรมการอยูร่ ว่ มกันในท้องถิน่ ทีม่ มี าก่อน ซึง่ หัวหน้า
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
69
โต้งเล่าว่า เน้นแนวคิดการสร้างคน สร้างทีม และเปิดโอกาสให้คนใหม่ๆ ได้ แสดงศักยภาพ “วัฒนธรรมการท�ำงานของเราไม่มชี อ่ งว่างของต�ำแหน่งและวัย น่าจะ มาจากวิถขี องต้นสังกัดคือ อบต. ทีม่ นี โยบายการท�ำงานแบบพีน่ อ้ งและถ้อยที ถ้อยอาศัย” หัวหน้าโต้งวิเคราะห์ “เริม่ ต้นจากผูบ้ ริหารคือ นายก อบต. ทีบ่ อกว่าทุกคนไม่มหี วั โขน ทุก คนเท่ากัน เป็นการปูพนื้ แนวคิดนีม้ า ให้อสิ ระในการท�ำงาน เมือ่ คุยกันเข้าใจ วัตถุประสงค์กนั แล้ว ก็ไฟเขียว ท�ำให้เราพึง่ ตัวเองในการท�ำงาน และร่วมกัน ขับเคลือ่ นกับผูป้ ฏิบตั ิ โดยมีผบู้ ริหารทีพ่ ร้อมให้ขอ้ เสนอแนะ และเปิดโอกาส สูงสุดให้เราท�ำงานไปได้” หลายคนพยักหน้าเห็นด้วย พลางบอกว่าจากเดิมทีท่ ำ� งานสไตล์เป็น ครอบครัวกันอย่างนีม้ าก่อน พอมาร่วมงานกันอีก โดยมีทมี โค้ชเกือ้ กูล ความ เป็นทีมก็แน่นแฟ้นขึน้ ศักยภาพเติบโต และการท�ำงานชัดเจนขึน้ หมอฟ้าบอกว่าตัง้ แต่รว่ มโครงการตนเองได้กระบวนการเรียนรูใ้ หม่ๆ ทีโ่ ค้ชชวนคิด ได้ทดลองกระบวนการอบรมใหม่ทไี่ ม่เคยท�ำมาก่อน “บางทีโค้ช ชวนเราคิด เราก็คดิ ไม่ออก เพราะแต่กอ่ นเคยแต่ทำ� ตามค�ำสัง่ ไม่คอ่ ยได้คดิ ” หมอฟ้ากล่าวพร้อมหัวเราะ หัวหน้าโต้งเสริมให้เห็นภาพกระบวนการท�ำงานทีไ่ ด้รบั การกระตุน้ เสริมจากทีมโค้ช “เมือ่ เราร่วมกันคิดแผนงานขึน้ มา จนถึงขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ เราก็จะ มองคนว่าใครถนัดอะไรก็แบ่งบทบาทกัน และโค้ชก็จะดูเราซักซ้อมให้ขอ้ เสนอแนะ จนกว่าพวกเราจะพอใจ และเราท�ำแบบนีต้ ลอดไม่วา่ งานอะไรก็ตาม จบงานก็ มีการสรุปกันอีก เจอปัญหาอะไร เรามีขอ้ บกพร่องอะไร ต้องปรับอย่างไร ซึง่ ราชการในหน้าทีไ่ ม่เคยได้ทำ� เราก็มาได้ทำ� ในช่วงโครงการนี”้
70
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หัวหน้าโต้งเล่าว่า เขาและทีมโค้ชร่วมงานกันมาหลายปี ท�ำมาแล้ว หลายโครงการ โดยเฉพาะการสร้างสภาเด็กและเยาวชนนาหนองทุม่ ผ่าน กระบวนการคิดค้น ลงมือท�ำ คิดค้นกระบวนการสร้างทีมมาแล้วหลายรุน่ จน เป็นหนึง่ ในก�ำลังส�ำคัญของการด�ำเนินโครงการต่างๆ ของชุมชน จนมาถึง โครงการทีท่ ำ� เรือ่ งการพัฒนาเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทีม่ กี ารแบ่งบทบาท การเป็นทีมโค้ช (หรือพีเ่ ลีย้ ง) core team และทีมพืน้ ที่ ท�ำให้ได้เริม่ ท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่เคยได้ทำ� และท�ำสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วให้เก่งขึน้ “เพราะพีเ่ ลีย้ งเขาก็จะคอยกระตุน้ เราตลอดท�ำให้เราท�ำในสิง่ ทีท่ ำ� อยู่ ได้ดขี นึ้ เสริมแนวคิดให้พวกเราท�ำงานได้ดขี นึ้ เวลามีปญ ั หา เราก็ใช้วธิ พี ดู คุย มันเหมือนเป็นศิลปะของการอยูร่ ว่ มกันแบบครอบครัว ทีมโค้ชมาช่วยกระตุน้ เป็นตัวกลางให้” หัวหน้าโต้ง กล่าว ทีมโค้ชกับทีมกลไกชุมชนนาหนองุทม่ เคยร่วมงานและรูจ้ กั กันมาก่อน แล้ว โดยเฉพาะกับหัวหน้าโต้ง แต่สายสัมพันธ์ของทั้งทีมและทีมโค้ชไม่ แน่นแฟ้นเท่าการได้มาร่วมงานกันในโครงการเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและ ครอบครัวทีเ่ พิง่ ท�ำได้ราว 2 ปี “เมือ่ ก่อน เราเจอและท�ำงานด้วยกันปีละครัง้ สองครัง้ บ้าง แต่ครัง้ นี้ เราสนิทกันมาก” หญิงเล่าถึงความสัมพันธ์ระหว่างทีมนาหนองทุม่ กับโค้ช ทีมนาหนองทุม่ สะท้อนความรูส้ กึ ของทีมทีม่ ตี อ่ ทีมโค้ชบ้างว่า
“เขาเหมือนเป็นอัตลักษณ์ของทีมเรา” “อยูใ่ กล้ๆ แล้วรูส้ กึ อบอุน่ เหมือนเป็นครอบครัว” “เป็นเส้นเลือดหนึง่ ในการท�ำงานของเราไปแล้ว”
ทัง้ ทีมบอกว่าโค้ชในความคิดของพวกเขาต้องมีความเป็นกลาง เป็นตัว เชือ่ มทีด่ ี น่าเชือ่ ถือ เชือ่ ใจและไว้วางใจได้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
71
“เพราะเราผ่านกระบวนการหลอมรวมกัน มันเกิดจากการไว้เนือ้ เชือ่ ใจ คือมันรับรูไ้ ด้เองจากความรูส้ กึ มีคณ ุ ลักษณะของความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ เป็นที่ ปรึกษาได้ น่าจะเป็นคนทีจ่ ะให้คำ� ตอบสุดท้ายได้ อย่างตอนประชุมงาน ท�ำถุง ยังชีพ เขาเสนอความคิด แต่ทมี กลไกเป็นคนออกแบบ เสนอ และโค้ชจะท�ำ ข้อสรุปร่วม และสือ่ สารให้เกิดข้อตกลงร่วมกัน” วาดหวังสูก่ ารเป็นศูนย์เรียนรู้ ต้นเดือนกันยายน ทีมนาหนองทุม่ และทีมโค้ชออกเดินทางอีกครัง้ ไป ยังอุทยานแห่งชาตินำ�้ หนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เสียงกีตาร์แผ่วพริว้ คลอไปกับเสียงในครัว ทีผ่ คู้ นก�ำลังสาละวนกับ ส�ำรับกับข้าว หยิบจาน ชาม ช้อน ออกมาเตรียมพร้อมส�ำหรับอาหารมือ้ เย็น ระหว่างมือ้ กินข้าว การสนทนาทีอ่ อกรส และการระดมความคิดอย่างจริงจัง ทีมนาหนองทุม่ ฝันและวางแผนกิจกรรมส�ำหรับปีหน้าเป็นหางว่าว เพือ่ ก้าวต่อๆ ไป “สิง่ ทีจ่ ะท�ำต่อร่วมกันก็เป็นงานเยาวชนร่วมกับทีมในพืน้ ที่ คือการลง ไปให้ความรูก้ บั กลุม่ ทีอ่ ยากจะให้เราลงไป โดยไปเป็นพีเ่ ลีย้ งของพืน้ ทีอ่ กี ที ทีต่ อ้ งท�ำให้ทมี หมูบ่ า้ นคิดแผนงาน เสนอแผนเองได้ โดยใช้งบจากท้องถิน่ ของ เราเอง” หัวหน้าโต้งตอบในนามตัวแทนทีมหลักบอกว่า ในส่วนของการท�ำงานทีจ่ ะท�ำ ต่อไปนัน้ จะเน้นการสร้างคน ให้คนในพืน้ ทีเ่ ติบโต โดยการเสริมกระบวนการ การท�ำงานเป็นกลุม่ เข้าไป รวมถึงความรูด้ า้ นอืน่ ๆ ทีใ่ นพืน้ ทีต่ อ้ งการ ให้พนื้ ที่ สามารถคิดค้นกิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทีไ่ ด้เอง
72
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
นอกจากนี้ การส่งต่อ และการช่วยเหลือเคส จะท�ำให้เป็นระบบ และ มีขนั้ ตอนชัดเจนขึน้ รวมไปถึงการสร้างทีมกลไกในหมูบ่ า้ น และให้มเี ครือข่าย ผูน้ ำ� ในทีมชัดเจนมากขึน้ ด้วย “พูดง่ายๆ คือ เพิม่ ภารกิจสร้างคน เพือ่ ให้เขาเข้าใจ มัน่ ใจ แล้วผลมัน ก็จะเกิดกับชุมชน” หนึง่ ในการสร้างคนคือการพัฒนาคนทีส่ นใจในทีมให้เป็นวิทยากรท�ำ กระบวนการเรียนรู้ บางคนก็อาจมีเป้าหมายที่จะพัฒนาตนเองเป็นโค้ชให้ เพือ่ นๆ ในชุมชน และบางคนก็สนใจเรือ่ งการจัดการและบริหารงาน “เมือ่ มีแผนแล้วก็มาดูกนั ว่ามีของใครเกีย่ วกับเด็กปฐมวัย อะไรปรับ ให้เข้ากันได้ มีกว่าสิบแผน มาดูวา่ สาเหตุอะไรทีเ่ รายังไปไม่ถงึ ทีผ่ า่ นมาเรามี อะไรบ้างก็นำ� ตัวนัน้ มาพัฒนา น�ำสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วมาร้อยเรียงมาท�ำให้ดขี นึ้ จากนัน้ ดูงบว่ามีเท่าใด เสริมจากไหนได้บา้ ง ระดมจากทีม่ มี าท�ำกิจกรรม เพือ่ พัฒนาคนที่ เราเชิญมา จากนัน้ ก็นำ� มาแปลงเป็นหลักสูตรขยายต่อไปเรือ่ ยๆ” หัวหน้าโต้งสรุป เมือ่ เป็นงานทีท่ ำ� อยูเ่ ดิม ถึงแม้จะไม่มงี บประมาณให้ไปต่อแต่ทกุ คน บอกว่าจะท�ำต่อไป เพราะมันกลายเป็นฝันร่วมกันไปแล้ว และยืนยันว่าไม่ปล่อย มือแน่นอน ฝันทีว่ างไว้มตี งั้ แต่การตัง้ ศูนย์ประสานงานส�ำหรับเรือ่ งเด็กและคน พิการ รวมถึงปัญหาของเคสทีไ่ ม่มเี ลข 13 หลักด้วย “พวกเขาต้องการมีจดุ ท�ำงาน เป็นตัวตนให้คนในชุมชนได้รู้ เพือ่ จะเข้าหา เข้าถึงเพือ่ รับบริการได้ ศูนย์ทวี่ า่ จะไม่ใช่สถานทีร่ าชการ แต่จะเป็นทีไ่ หน ยังคงต้องรอดูกนั ต่อไป” หญิงเล่าถึงแผนของทีม ส�ำหรับงานสือ่ การเรียนรูท้ คี่ รูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็กท�ำได้รบั การตอบรับ จากชุมชนเป็นอย่างดี ครูจงึ รูส้ กึ อยากท�ำ พัฒนาสือ่ ให้ตอ่ เนือ่ ง การพูดคุยกัน ในทีมอัพเดทข้อมูลของชุมชน ท�ำให้หลายคนพูดกันว่า เรือ่ งทีไ่ ปสนับสนุนให้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
73
ผูป้ กครองอ่านนิทานให้เด็กฟังนัน้ ผูป้ กครองหลายคนไม่มเี งินซือ้ แนวคิดการ ท�ำห้องสมุดเด็กจึงเกิดขึน้ “ทีมบางคนบอกว่า จะท�ำห้องสมุด 2 จุดในต�ำบล เป็นห้องสมุดทีใ่ ห้ ผูป้ กครองมายืมหนังสือไปอ่านให้ลกู หลาน หรือให้ลกู หลานมาอ่านทีน่ ี่ รวมถึง มีกจิ กรรมดีๆ ทีห่ อ้ งสมุดด้วย” อีกหนึง่ ไอเดียดีๆ คือ “เดิน่ เล่นของหล่า” ทีแ่ ปลว่า พืน้ ทีข่ องเด็กน้อย หญิงเล่าต่อว่า “ตอนนี้ มีเด็กๆ มาเล่นทีบ่ า้ นผูใ้ หญ่บา้ นคนหนึง่ ผูใ้ หญ่ จึงเกิดไอเดียจะสร้างลานเล่น และทีมก็ชว่ ยกันคิดว่า จะต้องหากิจกรรมมาท�ำ ทีล่ านแห่งนี้ และมีของเล่นจากวัสดุทมี่ หี รือหาได้ในพืน้ ทีด่ ว้ ย งานนีก้ ำ� ลัง เดินหน้า ไม่รองบ” ทีมโค้ชและทีมนาหนองทุม่ เห็นตรงกันว่า อาจต้องใช้เวลาเรียนรูแ้ ละ พัฒนาภายในเวลา 3 ปี ซึง่ หลังจากนัน้ หากสิง่ ต่างๆ ทีฝ่ นั ไว้ลงตัว พวกเขา จะประกาศให้ชมุ ชนนาหนองทุม่ เป็นศูนย์เรียนรู้ ความฝันนัน้ เป็นพลังให้ทกุ คนในทีมนาหนองทุม่ พยายามทีจ่ ะก้าวไปสู่ จุดหมาย การพัฒนาคน พัฒนาความคิด ขยายทีมให้มหี ลายทีมและเป็นทีม ทีห่ ลากหลาย การสนับสนุนซึง่ กันและกันของหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน สาน ความสัมพันธ์และประสานการท�ำงาน จะท�ำให้พวกเขาพาทีมและชุมชนไปสู่ ฝันทีเ่ ป็นจริงได้ในอีกไม่ชา้
74
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หัวใจสำ�คัญคือสัมพันธภาพทีด่ ี และการโค้ชต้องเรียนรูด้ ว้ ยการทบทวนตัวเองเสมอ :
ใบหน้าของ ณัฏฐ์ นงภา ประดับไปด้วยรอยยิม้ ขณะยกมือไหว้ผมู้ า เยีย่ มทุกคนทีเ่ รียงรายลงจากรถตูท้ เี่ พิง่ จอดสนิท ทุกคนต่างยกมือไหว้ตอบกัน ไปมา ทักทายกันด้วยรอยยิม้ อย่างคุน้ เคย และถือโอกาสถามทุกข์สขุ ขณะเดิน เข้าไปในร้านกาแฟอันเป็นจุดหมายนัดพบ “ทีมโค้ช” ของต�ำบลนาหนองทุม่ อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น “ช่วงสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 19 หลายงานต้องหยุดชะงัก ไป เพราะไม่สามารถจัดกระบวนการประชุมเป็นกลุม่ ได้ แต่ตอนนีก้ จิ กรรมที่ คิดไว้กเ็ ริม่ ทยอยท�ำตามแผน” หญิง - จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์ หนึง่ ในทีมโค้ช เล่าถึงสถานการณ์ที่ ผ่านมาสัน้ ๆ ก่อนทีท่ กุ คนจะก้มหน้าดูเมนูกาแฟทีห่ ลากหลาย พลางสัง่ กาแฟ ที่ตนอยากดื่มไปด้วยในขณะเดียวกัน เมื่อเงยหน้าขึ้นจากเมนูจึงเล่าต่อถึง สถานการณ์ในพืน้ ทีว่ า่ ตอนนีก้ ำ� ลังปรับทีมท�ำงานเพราะมีบางคนติดภาระหน้าที่ ต้องดูแลครอบครัว ท�ำให้ทมี ท�ำงานคนหนึง่ ต้องหลุดไป แต่กม็ คี นทีอ่ ยากจะให้ เขาเข้ามาร่วมทีมด้วยอีกหลายคน เช่น ผูใ้ หญ่บา้ น ผูน้ ำ� ชุมชน ฯลฯ “เราเข้าใจคนท�ำงานในพืน้ ทีถ่ งึ แม้จะไม่ได้รว่ มทีมหลักด้วยกัน แต่เมือ่ มีกจิ กรรมก็ยงั มาร่วมกิจกรรมต่างๆ กันได้”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
75
เมือ่ ผูม้ าเยีย่ มเอ่ยชมการท�ำงานอันเหนียวแน่นของทีมนาหนองทุม่ จึง อยากทราบถึงการแบ่งบทบาทหน้าที่ หรือการคุยกันในทีมว่าท�ำอย่างไรบ้าง ณัฏฐ์จงึ เล่าให้ฟงั คร่าวๆ ว่าจะคุยกันนอกรอบเป็นส่วนใหญ่ ผ่านการท�ำกับข้าว ด้วยกัน กินข้าวด้วยกันอยูเ่ รือ่ ยๆ การคุยผ่านการท�ำกิจกรรมเหล่านีจ้ ะได้การ สนทนาทีเ่ ปิดใจมากกว่าการคุยอย่างเป็นทางการในห้องประชุม “มีบางคนอยากท�ำหน้าทีท่ ำ� กิจกรรมแต่ได้ไปอยูห่ น่วยบริการอาหาร เมือ่ ได้คยุ เปิดใจกัน เราได้ทราบว่าแต่ละคนอยากท�ำอะไร อย่างไร ต�ำแหน่ง ไหน ใครอยากจะท�ำหน้าทีอ่ ะไร บทบาทอะไร เพราะการเข้ามาของแต่ละคน เป้าหมายต่างกัน ความคาดหวังต่างกัน” ณัฏฐ์เล่าขณะทีส่ งั่ กาแฟไปด้วย ขณะทีก่ าแฟหลากสูตรทัง้ ร้อนและเย็นทยอยเสริฟบนโต๊ะ หญิงได้เล่า ถึงการท�ำทีมในชุมชนเป็นสิง่ ทีค่ าดหวังกันมานาน หญิงเล่าว่ากว่าจะได้ทมี ท�ำงานทีเ่ หนียวแน่น ต้องผ่านการท�ำงานร่วม กันมาอย่างต่อเนือ่ ง ณัฏฐ์เล่าเสริมว่า ช่วงทีเ่ ก็บข้อมูลในพืน้ ทีก่ นั ทีมก็ยงั ดูผวิ เผิน แต่พอเราไปวิเคราะห์ขอ้ มูลกันทีภ่ เู รือ ได้เดินทางด้วยกัน กินข้าว กิน กาแฟ นัง่ ท�ำงานด้วยกัน ได้คยุ กันในเรือ่ งส่วนตัวมากขึน้ ได้ทำ� กิจกรรมสร้าง สัมพันธภาพ เช่น ไปจ่ายตลาด ท�ำกับข้าว กินข้าวด้วยกัน ฯลฯ ความสัมพันธ์ ก็เริม่ ก่อตัวตัง้ แต่ตอนนัน้ “อย่างหัวหน้าโต้ง (แสงทอง สุวรรณภาพ) แกช่างสังเกต ละเอียด เห็นว่าต่อไปเราจะขาดคน และมองว่าน่าจะมีคนตรงจุดนัน้ จุดนีเ้ พิม่ ด้วย และ รูว้ า่ จะไปหามาจากไหน ก็คอ่ ยๆ ดึงกันเข้ามาร่วมงาน ท�ำกิจกรรม เปิดพืน้ ที่ ให้ได้หล่อหลอมพลังร่วมกันกับโครงการ” ภาพทีท่ ำ� ให้เห็นพลังในการท�ำงานของทีมทีช่ ดั เจนก็คอื การเก็บข้อมูล พืน้ ทีม่ าแล้วและสามารถใช้ขอ้ มูลนัน้ มาช่วยเหลือชุมชนในช่วงการระบาดของ ไวรัสโควิด - 19
76
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หญิงเล่าว่าทีมพืน้ ที่ ในตอนแรกก็ไม่รวู้ า่ จะให้เก็บข้อมูลท�ำไม แต่พอ เกิดโควิดระบาด ก็ได้ขอ้ มูลนีม้ าวิเคราะห์ น�ำไปช่วยเหลือพืน้ ทีไ่ ด้ทนั ท่วงที ท�ำให้ทมี ในชุมชนก็รสู้ กึ ว่าสิง่ ทีไ่ ด้ทำ� มามีประโยชน์ ทีมก็รสู้ กึ ว่ามีตวั ตนมากขึน้ มีบทบาทต่อชุมชนมากขึน้ ทัง้ สองสรุปว่าท่ามกลางสถานการณ์ทวี่ นุ่ วาย เรามีทมี ทีม่ ใี จ มีศกั ยภาพ และเข้าใจบริบทของพืน้ ที่ มีการประสานงานทีร่ วดเร็วและรู้ว่าจะหาแหล่ง ทรัพยากรใดมาสนับสนุน คือหัวใจของการท�ำงานเป็นทีม กาแฟตรงหน้าของแต่ละคนพร่องไปเกินครึง่ การสนทนาก็เข้มข้นขึน้ เรือ่ ยๆ สิง่ ทีเ่ ข้มข้นอย่างหนึง่ ของการท�ำงานของทีมนาหนองทุม่ คือ การสร้าง สภาเด็กและเยาวชน ซึง่ ตรงนี้ ณัฏฐ์ขยายความให้ฟงั ว่า สภาเด็กและเยาวชน นาหนองทุม่ เกิดมาได้ราว 4 ปีแล้ว จากทีห่ วั หน้าโต้งริเริม่ อยากท�ำสภาเด็ก แต่ไม่รเู้ ริม่ ต้นตรงไหน พยายามควานหาเด็กตามโรงเรียนมาอบรม เมือ่ อบรม มาแล้วเด็กก็หายไป ไม่ได้มกี จิ กรรมอะไรต่อ เกิดอย่างนีซ้ ำ�้ แล้วซ�ำ้ เล่า จากนัน้ หัวหน้าโต้งจึงติดต่อหญิงและณัฏฐ์เข้ามาช่วยจัดค่ายกิจกรรมเยาวชน ซึง่ จัดต่อ เนือ่ งมาหลายรุน่ จนคุน้ เคยกับกลุม่ เด็กและเยาวชนมากขึน้ และเห็นศักยภาพ ของเยาวชนกลุม่ นีช้ ดั เจน เมือ่ มีกจิ กรรมอะไรเกีย่ วกับเด็กและสามารถท�ำให้ เขาเข้ามามีสว่ นร่วมได้กช็ กั ชวนกันมาท�ำอย่างต่อเนือ่ ง ก่อเกิดการสร้างรุน่ น้อง สืบทอดส่งต่อกันมาไม่มขี าด “เมือ่ เด็กต้องท�ำงานร่วมกับผูใ้ หญ่ หากมีคา่ ใช้จา่ ยให้เด็กก็สามารถหา รายได้เสริมจากการท�ำกิจกรรมของเรา เดิมทีเ่ คยมีพอ่ แม่ผปู้ กครองทีส่ ง่ เสียง ไม่เห็นด้วย ก็คอ่ ยๆ เงียบหายไป เพราะเห็นว่าลูกหลานก็ได้ทำ� ในสิง่ ทีเ่ ป็น ประโยชน์ สภาเด็กจึงมีบทบาทเยอะมาก เมือ่ เราจัดกิจกรรม มีการมอบหมาย งาน เด็กๆ จะว่องไว คล่องตัว ท�ำงานได้ทกุ อย่าง ทัง้ ช่วยน�ำสันทนาการ เป็นผูช้ ว่ ย กระบวนกรในการอบรมด้วย งานทีต่ อ้ งใช้แรง ใช้พลัง ช่วยท�ำงานได้มากเลยทีเดียว”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
77
การหนุนเสริมงานสภาเด็กและเยาวชนนาหนองทุม่ รวมถึงงานอืน่ ๆ ใน ชุมชน เรียกได้วา่ เป็นบทบาทโค้ชทีท่ งั้ สองมองว่าทัง้ เหมือนและต่างจากงานอืน่ ๆ ทีเ่ คยท�ำมา “งานอืน่ เราก็ตอ้ งสร้างทีมเหมือนกัน แต่ไม่ตอ้ งไปโค้ช ไม่ตอ้ งลงราย ละเอียด ตนเองเคยท�ำงานโค้ชกับกลุม่ ผูต้ ดิ เชือ้ ซึง่ พีๆ่ กลุม่ ผูต้ ดิ เชือ้ ก็สามารถ บริหารจัดการงานของตนเองได้แล้ว งานนีก้ จ็ ะคล้ายๆ กับงานนัน้ ” หญิงกล่าว ส่วนณัฏฐ์เสริมว่า น่าจะเป็นเพราะว่ากิจกรรมของโครงการ มีคำ� ที่ เรียกว่า “โค้ช” ท�ำให้มบี ทบาทชัดเจนเพิม่ ขึน้ อีกหน่อยในพืน้ ทีท่ ำ� ให้คนเห็นว่า “อ๋อ พีณ ่ ฏั ฐ์กบั พีห่ ญิงเป็นโค้ชนะ” “ผมคิดว่าคนทีน่ า่ จะเป็นโค้ชได้ คือคนทีส่ อื่ สารได้ มีความยืดหยุน่ ประนีประนอม เพราะคนทีเ่ ข้ามานัน้ มันหลากหลาย หากเราเท่าทันตัวเองได้ ไม่แสดงท่าทีทกี่ ระทบคนทีเ่ ข้ามาท�ำงานด้วย คือ พูดจารูเ้ รือ่ ง ทีส่ ำ� คัญ คือ ฟังมากกว่าพูด จับประเด็นได้ สือ่ สารได้ ช่างสังเกต” เขาเล่าแบบติดตลกว่า “ท่าทีของโค้ชต้องไม่แสดงสีหน้า ไม่พดู กระทบ ไม่เปรียบเทียบ ถ้าเราไม่ยมิ้ ก็จะดูเหมือนเป็นคนหน้าดุ เวลานัง่ คุยแล้วเราจ้อง หน้าเขาก็ขาดความมัน่ ใจ หรือเขาพูดอยูแ่ ล้วเรา เอ๊ะ หรือเราคาดคัน้ เขาก็ไม่มี ความสุข เขาก็จะไปคุยกัน แล้วสะท้อนกลับมา เราก็ตอ้ งปรับตัว” หญิงเล่าต่อว่า ความสามารถส�ำคัญทีโ่ ค้ชต้องมี คือ การจับประเด็น ทักษะการสือ่ สารทีด่ แี ละน่าจะมีความรูเ้ กีย่ วกับประเด็นทีท่ ำ� งานบ้าง โค้ชต้อง เท่าทันตัวเอง รับ feedback ได้ เพราะว่าเรายังต้องท�ำงานกันไปอีกนาน ต้อง อยูก่ บั พืน้ ที่ และท�ำงานกับผูค้ นทีห่ ลากหลาย ก็ตอ้ งเก็บอารมณ์ “เวลามีคนลุกขึน้ มาพูด แล้วพูดเรือ่ งเดิมเราก็จะเห็นว่ามันไม่ใช่ พอทัก เขาก็จะบ่นน้อยใจ เราก็ตอ้ งไปขอโทษ คิดว่ากับทีมเราต้องอยูก่ นั ไปอีกนาน
78
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ยิง่ อยูด่ ว้ ยนานๆ ก็ยงิ่ สนิทสนม ได้เห็นคนทีเ่ ราดูแลอยูเ่ ขาเติบโตผ่านการ ฟูมฟักของเรา เรามีความสุข เกิดจากเราสะดวกใจทีจ่ ะคุย เป็นความสัมพันธ์ที่ ดีตอ่ กัน” หญิงสรุป กาแฟของแต่ละคนหมดแก้วไปแล้ว แต่การสนทนายังคงมีอย่างต่อเนือ่ ง ในส่วนของการโค้ชนัน้ ณัฏฐ์และหญิงมองว่า หัวใจส�ำคัญคือต้องรูจ้ กั คนให้มากกว่างาน ความสัมพันธ์ตอ้ งรักษาไว้ ต้องยอมรับกันให้ได้ เน้นความ สนิทสนม มองเห็นบุคลิกท่าทีของตนเอง “ผมมองตัวเองว่าทีผ่ า่ นมาเราไปคาดคัน้ เขา ไม่ได้ดงึ ศักยภาพของเขา ขึน้ มา ทีค่ ดิ ได้เกิดจากเสียงสะท้อนของทีมกลับมาให้เราเห็นการโค้ชของตัว เองด้วย เมือ่ คิดได้กป็ รับวิธกี ารท�ำให้พอภายหลังมีกจิ กรรมอะไร ก็ให้เลือกสิง่ ทีเ่ ขาอยากจะท�ำเอง ไม่ใช่เราไปก�ำหนดบทบาทของเขา” ณัฏฐ์กล่าวถึงการ ท�ำงานร่วมกับทีมทีผ่ า่ นมาของเขา “เมือ่ เราสนิทสนมเกิดความสัมพันธ์ ก็ไม่อยากให้มนั แย่ เราต้องปรับ ตัวเอง อย่าพูดแรง ปรับท่าที หยุดมองนานขึน้ เพราะท่าทีของเรา ส่งผลต่อ คนอืน่ ” หญิงเล่าต่อว่าในฐานะโค้ชต้องเรียนรูค้ วามเท่ากันของความคิดในทีม ความคาดหวังต่อกันและกัน ปรับความคิดจากบทเรียนทีไ่ ด้เรียนรู้ คนทีต่ าม ไม่ทนั ท�ำอย่างไรให้ทนั “การคุยกันบ่อยๆ จะท�ำให้รเู้ ท่ากันมากขึน้ พอทีมใหญ่จะเทอะทะ หากทีมเล็กลง ก็จะตามกันทันมากขึน้ และดึง core team เข้ามาเพิม่ ให้มากขึน้ ” ทัง้ สองคนกล่าวถึงการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดจากการท�ำงานโครงการที่ พัฒนาขึน้ ทัง้ การท�ำกระบวนการ การออกแบบกระบวนการ การเก็บประเด็น การบริหารจัดการคน อารมณ์ มีความชัดเจนขึน้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
79
“การมีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรม หรือการอบรมทีห่ ลากหลาย และได้ น�ำไปทดลองใช้ในพืน้ ที่ ท�ำให้พนื้ ทีเ่ กิดความไว้ใจ ก็สามารถท�ำได้เต็มที่ ถึงแม้ จะเกิดความคาดหวังก็จะไม่เครียด นอกจากนีเ้ ห็นว่าพีณ ่ ฏั ฐ์มมี นุษยสัมพันธ์ มากขึน้ เพราะต้องคุยกับคนนัน้ คนนี้ การปรับอารมณ์ รับฟังมากขึน้ คิด ก่อน แล้วจึงสะท้อน มีเป้าหมายในการท�ำงานชัดเจนขึน้ เพราะได้บทบาทที่ ชัดขึน้ ” ณัฏฐ์และหญิงบอกว่าทัง้ สองสนุกกับการท�ำงานในพืน้ ทีม่ าก ยิง่ ท�ำยิง่ เข้าใจบทบาทการโค้ชว่าจะต้องเดินไปอย่างไร “ตอนทีเ่ ข้ากระบวนการถอดบทเรียน การดูหนังก็รวู้ า่ ใครก็เป็นโค้ชได้ ทุกคนสามารถเป็นโค้ชของกันและกัน เมือ่ ได้ทบทวนงานของเราเองในอดีต เราก็ได้ทำ� หน้าทีโ่ ค้ชเหมือนกัน โดยธรรมชาติ” นอกจากการดูหนัง การเรียนรูก้ ารโค้ชนัน้ ยังผ่านการทบทวนตัวเอง ด้วยเช่นกัน ณัฏฐ์กล่าวว่าการเรียนรูข้ องเขานัน้ ก็ผา่ นการคุยกับคน เพราะเมือ่ คุย ก็ได้ให้คำ� ปรึกษาไปในตัว และสามารถน�ำสิง่ ทีไ่ ด้เข้าใจไปขยายต่อ แต่มนั ต้อง ผ่านกระบวนการต่างๆ มาช่วยหล่อหลอม เป็นการใคร่ครวญตนเองอยูเ่ สมอ อีกด้วย เมือ่ บิลและเงินทอนมาวางตรงหน้า เตือนให้รวู้ า่ ได้เวลาทีจ่ ะต้องแยก ย้ายกลับไปท�ำงาน วงกาแฟในวันนีท้ ำ� ให้เราได้เห็นมุมมองในการท�ำงานของ โค้ชชุมชนทัง้ สองคน ท�ำให้รสชาดกาแฟยิง่ อร่อยเข้มข้น เป็นวงสนทนาหนึง่ ที่ มีความหมายและมีพลังต่อผูเ้ ล่าและผูฟ้ งั ไม่ตา่ งจากการได้อา่ นหนังสือหรือดู ภาพยนตร์ดๆี สักเรือ่ งทีจ่ ะท�ำให้เราน�ำสิง่ ทีก่ ระทบใจกลับไปสร้างสรรค์งานดีๆ ต่อตนเองและชุมชนต่อไปได้อย่างไม่หยุดยัง้
ต� ำ บลพระธาตุ จั ง หวั ด มหาสารคาม ผู้ให้ข้อมูล วียณา ก้านจักร ทองหล่อ รุ่งรัตน์ ยวนใจ พิลาพันธ์ สมจิตร วงศ์ทวี สุมาลี ภูตะดา
ทีมโค้ช เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ อิฐธิชัย ก๊กศรี
ต�ำบลพระธาตุ เป็นต�ำบลขนาดเล็กในอ�ำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ทีน่ มี่ ี 8 หมูบ่ า้ น ผูอ้ ยูอ่ าศัยกว่า 2,700 คน ทัง้ หมด 777 ครัวเรือน พืน้ ทีส่ ว่ น ใหญ่เป็นทีร่ าบและทีร่ าบสูง ผูค้ นทีน่ สี่ ว่ นใหญ่ประกอบอาชีพท�ำนา เลีย้ งสัตว์ เช่น เลีย้ งหมู ไก่ เป็ด โค เลีย้ งกบ ตามสภาพธรรมชาติและเพือ่ การบริโภค เองในครัวเรือน มีอาชีพเสริมหลังฤดูเก็บเกีย่ ว เช่น การจักสานไม้ไผ่ กลุม่ ทอผ้า สไบขิด กลุม่ ทอเสือ่ กก และรับจ้างทัว่ ไปฯ มีการผลิตยาสมุนไพรและแปรรูป สมุนไพร ทุกหมูบ่ า้ นมีกลุม่ อาชีพทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงานในต�ำบล จากการส�ำรวจของทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล สรุปข้อมูลครัง้ ล่าสุด เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 พบว่ามีเด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี ในต�ำบลทัง้ หมด 182 คน มีเด็กทีม่ ภี าวะปกติ ครอบครัวดูแลเอาใจใส่สง่ เสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม จ�ำนวน 89 คน อีก 93 คน เป็นเด็กทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เสีย่ งและประสบปัญหา โดย ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวทีม่ รี ายได้นอ้ ย ยากจน มีหนีส้ นิ มาก ส่งผลให้ไม่มเี วลา เอาใจใส่เด็กมากนัก เด็กบางคนมีปญ ั หาด้านโภชนาการ ร่างกายไม่สมส่วน บางรายเด็กไม่ได้รบั สวัสดิการเด็กแรกเกิด และมีปญ ั หาแม่วยั รุน่ ท้องซ�ำ้ มีลกู หลายคน ไม่มคี วามรูใ้ นการดูแลเด็ก เป็นต้น ทัง้ นี้ ยังมีปญ ั หาเรือ่ งของการเลีย้ งดู ผูป้ กครองบางรายชอบดุดา่ บ่น ว่าเด็ก บางครอบครัวให้เด็กเล่นโทรศัพท์มอื ถือ ดูโทรทัศน์มากเกินไป จนท�ำให้ เด็กเกิดพฤติกรรมเลียนแบบจากสือ่ บางรายเอาแต่ใจ ขว้างปาสิง่ ของ กรีดร้อง ท�ำร้ายตัวเอง ท�ำร้ายผูอ้ นื่ ทีมกลไกท้องถิน่ ต�ำบลพระธาตุ ให้ความส�ำคัญกับพฤติกรรมของเด็ก เพราะผูป้ กครองสะท้อนว่าเป็นปัญหาทีไ่ ม่รวู้ ธิ กี ารแก้ไข ดังนัน้ นอกจากกรณี ทีต่ อ้ งช่วยเหลือเร่งด่วนแล้ว ทีมชุมชนได้จดั กิจกรรมพูดคุยกับผูป้ กครองเกีย่ ว กับการดูแลเด็กปฐมวัย เรือ่ งโภชนาการ การเล่นกับเด็กเพือ่ เสริมพัฒนาการ และได้มกี ระบวนการจัดท�ำลานเล่นของแต่ละหมูบ่ า้ นเพือ่ ให้เด็กๆ เข้าถึงการ ดูแลและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กโดยชุมชน
82
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เปลี่ยนชีวิตน้อยๆ ด้วยสองมือและหัวใจ
งานลงพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูลทีเ่ ป็นจริง เริม่ จากเดินทางไปหาและสบตาผูค้ น ทีเ่ ราคุยด้วย ถ้อยค�ำนีเ้ ห็นได้ชดั จากการท�ำงานของทีมพระธาตุ เดือนพฤษภาคม 2563 เป็นช่วงทีท่ มี ชุมชนพระธาตุนดั หมายลงพืน้ ที่เยี่ยมเยียนและส�ำรวจข้อมูลเด็กปฐมวัย ทีมชุมชนพระธาตุเตรียมพร้อม เดินสายท�ำหน้าทีต่ ามทีต่ กลงกันไว้ ก่อนลงพืน้ ที่ แต่ละทีมท�ำการบ้านท�ำความ เข้าใจข้อมูลของเด็กทีจ่ ะเยีย่ มเยียน ซักซ้อมขัน้ ตอนการเยีย่ มบ้านและการเก็บ ข้อมูล เมือ่ พร้อมก็แยกย้ายท�ำตามหน้าทีข่ องตนกับเพือ่ นร่วมทีม และโค้ช ชุมชนพระธาตุทไี่ ปด้วยในฐานะพีเ่ ลีย้ ง
บ้านหลังที่ 1 – เด็กติดมือถือ
“อย่าลืมนะ อย่าเพิง่ รีบเข้าเรือ่ ง ค่อยๆ ชวนคุย” หมอณา - วียณา ก้านจักร จากกองสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม ทบทวนแผนการคุยกับทีมงาน อสม. “วันนีเ้ ราจะไปเยีย่ ม พูดคุยและสังเกตดูยายและหลานบ้านนีเ้ ป็นข้อมูล ไว้กอ่ น” หมอณาพูด พลางหยิบข้าวของทีต่ อ้ งใช้แล้วลงจากรถ เดินตรงไปยัง บ้านทีไ่ ด้ขอ้ มูลมาว่า มีเด็กเล็กติดถือมือ ถึงหน้าบ้าน ทีมชุมชนพระธาตุยกมือไหว้และทักทาย แล้วคุยสัพเพเหระ กันสักพัก ก่อนเข้าเรือ่ ง
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ท�ำไมปล่อยให้หลานเล่นแต่มอื ถือล่ะยาย?”
“ใครๆ ก็เล่นกัน” ยายตอบ
83
“แล้วหลานเล่นนานแค่ไหนจ๊ะยาย?” หมอณาถามเป็นข้อมูล
“แบตหมดก็ให้เลิกเล่น”
…….?
หมอณานิง่ คิด มือถือสมาร์ทโฟนยุคนีร้ าคาไม่แพง แถมความจุแบตเตอรี่ ทนทานนานกว่า 8 ชัว่ โมง นัน่ แสดงว่า หากให้เด็กเล่นมือถือตลอดเวลาจน แบตหมดก็คอื เล่นทัง้ วันนัน่ เอง ทุกคนในทีมพระธาตุไม่ได้กล่าวแนะน�ำ ต่อว่า หรือห้ามปรามอะไรใน เรือ่ งนี้ และชวนคุยเรือ่ งอืน่ ๆ จนได้เวลา จึงร�ำ่ ลายายหลานและเดินทางกลับ ต่อมา ยายได้รบั เชิญให้มาร่วมวงสนทนากับผูป้ กครองทีม่ ปี ญ ั หาเด็ก ติดมือถืออยูห่ ลายครัง้ แล้วยายก็เริม่ ปรับพฤติกรรมของตัวเอง “ก็ยงั ให้หลานเล่นมือถืออยู่ แต่ชาร์ตมือถือไว้เพียง 20 เปอร์เซ็นต์ และตกลงกับหลานว่าจะให้เล่นจนแบตหมด”
บ้านอีกหลัง – เด็กขาดโภชนาการ
หมอนุช - นิภาภรณ์ จันทร์แป้น จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล (รพ.สต.) บ้านโพธิท์ อง พร้อมทีมงาน อสม. เดินทางมาถึงบ้านหลังที่ ได้รบั ข้อมูลว่า มีเด็กทีอ่ าจมีปญ ั หาเรือ่ งภาวะโภชนาการไม่เหมาะสม ตรงหน้า หมอนุชและทีมเห็นเด็กหญิงวัย 3 ขวบ เนือ้ ตัวมอมแมม ก�ำลังเล่นคลุกดินอยูบ่ ริเวณลานบ้าน ใกล้ๆ เป็นโรงเพาะเห็ดทีผ่ เู้ ป็นแม่กำ� ลัง
84
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
สาละวนอยูก่ บั การดูแลโรงเรือนให้ได้ดมี คี ณ ุ ภาพ เพราะก�ำลังเป็นทีต่ อ้ งการ ของตลาด ทีมผูม้ าเยีย่ มเข้าไปทักทายและยืน่ ของฝากให้แม่ของเด็ก ส่วนเด็กน้อย เมือ่ เห็นคนแปลกหน้า ก็รบี วิง่ หลบเข้าไปในบ้าน แอบดูอยูห่ า่ งๆ แม้จะเห็นเด็กไม่เต็มตา แต่กป็ ระเมินได้วา่ เด็กตัวเล็ก ผอม คะเนดู น�ำ้ หนักน่าจะต�ำ่ กว่าเกณฑ์ ทีม อสม. จึงแนะน�ำตัวเองพร้อมแนะน�ำหมอให้แม่ ของเด็กรูจ้ กั เมือ่ ได้พดู คุยกันสักพัก หมอนุชก็เริม่ วกเข้าเรือ่ งของเด็ก จึงได้รวู้ า่ วันๆ เด็กกินแต่นมกล่อง ไม่ยอมกินข้าว ส่วนแม่กย็ งุ่ แต่กบั การดูแลโรงเรือนเห็ด ไม่ ค่อยได้ใส่ใจเรือ่ งอาหารการกินหรือความเป็นอยูข่ องลูกนัก นอกจากปล่อยให้ เล่นอยูบ่ ริเวณบ้าน หมอนุชจึงแนะน�ำการท�ำอาหารส�ำหรับเด็กเล็กทีเ่ ลือกกินหรือกินยาก ให้ทดลองท�ำอาหารสัก 2 อย่างเป็นทางเลือกให้เด็ก นอกเหนือจากไข่ดาว เพราะเด็กเล็กกินอาหารผูใ้ หญ่รสเผ็ดไม่ได้ พร้อมทัง้ ส�ำทับว่าจะมาหาบ่อยๆ
แม่เด็กรับค�ำ
หนึง่ เดือนต่อมา
ทีมอสม. ลงไปเยีย่ มบ้านนีอ้ กี ครัง้ เมือ่ เดินไปถึงบริเวณบ้าน เด็กน้อย ซึง่ ก�ำลังนัง่ เล่นอยู่ เมือ่ เห็นคนแปลกหน้าก็รบี หลบ แต่รอบนีม้ กี ารส่งยิม้ ให้ อย่างอายๆ ผูม้ าเยีย่ มสังเกตว่าเด็กน้อยดูมนี ำ�้ มีนวลขึน้ มานิดหน่อย เนือ้ ตัวไม่ มอมแมมเหมือนคราวก่อน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
85
“หมอมาเยีย่ มบ่อย เลยรูส้ กึ ว่าต้องท�ำให้ด”ี แม่ของเด็กน้อยสารภาพ ความในใจ เมื่อผู้ปกครองเปลี่ยน เด็กก็เปลี่ยน ความเปลีย่ นแปลงเช่นนีค้ งเกิดขึน้ ไม่ได้หากไม่มที มี ชุมชนพระธาตุ 28 ชีวติ ทีท่ ำ� งานอย่างแข็งขันและร่วมมือกับท้องถิน่ พืน้ ทีเ่ พือ่ เด็กและชุมชนของ ตนเอง แม้ตำ� บลพระธาตุจะเป็นท้องถิน่ เล็กๆ มี 8 หมูบ่ า้ น 777 หลังคาเรือน และประชากรราว 2,700 คน แต่ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ กับเด็กปฐมวัยและครอบครัว ราว 50 หลังคาเรือน ก็ไม่ได้ตา่ งจากพืน้ ทีช่ นบทอืน่ ๆ “ทีมพระธาตุแบ่งทีมในการเยีย่ มเด็กและส�ำรวจข้อมูลเป็น 4 ทีม ตาม ประเด็นปัญหาทีเ่ ราเคยส�ำรวจพบ” เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ หรือ พีโ่ จ โค้ชของ ทีมต�ำบลพระธาตุอธิบาย “ทีมหนึง่ ดูเรือ่ งปัญหารายได้นอ้ ย สวัสดิการ แม่วยั รุน่ (และท้องซ�ำ้ ) ทีมทีส่ องส�ำรวจปัญหาเด็กทีม่ ภี าวะโภชนาการไม่เหมาะสม พัฒนาการไม่สมวัย ส่วนทีมที่ 3 และ 4 จะดูประเด็นพฤติกรรมเด็กทีม่ าจากการติดมือถือและทีวี ซึง่ เป็นเด็กกลุม่ ใหญ่ในพืน้ ทีข่ องเรา” พี่โจเล่าเพิ่มเติมด้วยน�้ำเสียงหนักใจว่า “เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว รุนแรง เอาแต่ใจ ถูกตามใจ พอไม่ได้ดงั่ ใจก็ลงไปดิน้ ทีพ่ นื้ และถนน ท�ำร้ายตัว เอง ท�ำร้ายผูอ้ นื่ รวมถึงย่ายายด้วย” การแก้ปัญหาต้องอยู่กับความเป็นจริง แม้ทีมพระธาตุจะมีข้อมูล พื้นฐานของเด็กทุกคนอยูแ่ ล้ว แต่กจ็ ำ� เป็นต้องส�ำรวจให้ละเอียดเพือ่ เข้าถึง
86
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ปัญหาและอัพเดทสถานการณ์ของเด็กอยูเ่ สมอ ดังนัน้ ในการส�ำรวจข้อมูล ล่าสุดทีด่ ำ� เนินการเมือ่ เดือนมิถนุ ายนและกรกฏาคม 2563 ทีมชุมชนพระธาตุ แบ่งงานตามความถนัดของแต่ละคน นักพัฒนาชุมชนอยู่ในทีมเก็บข้อมูลเรื่องรายได้ผู้ปกครองและ สวัสดิการเด็ก แม่วยั รุน่ ส่วน อสม. และ รพ.สต. ก็อยูใ่ นทีมทีด่ เู รือ่ งภาวะ โภชนาการและพัฒนาการเด็ก ส�ำหรับครู กองสาธารณสุขก็รวมทีมกันส�ำรวจ และดูแลเรือ่ งพฤติกรรมเด็ก เป็นต้น ก่อนลงพืน้ ที่ ทุกคนจะท�ำความเข้าใจเคสตามข้อมูลเดิมทีม่ ี ขัน้ ตอน การเก็บข้อมูล แบบฟอร์มทีท่ มี โค้ชได้ออกแบบไว้ การลงเยีย่ มแต่ละบ้านใช้ เวลาประมาณ 30 - 40 นาที และในวันหนึง่ บางทีมก็เยีย่ มบ้านเด็กได้ 4 - 5 หลัง ภายหลังการเยีย่ มและเก็บข้อมูล ทีมจะมารวมตัวกันที่ อบต. พระธาตุ เอาข้อมูลทีไ่ ด้จากการพูดคุยและสังเกตผูป้ กครองและเด็กๆ มาเล่าสูก่ นั ฟัง ร่วม กันวิเคราะห์สภาพปัญหา ค้นหาและออกแบบแนวทางแก้ไขทีเ่ หมาะสม หรือ ส่งต่อขอความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในเรือ่ งนัน้ ๆ “เลีย้ งหลานนีเ่ หนือ่ ยกว่าท�ำนาท�ำไร่เสียอีก” ตัวแทน อสม. ส่งต่อค�ำ บ่นของตายายทีต่ อ้ งเลีย้ งหลาน ทุกคนพยักหน้าเห็นด้วยเต็มที่ ไม่วา่ จะเป็นคนเมืองหรือคนชนบท การเลีย้ งเด็กเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งใส่ใจ ใช้พลัง และให้เวลาอย่างต่อเนื่อง ในช่วงแรกเกิด ต้องมีคนดูแลอุ้มเด็ก ประคบประหงมตลอด พอเข้าสูว่ ยั คลานและเดินเตาะแตะ ผูเ้ ลีย้ งก็ตอ้ งสอด ส่องไม่ให้คลาดสายตาและคอยเดินตาม เพื่อดูแลความปลอดภัย เพราะ ธรรมชาติของเด็กวัยนีเ้ ริม่ เป็นนักส�ำรวจทีอ่ ยากรูจ้ กั ทุกสิง่ ทีพ่ บเห็นและสัมผัส ผูส้ งู วัยทีเ่ รีย่ วแรงเริม่ ถดถอย หู ตา เริม่ ฝ้าฟาง และยังต้องท�ำงานหา เลีย้ งชีพ ก็ยอ่ มต้องหาตัวช่วยให้ในการเลีย้ งเด็กไม่ให้รบกวนเวลาท�ำงาน หลาย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
87
คนใช้มอื ถือและทีวเี ลีย้ งหลาน บางบ้านใช้คอกกัน้ เด็กทัง้ วัน เพราะกลัวอันตราย จากการตามจับเด็กไม่ทนั หลายบ้านก็เลีย้ งหลานแบบตามใจ อยากท�ำอะไรก็ ให้ทำ� อยากกินอะไรก็ให้กนิ การดูแลเด็กแบบนั้นมีปัญหาติดตามมามากมาย เด็กมีปัญหา โภชนาการ ไม่ขาดสารอาหาร ก็เป็นโรคอ้วนตัง้ แต่ยงั เด็ก ทีส่ ำ� คัญ การให้เด็ก เล็กเล่นมือถือหรืออยูห่ น้าจอทัง้ วัน ท�ำให้เด็กขาดพัฒนาการทัง้ กล้ามเนือ้ มัด ใหญ่มดั เล็ก ส่งผลต่อพัฒนาการทางร่างกายทีไ่ ม่สมบูรณ์ สมาธิสนั้ ความ อดทนต�ำ่ เอาแต่ใจ ใช้ความรุนแรง จากปัญหาทีพ่ บในเด็กติดจอและมือถือ ทีมพระธาตุรว่ มกันออกแบบ และท�ำกระบวนการคุยกับผู้ปกครองที่มีเด็กเข้าข่ายมีปัญหา “ติดจอ” 20 หลังคาเรือน
หมอณา ผูด้ แู ลพฤติกรรมเด็กบอกว่า
“ตอนแรก รูส้ กึ กังวลทีจ่ ะคุยกับผูป้ กครองของเด็กทีต่ ดิ มือถือ แต่โชค ดีมากทีท่ มี มีศกั ยภาพ ช่วยกันคุย ซักถาม และแนะน�ำผูป้ กครอง ด้วยการจัด กระบวนการพูดคุยทีเ่ รียกว่า Group Support 1 ครัง้ และ Self-Help Group อีก 1 ครัง้ ท�ำให้ผปู้ กครองตระหนักถึงข้อเสียทีป่ ล่อยให้เด็กติดมือถือ ซึง่ หาก ไม่รบี แก้ไขปล่อยนานเกินไปจะยิง่ แก้ปญ ั หาได้ยากขึน้ ” การจัดกระบวนการกลุม่ อย่างต่อเนือ่ งให้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจ ผูป้ กครอง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุเริ่มตระหนักว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาและ พร้อมจะปรับพฤติกรรมตัวเอง “ถ้าเราไม่ยนื่ โทรศัพท์ให้ เขาก็ไม่เล่น” ยายคนหนึง่ สะท้อนข้อคิดทีไ่ ด้ จากวงสนทนา
88
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หมอณาเล่าถึงเวทีพดู คุยกับกลุม่ ผูป้ กครองครัง้ ล่าสุด ทีม่ กี ารแลกเปลีย่ น วิธกี ารทีแ่ ต่ละคนใช้เพือ่ ท�ำให้ลกู หลานวางมือถือ “ยายคนหนึง่ บอกว่า ยังให้หลานเล่นมือถืออยู่ แต่จำ� กัดเวลาลง โดย ยายชาร์ตมือถือไว้เพียง 20 เปอร์เซ็นต์ และตกลงกับหลานว่าจะให้เล่นจน แบตหมด ซึง่ ก็นา่ จะเหลือระยะเวลาใช้งานประมาณ 1 ชัว่ โมง” พีย่ วน - ยวนใจ พิลาพันธ์ อสม. เล่าเสริมอีกตัวอย่างจากวงคุย “ผูป้ กครองบางคนก็พาลูกไปท�ำงานด้วย เช่น รดน�ำ้ ผัก เดินไปทุง่ นา ชวนเด็ก ให้ไปเล่นด้วยกัน บางคนก็ซอื้ จักรยานให้เด็กปัน่ ไปเล่นกับเพือ่ นแถวบ้าน” ทีมพระธาตุดจู ะเบาใจขึน้ ทีผ่ ปู้ กครองเข้าใจผลกระทบของมือถือต่อ พัฒนาการทางร่างกายและอารมณ์ของเด็ก แต่กย็ งั มีกรณีทตี่ อ้ งการผูเ้ ชีย่ วชาญ เข้าช่วย “ยังมีเด็กที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวมาก ใช้ความรุนแรงกับผู้ปกครอง ท�ำร้ายตัวเอง ท�ำร้ายคนอืน่ เรือ่ งนีเ้ กินความสามารถของเรา จ�ำเป็นต้องให้ผู้ เชีย่ วชาญจิตวิทยาเด็กเข้ามาช่วย” หมอณากล่าว การติดตามอย่างต่อเนือ่ งท�ำให้ทมี ชุมชนพระธาตุได้เห็นพัฒนาการ และการเปลีย่ นแปลงของผูป้ กครองและเด็ก เช่น จากทีม่ วั แต่ทำ� งานในสวนใน ไร่ ก็ใส่ใจลูกเพิม่ ขึน้ ทัง้ เรือ่ งการกินการอยู่ ไม่ปล่อยตามมีตามเกิด หรือทีมที่ ต้องดูแลครอบครัวมีรายได้นอ้ ย แม่วยั รุน่ ท้องซ�ำ้ ไม่ได้รบั สวัสดิการเด็กแรก เกิด ก็สง่ ต่อข้อมูลให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้ความช่วยเหลือได้ทนั ท่วงที ตีน๋ อ้ ย - อิฐธิชยั ก๊กศรี หนึง่ ในโค้ชทีมพระธาตุยกตัวอย่างทีส่ ะท้อน ผลส�ำเร็จ “อย่างกรณีหนึง่ เราพบว่า แม่เด็กเปิดบัญชีสวัสดิการเด็กแรกเกิดไว้ แต่ไม่ได้เลีย้ งดูเด็ก คนเลีย้ งจริงๆ คือ ย่า ซึง่ ไม่มรี ายได้และไม่เคยได้รบั เงิน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
89
สวัสดิการในส่วนนี้ เมือ่ เราได้ขอ้ มูลนี้ ก็ประสานไปทีห่ น่วยงานเกีย่ วข้อง ท�ำให้ ย่าได้รบั เงินสวัสดิการเด็กแรกเกิดอย่างรวดเร็ว” ข้อมูลทีด่ เี ปรียบเสมือนกุญแจทีช่ ว่ ยปลดล็อคปัญหาให้เด็กๆ ได้ทนั ท่วงที และจะมีขอ้ มูลทีด่ ถี กู ต้องไม่ได้เลยหากไม่มกี ารออกแบบชุดค�ำถามทีด่ ี ไม่มที มี งานทีม่ ตี าในการสังเกต ทักษะในการชวนคุยเพือ่ ให้ได้ความจริงและ กระบวนการสนทนาอย่างมีสว่ นร่วมเพือ่ วิเคราะห์และหาแนวทางช่วยเหลือเด็ก ด้วยพืน้ ฐานด้านคอมพิวเตอร์ ตีน๋ อ้ ยเห็นความส�ำคัญของการเก็บและใช้ขอ้ มูล และมองว่า แบบสอบถามทีใ่ ช้แต่เดิมนัน้ เยอะและยุง่ ยาก คือ ราว 7 - 8 หน้า เป็นอุปสรรคต่อการเก็บข้อมูลเสียเอง ตีน๋ อ้ ยจึงปรับปรุงแบบสอบถามขึน้ ใหม่ให้เหลือเพียง 1 - 2 หน้า เพือ่ ให้ ใช้งา่ ยและเก็บข้อมูลส�ำคัญให้มากทีส่ ดุ นอกจากนี้ เขายังท�ำแบบสอบถามใน กูเกิล้ ฟอร์ม (google form) ปรับปรุงเป็นระบบฐานข้อมูลของเด็ก ให้หน่วย งานต่างๆ ในชุมชนจะแชร์และใช้ของเด็กร่วมกันเพือ่ ให้มขี อ้ มูลครอบคลุมรอบ ด้านของเด็ก ทัง้ เรือ่ งสวัสดิการ โภชนาการ พฤติกรรม ฯลฯ “อย่างตอนส�ำรวจ เราจะมาดูดว้ ยกันว่ามีเด็กทีต่ อ้ งได้รบั การช่วยเหลือ เร่งด่วนกีค่ น และมีปญ ั หาอย่างไร ก็จะพบว่าส่วนใหญ่คนดูแลเด็กก็จะเป็น คนแก่ มักมีโรคประจ�ำตัว” ครูใบ - สมจิตร วงศ์ทวี หนึง่ ในทีมพระธาตุกล่าว ถึงการใช้แบบสอบถามส�ำหรับลงเก็บข้อมูลในพืน้ ที่ เมือ่ ได้ขอ้ มูลมาแล้ว ทีมชุมชนมีเกณฑ์ทเี่ ป็นกรอบการพิจารณาความ รุนแรงและเร่งด่วนของปัญหาในเด็ก โดยแบ่งเป็นสี คือ สีเขียว เหลือง แดง ตามทีโ่ ครงการได้ตกลงร่วมกัน เด็กทีเ่ ข้าเกณฑ์สแี ดงเป็นกลุม่ เปราะบางทีต่ อ้ ง ได้รบั ความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
90
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“การวิเคราะห์ข้อมูลว่ารายใดจะเป็นสีอะไรนั้น ทางทีมยกให้เป็น บทบาทของผูเ้ ชีย่ วชาญ คือตีน๋ อ้ ย เนือ่ งจากการวิเคราะห์แล้วบอกว่าใครเป็น สีอะไรเป็นข้อมูลส่วนบุคคลทีม่ คี วามละเอียดอ่อน ทีมทีล่ งไปเยีย่ มบ้านจะได้ ไม่ตอ้ งตัดสินจากสีแต่จะดูทขี่ อ้ มูลตามความเป็นจริง เวลาไปคุยกับปกครอง ครัง้ ต่อๆ ไปก็เพือ่ ดูวา่ ข้อมูลทีเ่ ราได้มาแต่ละครัง้ ตรงกันไหม เปลีย่ นแปลงไป อย่างไร กรณีทตี่ อ้ งช่วยเหลือเร่งด่วน เราก็พจิ ารณาจากข้อมูลทีไ่ ด้มา” พีโ่ จ กล่าวเพิม่ เติมถึงส่วนทีท่ มี โค้ชเข้ามาช่วยทีมชุมชน “ยกตัวอย่างการเยีย่ มเคส เช่น ในข้อมูลจากการเยีย่ มบ้านครัง้ แรก พบว่า เด็กหนึง่ คนอาจจัดอยูใ่ นทุกกลุม่ ทัง้ ครอบครัวยากจน ไม่มรี ายได้ ไม่ได้ สวัสดิการเด็กแรกเกิด ก็จะส่งต่อให้ทมี ทีร่ บั ผิดชอบลงเยีย่ มในครัง้ ถัดไป และ ถ้าเด็กขาดโภชนาการด้วยทีมทีร่ บั ผิดชอบก็จะลงไปเยีย่ มอีกครัง้ ” ตีน๋ อ้ ยกล่าว การท�ำงานเพือ่ เด็กๆ อย่างแข็งขันของทีมชุมชนพระธาตุนนั้ สะท้อน การท�ำงานอย่างแข็งขันของทีมโค้ชเช่นกัน ทุกครัง้ ทีเ่ จอปัญหายากๆ สิง่ ทีท่ ำ� ให้ ทัง้ ทีมรูส้ กึ อบอุน่ ใจก็คอื การมีทมี โค้ชทีอ่ ยูเ่ คียงข้าง นอกจากโค้ชทัง้ สองจะเป็น ส่วนหนึง่ ของชุมชนแล้ว พวกเขายังสะท้อนความรูส้ กึ ทีม่ ตี อ่ โค้ชว่า
“ทีมโค้ชท�ำให้เรามาเจอกัน เกิดทุกสิง่ ทุกอย่างขึน้ มา”
“ถ้าเปรียบทีมของเราเป็นเหมือนต้นไม้ ทีมโค้ชก็คอื รากแก้ว”
หนึง่ ในทีมชุมชนทีเ่ ป็น อสม. กล่าวว่า ทีมโค้ชท�ำให้พวกเขาตระหนักว่า เด็กปฐมวัยเป็นวัยทองของชีวติ เป็นช่วงการตอกเสาเข็มอันเป็นรากฐานส�ำคัญ ของชีวติ หากเสาเข็มไม่เข็งแรงหรือตอกผิด ชีวติ เด็กคนนัน้ ก็จะผิดยาวไปตลอด จึงต้องให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานกับเด็กให้มาก เมือ่ มีเป้าหมายทีแ่ จ่มชัด พลังในการท�ำงานก็มากตามไปด้วย ยิง่ มีทมี โค้ชคอยให้คำ� ปรึกษาเคียงข้าง ก็ยงิ่ ช่วยกันเต็มที่
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
91
“โค้ชเป็นทีป่ รึกษา ช่วยเหลือในทุกเรือ่ ง ช่วยวางแผน ส่งต่อข้อมูล ตอนทีป่ ระสานงานให้ เขาจะถามเราก่อนว่าเราสะดวกไหม และยังให้พลังใน การท�ำงานกับเรา เมือ่ คุยกัน โค้ชน�ำการเช็คอินให้เราเล่าความรูส้ กึ ท�ำให้รวู้ า่ เรา ไม่ได้ทำ� หรือเหนือ่ ยคนเดียว และได้หลอมรวมพลังไปด้วยกัน” อสม. คนเดิมกล่าว หมอณากล่าวเสริม “โค้ชช่วยให้งานของเราถึงเป้าหมาย ช่วยวางแผน ท�ำกระบวนการ เราต้องการอะไร โค้ชช่วยตีโจทย์ได้ ถ้าไม่มโี ค้ช งานจะไม่ได้ ดีเท่าเดิม และเราก็อาจจะท�ำงานแต่โครงการของตัวเอง” ทีมชุมชนพระธาตุมองไปข้างหน้าถึงสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำให้ทมี กลไกชุมชนเข้ม แข็งขึน้ และเติมเต็มในส่วนทีข่ าด เช่น การอบรมเกีย่ วกับพัฒนาการเด็ก สิทธิเด็ก ให้กบั อสม. คนอืน่ ๆ การเรียนรูด้ งู านนอกพืน้ ที่ การท�ำกิจกรรมให้ความรูใ้ น การเลีย้ งดูเด็กในแต่ละช่วงวัยให้กบั ผูป้ กครอง เป็นต้น พวกเขาวางแผนทีจ่ ะเติบโตอย่างยัง่ ยืน ด้วยทุนภายใน ทัง้ ทุนผูค้ นใน พืน้ ที่ ทุนความรู้ ทุนงบประมาณ พวกเขาเล็งว่า จะน�ำงบประมาณในพืน้ ทีม่ า ใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะให้เด็กเล็ก เช่นเดียวกับการบรรจุกจิ กรรมลานเล่น เข้าไปในเทศบัญญัติ เรือ่ งราวของการดูแลเด็กปฐมวัยในชุมชน และการรวมทีมของพระธาตุ เป็นตัวอย่างหนึง่ ของการท�ำให้พนื้ ทีเ่ ห็นศักยภาพทีเ่ ข้มแข็งของตนเอง และปลุก พลังภายในชุมชนขึน้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ ต่อตัวเองและชุมชน
จะเป็นเช่นไรหากเกิดรูปแบบนีก้ ระจายไปทัว่ ทุกต�ำบล
ภาพฝันทีจ่ ะเห็นชุมชนเข้มแข็งต้องเป็นจริงอย่างแน่นอน
92
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมรูส้ กึ เป็นเชือกเส้นดียว เป็นเกลียวทีไ่ ปในทิศทางเดียวกัน
10 โมงเช้า วันที่ 3 สิงหาคม 2563 ได้เวลานัดหมายกันกับ พีโ่ จ เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ และ ตีน๋ อ้ ย - อิฐธิชยั ก๊กศรี ทีมโค้ชต�ำบลพระธาตุ เพือ่ สนทนาร่วมกัน เรายิม้ ยกมือไหว้สวัสดีทกั ทายกันผ่านหน้าจอ ใช่แล้ว! เราประชุม ออนไลน์กนั เพราะนับตัง้ แต่สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด - 19 ท�ำให้ เราต้องเฝ้าระวัง จึงไม่เอือ้ ให้เราได้เดินทางไปเจอกันทีต่ ำ� บลพระธาตุ อ�ำเภอ นาดูน จังหวัดมหาสารคาม ทุกภาคส่วนต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์และเทคโนโลยีทกุ รูป แบบ การท�ำงานชุมชนก็เช่นกัน ทีมพระธาตุเองมีการริเริม่ น�ำเทคโนโลยีอย่าง ง่ายมาประยุกต์ใช้กบั การท�ำงานในชุมชน เช่น การท�ำแบบสอบถามผ่าน Google Form เพือ่ เก็บข้อมูลชุมชน หรือการเขียนโปรแกรมส�ำหรับการท�ำงานชุมชน ตีน๋ อ้ ย - อิฐธิชยั ก๊กศรี เล่าถึงโจทย์ในการออกแบบแบบสอบถาม เพือ่ น�ำไปใช้สำ� หรับการลงพืน้ ที่ จากพืน้ ฐานด้านเขียนโปรแกรมท�ำให้เขามุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำข้อมูลเกีย่ วกับเด็กและครอบครัวให้ทมี ได้ใช้ประโยชน์ได้สงู สุด “ผมคิดว่าออกแบบมาแล้วต้องใช้งา่ ยและสะดวกกับผูท้ ใี่ ช้ แต่ละพืน้ ที่ มีการคุยกัน มีขอ้ มูลมากไป สิง่ ทีเ่ ก็บมามีประโยชน์ แต่เราใช้มนั ได้ไม่หมด
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
93
จึงคิดว่าน่าจะใช้ในสิง่ ทีจ่ ำ� เป็น และคิดว่าหากแบบสอบถามทีท่ างทีมส�ำรวจ ข้อมูลถือไป ต้องได้ขอ้ มูลครบถ้วน แต่ให้มไี ด้ไม่เกิน 1 - 2 หน้ากระดาษ” “พีๆ่ ทีมจังหวัดอืน่ เขาก็นำ� ไปใช้ดว้ ยเช่นกัน แต่มกี ารเพิม่ ช่องข้อมูล เพิม่ เติม เช่น อยากให้เพิม่ ช่องเติมเลข 13 หลัก เพิม่ ช่องแม่เลีย้ งเดีย่ ว พ่อ เลีย้ งเดีย่ ว แล้วแต่ความต้องการใช้” ตีน๋ อ้ ยเล่าเพิม่ เติม พีโ่ จ - เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ เล่าเสริมถึงความส�ำคัญของการจัดการ ข้อมูล อันเป็นต้นทางของการท�ำงานชุมชน “เมือ่ ได้ขอ้ มูลดี การท�ำงานก็จะไม่เหนือ่ ยมาก เราอาจมองว่าข้อมูล เหล่านีม้ อี ยูแ่ ล้วในฐานข้อมูลภาครัฐ หรือใน อบต. แต่เมือ่ ลองสืบค้นหรือ ประสานงานลงไปเพือ่ จะน�ำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ เราพบว่า ข้อมูลเหล่า นัน้ ไม่ได้อพั เดทมาหลายปีกม็ ี หากเราได้ขอ้ มูลจริงในพืน้ ที่ เราสามารถน�ำไป ใช้ได้เยอะมาก เช่น การวางแผนการท�ำงานในอนาคต” “นอกจากนีก้ ารท�ำแบบสอบถามให้งา่ ย คนทีล่ งไปเก็บก็จะกรอกลง ข้อมูลง่ายด้วย เราย�ำ้ กับทีม อสม. เสมอ เพราะเป็นกลไกในการเก็บข้อมูล เมือ่ ออกแบบเป็นรูป Google form มันก็จะง่ายขึน้ ในการสืบค้น แถมคนลงเก็บ ข้อมูลก็รสู้ กึ ดีไปด้วย ตีน๋ อ้ ยเขาจะออกแบบให้มกี ารอัพเดท วันเดือนปีเกิด สรุปอายุของเด็กได้เรื่อยๆ ท�ำให้ตัวเลขอายุของเด็กเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ” พีโ่ จกล่าว ตีน๋ อ้ ยสรุปเสริมว่า “รูปแบบนี้ หากเจอว่าข้อมูลไหนไม่อพั เดท ตอน เราไปเก็บข้อมูล ก็สามารถเก็บในส่วนทีต่ กหล่นได้ เช่น กรณีเจอเด็กทีไ่ ม่มี ฐานข้อมูลอยูใ่ นฐานของ รพ.สต. เป็นต้น” นอกจากการน�ำข้อมูลทีเ่ ก็บมาแล้วมาวิเคราะห์ให้เกิดประโยชน์ตอ่ เด็ก และครอบครัว ประเมินความเสีย่ ง และหาทางช่วยเหลือเป็นรายเคสได้แล้ว
94
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมโค้ชมองว่าการจะช่วยเหลือเด็กได้อย่างยัง่ ยืน ต้องท�ำความเข้าใจร่วมกันกับ ผูป้ กครอง เป็นทีร่ ก้ ู นั ในการท�ำงานชุมชนว่า เด็กมักจะอยูใ่ นการดูแลของผูป้ กครอง ทีเ่ ป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ซึง่ เป็นผูส้ งู อายุ ทีม่ ปี ระสบการณ์ในการเลีย้ งดูเด็กใน อีกรูปแบบหนึง่ ผูส้ งู อายุหลายครอบครัว มักปล่อยให้เด็กเล็กอยูก่ บั ทีวี หรือให้เล่น โทรศัพท์ทงั้ วันเพราะคิดว่าเด็กสนใจ จดจ่อกับการมองไปทีห่ น้าจอ ก็จะไม่งอแง โดยอาจจะไม่ทนั คิดว่าการกระท�ำเหล่านีส้ ง่ ผลเสียระยาวต่อเด็ก ทีมโค้ชร่วมกับทีมชุมชนจึงจัดกระบวนการ Group support เพือ่ แลก เปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกันกับผูป้ กครองถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ สร้างความเข้าใจเรือ่ งการ เลีย้ งดูเด็กตามพัฒนาการ ส่งเสริมการเล่นเป็นการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างพัฒนาการ และหันเหเด็กออกจากหน้าจอมือถือ ได้ผลดีดงั คาด จากการจัดกระบวนการต่อเนือ่ งหลายๆ ครัง้ ทัศนคติ ความเชือ่ เรือ่ งการดูแลเด็กของผูป้ กครองในชุมชนค่อยๆ ปรับเปลีย่ นไป จาก การสะท้อนการน�ำแนวคิดทีเ่ รียนรูร้ ว่ มกันไปปรับใช้ในรูปแบบของแต่ละบ้าน เช่น ชวนเด็กออกไปทีส่ วน หรือทีน่ าด้วยกัน แทนทีจ่ ะปล่อยให้อยูใ่ นบ้าน หรือ หากิจกรรมอืน่ ๆ ให้เล่นแทน เช่น หาจักรยานให้ปน่ั กับเพือ่ นๆ ในละแวก หมูบ่ า้ น หรือ ตัง้ กฏ กติกา การใช้มอื ถือให้นอ้ ยลง ท�ำให้เห็นว่ามาถูกทางแล้ว
ทัง้ หมดนีเ้ กิดจากการท�ำงานร่วมกันของทีมโค้ชและทีมชุมชน
“โครงการนีเ้ ปิดโอกาสให้ทำ� บทบาทโค้ช ได้หนุนเสริมศักยภาพทีม กลไก เราพาทีมให้เห็นเป้าหมายไปด้วยกัน ให้หลายๆ หน่วยงานเห็นงานไป ด้วยกัน มีเป้าหมายร่วมกันในการท�ำงาน ได้เชือ่ มงานหลักกับงานโครงการเข้า ด้วยกันได้ และมีโครงการใหม่ทเี่ กิดขึน้ จากการท�ำงานร่วมกัน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
95
เราเห็นการเติบโตของทีม เห็นทุกคนอยากแชร์ประสบการณ์ อยาก ถือไมค์ อยากพูดมากขึน้ ได้เห็นทีมเติบโตขึน้ แบบนีใ้ นฐานะโค้ชก็ดใี จ“ พีโ่ จกล่าวถึงข้อดีของตนเองทีเ่ ป็นคนทีเ่ กิดและเติบโตในชุมชนนี้ แรง ผลักดันทีอ่ ยากจะตอบแทนคุณแผ่นดิน ตอบแทนคุณของชุมชนทีเ่ กือ้ หนุนให้ เป็นพีโ่ จในปัจจุบนั และส�ำหรับตีน๋ อ้ ยก็ได้รบั การดูแลจากคนในชุมชนในทุกที่ ทีเ่ ขาไป เป็นจุดแข็งในทีมโค้ชทีส่ ามารถท�ำงานกับกลุม่ คน และหน่วยงานที่ หลากหลายได้ “ความเป็นคนในพืน้ ที่ ท�ำให้เรารูป้ จั จัย เงือ่ นไข บริทบทมากกว่าทีอ่ นื่ เรารูจ้ กั ผูป้ กครองทีเ่ ป็นปูย่ า่ ของเด็กทุกคน และรูว้ า่ ผูป้ กครองทีเ่ รารูจ้ กั นัน้ มี มุมมองต่อเรือ่ งการเลีย้ งดูเด็กอย่างไร ทัง้ ยังรูว้ า่ ในรุน่ ลูกรุน่ หลานก็มมี มุ มอง ในเรือ่ งเดียวกันอย่างไรบ้าง นีค่ อื ข้อได้เปรียบ” “เวลาเราท�ำงาน กลุม่ เป้าหมาย พ่อแม่ ผูป้ กครองเขามองเราตลอด ในทุกครัง้ ทีท่ ำ� กิจกรรม ย่อมมีสายตาทีม่ องมาว่าเราเป็นคนแบบไหน มีความ จริงใจหรือไม่ เมือ่ เขารูว้ า่ เราจริงใจก็เป็นส่วนหนึง่ ทีช่ มุ ชนยอมรับ นอกจากนี้ การเป็นคนในพืน้ ที่ และมีบทบาทในชุมชน ท�ำให้การประสานงานง่ายขึน้ เพราะรูจ้ กั อยูก่ อ่ นแล้วว่าเราท�ำอะไรอยูท่ ไี่ หนของชุมชน เป็นจุดเด่นทีไ่ ด้ทำ� งาน ทีบ่ า้ นเกิด” พีโ่ จกล่าว แม้จะเป็นคนต่างถิน่ แต่ตนี๋ อ้ ยก็ได้รบั การต้อนรับและความร่วมมือ อย่างดีจากคนในท้องถิน่ “นิสยั เราเข้ากับคนง่าย ก็สนิทกันกับคนในชุมชนไม่ยาก ผูค้ นทีน่ เี่ ขา ใจดีให้เกียรติเรา พอลงพืน้ ทีไ่ ปคุยกับคนในชุมชนเขาก็ดแู ลเรา เช่น ตักน�ำ้ ให้ดมื่ ” ตีน๋ อ้ ยเล่า บุคลิกของทีมโค้ชส่งผลต่อการท�ำงานของทีมชุมชน เพราะจากการ สรุปบทเรียนร่วมกันของชุมชนได้สะท้อนว่า การได้ทำ� งานร่วมกับทีมโค้ชท�ำให้
96
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมเก่งขึน้ พวกเขาท�ำงานได้หลากหลายขึน้ เช่น การท�ำกระบวนการกลุม่ การน�ำการสนทนากับผูป้ กครองในประเด็นต่างๆ เกีย่ วกับการพัฒนาเด็กใน ชุมชน ได้แสดงความสามารถจนมีความมัน่ ใจว่าสามารถท�ำกิจกรรมร่วมกันเอง ได้แล้ว
“ทีมรูส้ กึ เป็นเชือกเส้นดียวกัน เป็นเกลียวทีไ่ ปในทิศทางเดียวกัน”
ตีน๋ อ้ ยเปรียบเทียบพร้อมท�ำมือประกอบให้เห็นภาพ และขยายความ ว่า ความเป็นทีมเช่นนี้มาจากการที่ทีมกลไกได้เข้าร่วมการอบรมพัฒนา ศักยภาพและความรู้ เปลีย่ นแนวทางและวิธกี ารเก็บข้อมูลเด็กและครอบครัว ลงพืน้ ทีช่ มุ ชนมากขึน้ เปลีย่ นท่าทีทงั้ การพูด การฟัง ครุน่ คิดร่วมกันก่อนลงมือท�ำ พีโ่ จเสริมถึงการท�ำงานกับทีมชุมชน ว่า “ทีมกลไกเขามัน่ ใจเพราะได้ เข้าสูก่ ระบวนการพัฒนาศักยภาพหลายครัง้ และโครงการได้มกี ารออกแบบ ให้ผบู้ ริหารเข้าใจภาพรวมเพือ่ การท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ เรือ่ งเด็กปฐมวัยก็อยู่ในทุกหน่วยงานราชการ ประเด็นกลุ่มเป้าหมายท�ำให้ เกิดการบูรณาการได้” ทีมโค้ชสะท้อนความส�ำเร็จก้าวเล็กๆ นีว้ า่ เกิดจากความรอบคอบใน การวางแผนตัง้ แต่ตน้ เรียกได้วา่ ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ จนถึงกลางน�ำ้ “โครงการนีท้ ำ� ให้ตอ้ งมองภาพให้ชดั มากกว่าโครงการอืน่ ๆ งานเด็ก ปฐมวัยถือเป็นงานใหม่สำ� หรับโค้ช เดิมเราท�ำงานกับพ่อแม่เรือ่ งสุขภาวะทางเพศ การลงเยีย่ มเมือ่ ก่อนท�ำเฉพาะประเด็น แต่งานนีเ้ กีย่ วข้องกับครอบครัว ท�ำให้ ต้องคิดเยอะขึน้ โดยเฉพาะการฝึกอบรมท�ำให้เราวิเคราะห์กลุม่ เป้าหมาย และ เราท�ำงานกับกลุม่ ปัญหาเดิม ท�ำงานกับแกนน�ำเดิมไม่ได้ แล้วเราท�ำงานกับคน ทีเ่ ผชิญปัญหาตรง จึงต้องละเอียด รอบคอบ ระมัดระวังในการพาทีมลงพืน้ ที่ ด้วย”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
97
“เราวางคนได้ตรงกับเป้าหมาย เพราะตอนถอดบทเรียน มีการลาก เส้นความเชือ่ มโยงให้เห็นความสัมพันธ์กนั ทัง้ กับหน่วยงาน และกับบุคคล ท�ำให้เห็นภาพว่าจะต้องไปท�ำงานกับใคร ทีไ่ หนบ้าง และเราเป็นชุมชนเล็กๆ มีอยูป่ ระมาณ 800 หลังคาเรือน วิถชี วี ติ ของเราก็อยูแ่ บบถ้อยที ถ้อยอาศัย เป็นหนึง่ ปัจจัยทีไ่ ม่ทงิ้ กัน” พีโ่ จเสริม ในส่วนของปลายน�ำ้ พีโ่ จวาดฝันไว้วา่ ในอีก 2 ปีขา้ งหน้า ต�ำบลพระธาตุ จะเป็นต้นแบบ ขยายผลไปสูช่ มุ ชนใกล้เคียง สูร่ ะดับอ�ำเภอและจังหวัด ทัง้ นี้ ทีมกลไกหรือทีมชุมชนจะต้องขยับมาท�ำงานเป็นโค้ชในต�ำบล โดยมีทมี โค้ชโจ และตีน๋ อ้ ยเป็นทีป่ รึกษาให้อกี ชัน้ หนึง่ “งานระยะยาวคือ การขยายในระดับอ�ำเภอ เราไปเสนอพืน้ ทีต่ น้ แบบ พระธาตุ และเสนอให้เรือ่ งเด็กปฐมวัยเป็นยุทธศาสตร์จงั หวัดด้วย แนวคิดนี้ จะค่อยๆ น�ำไปสานพลัง ค่อยๆ นัง่ คุย วางแผนและขยับงานกันต่อไป” “เราจะชูให้ทมี กลไกท�ำงานมากขึน้ เราพยายามสือ่ สารให้เห็นเป้าหมาย และความยัง่ ยืนร่วมกัน มัน่ ใจว่าเขาเป็นโค้ชพืน้ ทีไ่ ด้ เราชวนเขามองว่า พวก เราท�ำงานใหญ่ ใจต้องหนักแน่น หากงานยาก จะเหนือ่ ยบ้าง ท้อบ้าง ก็เสริม พลังกัน ตีน๋ อ้ ยจะช่วยกระตุน้ คุยนอกรอบ สือ่ สาร ทักทัง้ ทางออนไลน์ เฟซบุก๊ เรียกว่าทีมมีทงั้ บูท๊ งั้ บุน๋ ” พีโ่ จเล่าและยิม้ ด้วยความภูมใิ จในทีมโค้ชทีเ่ ล่นบท เสริมกันได้อย่างดีในการหล่อเลีย้ งพลังทีมกลไกในพืน้ ที ่ เมือ่ หมดเวลาตามทีน่ ดั หมายกันไว้ ทุกคนยิม้ ตอบให้กนั ขอบคุณกัน และกันทีม่ อบเรือ่ งราวดีๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชนถึงแม้จะคุยกันผ่านหน้าจอ แต่ เนือ้ หาก็ไม่ได้ตกหล่นแต่อย่างใด อีกทัง้ ยังเห็นพลังของทีมโค้ชพระธาตุทเี่ อ่อ ล้นออกมา ได้เห็นว่าความอบอุน่ ทีม่ อบให้กบั ชุมชนจะเป็นพลังด้านบวกทีส่ ง่ ต่อ ให้เด็กปฐมวัยและครอบครัวให้ทกุ บ้านเป็นบ้านทีอ่ บอุน่ ส�ำหรับลูกหลานใน อนาคต
ต� ำ บลบึ ง เนี ย ม จั ง หวั ด ขอนแก่ น ผู้ให้สัมภาษณ์ สิริรัตน์ ภาโนมัย ธณัณณัฐ ถนอมชาติ ธารญา ไพเราะ ธนภร เหนือเก่ง กมัยธร ด้วงเคน ทีมโค้ช ศิริพงษ์ สังข์ขาว ศักดิ์ชัย ไชยเนตร
ต�ำบลบึงเนียม ตัง้ อยูใ่ นอ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ห่างจากตัวเมือง ราว 12 กิโลเมตร มีหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 12 หมูบ่ า้ น ผูอ้ ยูอ่ าศัยประมาณกว่า 6,000 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรเป็นหลัก ทัง้ การท�ำนาปี นาปรัง ท�ำสวนผลไม้ ปลูกผัก เลีย้ งสัตว์ เป็นต้น จากการส�ำรวจข้อมูลของทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล กลางปี 2563 พบว่า ต�ำบลบึงเนียมมีเด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี จ�ำนวน 454 คน เด็กทีม่ ภี าวะ ปกติ ครอบครัวดูแลเอาใจใส่สง่ เสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม จ�ำนวน 73 คน เป็นเด็กกลุม่ เสีย่ งและประสบปัญหา 381 คน ส่วนใหญ่เป็นเด็กทีอ่ ยูใ่ นครอบครัว ทีม่ ฐี านะยากจน รายได้นอ้ ย ไปจนถึงไม่มงี านท�ำ บางรายผูป้ กครองของเด็ก ป่วยเป็นโรคเรือ้ รัง ติดสุรา และมีหลายครอบครัวทีพ่ อ่ แม่หย่าร้าง ในรายทีเ่ ด็กควรได้รบั ความช่วยเหลือเร่งด่วนนัน้ เป็นเรือ่ งของครอบครัว ใช้ความรุนแรงกับเด็ก เด็กเสีย่ งต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ผูป้ กครองใช้ ยาเสพติด นอกนัน้ เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของเด็ก เช่น ขว้างปาสิง่ ของ กรีดร้อง ท�ำร้ายตัวเอง มีพฤติกรรมติดมือถือ เป็นต้น
100
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ลานเล่นสร้างสรรค์ ถักทอสายสัมพันธ์ชมุ ชน
ใครทีม่ าร่วมงาน “ลานเล่นสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างปัญญา” ทีว่ ดั ท่า ประชุม บ้านบึงฉิม ต�ำบลบึงเนียม จังหวัดขอนแก่น เมือ่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2563 ทีผ่ า่ นมา คงรูส้ กึ เหมือนว่าก�ำลังร่วมสนุกอยูใ่ นงานวัดหรืองานบุญประจ�ำปี ณ ลานวัดอันร่มรืน่ ใต้เงาไม้ พ่อแม่ผปู้ กครองอุม้ ลูก ปูย่ า่ ตายายจูง หลาน เยาวชนคนหนุม่ สาว ยิม้ หัวเราะ พูดคุย และสนุกสนานกับของเล่นที่ ท�ำขึน้ แบบง่ายๆ อย่าง ตุก๊ ตาทีท่ ำ� จากเศษกระดาษสีเพือ่ เล่นบทบาทสมมติ หรือ ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ทางมะพร้าวสานเป็นรูปปลาตะเพียน นอกจากนี้ ก็ยงั มีฐานการเล่นต่างๆ ทีบ่ รรดาผูใ้ หญ่ได้ยอ้ นร�ำลึกถึงวัยเยาว์ เช่น การทอยเส้น เขย่งก้าวกระโดด เป็นต้น “ภูมใิ จทีส่ ดุ ทีต่ ำ� บลบึงเนียมของเราได้คนทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีสภาเด็กฯ มา ช่วยกันท�ำลานเล่น และได้เห็นความร่วมมือของคนในชุมชนจริงๆ” แม้จะพูด ผ่านหน้ากากผ้า แต่จากดวงตาทีย่ บิ หยี ก็รไู้ ด้ทนั ทีวา่ พีห่ มี - ธนภร เหนือเก่ง ผูพ้ ดู ก�ำลังยิม้ กว้าง เพือ่ นร่วมทีมทีน่ ง่ั สนทนาอยูด่ ว้ ยพยักหน้าเกือบจะพร้อมๆ กัน “ลานเล่นสร้างสรรค์” กลายเป็นพืน้ ทีก่ ารเรียนรูท้ สี่ นุกสนานให้เด็กๆ และส่งเสริมความเข้าใจให้ผู้ปกครองเรื่องการเล่นที่เอื้อต่อพัฒนาการทาง ร่างกาย อารมณ์ และการเรียนรูใ้ ห้เด็กปฐมวัย อีกทัง้ ยังได้ถกั ทอสายสัมพันธ์ และความร่วมมือของผูค้ นจากหลายหน่วยงานทีท่ ำ� งานเกีย่ วข้องกับเด็กในต�ำบล บึงเนียม
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
101
โต้โผคนส�ำคัญของลานเล่น หมออ้อ - ธารญา ไพเราะ จากโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.) ต�ำบลบึงเนียม กล่าวถึงความมุง่ มัน่ และแรง บันดาลใจทีน่ ำ� กิจกรรมนีเ้ ข้ามาในชุมชนว่า “ตอนทีไ่ ปร่วมงานมหกรรมเล่น เปลีย่ นโลก เมือ่ เดือนมกราคม 2563 ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา เราได้หวนคิดถึง การเล่นของเราสมัยเด็กๆ ได้ทำ� ของเล่นกังหันจากไม้ไผ่และของเล่นพืน้ บ้าน เลยอยากจะน�ำมาท�ำลานเล่นทีบ่ งึ เนียมของเราบ้าง” “ได้ไปดูมหกรรมเกีย่ วกับการเล่นทีโ่ คราช รูส้ กึ เหมือนว่าตัวเองได้ กลับไปเป็นเด็กอีกครัง้ ประทับใจของเล่นตามฐานต่างๆ ทีผ่ เู้ ล่นต้องสร้างเอง ท�ำเองก่อน จึงจะสามารถน�ำกลับบ้านได้” พีห่ มี อสม.หนึง่ ในทีมชุมชนทีไ่ ด้ไป ดูงานด้วยเล่าด้วยความตืน่ เต้น จากประสบการณ์ตรงทีไ่ ด้ “กลับเป็นเด็กอีกครัง้ ” หมออ้อและพีห่ มี หอบความคิดดีๆ กลับมาในพืน้ ทีแ่ ละชักชวน ”ทีมกลไก” ในโครงการพัฒนา ศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุขภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทีร่ วมทีม มาจากหลายภาคส่วน ทัง้ เทศบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ผูน้ ำ� ชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) สภาเด็กและเยาวชน ให้ เข้ามาร่วมจัด “ลานเล่น” ด้วยกันตามความถนัดของแต่ละฝ่าย แรงบันดาลใจอีกส่วนหนึง่ ของทีมบึงเนียมในการจัดกิจกรรมลานเล่น นัน้ มาจากการเข้าร่วมการอบรมของโครงการเรือ่ งพัฒนาการเด็ก และได้มกี าร สรุปความรูเ้ กีย่ วกับการเล่นของเด็กว่า “เด็กทุกคนมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์และสามารถพัฒนาให้เจริญ งอกงามได้ตามระดับความสามารถของแต่ละคน หากได้รับการเสริมและ สนับสนุนให้แสดงออกภายใต้บรรยากาศทีอ่ สิ ระ ก็จะท�ำให้ทำ� ให้เด็กทีเ่ งียบๆ หงอยๆ กลายเป็นเด็กทีม่ คี วามกระตือรือร้น สามารถสร้างสรรค์สงิ่ ต่างๆ ด้วย ความคิดของตนเองตามวัย อีกทัง้ ส่งเสริมประสาทสัมผัสอันเป็นพัฒนาการ ส�ำคัญของเด็กวัยนีอ้ กี ด้วย”
102
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ดังนัน้ ในการจัดกิจกรรมลานเล่น ครูศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ซึง่ เป็นส่วน หนึง่ ของทีมชุมชนบึงเนียม จึงเข้ามามีสว่ นร่วมโดยน�ำความรูค้ วามเชีย่ วชาญ ด้านพัฒนาการเด็กเข้ามาร่วมออกแบบกระบวนการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัยด้วย ในลานเล่นจึงมีศลิ ปะรูปแบบต่างๆ เพือ่ เปิดโอกาสให้เด็กๆ ได้แสดง ความคิดและจินตนาการเต็มที่ “เด็กจินตนาการได้กว้างกว่าทีเ่ ราจะคาดเดาได้ นอกจากนัน้ ศิลปะก็ อาจจะสะท้อนจิตใจความรูส้ กึ ลึกๆ ของเด็ก ทีบ่ างทีไม่สามารถถ่ายทอดเป็นค�ำ พูดได้” พีร่ ตั น์ - สิรริ ตั น์ ภาโนมัย ผูอ้ ำ� นวยการกองการศึกษา เสริมต่อว่า ศิลปะสร้างสรรค์สำ� หรับเด็กปฐมวัยมุง่ เน้นพัฒนาด้านต่างๆ ของเด็กมากกว่า ความสวยงามและสมบูรณ์ของชิน้ งาน “กิจกรรมต่างๆ ทางศิลปะเป็นการฝึกกล้ามเนือ้ มือให้แข็งแรง และ สัมพันธ์กบั การใช้ตา เช่น การปัน้ แป้ง ดินน�ำ้ มัน วาดรูป และระบายสี เด็กๆ ได้ใช้นวิ้ มือ แขน ไหล่ และส่วนอืน่ ๆ ของร่างกาย เป็นการเตรียมความพร้อม ในด้านการใช้กล้ามเนือ้ มัดเล็ก และกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ ท�ำให้เด็กสามารถหยิบ จับสิง่ ต่างๆ ได้ดขี นึ้ น�ำไปสูก่ ารเรียนรูข้ องเด็กต่อไป” ตลอดทัง้ วันในงาน “ลานเล่นสร้างสรรค์ฯ” พ่อแม่ ผูป้ กครอง ได้ แนวคิดกิจกรรมการเล่นแบบต่างๆ และเห็นแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการ เล่นทีส่ ง่ เสริมพัฒนาการและการเรียนรูข้ องลูกหลานแบบง่ายๆ ทีบ่ า้ น ไม่วา่ จะ การจัดหามุมเล่น และอุปกรณ์ เช่น ดินน�ำ้ มัน สี กระดาษ “ทีส่ �ำคัญ เมื่อเด็กสร้างสรรค์งานศิลปะ หรือท�ำกิจกรรมต่างๆ ผู้ ปกครองควรให้เด็กอธิบายผลงานของเขา และควรชืน่ ชม หรือให้กำ� ลังใจพวก เขาด้วย” พีร่ ตั น์กล่าว เพียงครัง้ แรก กิจกรรม “ลานเล่นสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างปัญญา” ก็ ท�ำให้เด็กๆ วางโทรศัพท์มอื ถือ ทีป่ ดิ กัน้ พัฒนาการและการเรียนรูข้ องพวกเขา
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
103
แล้วหันไปจับของเล่น วาดรูประบายสี ส่วนผูป้ กครอง พ่อแม่ ตายายก็หนั มา ให้เวลาเล่นกับเด็กๆ มากขึน้ จนมีเสียงเรียกร้องให้ชมุ ชนจัดกิจกรรมนีบ้ อ่ ยๆ “เราวางแผนจะจัด “ลานเล่นสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างปัญญา” อย่าง น้อยเดือนละ 1 ครัง้ เวียนกันไปตามหมูบ่ า้ นต่างๆ ในต�ำบล เราเห็นจริงๆ เมือ่ ท�ำเรือ่ งนี้ ทุกหน่วยงานเต็มใจร่วมมือร่วมแรงโดยไม่ตอ้ งเอ่ยปาก ตัวแทนแต่ละ หมูบ่ า้ นท�ำอาหารมาให้เด็กๆ และอาสามาสร้างกิจกรรม พวกเรามีความสุขจริงๆ” หมออ้อ เล่าถึงแผนทีท่ มี จะท�ำกิจกรรมต่อ
104
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ลานเล่นสร้างสรรค์” ไม่เพียงส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย สานสัมพันธ์ ครอบครัวและผูค้ นในชุมชน แต่ทสี่ ำ� คัญ ยังเผยพลังคนรุน่ ใหม่ในชุมชนด้วย สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลบึงเนียม ทีเ่ ข้ามาเป็นหัวเรีย่ วหัวแรงส�ำคัญในการจัด พืน้ ทีก่ จิ กรรม น�ำกระบวนการเล่น และดูแลการเล่นกับน้องเล็กๆ “ภาพเยาวชน วัยรุน่ คนหนุม่ สาวทีเ่ ข้ามาช่วยงานลานเล่นท�ำให้พวกเรา รูส้ กึ มีความหวังกับชุมชนว่าในวันหน้าจะมีผสู้ บื สานและดูแลต่อไป” หมออ้อ กล่าว ด้วยเห็นพลังของเยาวชน หมออ้อพยายามปลุกปั้นสภาเด็กและ เยาวชน โดยให้ทมี อสม. ช่วยเฟ้นหาตัวแทนเยาวชน 2 คน จากแต่ละหมูบ่ า้ น ซึง่ รวมๆ แล้วสามารถก่อตัง้ สภาเด็กและเยาวชนได้ จากนัน้ หมออ้อและทีมก็ พาเยาวชนไปเรียนรูก้ บั สภาเด็กและเยาวชนในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ อย่างเช่น สภาเด็ก และเยาวชนจากต�ำบลนาหนองทุม่ จังหวัดขอนแก่น ทีร่ บั ค�ำชืน่ ชมว่ามีความ เข้มแข็งและท�ำกิจกรรมมาอย่างต่อเนือ่ งยาวนาน “น้องๆ จากสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลนาหนองทุม่ ล้วนแต่เป็นเด็กรุน่ ใหม่ทมี่ พี ลัง เขาเก่งในการท�ำกิจกรรมกับเด็ก ทัง้ ยังสามารถท�ำกิจกรรมอืน่ ๆ ร่วมกับผูใ้ หญ่ตา่ งวัยในชุมชนได้ดอี กี ด้วย เห็นอย่างนีแ้ ล้ว ยิง่ อยากผลักดันให้ เกิดสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลบึงเนียม เพือ่ เป็นก�ำลังส�ำคัญทีจ่ ะขยับงานเพือ่ ชุมชนต่อไป” หมออ้อเล่าถึงแรงบันดาลใจในการปลุกปัน้ สภาเด็กและเยาวชน ต�ำบลบึงเนียม ครีม - กมัยธร ด้วงเคน หนึง่ ในตัวแทนสภาเด็กและเยาวชนบึงเนียม ทีไ่ ด้ไปเรียนรูด้ งู านสภาเด็กและเยาวชนต�ำบลนาหนองทุม่ เล่าด้วยน�ำ้ เสียงทีย่ งั คงตืน่ เต้นและกระตือรือร้นว่า เธอบันทึกทุกสิง่ ทีเ่ ห็น ซักถามและจดทุกข้อมูล ทีร่ นุ่ พีเ่ ล่าให้ฟงั เกือบเต็มหน้าสมุดบันทึกทีพ่ กมา ตัง้ แต่เรือ่ งแนวคิดการจัดตัง้ สภาเด็กและเยาวชนว่าจะต้องท�ำอย่างไรบ้าง จะชักชวนน้องๆ ให้มาท�ำกิจกรรม ได้อย่างไร จะมีใครมาช่วยได้บา้ ง เป็นต้น
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
105
หลังจากดูงานครัง้ นัน้ ครีมเริม่ วาดฝัน เกิดแนวคิดทีจ่ ะกลับมาท�ำ กิจกรรมต่างๆ กับเพือ่ นๆ น้องๆ ในทีม โดยเริม่ ก้าวแรกด้วยการจัดค่ายสภา เด็กและเยาวชนบึงเนียมด้วยเป้าหมายทีจ่ ะสร้างทีม “ในค่าย เราเปิดใจกันและกันในทีม ใครสมัครใจจะอยูต่ ำ� แหน่งไหน อย่างไร คัดเลือกตัวแทนของพวกเราในต�ำแหน่งต่างๆ เราอยากเป็นกระบอก เสียงแทนน้องๆ เด็กปฐมวัยด้วย จึงร่วมทีมกับพีๆ่ ช่วยกันท�ำกิจกรรมลานเล่น สร้างสรรค์เมือ่ เดือนพฤษภาคมทีผ่ า่ นมา” เมือ่ สร้างทีมได้แล้ว ก็ตอ้ งมีกจิ กรรมและพืน้ ทีใ่ ห้ลองฝีมอื กิจกรรม ลานเล่นจึงเป็นพืน้ ทีท่ ดลองและผลงานส�ำคัญของสภาเด็กฯ บึงเนียม ทีไ่ ด้รบั ค�ำ ชมเชยจากทัง้ ผูใ้ หญ่ทสี่ นับสนุน รวมถึงพ่อแม่ ผูป้ กครองอย่างล้นหลาม “พอสภาเด็กและเยาวชนเปิดตัว ก็ได้รบั ความร่วมมือจากเทศบาลให้ ใช้พนื้ ที่ ศูนย์เด็กเล็กมาช่วยกันปรับปรุง ทัง้ งบประมาณ ทัง้ แรงงานและ อุปกรณ์จำ� เป็นต่างๆ คึกคักมาก” ครีมเล่าเพิม่ เติม พร้อมวาดหวังก้าวต่อไปว่า สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลบึงเนียมจะเสริมทีมกลไกต�ำบลในการขับเคลือ่ นงาน เด็กปฐมวัยและครอบครัว และงานเยาวชนคนรุน่ ใหม่ รวมถึงปัญหายาเสพติด ทีเ่ ป็นความท้าทายส�ำคัญของชุมชน “หนูชอบงานส่วนรวม เมือ่ เห็นว่าต�ำบลตนเองมีปญ ั หา ก็อยากเข้ามา ช่วย เป็นกระบอกเสียงให้ทงั้ เด็กและผูใ้ หญ่ แก้ปญ ั หาไปด้วยกัน และเติบโต ไปด้วยกัน” ครีมบอกด้วยน�ำ้ เสียงแจ่มใส ความสำ�เร็จเริม่ จากก้าวแรกของ “คนมีใจ” ความส�ำเร็จของงาน “ลานเล่นสร้างสรรค์ฯ” เพียงวันเดียวนัน้ มีทมี่ า จากการท�ำงานหลายร้อยวันก่อนหน้า เริม่ จากการเฟ้นหา “คนทีม่ ใี จ” มาร่วม กันสร้างทีมกลไกชุมชน หลอมเป้าหมายและความหมายของงาน ฝึกฝนการเรียน
106
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
รูแ้ ละกระบวนการท�ำงานอย่างมีสว่ นร่วม ทัง้ หมดนีไ้ ม่ใช่เรือ่ งง่าย หากต้องอาศัย เวลา แรงใจและพลังแห่งความหมายทีค่ นในชุมชนฝันร่วมกัน ในฐานะบุคลากรทางสาธารณสุข หมออ้อ ท�ำงานชุมชนเชิงป้องกันใน ประเด็นยาเสพติด สุขภาวะทางเพศ และในระยะ 5 ปีทผี่ า่ นมา ก็หนั มาท�ำงาน ในประเด็นผูส้ งู วัยด้วย และเมือ่ ได้รบั การทาบทามให้รว่ มงานในโครงการพัฒนา ศักยภาพกลไกชุมชนเพื่อสนับสนุนสุขภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว สนับสนุนโดย สสส. หมออ้อก็ไม่รรี อทีจ่ ะตอบตกลงรับเป็นหัวเรือใหญ่ในการ เชือ่ มคนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในชุมชน “เราท�ำมาแล้วทุกอย่าง ทัง้ ค่าย ทัง้ รณรงค์ แต่ยงั ไม่ได้ผล นับวัน ปัญหายาเสพติด ท้องไม่พร้อม ก็มเี ปอร์เซ็นต์เพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เราต้องท�ำลึก ขนาดไหน ปัญหาจึงจะลดลง ค�ำถามนีต้ ดิ อยูใ่ นใจตลอด จนเมือ่ ทีมเอดส์เน็ท ตอนนีเ้ ปลีย่ นชือ่ เป็น HealthNet ทีเ่ รารูจ้ กั และท�ำงานร่วมกันมานานในเรือ่ ง สุขภาวะทางเพศมาชวนให้มาท�ำโครงการฯ เราคิดว่า การท�ำงานกับเด็กตัง้ แต่ ในวัยเริม่ ต้น อาจเป็นโอกาสทีจ่ ะลดปัญหาเยาวชนได้อกี ทาง กันไม่ให้เด็กเดิน ไปสู่ปัญหาที่เราก�ำลังแก้ไข” หมออ้อเปิดใจถึงแรงบันดาลใจที่ร่วมงานเด็ก ปฐมวัย หมออ้อเริม่ ก้าวแรกกับเพือ่ นทีร่ ว่ มงานเคียงบ่าเคียงไหล่กนั มาตลอด ก็ คือ ทีม อสม. “ไปไหนไปกัน อสม. ร่วมงานกับหมอ รพ.สต. อยูแ่ ล้ว” พีห่ มี อสม. บอกเสียงดังฟังชัด พีห่ มีประกอบอาชีพค้าขาย และสมัครเข้ามาเป็น อสม. ตัง้ แต่ปี 2553 เป็นต้นมา ได้โอกาสไปอบรมหลายเรือ่ ง ทัง้ งานพยาบาล การพัฒนาตนเอง ด้วยความกระตือรือร้นในการเรียนรูแ้ ละสนใจงานพัฒนาบ้านเกิด พีห่ มีถกู มอบ หมายให้เป็นผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นอีกหนึง่ บทบาท
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
107
“ในงาน อสม. และผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ น เราต้องท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็ก ปฐมวัยอยูแ่ ล้ว ทัง้ เรือ่ งเยีย่ มบ้าน และอัพเดทข้อมูลตลอด เรารูจ้ กั คนและรูว้ า่ จะเข้าหาคนอย่างไร ส�ำหรับโครงการนี้ เรายินดีให้ความร่วมมือเต็มทีเ่ พราะ เรือ่ งเด็กเป็นเรือ่ งใกล้ตวั เราเองก็มหี ลานและอยากเห็นหลานเติบโตเป็นคนดี” พีห่ มีเผยความในใจทีเ่ ข้าร่วมทีม นอกจาก รพ.สต. และ อสม. ทีมกลไกยังต้องการเพือ่ นร่วมทางเพิม่ ทีจ่ ะช่วยให้งานขับเคลือ่ นได้อย่างราบรืน่ ไร้รอยต่อ โชคดีทที่ มี บึงเนียมได้ พีม่ ยั ธณัณณัฐ ถนอมชาติ หัวหน้าส�ำนักปลัดเทศบาลต�ำบล มาลงเรือล�ำเดียวกัน “งานทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาชุมชนจะอยูท่ สี่ ำ� นักปลัด จ�ำได้วา่ ครัง้ มีการ ประชุมผูบ้ ริหารเพือ่ รับรูแ้ ละท�ำความเข้าใจโครงการนี้ หัวหน้าให้เราไปฟังแทน เมือ่ ฟังนโยบายแล้ว คิดว่าเรือ่ งนีด้ กี บั เทศบาลและชุมชนของเรา และเป็น โอกาสทีเ่ รา ในฐานะคนท�ำงานจะได้รจู้ กั คนหลากหลาย ช่วยให้การประสาน งานในการท�ำงานชุมชนง่ายขึน้ และเกิดผลส�ำเร็จได้มากกว่าทีผ่ า่ นมา” พีม่ ยั เผยพร้อมรอยยิม้ “ทีส่ ำ� คัญ แม้โครงการนีจ้ ะเน้นเรือ่ งเด็กปฐมวัย แต่เราเห็นว่า งานนี้ ขยับไปสูง่ านเยาวชนได้ อย่างงานสภาเด็กฯ ทีส่ ำ� นักปลัดรับผิดชอบอยูโ่ ดยตรง” ตัง้ แต่ยา้ ยมาทีต่ ำ� บลบึงเนียมเมือ่ ปี 2557 พีม่ ยั กังวลใจกับปัญหายา เสพติดในพืน้ ทีม่ าโดยตลอด “เราเห็นเยาวชนเสีย่ งกับปัญหายาเสพติดเยอะมาก เห็นอย่างนี้ ก็ยงิ่ อยากท�ำโครงการนี้ เพราะหากเราท�ำงานกับเด็กตัง้ แต่แรกเริม่ คงจะช่วยลด ปัญหายาเสพติดในเยาวชนได้ในอนาคต” พีม่ ยั กล่าว กองการศึกษาเป็นอีกหน่วยงานส�ำคัญทีจ่ ะขาดไม่ได้ในการท�ำงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัว ดีทที่ มี กลไกต�ำบลบึงเนียมมี พีร่ ตั น์ ซึง่ ดูแลศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กของต�ำบลบึงเนียม เข้ามาร่วมทีมด้วยอย่างเต็มตัว
108
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“เราเป็นคนบึงเนียม เกิดทีน่ ี่ และเมือ่ เรียนจบด้านการศึกษา ก็สอบ และขอบรรจุทำ� งานทีน่ ตี่ งั้ แต่ปี 2547 อยากท�ำงานเพือ่ บ้านเกิดและคงจะไม่ขอ ย้ายไปไหน จะอยูท่ นี่ ไี่ ปตลอด” พีร่ ตั น์กล่าวพร้อมรอยยิม้ และแววตามุง่ มัน่ “เด็กๆ ทีอ่ ยูก่ บั เราในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก เราสามารถบอกได้วา่ เขามีปญ ั หา อะไร และสามารถช่วยได้ ก็เลยคิดว่าจะตัง้ ใจท�ำให้ดที สี่ ดุ การประสานงาน ต่างๆ เราช่วยได้ เพราะอย่างน้อยเราก็เป็นคนในพืน้ ที”่ พีร่ ตั น์เผยความในใจ เมื่อได้รับเชิญให้ร่วมฟังนโยบายและชวนเข้าร่วมงานโครงการเกี่ยวกับเด็ก ปฐมวัย นอกจากหมออ้อ พีห่ มี พีม่ ยั พีร่ ตั น์ ผูใ้ หญ่ใจดี และน้องครีม เยาวชน คนรุน่ ใหม่แล้ว คนอืน่ ๆ ในทีมกลไกชุมชนก็เห็นความหมายของการท�ำงานเพือ่ เด็กคล้ายๆ กัน ไม่เพียงเป็นเรือ่ งของเนือ้ งานทีท่ ำ� อยู่ แต่เป็นเรือ่ งชีวติ และความ ผูกพัน เพราะทุกคนต่างก็มคี รอบครัว ลูก หลาน และมีความใฝ่ฝนั อยากให้ลกู หลานมีอนาคตทีด่ ี นีค่ อื จุดร่วม ทีท่ ำ� ให้ตา่ งฝ่ายลดอัตตา หันหน้าเข้าหากัน เปิด ใจฟังและท�ำงานร่วมกันได้ บึงเนียมหลอมใจมองไปข้างหน้า แม้การมีแรงบันดาลใจและเป้าหมายจะเป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ ำ� คัญ แต่การ ท�ำงานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผูค้ นทีต่ า่ งประสบการณ์ มาจากหลาย วัฒนธรรมองค์กรนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายหรือเกิดขึน้ ได้เอง ทีมกลไกต�ำบลบึงเนียมใช้เวลาราวหนึง่ ปีหรือปีกว่าเพือ่ หลอมใจ สร้าง ความรูส้ กึ เป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน เรียนรูก้ ระบวนการคิด สนทนาและลงมือท�ำ จนเห็นหนึง่ ในดอกผลแห่งความส�ำเร็จเบือ้ งต้นอย่าง “ลานเล่นสร้างสรรค์” ที่ สร้างความมัน่ ใจให้พวกเขาว่า ฝันอืน่ ๆ ทีค่ ดิ ไว้รว่ มกันก็จะเป็นไปได้ดว้ ยเช่นกัน “คนเราเมือ่ สนิทกัน ไว้ใจกัน จะให้ทำ� อะไร ก็งา่ ย” พีม่ ยั กล่าวพร้อม รอยยิม้ “เดิมเราท�ำของตัวเอง งานใครงานมัน แต่เมือ่ เรารับรูเ้ ป้าหมายร่วมกัน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
109
แล้ว เวลาไปเวทีประชุมต่างๆ ก็นำ� มาปรับใช้ รับรูข้ อ้ มูลร่วมกัน ประสานความ ร่วมมือกัน โดยเฉพาะเมือ่ ฝ่ายปกครองท้องถิน่ ผูใ้ หญ่บา้ น ก�ำนันให้ความร่วมมือ และมี อสม. ผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นทีเ่ ข้มแข็งเป็นตัวประสานให้ เราก็ได้รบั ความ ร่วมมือง่ายขึน้ มาก” โครงการในช่วงเริม่ ต้นอาจดูคล้ายกับงานหรือโครงการอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามา ในชุมชน คือ มีการเชิญหน่วยงานของภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน กลุม่ ต่างๆ มาเข้าร่วมฟังนโยบาย แนวทางและชวนให้ทำ� งานตามเป้าหมายโครงการ แต่สิ่งที่ท�ำให้ทีมกลไกในโครงการฯ นี้เห็นว่า โครงการนี้ต่างออกไป คือ กระบวนการสร้างความเป็นทีมและการเรียนรูอ้ ย่างมีสว่ นร่วม ทีจ่ ดั ขึน้ อย่าง สม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ งตลอดระยะเวลากว่า 1 ปี อาทิ เวทีเรียนรูเ้ พือ่ ส�ำรวจ ข้อมูลของชุมชน เวทีอบรมหลักสูตรพัฒนาศักยภาพและความรูเ้ รือ่ งสิทธิเด็ก พัฒนาการเด็ก เวทีถอดบทเรียน และเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เป็นต้น และการมี “ทีมโค้ช” ทีช่ ว่ ยเป็นพีเ่ ลีย้ งทีมกลไกให้ทำ� งานส�ำเร็จตามเป้าหมายร่วมของ ชุมชน “เราเคยเห็นหน่วยงานอืน่ ๆ พยายามท�ำอะไรต่างๆ แบบ “บูรณาการ” เพือ่ ชุมชนหลายครัง้ แล้ว แต่กไ็ ม่สำ� เร็จ ครัง้ นี้ ก็คดิ ว่า คงเป็นแบบเดิมๆ อีก นัน่ แหละ เราไม่มนั่ ใจเลยว่าจะไปด้วยกันได้ เพราะต่างคนต่างมีงาน ต่างคน ต่างมีอตั ตา” พีร่ ตั น์ เล่าให้ฟงั อย่างจริงใจ “จนเมือ่ ได้ไปเวทีถอดบทเรียน เป็นครัง้ แรกทีไ่ ด้เปิดใจกัน ทีมของเรา ก็หนั หน้ามาคุยกัน เราเห็นพ้องว่าเป็นเรือ่ งดีทเี่ ราจะท�ำงานให้เด็ก จากนัน้ ก็เริม่ เป็นรูปเป็นร่าง ฝ่ายต่างๆ ก็รวู้ า่ มีกจิ กรรมและร่วมมือกับเรา และมีกจิ กรรมก็ ช่วยกันท�ำงานให้เต็มทีแ่ ละคิดว่าลูกหลานเราต้องมีคณ ุ ภาพ” การเรียนรูร้ ว่ มกันในเวทีอบรมอย่างมีสว่ นร่วมทีเ่ ปิดพืน้ ทีใ่ ห้ทกุ คนได้ พูดแสดงความคิดเห็น มีกจิ กรรมทีเ่ ชือ่ มร้อยใจ ความหวัง ความฝัน และ กิจกรรมสนุกสนาน ท�ำให้ทมี บึงเนียมได้เชือ่ มใจกัน และเกิดทีมทีแ่ น่นแฟ้นขึน้ เป็นล�ำดับ
110
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
“ความเข้มแข็งของพวกเราเกิดจากการมีสว่ นร่วม ร่วมคิด ร่วมใจ และ ร่วมลงมือท�ำ เราท�ำงานด้วยกันได้มากขึน้ เข้มแข็งขึน้ เพราะได้เรียนรูแ้ ละรูจ้ กั นิสยั ใจคอกัน” หมออ้อกล่าว พร้อมยกตัวอย่างว่า “เมือ่ เรารูจ้ กั กันมากขึน้ เราก็จะรู้ ว่างานของแต่ละคนเอือ้ กันอย่างไร บทบาทใครท�ำอะไรตรงไหนบ้าง งานทีใ่ คร ไม่ถนัด เราก็ไปกันเป็นคู่ บางเรือ่ งต้องลงพืน้ ทีด่ ว้ ยกันจึงจะรู้ อย่างกรณีการ ช่วยเหลือเคสเด็กทีต่ อ้ งได้รบั การช่วยเหลือเร่งด่วนในพืน้ ที่ หากก�ำนันไม่รขู้ อ้ มูล อสม.ก็จะช่วยให้ข้อมูล เมื่อท�ำงานด้วยกัน การช่วยเหลือก็ตรงประเด็น ครอบคลุม และดูแลเด็กเปราะบางได้ดยี งิ่ ขึน้ ” นอกจากการเข้าเวทีเรียนรู้ แลกเปลีย่ นประสบการณ์และถอดบทเรียน ทีม่ เี ป็นระยะๆ แล้ว ทีมกลไกยังได้รบั การหนุนเสริมจาก ศิ - ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว โค้ชของต�ำบลบึงเนียม และ ศักดิ์ - ศักดิช์ ยั ไชยเนตร ทีเ่ ข้ามาช่วยเป็นทีม โค้ชและเป็นผูป้ ระสานงานโครงการทัง้ หมด บางครัง้ มี น้อย - ทิพวัลย์ โมกภา หัวหน้าโครงการและผูจ้ ดั การมูลนิธเิ ครือข่ายสุขภาพ เข้ามาช่วยอีกแรงหนึง่ ทัง้ เป็นกาวประสานทีมให้สนิทไว้ใจกันมากขึน้ ผ่านการอบรม ประชุม และเสริม กิจกรรมต่างๆ ในพืน้ ที่ “โค้ชมีบทบาทในการสร้างทีม ตัง้ แต่วางคนมาเป็นทีม การเข้าไปพูด คุยกับผูบ้ ริหารในพืน้ ทีใ่ ห้เข้าใจโครงการ เพือ่ จะได้สนับสนุนการท�ำงานของทีม กลไก เวลาพกวเรามีประชุมหรือจัดเวที โค้ชก็ชว่ ยน�ำกระบวนการ โดยเฉพาะ การเช็คอิน (check in) ซึง่ เราก็นำ� ไปปรับใช้ในการคุยกันเสมอๆ” หมออ้อกล่าวและเสริมอีกว่า ทีมโค้ชยังช่วยเป็นทีป่ รึกษาให้ความรู้ เรือ่ งงาน การช่วยดูโครงการต่างๆ เป็นตัวกลางเชือ่ มประสานและเป็นกาวใจแก้ ปัญหาความไม่เข้าใจของหัวหน้าและผูร้ ว่ มงานได้อกี ด้วย “เมือ่ ก่อนงานใคร งาน มัน แต่เดีย๋ วนีเ้ รามาคุย “งานของเรา” ด้วยกันมากขึน้ เพราะมีโค้ชชวนพวก เรามาคุย ชวนคิด ถาม และชวนให้ดภู าพรวม”
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
111
แม้จะมีตวั ช่วยอย่าง “ทีมโค้ช” แต่ทมี บึงเนียมก็รวู้ า่ พวกเขาต้องยืน ให้ได้อย่างเข้มแข็งด้วยตัวเอง พวกเขามองว่า จะต้องช่วยกันท�ำให้ทมี บึงเนียม แข็งแรงขึน้ โดยเริม่ จากกิจกรรมทีร่ วมใจคนได้อย่าง “ลานเล่นสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างปัญญา” การน�ำทีมไปจัดกิจกรรมสัญจรตามชุมชนต่างๆ ให้บอ่ ย ขึน้ หนุนเสริมกิจกรรมสภาเด็กและเยาวชนให้มากขึน้ ไม่วา่ จะทัง้ เรือ่ งทุนทรัพย์ และการอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ “ตอนนีเ้ ราสนิทกันแล้ว เข้าใจกันแล้ว ไม่วา่ งานใคร ขอให้เอ่ยปาก ดัง นัน้ ทีเ่ ราคิดจะท�ำทีมให้เข้มแข็งขึน้ น่าจะท�ำได้ไม่ยาก” พีห่ มีกล่าวด้วยรอยยิม้ อย่างไรก็ตาม พวกเขาเน้นว่า ในเวลานี้ ทีมกลไกต�ำบลบึงเนียมยัง ต้องการรับการหนุนเสริมศักยภาพเพิม่ ขึน้ ในหลายด้าน ทัง้ เรือ่ งความรูค้ วาม เข้าใจเกีย่ วกับเด็กปฐมวัย การสร้างทีมให้เข้มแข็งมากขึน้ การขยายเครือข่าย ทีมบึงเนียมให้ครอบคลุมครบทัง้ ต�ำบล ตรงนี้เป็นสิ่งที่ทีมต้องวางแผน หา แนวทางร่วมกันให้ชมุ ชนบึงเนียมน่าอยู่ เป็นชุมชนทีท่ กุ วัยอยูร่ ว่ มกันอย่างมี ความสุข มีคณ ุ ภาพชีวติ สิง่ แวดล้อมและสังคมทีด่ ี รวมทัง้ จิตส�ำนึกของการอยู่ ร่วมกัน ดูแลห่วงใยและแบ่งปันกันและกันให้ได้ในทีส่ ดุ – นีค่ อื เป้าหมายใน อนาคต ทีท่ มี บึงเนียมก�ำลังก้าวไปข้างหน้า...ทีละก้าวอย่างมัน่ ใจ
112
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ในทีมถ้ามีการรับฟัง ส่งเสริมกันและกัน ก็เหมือนครอบครัวทีอ่ บอุน่ :
นิทานมีอทิ ธิพลต่อเด็กปฐมวัยอย่างมาก และนิทานเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีจ่ ะท�ำให้ผใู้ หญ่ได้มโี อกาสใกล้ชดิ กับเด็กผ่านการเดินทางของนิทานเรือ่ งนัน้ ๆ ด้วยมีรปู แบบของการเล่านิทานทีห่ ลากหลาย ทัง้ เปิดจากหนังสือภาพ และอ่าน ให้เด็กฟัง รวมถึงการเล่านิทานผ่านการแสดงหุน่ มือ กิจกรรมหนึง่ ของบึงเนียม คือ ลานเล่นสร้างสรรค์ ซึง่ มีการเล่านิทาน หุน่ มือบรรจุไว้ในกิจกรรมด้วย นอกจากจะท�ำให้เด็กปฐมวัยติดใจ เฝ้ารอเรือ่ ง เล่าผ่านนิทานแล้ว พีๆ่ กลุม่ สภาเด็กและเยาวชนต�ำบลบึงเนียม ก็ได้ฝกึ ท�ำ กิจกรรมกลุม่ ของตนเองผ่านการคิดค้น ประดิษฐ์หนุ่ มือส�ำหรับเด็กอีกด้วย ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว หรือ ศิ หนึง่ ในทีมโค้ชของต�ำบลบึงเนียม อ�ำเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น เป็นคนหนึง่ ทีร่ ว่ มสร้างสรรค์กจิ กรรมส�ำหรับเด็กและ เยาวชน เขาฝึกฝนการสร้างกระบวนการกลุม่ กิจกรรมสันทนาการมาจากรัว้ มหาวิทยาลัย เมือ่ เรียนจบด้านพัฒนาชุมชน ก็อยากจะใช้ความรูท้ เี่ รียนมาให้ เป็นประโยชน์ผา่ นการท�ำงานในพืน้ ที่ การทีเ่ ขามาท�ำงานร่วมกับมูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ (HealthNet) และรับหน้าทีห่ นึง่ ในทีมโค้ช อาจท�ำให้ประหม่าบ้างในช่วงแรก แต่กต็ อ้ งพยายาม ท�ำความเข้าใจถึงเป้าหมายของโครงการให้ได้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
113
“การท�ำหน้าทีท่ มี โค้ชของบึงเนียม ท�ำให้ผมได้ลงมือท�ำ ถึงแม้จะเพิง่ ได้เรียนรูเ้ รือ่ งโค้ช แต่กพ็ ยายามวางระบบการท�ำงานของตัวเอง รวมถึงเรียนรู้ จากทีมชุมชนให้เร็วเพือ่ ช่วยกันพาบึงเนียมไปสูเ่ ป้าหมายคือเป็นต�ำบลบึงเนียม ทีเ่ ข้มแข็ง” ศิเล่าว่า ในช่วงการปรับตัว เขาพยายามเข้าไปในพืน้ ทีเ่ กือบทุกวัน ถึงแม้ ไม่มธี รุ ะเรือ่ งงาน แต่การเข้าไปพูดคุย ร่วมฟังเรือ่ งราวของผูค้ นในชุมชน ช่วยให้ เขาซึมซับความคิดของผูค้ นทีห่ ลากหลายได้ เมือ่ เข้าใจโครงการอย่างถ่องแท้แล้ว เขาได้ใช้จดุ แข็งของตนเอง คือการ ออกแบบเครือ่ งมือเพือ่ พัฒนาเด็กปฐมวัย “ผมคิดว่าเมือ่ เราจะท�ำสิง่ ใดก็ตอ้ งมีความรูท้ ถี่ กู ต้องและสามารถน�ำ ความรูน้ นั้ มาปรับใช้ได้ ก็พยายามศึกษาทัง้ จากการอ่านหนังสือ การเข้าไปร่วม กระบวนการอบรมกิจกรรมส�ำหรับเด็ก พยายามฝึกฝนจากการเข้าร่วมเวที ร่วมกิจกรรมต่างๆ ของ HealthNet โดยมีพๆี่ ในทีมคอยช่วย จนคิดว่าได้ เครือ่ งมือไปปรับใช้ในการท�ำกระบวนการร่วมกับทีมชุมชน” “สิง่ ทีผ่ มได้มากเลย คือ ได้เรียนรูจ้ ากการท�ำงานร่วมกัน และสิง่ ทีต่ อ้ ง ท�ำอยูเ่ สมอ คือ ต้องทบทวนตนเองตลอดเวลา ทุกครัง้ ทีต่ อ้ งไปท�ำกิจกรรมร่วม กับพีๆ่ ในพืน้ ที่ ผมจะทบทวนเนือ้ หา กระบวนการ และกิจกรรมเสมอๆ” การท�ำงานประเด็นเด็ก โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยในปัจจุบนั เมือ่ สืบค้น ถึงพฤติกรรมของเด็ก ก็ตอ้ งท�ำการบ้าน ค้นหาข้อมูล บริบทแวดล้อมทีส่ ง่ ผล ต่อพฤติกรรมของเด็กนัน้ ๆ อยูเ่ สมอ และข้อมูลเหล่านีไ้ ม่ได้มาจากทีไ่ หนไกล ก็มาจากค�ำแนะน�ำของทีมชุมชนหรือทีมกลไกนัน่ เอง และการทีเ่ ขาเป็นคนที่ น้อมรับฟัง ก็มกั จะได้คำ� แนะน�ำดีๆ กลับไป ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม คือ การที่มีโอกาสพาทีมพื้นที่ไปร่วมงาน มหกรรมเล่นเปลีย่ นโลก ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา ครัง้ นัน้ เป็นเหมือนการศึกษา
114
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ดูงาน ท�ำให้เขาได้แนวคิดการออกแบบเครือ่ งมือบางอย่างเพือ่ ให้การลงไปดูงาน เกิดประสิทธิผลต่อพืน้ ทีบ่ งึ เนียมให้มากทีส่ ดุ “ผมก็ตงั้ ค�ำถามง่ายๆ ประมาณสีห่ า้ ข้อ ให้พๆี่ ทีม อสม. ทีไ่ ปด้วยกัน ได้ชว่ ยกันดูเพือ่ ทีจ่ ะได้นำ� มาปรับใช้” การไปดูงานครัง้ นัน้ ท�ำให้ทกุ คนทีไ่ ปด้วยกันเกิดแรงบันดาลใจทีจ่ ะท�ำ ลานเล่นสร้างสรรค์ในชุมชนให้ได้ และผลักดันจนเกิดกิจกรรมลานเล่นสร้าง ปัญญาในทีส่ ดุ นอกจากนี้ ศิ สะท้อนว่า ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 กิจกรรมทีว่ างแผนร่วมกันไว้ตอ้ งชะงักไปบ้าง และทดแทนด้วยกิจกรรมการให้ ความรู้ ด้านสุขอนามัยกับทีม อสม. เพือ่ ให้ทมี อสม. ไปสือ่ สารต่อกับผูป้ กครอง ในการลงเยีย่ มเพือ่ น�ำของจ�ำเป็นไปช่วยเหลือ เช่น หน้ากากผ้า, หน้ากาก อนามัย, Face shield เจลล้างมือ ฯลฯ จากการลงพืน้ ที่ ท�ำให้ทมี กลับมาสรุปร่วมกันถึงการทีพ่ าบึงเนียมไป ข้างหน้าได้ คือ การท�ำงานประเด็นเด็กปฐมวัย 0-6 ปี ทีมกลไกควรจะต้องมี ความรูค้ วามเข้าใจทีเ่ กีย่ วกับเด็กปฐมวัยซึง่ เป็นพืน้ ฐานก่อนทีจ่ ะเริม่ ท�ำกิจกรรม ในชุมชน และการด�ำเนินโครงการฯ ไม่สามารถท�ำได้โดยหน่วยงานใดหน่วย งานใดหน่วยงานหนึง่ ดังนัน้ จึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างมากในการพัฒนา ทีมกลไกเพือ่ ให้สามารถขับเคลือ่ นกิจกรรมต่อไปได้ ในส่วนนีท้ มี โค้ช และทีม ชุมชนคิดว่า การพัฒนาทีมสภาเด็กและเยาวชนของต�ำบลบึงเนียมไปพร้อมๆ กัน จะช่วยเป็นแรงเสริมทีส่ ำ� คัญของการท�ำงานด้านเด็กปฐมวัยในต�ำบล ในส่วนนี้ ศิกจ็ ะท�ำหน้าทีเ่ ป็นโค้ชให้กบั น้องๆ สภาเด็กและเยาวชนด้วย เพือ่ ให้นอ้ งๆ ได้ ท�ำกิจกรรมทีส่ ร้างสรรค์เพือ่ ชุมชน และเป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั น้องๆ เยาวชน คนอืน่ ๆ ในต�ำบล
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
115
“เมือ่ ได้ยนิ ค�ำว่าโค้ช ผมก็มกั จะเปรียบเทียบกับเกมฟุตบอล ผมคิดว่า ในทีมถ้ามีการรับฟัง ไม่วา่ จะจากผูเ้ ล่น หรือผูส้ อน เราก็จะรูว้ า่ ต้องแก้ปญ ั หา อย่างไรตรงหน้า นอกจากนี้ ต้องมองให้ออกว่ากลุม่ เป้าหมาย หรือทีมของเรา มีจดุ เด่นอะไร ทีช่ ว่ ยให้ทมี กลไกหรือทีมชุมชนเห็นเป้าหมายเดียวกัน และน�ำ ไปสูเ่ ป้าหมายได้สำ� เร็จ หรืออีกความหมายหนึง่ ก็นา่ จะมีบทบาทเหมือนคนใน ครอบครัวทีอ่ บอุน่ เข้าใจกัน และส่งเสริมกันและกัน ช่วยกันดึงศักยภาพออก มาท�ำงานเป็นทีมให้ได้” เขาสรุปว่าโค้ชต้องรวมทุกศาสตร์เข้ามาไว้ดว้ ยกัน มองเห็นปลายทาง ของการท�ำงาน และหลอมแต่ละฝ่าย มองภาพรวม และพาไปด้วยกันเป็นหัวใจ ส�ำคัญส�ำหรับการท�ำงานเป็นทีม ซึง่ การท�ำงานทัง้ กับทีมเยาวชน และทีมกลไก ท้องถิน่ ระดับต�ำบลทีเ่ ป็นผูใ้ หญ่กเ็ ป็นความท้าทาย เพิม่ พูนประสบการณ์ในการ ท�ำงานด้านพัฒนาชุมชนของเขาให้เติบโตงอกงามขึน้ ด้วยเช่นกัน
Health Net มูลนิธพ ิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ
ทิพวัลย์ โมภา ผู้จัดการ ศักดิ์ชัย ไชยเนตร หัวหน้าฝ่ายบริหารจัดการโครงการ และฝ่ายฝึกอบรม ศิริพงษ์ สังข์ขาว เจ้าหน้าที่บริหารจัดการโครงการ ธงชัย พันธ์มกร หัวหน้าฝ่ายสนับสนุน ธวัลพร สิริวารินทร์ หัวหน้าฝ่ายการเงินและบัญชี อัจฉรา ทาท่าหว้า เจ้าหน้าที่การเงิน
เดินทางสูก่ ารเรียนรู้ :
รถกระบะอีซซู สุ องตอนคันเก่าควบทะยานไประหว่างเส้นทางตัวเมือง ขอนแก่น มุง่ หน้าผ่านอ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นแล้วเลีย้ วซ้ายไปตาม ทางหลวงทีจ่ ะมุง่ หน้าไปจังหวัดชัยภูมิ อันเป็นจุดหมายปลายทางของการเดิน ทางในครัง้ นี้ “เวลาเดินทางไปพืน้ ทีก่ ม็ กั จะใช้รถคันนีแ้ หละครับ” ศักดิ์ - ศักดิช์ ยั ไชยเนตร หัวหน้าฝ่ายบริหารจัดการโครงการและ ฝ่ายฝึกอบรม ซึง่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็น เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานโครงการเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว เล่าสัน้ ๆ ระหว่างขับรถพาคณะเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางว่า รถ คันนีถ้ งึ แม้จะผ่านการใช้งานมาอย่างยาวนาน แต่ยงั อยูใ่ นสภาพทีใ่ ช้งานได้ดจี าก การบ�ำรุงและดูแลรักษาของ พีก่ ลุ - ธงชัย พันธ์มกร หัวหน้าฝ่ายสนับสนุน มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ ซึง่ มีความสามารถพิเศษในการดูแลรักษาเครือ่ ง ไม้เครือ่ งมือประจ�ำส�ำนักงาน รวมถึงรถยนต์ตา่ งๆ ด้วย เพราะการท�ำงานของ องค์กรพัฒนาชุมชน มักจะต้องเดินทางไปลงพืน้ ทีจ่ งั หวัดใกล้เคียงอยูเ่ สมอ “การท�ำงานโครงการนีท้ ำ� ให้ผมเรียนรูอ้ ย่างมากเลยครับ” ศักดิต์ อบอย่างไม่ลงั เลเมือ่ ถูกถามถึงสิง่ ทีค่ ดิ ว่าได้จากการเป็นผูป้ ระสานงาน โครงการฯ ก่อนจะขยายความต่อว่า ในระยะแรกของการเข้ามาประสานงาน
118
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
โครงการนัน้ เขาเองก็ยงั ไม่คอ่ ยเข้าใจภาพรวมของงานมากนัก จากเดิมทีท่ ำ� หน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายต้องขยายขอบเขตของการท�ำงานให้มากขึน้ จึงต้อง ค่อยๆ ปรับตัว ท�ำความเข้าใจกับงาน ประสานความร่วมมือจากทางพืน้ ที่ จาก ชุมชน และทางภาครัฐไปพร้อมๆ กัน “ตอนทีไ่ ด้รบั การประสานงานจากพีต่ รี (ราตรี จูมวันทา) ให้ไปร่วม เวทีพดู คุยกับนายกเทศบาลเมืองมุกดาหารทีต่ ำ� บลดงเย็น ทีแรกคิดว่าต้อง เข้าไปร่วมฟัง แต่กลับกลายเป็นว่าต้องเป็นผูด้ ำ� เนินการน�ำคุย ต้องนัง่ ทีห่ วั โต๊ะ เพือ่ อธิบายและตอบค�ำถามเกีย่ วกับโครงการ ผมก็ตนื่ เต้นสุดๆ แต่กไ็ ด้ใช้ ประสบการณ์จากการเรียนรูม้ า รวบรวมสติ และมัน่ ใจในสิง่ ทีเ่ รามี บวกกับ การเตรียมงานอย่างดีกบั ทีมและผูจ้ ดั การก่อนลงพืน้ ที่ ใช้เวลาทบทวนอย่าง รวดเร็วและสือ่ สารได้ภายใน 10 - 30 นาที ให้คนเข้าร่วมฟังเข้าใจภาพรวมของ โครงการ” หากเปรียบการขับรถเพือ่ เดินทางไปยังพืน้ ทีข่ องศักดิเ์ พือ่ ท�ำกิจกรรม ต่างๆ ทัว่ ทัง้ ภาคอีสานเป็นการเดินทางเพือ่ ค้นหาสิง่ ส�ำคัญข้างหน้าทีย่ งั มองไม่ เห็น เมือ่ ถึงปลายทางของการเดินทางในโครงการท�ำให้ได้คน้ พบจุดหมายทีผ่ ู้ เดินทางอย่างเขาอาจจะไม่คาดคิดมาก่อน “ผมพบว่าหัวใจของการท�ำงานในทัศนะของผม คือทีมท�ำงานเข้าใจ เป้าหมายร่วมกันตัง้ แต่ตน้ ว่าจะเดินไปอย่างไร และสิง่ ทีส่ ำ� คัญของการเป็นทีม อยูท่ เี่ ข้าใจและมองไปข้างหน้าด้วยกัน มีทศั นคติเชิงบวก เพราะงานนีม้ คี นจาก หลายภาคส่วนทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วม มีปญ ั หาระหว่างทางอยูเ่ สมอ อย่างในช่วงแรก มีปญ ั หาการท�ำงานเหมือนกัน เพราะต่างคนต่างมีภาระงาน เมือ่ คุยกันและมอง การท�ำงานของตัวเอง มองเป้าหมายไปด้วยกัน หลายคนเข้าใจเรามากขึน้ และ ปัญหาก็คลีค่ ลายไป” เมือ่ มองเข้าไปในตนเอง เขาบอกว่าส่วนตัวเป็นคนทีม่ กั จะประนีประนอม เข้ากับผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่และคนในชุมชนได้งา่ ย ท�ำให้รสู้ กึ ว่าการท�ำงานนีเ้ หมือนการ ท�ำงานแบบครอบครัว อาศัยแนวคิดว่าเป็นพีน่ อ้ งกัน ก็รบั ฟังกันด้วยหัวใจ เมือ่
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
119
ลงไปทีใ่ ดก็ได้รบั การต้อนรับอย่างยินดี เรียกได้วา่ ความคุน้ เคยเหมือนญาติ คือ สิง่ ส�ำคัญในเรือ่ งนี้ “สิง่ ทีด่ ใี จ คือ ผมจะพบชาวบ้านทีเ่ ป็นจิตอาสาอยูท่ กุ ชุมชน ตัง้ แต่ผนู้ ำ� ชุมชน อสม. เมือ่ ลงไปพืน้ ทีแ่ ล้วได้รบั การบอกกล่าวว่าคนเหล่านีใ้ นพืน้ ทีเ่ ติบโต ขึน้ เราทีม่ สี ว่ นร่วมทีเ่ ห็นการเติบโต ความส�ำเร็จของพืน้ ทีก่ เ็ ป็นสิง่ ทีเ่ ราภูมใิ จ อย่างพีย่ วน (ยวนใจ พิลาพันธ์) ทีมกลไกต�ำบลพระธาตุ ทีไ่ ม่ถนัดเขียนออก มาเป็นตัวหนังสือ แต่สามารถเล่าเรือ่ งการท�ำงานในพืน้ ทีไ่ ด้นา่ สนใจ ท�ำให้เห็น ว่าหลายคนมีความเข้าใจ และมีความสามารถต่างกัน มันอยูท่ เี่ ห็นศักยภาพของ แต่ละคนและดึงมันขึน้ มา” รถยนต์จอดติดไฟแดงตรงสามแยกเรียกว่าช่องสามหมอ ข้างทางเรียง รายไปด้วยร้านของฝาก ของดีเมืองชัยภูมิ ศักดิช์ ชี้ วนให้ดพู ร้อมบอกว่าเป็นจุด ทีโ่ ด่งดังจุดหนึง่ ของจังหวัด และคณะเดินทางก�ำลังจะถึงทีห่ มายปลายทางในไม่ชา้ จากนัน้ จึงกลับมาเล่าต่อในตอนท้ายว่าสิง่ ทีเ่ ขารูส้ กึ ดีทสี่ ดุ ในการทีเ่ ข้ามาร่วมงาน ในครัง้ นี้ คือ การเติบโตจากการท�ำงานจริงๆ “มันเป็นการเรียนรู้ ได้เริม่ ต้นไปด้วยกัน ท�ำความเข้าใจเป้าหมายไป ด้วยกัน และรูว้ า่ โครงการต้องการพัฒนาคน ได้เห็นทีมโค้ช ทีมกลไกเติบโต และเรามีสว่ นในการให้ขอ้ มูล ช่วยให้เขาได้ทำ� งานให้ดขี นึ้ รูส้ กึ ว่าเป็นเจ้าของ โครงการร่วมขับเคลือ่ นไปกับพีๆ่ ในพืน้ ที”่ ศักดิย์ อมรับว่ายังมีอกี หลายเรือ่ งทีเ่ ขาต้องปรับปรุง และท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่ ถนัดให้เก่งขึน้ นีค่ อื คุณสมบัตขิ องผูท้ เี่ รียนรูอ้ ย่างแท้จริง รถยนต์คนั เก่าจอดสนิทตรงจุดนัดหมาย เขากุลกี จุ อพาคณะเดินทาง เข้าทีพ่ กั พร้อมเตรียมตัวทีจ่ ะพบกับทีมพืน้ ทีท่ นี่ ดั หมายกันไว้ ถึงแม้ในวันนีจ้ ะ สิน้ สุดการเดินทางของศักดิแ์ ละคณะ แต่การเดินทางเพือ่ ค้นพบจุดหมายใหม่ๆ ท�ำให้เขายังคงก้าวเดินต่อไปข้างหน้าและไปให้ถงึ จุดมุง่ หมายนัน้
120
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เชือ่ ว่าไม่มใี ครทำ�งานได้โดยลำ�พัง เมือ่ พัฒนาเด็กต้องพัฒนาคนทำ�งานไปพร้อมกัน
อาคารพาณิชย์กลางเก่ากลางใหม่ ณ หมูบ่ า้ นพิมานธานี จังหวัดขอนแก่น เป็นทีต่ ง้ั ของมูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า HealthNet ด้าน หน้าทางเข้าส�ำนักงานประดับด้วยกระถางไทรประดับ เฟิรน์ ข้าหลวง และไม้ ประดับคลุมดินจ�ำพวกพลูดา่ งและเงินไหลมา สีเขียวของต้นไม้ชว่ ยให้อาคารดู ร่มรืน่ ขึน้ ด้านข้างและด้านหลังของตึกก็ประดับด้วยต้นไม้เพือ่ ลดทอนความร้อน ของแดดช่วงกลางวันได้เป็นอย่างดี “ตอนนี้พยายามปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อให้ทีมได้ท�ำงานอย่าง ผ่อนคลาย ไม่เครียด ทุกคนช่วยกันจัดส�ำนักงานให้นา่ อยู”่ ทิพวัลย์ โมกภา หรือ น้อย ผูจ้ ดั การมูลนิธฯิ เล่าถึงการปรับปรุง ส�ำนักงานให้สวยงาม และจังหวะการเปลีย่ นผ่านองค์กรในตอนทีเ่ ข้ามารับช่วง ผูจ้ ดั การมูลนิธฯิ ทีต่ อ้ งปรับตัวกันทัง้ ภายนอก และภายในทีมด้วยกัน ระหว่างรับประทานกาแฟและของว่างร่วมกัน น้อยเล่าถึงการท�ำงาน โครงการพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุขภาวะเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว ถึงความคาดหวังของทัง้ แหล่งทุน และต้องท�ำงานสร้างทีมในพืน้ ที่ เพือ่ ให้ทำ� งานกับเด็กเล็กในพืน้ ทีไ่ ปพร้อมๆ กัน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
121
“ยอมรับว่าได้โจทย์มาในเรือ่ งการสร้างโค้ช ท�ำให้ตอ้ งคิดเรือ่ งแนวคิด ของการโค้ชให้มากขึน้ ก็คดิ ว่าน่าจะไม่ตา่ งจากการเป็นพีเ่ ลีย้ งในการท�ำงาน ก็ พยายามท�ำความเข้าใจผ่านประสบการณ์ทเี่ คยท�ำงานมา เมือ่ มาท�ำงานพัฒนา ก็ได้ทดลองท�ำ เมือ่ พีๆ่ ทีเ่ ขามีประสบการณ์มากกว่าปล่อยให้เราท�ำ และเขาก็ จะสอนงาน ส่วนตัวจะชอบงานอบรม งานกระบวนการ และจะขอไปด้วยถึง แม้งานจะเยอะเพือ่ ไปสังเกตงาน ก็จะค่อยๆ สัง่ สมประสบการณ์ไปเรือ่ ยๆ อาจ ไม่เรียกว่า โค้ช แต่เป็นคนทีต่ ดิ ตาม หนุนเสริม ก็มาจากประสบการณ์ตรง จึง น�ำมาออกแบบการท�ำงาน” น้อยเล่าว่าในระยะแรกในการท�ำโครงการ ทีมโค้ชก็ยงั ไม่คอ่ ยเข้าใจ แนวคิดหลักของการโค้ช ก็ยงั มีการท�ำงานแทนพืน้ ที่ เป็นหน้าทีข่ องทีมโครงการ ทีต่ อ้ งคุยกันอยูเ่ รือ่ ยๆ ผ่านการกิจกรรม “ในส่วนทีมงานต้องคุยกันให้ชดั เจนก่อนลงไปว่าลงไปแล้ว พืน้ ทีจ่ ะได้ อะไร ใช้วธิ กี ารชวนคุย อาจจะผ่านการคุยของส�ำนักงานทุกเดือน หรือจะคุย กันเป็นส่วนตัวรายบุคคล ก็แล้วแต่สถานการณ์ อย่างเวลาคุยกับศิ (ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว ทีมโค้ชบึงเนียม จังหวัดขอนแก่น) จะคุยส่วนตัว ถามน้องว่าคิดอย่างไร วางแผนอย่างไร ทัง้ ในแนวคิด ตัง้ ค�ำถาม และให้ปฏิบตั ิ ประมาณสัปดาห์ละครัง้ ส่วน 5 พืน้ ทีจ่ ะคุยกับผูป้ ระสานงาน (ศักดิ)์ เป็นหลัก ถ้าเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งขอ ความร่วมมือกับผูบ้ ริหารก็ลงไปคุยเอง” ช่วงเริม่ ต้นโครงการน้อยบอกว่าตนต้องลงพืน้ ทีบ่ อ่ ยเพือ่ เน้นการก�ำกับ ทิศทางของโครงการ อีกทัง้ การท�ำความเข้าใจกับโค้ช ผ่านการพูดคุยก่อน กิจกรรม และหลังกิจกรรม หรือการ AAR (กระบวนการ After Action Review) จนกว่าจะเข้าใจกันในทีส่ ดุ “การสร้างทีมกลไกท้องถิน่ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย มีคนหลายคนก�ำลังท�ำเรือ่ ง การบูรณาการ เชือ่ มแผนงาน และบอกว่านีค่ อื การท�ำงานร่วมกัน บางทีกร็ สู้ กึ ว่ามันยังไม่ใช่เพราะรูส้ กึ ว่ามันมีความยาก แต่กท็ า้ ทายว่าเราจะท�ำได้ไหม ถึง
122
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
แม้ใจจะหวัน่ ๆ อยู่ อย่างไรก็ตามก็เชือ่ เรือ่ งความเป็นมนุษย์ คิดว่าถ้าเชือ่ มงาน กันได้แล้ว งานก็นา่ จะไปต่อได้อย่างดี งานจึงเน้นการพัฒนาทีม และคน การ เฟ้นหาคนว่าอยู่ตรงที่ใด จุดใด และน�ำมามองว่าเราจะแก้ปัญหาเรื่องเด็ก ปฐมวัยและครอบครัว มีใครท�ำอยูบ่ า้ ง กว่าจะได้พนื้ ที่ ได้ทมี โค้ช ทีจ่ ะมาขับ เคลือ่ นงานและสร้างทีมไปด้วย ใช้เวลาในการเตรียม 6 เดือน” น้อยเล่าว่า คนทีโ่ ครงการค้นหาจะต้องมีคณ ุ สมบัติ คือ ต้องเป็นคนรับ ผิดชอบ ประสานงานได้ และมีตน้ ทุนในการท�ำงานเกีย่ วกับเด็กปฐมวัย “เพราะเราเชือ่ ว่าไม่มใี ครท�ำงานได้โดยล�ำพัง เด็กต้องมีสภาพแวดล้อม ทีด่ ี มีหน่วยงาน มีคนทีใ่ ห้การปรึกษา ขับเคลือ่ นงาน งานนีอ้ อกแบบมาให้เห็น ภาพโค้ชทีท่ ำ� งานร่วมกับทีมกลไกท้องถิน่ ปลายทาง คือ เด็กทีไ่ ด้รบั การพัฒนา คุณภาพชีวติ เพือ่ ให้เติบโตเป็นผูใ้ หญ่ทดี่ ี จึงไม่ได้ทำ� ปีเดียวจบ เพราะเมือ่ พัฒนาเด็กแล้วต้องพัฒนาคนท�ำงานไปพร้อมๆ กันด้วย” การทีเ่ ป็นหน่วยงานกลางทีจ่ ะประสานทัง้ แหล่งทุน หน่วยงานภาครัฐ และพืน้ ทีไ่ ปพร้อมๆ กัน ท�ำให้ HealthNet ยิง่ ต้องแข็งแกร่งและปรับตัวไปตาม สถานการณ์ทรี่ มุ ล้อมเข้ามาให้ได้ “เป็นความโชคดีของเราทีม่ เี จ้าหน้าทีท่ ใี่ ห้คำ� ปรึกษาด้านการท�ำบัญชี การเงินทีเ่ ก่งมีความสามารถอย่างพีน่ าง พีฮ่ นั (ธวัลพร สิรวิ ารินทร์ และ อัจฉรา ทาท่าหว้า) เราประสานแหล่งทุนได้ เราก็นา่ จะใช้จดุ แข็งตรงนีม้ าช่วยงานเพือ่ นๆ พี่ น้องในภาคอีสาน เพราะหลายแห่งเขาไม่ถนัดโครงการใหญ่ๆ สามารถเป็น เครือข่ายกันได้ นีน่ า่ จะเป็นจุดแข็งของเราได้” เธอสะท้อนว่ายิง่ ท�ำงาน ยิง่ มีพลัง ยิง่ ได้ฟงั เสียงสะท้อนกลับมาจาก พืน้ ที่ ได้ยนิ เสียงขอบคุณ ก็ยงิ่ รูส้ กึ มีความสุข นอกเหนือไปจากการบริหารจัดการโครงการต่างๆ แล้ว สิง่ ทีจ่ ะต้อง พัฒนาต่อเนือ่ งไปด้วยคือการพัฒนาตนเองให้มคี วามสามารถทีห่ ลากหลาย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
123
“คิดว่าเราจะต้องมีทงั้ การพัฒนาภายในและภายนอก การมองภาพรวม ให้ชดั ขึน้ การจัดระบบวิธคี ดิ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ทักษะการจับประเด็น การคุย การตัง้ ค�ำถาม การเป็นกระบวนกร การน�ำคุย และยกระดับตนเองใน งานวิชาการให้ได้มากขึน้ การน�ำเสนองานกับนักวิชาการ การท�ำงานกับทีม เพราะเราอาจจะคิดเร็วท�ำเร็ว จนทีมตามไม่ทนั ” สิง่ เหล่านีเ้ ป็นความท้าทายขององค์กรเล็กๆ องค์กรหนึง่ ทีฝ่ า่ ฟันการ ท�ำงานมายาวนานนับสิบปี ในช่วงทีต่ อ้ งปรับเปลีย่ นการท�ำงานขององค์กรให้ กระชับ คล่องตัวมากทีส่ ดุ ขณะเดียวกันก็ตอ้ งเป็นศูนย์กลางของงานด้านสุขภาวะ ของทัง้ ภาค แต่ทงั้ หมดนีก้ ไ็ ม่ทำ� ให้คนในองค์กรท้อแต่อย่างใด น้อยปิดท้ายว่า “หวังว่าภายใน 5 ปี เราจะตัง้ ตัวได้และได้ขยายงาน ให้มากขึน้ และในวันนีก้ จ็ ะท�ำให้ดที สี่ ดุ ”
ถอดบทเรียนการโค้ช เพื่อพัฒนาทีมกลไกท้องถิ่นระดับตำ�บล เพื่อเด็กปฐมวัยและครอบครัว
ทิศทางของงานพัฒนาทีม่ ชี มุ ชนท้องถิน่ เป็นฐานรากนัน้ เกิดขึน้ มาก่อน รัฐธรรมนูญ 2540 ทีเ่ ริม่ มีการกาํ หนดทิศทางการกระจายอํานาจสูท่ อ้ งถิน่ และ การปกครองส่วนท้องถิน่ ทีผ่ า่ นมามีชมุ ชนท้องถิน่ หลายแห่งทีม่ คี นในชุมชนร่วม คิดร่วมท�ำ ร่วมกันแก้ปญ ั หาในพืน้ ที่ ไม่วา่ จะแก้ความยากจน ปัญหาหนีส้ นิ ดูแล เศรษฐกิจของชุมชน รักษาสิง่ แวดล้อม รักษาวัฒนธรรม บางชุมชนชาวบ้านรวม ตัวกันท�ำวิจยั เรือ่ งของชุมชน ท�ำให้เกิดปัญญา เปลีย่ นวิธคี ดิ ใหม่ ปรับพฤติกรรม การผลิตและการบริโภค น�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการเกษตร ออมทรัพย์ และ ท�ำอีกหลายเรือ่ ง ชุมชนเหล่านีส้ ามารถปรับตัวได้ทา่ มกลางภาวะเศรษฐกิจและ สังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว สิง่ ทีน่ า่ สนใจของชุมชนทีม่ กี ารร่วมคิดร่วมท�ำก็คอื การมีคนทีล่ กุ ขึน้ มา จัดการกับปัญหาในชุมชน เปลีย่ นปัญหาให้เป็นโอกาสในการพัฒนาได้ และรวม ตัวกันท�ำงานเพือ่ ชุมชนทีต่ นได้พกั พิงอาศัยให้เป็นชุมชนทีน่ า่ อยู่ หลายพืน้ ทีท่ ที่ ำ� ส�ำเร็จนัน้ พบว่าแทบทุกฝ่ายในชุมชนต่างเข้ามาช่วยกันท�ำงานเพือ่ ชุมชนกัน คนละไม้คนละมือ โดยเฉพาะองค์กรท้องถิน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกระจายอ�ำนาจ อย่างเช่น อบต. (องค์การบริหารส่วนต�ำบล) เทศบาลต�ำบล เทศบาลเมือง ซึง่ เป็น องค์กรทีใ่ กล้ชดิ กับคนในชุมชนมากทีส่ ดุ และมีทรัพยากรเพียงพอทีจ่ ะพัฒนา ท้องถิน่ ตนเองให้นา่ อยูแ่ ละเหมาะสมทีจ่ ะดูแลคนทุกคนในชุมชนให้มคี ณ ุ ภาพ ชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ได้ นีเ่ ป็นอีกหนึง่ ความพยายามในการท�ำงานชุมชนทีม่ าจากฐานราก เพือ่ ให้ คนในชุมชนร่วมใจกันลุกขึน้ มาจัดการปัญหาและพัฒนาชุมชนด้วยตนเอง
126
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
กล่าวกันว่า “การเลีย้ งเด็กคนหนึง่ ใช้คนทัง้ หมูบ่ า้ น” เพราะการทีเ่ ด็ก คนหนึง่ จะเติบโตขึน้ มาได้ดนี นั้ นอกจากจะมาจากการเลีย้ งดูทดี่ ขี องครอบครัว แล้ว ยังต้องมีการเอาใจใส่ของเพื่อนบ้าน มีการใช้ชีวิตร่วมกับเพื่อนและมี ความสุขในการเรียนรูท้ โี่ รงเรียน มีการดูแลทีด่ ที เี่ กือ้ หนุนเด็กจากชุมชนและ สังคม รวมทัง้ สือ่ ต่างๆ เหล่านีล้ ว้ นมีผลต่อพัฒนาการของเด็ก สร้างความหมาย ทัง้ ดีและร้ายในชีวติ ของเด็กได้ หากอยากให้ลกู หลานของเราเติบโตมาอย่างมี คุณภาพมีชวี ติ ทีด่ ี การท�ำให้ชมุ ชนและสังคมเหมาะสมในการเลีย้ งดูเด็กจึงเป็น สิง่ ส�ำคัญ ดังนัน้ การท�ำงานพัฒนาเพือ่ ให้เกิดการเกือ้ หนุนกันทัง้ ระบบในการ ดูแลเด็กจึงต้องเริม่ ต้นทีช่ มุ ชนท้องถิน่ ระดับต�ำบล และการทีจ่ ะท�ำให้ชมุ ชน ท้องถิน่ ลุกขึน้ มาจัดการกับปัญหาและสร้างสรรค์โอกาสใหม่ๆ ให้กบั ชุมชนนัน้ จ�ำเป็นต้องมีการรวมตัวกันของคนในชุมชนให้เข้ามาร่วมมือกันท�ำงานเป็นทีม โดยการสนับสนุนทรัพยากรจากในชุมชนท้องถิน่ เอง ทีส่ ำ� คัญคือการจัดระบบ การท�ำงานขององค์กรต่างๆ ในชุมชน ร่วมมือกันบูรณาการในทุกด้าน ออกแบบ สร้างสรรค์กจิ กรรมทีเ่ หมาะสมกับความต้องการของคนในชุมชนทีอ่ ยากจะสร้าง ชุมชนสังคมทีด่ ตี อ่ การเจริญเติบโตของลูกหลานทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
127
สร้างระบบการทำ�งานทีข่ บั เคลือ่ น การพัฒนาชุมชนท้องถิน่ ได้ จากการท�ำงานรณรงค์ปอ้ งกันแก้ไขปัญหาเรือ่ งเอดส์ โรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์และวัณโรค ซึง่ เคยเป็นปัญหาทีร่ า้ ยแรงในสังคมไทย จนเมือ่ สถานการณ์ ปัญหาเริม่ ซาลง มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายเอดส์ (ส�ำนักงานภาคอีสาน) หรือ เอดส์เน็ท (ปัจจุบนั เปลีย่ นชือ่ เป็น มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ หรือ HealthNet) จึงเน้น การท�ำงานไปในทิศทางเพือ่ สร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนในด้านสุขภาวะทางเพศ และการสร้างเสริมสุขภาวะครอบครัว ด้วยประสบการณ์มากว่า 20 ปี ในการ ท�ำงานร่วมกับเครือข่ายในภาคอีสาน และการท�ำงานด้านเด็กและเยาวชนร่วม กับหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคม ท�ำให้มคี วามเข้มแข็งในการท�ำงาน เครือข่าย และมองเห็นว่า ปัญหาแต่ละประเด็นทีอ่ งค์กรขับเคลือ่ นการท�ำงาน อยูน่ นั้ ล้วนเป็นประเด็นทีเ่ กีย่ วพันเชือ่ มโยงกัน และเห็นว่าการแก้ไขปัญหานัน้ ควรเกิดจากการสร้างความเข้มแข็งให้กบั เจ้าของปัญหาในการลุกขึน้ มาจัดการ ปัญหาด้วยตัวเองได้ คนทีท่ ำ� งานอยูแ่ ล้วในชุมชนก็ลว้ นแล้วแต่มศี กั ยภาพ หากยัง ขาดการสร้างระบบการท�ำงานทีส่ ามารถขับเคลือ่ นการพัฒนาชุมชนท้องถิน่ ได้ องค์กรจึงเริม่ ต้นจากฐานการท�ำงานทีเ่ ป็นต้นทุนอยูแ่ ล้ว ร่วมมือกับเครือข่ายการ ท�ำงานทีม่ แี นวคิดไปในทิศทางเดียวกัน เน้นการท�ำงานไปทีก่ ารพัฒนาศักยภาพ ของคนท�ำงานทีอ่ ยูใ่ นกลไกท้องถิน่ ชุมชน ให้มารวมตัวกันท�ำงานเป็นทีมเพือ่ ท�ำงานด้านเด็กปฐมวัยและครอบครัวในพืน้ ทีข่ องตัวเอง
128
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ศึกษาความเป็นไปได้ ทัง้ สถานการณ์ปญ ั หาและสถานการณ์ในการทำ�งาน ในระยะเริม่ ต้นนัน้ การท�ำงานเน้นไปเรือ่ งของการศึกษาความเป็นไปได้ ในการสร้างระบบการท�ำงานที่เกิดจากความร่วมมือขององค์กรท้องถิ่น ใน โครงการ “ศึกษาพัฒนากลไกและแนวทางพัฒนาสุขภาวะครอบครัวร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ” โดยมีมลู นิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพเป็นองค์กร หลักร่วมมือกับเครือข่ายองค์กรภาคประชาสังคมทีเ่ คยท�ำงานร่วมกันมายาวนา นอีก 4 องค์กร แต่ละองค์กรเลือกพืน้ ทีใ่ นการท�ำงานกับองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิน่ ทีม่ คี นรูจ้ กั อยูใ่ นพืน้ ทีแ่ ละเคยท�ำงานด้วยกันมาบ้างในประเด็นอืน่ ๆ ทัง้ หมด 5 แห่ง ได้แก่ 1. มูลนิธไิ ทยอาทร จ.ขอนแก่น ท�ำงานกับพืน้ ที่ ต�ำบลนาหนองทุม่ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น 2. เครือข่ายเด็กและเยาวชน จ.มหาสารคาม ท�ำงานกับพืน้ ที่ ต.พระธาตุ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม 3. โครงการสนับสนุนการพัฒนาท้องถิน่ จ.ชัยภูมิ (LDP) ท�ำงานกับ พืน้ ที่ ต.กะฮาด อ.เนินสง่า จ.ชัยภูมิ 4. ชมรมต้นกล้า เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ เด็ก เยาวชน และครอบครัว จ.มุกดาหาร ท�ำงานกับพืน้ ที่ เทศบาลต�ำบลดงเย็น อ.เมือง จ.มุกดาหาร 5. มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ (ส�ำนักงานภาคอีสาน) ท�ำงานกับ พืน้ ที่ เทศบาลต�ำบลบึงเนียม อ.เมือง จ.ขอนแก่น การศึกษาความเป็นได้ในการท�ำงานของแต่ละพืน้ ทีใ่ นช่วงนี้ จึงเน้นไป ใน 2 ประเด็น คือ 1. ศึกษาข้อมูลสถานการณ์ปญ ั หา สาเหตุ และผลกระทบเกีย่ วกับ สุขภาวะครอบครัว
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
129
2. ศึกษาข้อมูลเกีย่ วกับการท�ำงานของหน่วยงานในพืน้ ทีใ่ นประเด็น สุขภาวะเด็กปฐมวัย หญิงตัง้ ครรภ์ และครอบครัว จากการศึกษาสถานการณ์ปญ ั หาพบว่า ทัง้ 5 ต�ำบล มีเด็กปฐมวัยทีอ่ ยู่ ในภาวะประสบปัญหาและภาวะเสีย่ ง มากกว่า 70% ส่วนอีก 30% เป็นเด็กที่ มีภาวะปกติ 1 การพบเด็กปฐมวัยทีม่ ภี าวะเสีย่ งและประสบปัญหาจ�ำนวนมากเช่นนี้ สาเหตุของปัญหามีทงั้ ทีเ่ ป็นปัญหาด้านเศรษฐกิจ เช่น ยากจน รายได้นอ้ ย ปัญหาพฤติกรรมความรุนแรงในครอบครัว ไม่มคี วามรูใ้ นการเลีย้ งดูเด็ก และ ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อพฤติกรรมเด็ก รวมไปถึงการเข้าไม่ถงึ สิทธิในด้านต่างๆ ตัง้ แต่ การตัง้ ครรภ์ การคลอด การรับวัคซีนต่างๆ ของเด็ก ฯลฯ จากการศึกษาการท�ำงานของหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กปฐมวัย และครอบครัว พบว่า มีหลายหน่วยงานทีท่ ำ� งานในประเด็นเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว แต่ละหน่วยงานท�ำงานแบบแยกส่วนต่างคนต่างท�ำ ท�ำให้กลุม่ เป้าหมาย บางรายเข้าไม่ถงึ บริการ และบางรายก็มกี ารแก้ปญ ั หาซ�ำ้ ซ้อนกัน ไม่มกี าร 1 นิยามปัญหาของโครงการ ดังนี้ เด็กประสบปัญหา หมายถึง เด็กซึมเศร้า, เด็กก้าวร้าว เอาแต่ใจ ขว้างปาสิง่ ของ กรีดร้องท�ำร้ายตนเอง เด็ก ถูกใช้ความรุนแรง ดุดา่ ทุบตี / เด็กพัฒนาการผิดปกติ / เด็กป่วยโรคหัวใจ / ครอบครัวยากจน รายได้นอ้ ย/ ครอบครัวใช้ยาเสพติด / หญิงตัง้ ครรภ์ใช้สารเสพติด เช่น เหล้า บุหรี่ / แม่อยูใ่ นภาวะเครียดอารมณ์รา้ ย และอยู่ ในภาวะไม่พร้อมท้อง / แม่ไม่ฝากครรภ์ / หญิงตัง้ ครรภ์มโี รคแทรก แม่วยั รุน่ ท้องซ�ำ้ /แม่เด็กยังเป็นเด็กหญิง / พ่อเด็กติดคดีพรากผูเ้ ยาว์ / เด็กไม่ได้รบั สวัสดิการเงินอุดหนุนแรกเกิด เด็กภาวะเสีย่ ง หมายถึง เด็กทีผ่ ปู้ กครองตามใจจนเอาแต่ใจ / เด็กมีพฤติกรรมติดมือถือ ติดทีวี / เด็กที่ ถูกผูป้ กครองดุดา่ เปรียบเทียบเด็ก / เด็กกินนมไม่ครบ 6 เดือน / เด็กทีม่ ผี ปู้ กครองดูแลหลากหลายส่งผลให้ อารมณ์ พฤติกรรมเด็กแปรปรวน/ครอบครัวทีส่ ภาพแวดล้อมภายในบ้านไม่เอือ้ ต่อการเลีย้ งดูเด็กปฐมวัย เด็กภาวะปกติ หมายถึง ผูป้ กครองเด็กดูแลใกล้ชดิ ใส่ใจ พัฒนาการสมวัย ไม่พกิ าร ไม่มโี รคประจ�ำตัว ร่าเริง แจ่มใส อารมณ์ดี ไม่กา้ วร้าว ได้รบั วัคซีนครบ ภาวะโภชนาการ (น�ำ้ หนัก อายุ BMI) สุขภาพทางร่างกาย (ฟัน ปอด ต่อมทอมซิล ฯลฯ)
130
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ออกแบบและวางแผนร่วมกันอย่างเป็นระบบ เมือ่ ต่างก็ทำ� แต่ภารกิจทีห่ น่วยงาน ตัวเองรับผิดชอบ ท�ำให้ไม่เห็นภาพรวมของปัญหา มองเห็นแต่เป้าหมายของงาน ทีต่ นเองท�ำ แต่ไม่สามารถแก้ปญ ั หาทีเ่ รือ้ รังได้ และไม่เห็นเป้าหมายส�ำคัญทีค่ วร จะเป็นเป้าหมายร่วมกันของชุมชน จึงเป็นทีม่ าว่าจะต้องมีคนเข้ามาท�ำหน้าทีเ่ ชือ่ มโยงคนท�ำงานจากหน่วยงาน ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องให้รว่ มมือกันท�ำงานเป็นทีม สร้างระบบการท�ำงานทีส่ อดคล้อง กับสถานการณ์ความเป็นจริง แก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบ ลดความซ�ำ้ ซ้อนในการ ท�ำงาน แบ่งปันทรัพยากรในการท�ำงาน และมีเป้าหมายร่วมในการท�ำงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัวในชุมชนท้องถิน่ ของตนเอง
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
131
ชุมชนทีพ ่ ร้อมทำ�งานเป็นทีม และโค้ชทีใ่ ช่ หัวใจของการท�ำงานให้สำ� เร็จนัน้ อยูท่ ค่ี น ส�ำคัญว่าเราต้องหาคนๆ นัน้ ให้เจอ เมือ่ ค้นพบว่าในแต่ละต�ำบลมีหลายหน่วยงานทีท่ ำ� งานด้านเด็กปฐมวัย และครอบครัว แต่ตา่ งคนต่างท�ำ ยังไม่มกี ารรวมตัวกันบูรณาการคนและการ ท�ำงานรวมทัง้ งบประมาณต่างๆ ทีซ่ ำ�้ ซ้อนบ้าง เป็นช่องโหว่ชอ่ งว่างอยูบ่ า้ ง จึง จ�ำเป็นต้องต้องท�ำให้ผทู้ เี่ กีย่ วข้องเหล่านีม้ าร่วมมือกันท�ำงานเป็นทีม และจัดการ ปัญหาอย่างเป็นระบบ รวมทัง้ ท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์ทสี่ ามารถส่งผลกระทบต่อ ภาพรวมของประเด็นนีไ้ ด้ จากการท�ำงานร่วมกันในระยะแรกทีแ่ ต่ละองค์กรท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน ผลักดันให้เกิดการศึกษาข้อมูลสถานการณ์ปญ ั หาในต�ำบล เข้าไปปฏิสมั พันธ์กบั คนในหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็น เมือ่ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องได้รบั รูข้ อ้ มูล สถานการณ์ในชุมชน ท�ำให้อยากลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาในชุมชนของตนเอง แต่ดว้ ย การขับเคลือ่ นงานนัน้ ไม่สามารถท�ำได้เพียงล�ำพังองค์กรใดองค์กรหนึง่ เช่นนีแ้ ล้ว จึงเกิดแนวคิดร่วมกันในเรือ่ งการท�ำงานเป็นทีมของชุมชน ทีเ่ รียกกันว่า “ทีมกลไก ท้องถิน่ ระดับต�ำบล” โดยทัง้ 5 ต�ำบลเห็นความส�ำคัญและพร้อมจะริเริม่ สร้างสรรค์การท�ำงานในรูปแบบใหม่นี้ การรวมตัวของคนทีต่ า่ งหน่วยงาน ต่างภารกิจ นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย แล้ว ยิง่ ต้องมาร่วมมือกันท�ำงานเป็นทีมยิง่ มีความยากขึน้ ไปอีก เพราะโดยทัว่ ไปแล้ว หากมีการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานก็เป็นเพียงการรวบรวมรายชือ่ หน่วยงาน การช่วยเหลือแบ่งปันข้อมูลกันบางส่วน หรือเป็นเพียงการติดต่อประสานงานกัน เพือ่ ท�ำงานในโครงการตามภารกิจขององค์กรตนเอง แต่ละคนต่างก็มหี น้างาน ของตัวเอง ไม่มที มี ท�ำงาน ยิง่ เป็นทีมระหว่างหน่วยงานยิง่ ไม่เคยมีมาก่อน
132
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การสร้างทีมของชุมชนทีส่ ามารถท�ำงานเป็นทีม มีเป้าหมายและการขับ เคลือ่ นงานในประเด็นทีเ่ ป็นภารกิจอยูแ่ ล้ว แต่เป็นการขับเคลือ่ นอย่างมีทศิ ทาง ร่วมกัน มีเป้าหมายร่วมกัน จึงถือเป็นสิง่ ใหม่ และต้องมีคนทีจ่ ะเข้ามาเชือ่ มโยง ผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้ามาสร้างทีมและท�ำงานเป็นทีม ต้องสร้างกระบวนการทีท่ ำ� ให้เกิด การมีเป้าหมายร่วมและขับเคลือ่ นการท�ำงานไปในทิศทางเดียวกัน จึงน�ำไปสู่ แนวคิดเรือ่ งของการมี “โค้ช” ทีจ่ ะเข้ามาช่วยท�ำให้สงิ่ เหล่านีเ้ ป็นจริงขึน้ มาได้ องค์กรเอดส์เน็ทยังคงท�ำหน้าทีเ่ ป็นองค์กรหลักในการขับเคลือ่ นการ ท�ำงานอย่างต่อเนือ่ งในโครงการ “พัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนเพือ่ สนับสนุนสุข ภาวะเด็กปฐมวัยและครอบครัว” ร่วมมือกับเครือข่ายเป็น 5 องค์กรทีจ่ ะลุกขึน้ มาท�ำหน้าที่ “โค้ช” เพือ่ สร้างทีมท�ำงานของชุมชนในระดับต�ำบล โดยคัดเลือกผู้ ทีจ่ ะมาเป็นโค้ชจากคนท�ำงานภาคประชาสังคมทีพ่ ร้อมจะเข้ามาพัฒนาศักยภาพ ด้านการเป็นโค้ชในการสร้างความเป็นทีมให้กบั ชุมชน คุณสมบัตขิ องผูท้ จี่ ะมา เป็นโค้ชนัน้ ดูจากต้นทุน ดังนี้ • มีประสบการณ์ดา้ นการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและ ชุมชนให้เกิดความร่วมมือท�ำงานร่วมกัน • มีประสบการณ์ทำ� งานในประเด็นเด็ก เยาวชน และครอบครัวในระดับ ชุมชน • เป็นบุคคลทีม่ ใี จอยากจะสร้างการมีสว่ นร่วมและผลักดันให้เกิดการ ท�ำงานในระดับหน่วยงานท้องถิน่ ได้ • มีความรับผิดชอบในการท�ำงานอย่างต่อเนือ่ ง ให้เวลากับพืน้ ทีท่ ำ� งาน ตลอดระยะเวลาของโครงการอย่างน้อย 1 ปี
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
133
นอกจากคุณสมบัตเิ หล่านีแ้ ล้ว ส่วนหนึง่ เป็นเรือ่ งของความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรทัง้ 5 แห่ง ทีม่ กี ารท�ำงานร่วมมือกันเป็นเครือข่ายมาอย่างต่อเนือ่ ง ต่างก็รจู้ กั คุน้ เคยกันเป็นอย่างดี ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันของทีมท�ำงานระดับ เครือข่ายเช่นนี้ ถือเป็นตัวอย่างทีด่ ใี นการสร้างทีมของชุมชนระดับต�ำบล เพราะ มีสงิ่ ทีเ่ หมือนกันคือเป็นทีมท�ำงานทีม่ าจากหลากหลายองค์กร ทัง้ 5 องค์กรมีผทู้ จี่ ะมาท�ำหน้าทีโ่ ค้ชให้แต่ละชุมชน มีการแบ่งบทบาท หน้าทีก่ ารท�ำงานเป็น “ทีมโค้ช” ทีท่ ำ� งานควบคูไ่ ปกับแต่ละพืน้ ที่ ดังนี้ 1. มูลนิธไิ ทยอาทร จ.ขอนแก่น ท�ำงานกับพืน้ ที่ ต�ำบลนาหนองทุม่ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น ทีมโค้ช คือ จิราภรณ์ จงสถิตรักษ์ และ ณัฏฐ์ นงภา 2. เครือข่ายเด็กและเยาวชน จ.มหาสารคาม ท�ำงานกับพืน้ ที่ ต�ำบล พระธาตุ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม ทีมโค้ช คือ เสาศิลป์ เพ็งสุวรรณ และ อิฐธิชยั ก๊กศรี 3. โครงการสนับสนุนการพัฒนาท้องถิน่ จ.ชัยภูมิ (LDP) ท�ำงานกับ พืน้ ที่ ต�ำบลกะฮาด อ.เนินสง่า จ.ชัยภูมิ ทีมโค้ช คือ เมธาวี นินนานนท์ และ มนัส ปลีกชัยภูมิ 4. ชมรมต้นกล้า เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ เด็ก เยาวชน และครอบครัว จ.มุกดาหาร ท�ำงานกับพืน้ ที่ ต�ำบลดงเย็น อ.เมือง จ.มุกดาหาร ทีมโค้ช คือ ราตรี จูมวันทา และอาทิตย์ โพธิไ์ ทร (ต่อมาเปลีย่ นตัวเป็น พรรณงาม หวายเค) 5. มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพ (ส�ำนักงานภาคอีสาน) ท�ำงานกับ พืน้ ที่ ต�ำบลบึงเนียม อ.เมือง จ.ขอนแก่น ทีมโค้ช คือ ศิรพิ งษ์ สังข์ขาว และ ศักดิช์ ยั ไชยเนตร โดยมี ทิพวัลย์ โมกภา ผูจ้ ดั การมูลนิธแิ ละหัวหน้าโครงการ ท�ำหน้าที่ บริหารโครงการ ดูภาพรวมของโครงการและหนุนเสริมการท�ำงานของแต่ละพืน้ ที่
134
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
องค์ประกอบของคนทำ�งานทีร่ อบด้าน การขับเคลือ่ นงานใดๆ ก็ตาม ต้องมีทงั้ ทุนคนท�ำงานทีม่ ใี จ มีทกั ษะ และมีทนุ ทีเ่ ป็นงบประมาณมาสนับสนุนกัน องค์ประกอบของคนทีจ่ ะมาร่วมมือ กันขับเคลือ่ นงานนีเ้ ป็นการเชิญชวนคนเข้ามามีบทบาทเพือ่ สนับสนุนส่งเสริมกัน และกัน ได้แก่ 1. มีแหล่งทุนทีใ่ ห้การสนับสนุนงบประมาณ คือ ส�ำนัก 4 - ส�ำนัก สนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการขับเคลือ่ นชุมชนตามแนวทาง การโค้ชเพื่อพัฒนาทีมชุมชนให้สามารถท�ำงานประเด็นเด็กปฐมวัยและ ครอบครัวในชุมชนได้ เข้าใจแนวคิดการท�ำงานกับชุมชน รูป้ ญ ั หาอุปสรรคที่ แต่ละฝ่ายต้องฟันฝ่า เข้าใจกระบวนการพัฒนาคนเพือ่ พัฒนางาน อีกทัง้ ยังให้ ค�ำปรึกษา เชือ่ มโยงภาพของการท�ำงาน แบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ การท�ำ กิจกรรม ขององค์กรอืน่ ๆ ทีข่ บั เคลือ่ นในประเด็นเดียวกัน 2. มีองค์กรหลักทีร่ บั ผิดชอบโครงการ คือ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่าย เอดส์ (ส�ำนักงานภาคอีสาน) ทีม่ แี นวคิดการพัฒนาคน พัฒนางานในรูปแบบ ของเครือข่ายและการท�ำงานเป็นทีม มีบทบาทในการบริหารจัดการโครงการ ดูทศิ ทางการท�ำงานให้ไปสูเ่ ป้าหมาย สนับสนุน ประสานงาน เชือ่ มโยงคนท�ำงาน ทัง้ จากหน่วยงาน องค์กร และบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถเข้ามาช่วยกัน 3. มีเครือข่ายองค์กรทีร่ ว่ มปฏิบตั งิ าน เครือข่ายทัง้ 5 องค์กร รวมทัง้ มูลนิธพิ ฒ ั นาเครือข่ายสุขภาพด้วย ทีจ่ บั มือกันเป็นทีมทีพ่ ร้อมจะเรียนรูเ้ รือ่ งของ การเป็นโค้ช และใช้ทกั ษะโค้ชในการท�ำให้เกิดทีมของชุมชนทีจ่ ะท�ำงานใน ประเด็นนี้ 4. มีคนในหน่วยงานต่างๆ ของแต่ละต�ำบลทีก่ ล้าลงมือท�ำ เป็นคนที่ ลุกขึน้ มาจัดการกับปัญหาในชุมชนเอง เริม่ ต้นจากตนเองและชักชวนคนจาก
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
135
หน่วยงานต่างๆ ระดับต�ำบล เข้ามาร่วมมือกันท�ำงาน ทัง้ 5 ต�ำบลมีคนทีม่ ใี จที่ จะลุกขึน้ มาท�ำงานเพือ่ ส่วนร่วม 5. มีทมี ผูเ้ ชีย่ วชาญทีใ่ ห้คำ� ปรึกษาอย่างใส่ใจ ในการท�ำงานถึงแม้เรา จะมีความรู้ มีประสบการณ์การท�ำงานอยูแ่ ล้ว แต่เมือ่ เราต้องท�ำงานในประเด็น ทีต่ า่ งจากทีเ่ คยท�ำ รูปแบบการท�ำงานทีแ่ ตกต่างออกไป รวมไปถึงเราเองก็อยาก จะสร้างความแตกต่าง และต้องเจอกับปัญหาใหม่ๆ ความท้าทายใหม่ๆ ความรูท้ ี่ เราอาจจะมีไม่พอท�ำให้การท�ำงานของเราไม่รอบด้าน หรือท�ำให้เราต้องใช้เวลา นานในการศึกษาเรือ่ งนัน้ ๆ การมีทปี่ รึกษาดีๆ ทีเ่ ป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านต่างๆ สามารถตอบโจทย์ในเรือ่ งทีเ่ ราไม่รไู้ ม่เข้าใจได้เป็นอย่างดีเลยทีเดียว ส�ำหรับโครงการนีม้ ผี เู้ ชีย่ วชาญทีใ่ ส่ใจให้คำ� ปรึกษา ค�ำแนะน�ำ มาตลอด คือ ดร.พูลสุข ศิรพิ ลู ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเด็กปฐมวัย จากศูนย์ความเป็นเลิศการ พัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฐาณิชชา ลิม้ พานิช ผูจ้ ดั การมูลนิธเิ ครือข่ายครอบครัว จิตติมา ภาณุเตชะ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านการบริหารโครงการและการจัดกิจกรรมเกีย่ วกับสุขภาวะทางเพศและการ ท�ำงานชุมชน 6. มีทมี ประเมินผลภายใน และทีมถอดบทเรียนทีม่ ปี ระสบการณ์ และมีทกั ษะด้านการพัฒนาศักยภาพ ทีม่ บี ทบาทในการถอดบทเรียน ประเมิน สถานการณ์ไปควบคูก่ บั การท�ำงานของโครงการ การประเมินผลและถอดบทเรียน เป็นระยะจะช่วยให้ทกุ ทีมสามารถปรับการท�ำงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความเป็นจริง พัฒนาความรูแ้ ละเสริมศักยภาพเพือ่ ช่วยให้ความสามารถของคน ท�ำงานมีมากขึน้
136
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เตรียมโค้ชให้พร้อมก่อนการโค้ช การเตรียมตัวของโค้ชให้พร้อมก็เหมือนกับค�ำกล่าวทีว่ า่ “ก่อนโค้ชผูอ้ นื่ ให้เราโค้ชตัวเองเสียก่อน” เพราะผูท้ เี่ ป็นโค้ชต้องพัฒนาฝึกฝนตนเองอยูเ่ สมอ การเป็นโค้ชนัน้ เป็นสภาวะภายในทีต่ อ้ งเห็นตัวเองและเห็นคนอืน่ บุคลิก ตัวตน คุณลักษณะของโค้ชทีเ่ ป็นมิตร มีความปรารถนาทีอ่ ยากจะช่วยเหลือให้ผอู้ นื่ ประสบความส�ำเร็จอย่างแท้จริง ในการอบรมพัฒนาศักยภาพโค้ช ได้มกี ระบวนการเพือ่ ให้โค้ชเข้าใจ แนวคิด นิยามความหมายและความเป็นโค้ช พร้อมกับฝึกทักษะความเป็นโค้ช ผ่านกระบวนการอบรม เช่น การสร้างแรงบันดาลใจและสร้างความเข้าใจบาง เรือ่ งผ่านการชมภาพยนตร์ การฝึกทักษะการฟัง การครุน่ คิดใคร่ครวญ การตัง้ ค�ำถามให้โค้ชค้นหาค�ำตอบด้วยตัวเอง การให้เครือ่ งมือทีเ่ ป็นแนวทางการโค้ช การถอดบทเรียน การวิเคราะห์ตน้ ทุน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ภายในทีม เป็นต้น
สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ผ่านกระบวนการพัฒนาศักยภาพโค้ช
โค้ชรูว้ า่ ตัวเองเป็นใคร นิยามร่วมของโค้ช
การนิยามตนเองว่า “ฉันเป็นใคร” นัน้ มีความส�ำคัญมากในการก�ำหนด บทบาทหน้าที่ เพราะเมือ่ เราบอกว่าเราจะเป็นสิง่ นัน้ เราก็จะพยายามเพือ่ ให้เรา ได้เป็นสิง่ นัน้ จริงๆ เป็นการตัง้ เป้าหมายหรือความปรารถนาของคนท�ำงานที่ อยากจะท�ำให้ได้ ในโครงการนี้ “โค้ช” (Coach) ได้ให้นยิ ามตัวเองว่า
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
137
โค้ชคือ ผูร้ แู้ นวทาง ทิศทาง มีความรู้ ข้อมูลและประสบการณ์ สามารถถ่ายทอดได้ ช่วยวางแผน ชีแ้ นะแนวทาง ให้คำ� แนะน�ำ ค�ำปรึกษา กระตุน้ ความคิด สร้างแรงบันดาลใจ ให้กำ� ลังใจ อยูเ่ คียงข้างเมือ่ มีปญ ั หา สร้างความมัน่ ใจ เสริมพลัง ให้กบั คนในทีมได้ ดึงศักยภาพทีอ่ ยูภ่ ายในของผูร้ บั การโค้ชออกมา ได้ ช่วยให้คนในทีมค้นหาศักยภาพของตนเองได้เจอ เพือ่ น�ำพาทีมให้ไปถึงเป้าหมายการท�ำงานทีว่ างไว้ได้ (นิยามรวม ของทีมโค้ช 5 ต�ำบล) นิยามดังกล่าว บอกทัง้ คุณสมบัตแิ ละบทบาทหน้าทีข่ องโค้ช สิง่ ทีโ่ ค้ช ต้องท�ำ และเป้าหมายของโค้ชไว้คอ่ นข้างละเอียด ตามความเข้าใจของโค้ชแต่ละคน จากนัน้ จึงได้มกี ารให้นยิ ามร่วมกันอีกครัง้ ว่า โค้ช (Coach) คือ ผูท้ มี่ คี วามสามารถในการพัฒนาตนเอง และมองเห็นศักยภาพของผูร้ บั การโค้ช (Coachee) อยากจะ ท�ำหน้าทีด่ แู ลให้ผอู้ นื่ เจริญงอกงาม พัฒนาและดึงศักยภาพ ของผู้รับการโค้ชให้เขาไปสู่เป้าหมายที่ปรารถนาได้ และ เป็นการเจริญงอกงามไปด้วยกัน นอกจากนี้ ยังมีนยิ ามส�ำหรับการติดตามประเมินผลภายในโครงการนี้ ทีเ่ ป็นตัวชีว้ ดั อย่างเป็นรูปธรรมว่า ในโครงการนีห้ ากกล่าวค�ำว่า “ทีมโค้ช” จะ หมายถึงใครและมีบทบาทอย่างไร
138
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทีมโค้ช คือ ผูร้ บั ผิดชอบประสานงานหลักของพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ การทัง้ 5 ต�ำบล ทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับพัฒนาการ เด็กปฐมวัย สิทธิเด็ก และแนวทางการท�ำงานกับเด็กปฐมวัย และครอบครั ว ในชุ ม ชน สามารถสื่ อ สารแนวคิ ด และ ประสบการณ์ทำ� งาน ให้คำ� แนะน�ำ ค�ำปรึกษา กระตุน้ ความ คิด หนุนเสริมให้ทมี กลไกท้องถิน่ (ทีมชุมชน) ท�ำงานแบบ บู ร ณาการ ท� ำ งานเป็ น ที ม มี กิ จ กรรมที่ เ หมาะสมกับ สภาพปัญหาของเด็กและครอบครัวตามบริบทของชุมชน (นิยามตามตัวชีว้ ดั โครงการ)
โค้ชรูค้ ณ ุ ลักษณะของตัวเอง
ตัวตนของเราแต่ละคนนัน้ ส�ำคัญ เพราะมันสะท้อนถึงคุณค่า สิง่ ทีเ่ รา ยึดถือเป็นแก่นของชีวติ ถ้าเราเป็นคนชอบช่วยเหลือคนอืน่ เป็นคนใจกว้าง เป็น คนไม่ยอมแพ้ตอ่ อุปสรรค ทนไม่ได้กบั ความอยุตธิ รรม ความรุนแรง ความไม่ เท่าเทียม ตัวอย่างเหล่านีส้ ะท้อนว่า “ฉันเป็นคนแบบไหน” หากเราได้ทำ� งานทีส่ ะท้อนถึงตัวตนของเรา (Being) เราก็จะสามารถ ท�ำได้ดี มีความสุขกับการท�ำงาน แม้งานจะยากแค่ไหนก็ตาม การทีเ่ ราต้องรูถ้ งึ คุณลักษณะของโค้ช ก็เพือ่ ให้รวู้ า่ ลึกๆ แล้วสิง่ ทีเ่ ราจะ ท�ำนัน้ เป็นตัวเราหรือไม่ หรือหากเป็นส่วนหนึง่ ของตัวเรา เราจะได้เรียนรู้ คุณลักษณะ ทีค่ วรเป็น เพือ่ หล่อหลอมตัวเราให้มคี ณ ุ ลักษณะทีเ่ หมาะสมต่อการเป็นสิง่ นัน้ ชือ่ เรียกหรือการแต่งตัง้ มอบหมายงานนัน้ ไม่สำ� คัญเท่ากับสิง่ ทีเ่ ราเป็น และสิง่ ทีเ่ ราอยากจะพัฒนาเพือ่ จะเป็น
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
139
ในการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ว่ มกันของทีมโค้ช ได้สรุปถึงคุณลักษณะของ โค้ชไว้วา่ โค้ชเป็นผูท้ อี่ ยากช่วยเหลือและสนับสนุนการท�ำงานของทีม ชุมชน (ทีมกลไกท้องถิน่ ) ให้ทกุ คนร่วมมือกันท�ำงาน อยาก ช่วยให้ทีมชุมชนลุกขึ้นมาแก้ปัญหาในชุมชนของตนเองได้ ส�ำเร็จ และอยากให้ทมี ชุมชนมีความรู้ มีทกั ษะทีจ่ ะน�ำไปใช้ใน การแก้ปญ ั หาในชุมชนได้
โค้ชรูว้ า่ “การโค้ช” คืออะไร
หากเรารูว้ า่ สิง่ ทีเ่ ราก�ำลังจะท�ำคืออะไร ก็จะช่วยให้เราก�ำหนดบทบาท ตนเอง วางแผนการท�ำงานของตนเองได้ชดั เจนขึน้ ความหมายของ “การโค้ช” (Coaching) ในการแลกเปลีย่ นกันได้ขอ้ สรุปว่า การโค้ช คือ การให้คำ� แนะน�ำ ค�ำปรึกษา ชีแ้ นะแนวทาง กระตุ้นความคิด ให้ก�ำลังใจ หนุนเสริม ดึงศักยภาพที่อยู่ ภายในของผูร้ บั การโค้ชออกมา เพือ่ น�ำพาทีมให้ไปถึงเป้าหมาย การท�ำงานได้
140
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
โค้ชรูบ้ ทบาทหน้าทีข่ องตนเอง
ในการท�ำงานครัง้ นีบ้ ทบาทหน้าทีข่ องโค้ชกับการท�ำให้ชมุ ชนเกิดความ พร้อมทีจ่ ะสร้างทีมและท�ำงานเป็นทีมเพือ่ ท�ำงานในประเด็นทีอ่ ยากแก้ปญ ั หานัน้ โค้ชต้องท�ำหน้าทีห่ ลายอย่าง เนือ่ งจากมีความเป็นโครงการทีต่ อ้ งขับเคลือ่ นงาน ตามเป้าหมายและระยะเวลาทีอ่ งค์กรและแหล่งทุนสนับสนุนได้กำ� หนดเอาไว้ บทบาทหน้าทีข่ องโค้ชจึงต้องท�ำหลักๆ จึงมีทงั้ การบริหารจัดการโครงการทีท่ ำ� กับแต่ละพืน้ ที่ การเป็นผูป้ ระสานงาน การเป็นโค้ช และการท�ำกระบวนการ (Facilitator) โดยสรุปให้เห็นแต่ละบทบาททีม่ คี วามเหมือนและความแตกต่าง จังหวะในการใช้งานแต่ละบทบาทให้ได้อย่างเหมาะสม ดังนี้ บทบาทของ ผู้ประสานงาน
บทบาทของโค้ช
บทบาทของผู้เอื้อ อำ�นวยการสนทนา (Facilitator) • ใช้ในการประสาน • น�ำมาใช้ในการดูแลช่วย • น�ำไปใช้ในการจัด ความร่วมมือระหว่าง เหลือให้ผอู้ นื่ พัฒนาความ วงสนทนา ผูท้ เี่ กีย่ วข้องในการ สามารถ ดึงศักยภาพและ จัดกระบวนการประชุม ท�ำงาน เพือ่ ให้การ กระตุน้ ให้ทำ� ตามเป้าหมาย จัดกระบวนการเรียนรู้ ด�ำเนินงานราบรืน่ ทีต่ งั้ ไว้ได้ จัดกระบวนการ สอดคล้องกับ ถอดบทเรียน วัตถุประสงค์และ เป้าหมายของการ ท�ำงาน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
บทบาทของ ผู้ประสานงาน
บทบาทของโค้ช
• สร้างสัมพันธภาพ • สร้างความไว้วางใจ ที่ดีในการทำ�งาน ร่วมกัน สร้างความ เข้าใจ การตกลงร่วม กันในเรื่องต่างๆ • สื่อสารให้เกิด ความเข้าใจตรงกัน และร่วมมือกันใน การปฏิบัติงาน และ การจัดกิจกรรมต่างๆ • จัดสรรทรัพยากร ที่จะสนับสนุนการ ทำ�งาน ทำ�หน้าที่ ด้านการจัดการต่างๆ
141
บทบาทของผู้เอื้อ อำ�นวยการสนทนา (Facilitator)
• สร้างบรรยากาศของ
(trust) การยอมรับ สร้างสัมพันธภาพที่ดี เพื่อ ให้สามารถสนับสนุนผู้รับ การโค้ชได้ • รับฟังและทำ�ความเข้าใจ ผู้รับการโค้ชว่าเขามี เป้าหมายอะไร ต้องการ ทำ�อะไรได้สำ�เร็จ
วงสนทนาให้เป็นพื้นที่ ปลอดภัย
• กระตุ้นด้วยคำ�ถามให้
• กระตุ้นให้ผู้ร่วมวง
ครุ่นคิด ใคร่ครวญ เกิด การเรียนรู้และค้นพบ ศักยภาพภายในตน
• กระตุ้นให้มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
สนทนาแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ความ รูส้ กึ สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ และรับฟังกันอย่าง ตั้งใจ ไม่ตัดสิน ให้พื้นที่กันและกัน • กระตุ้นความคิดของ • กระตุ้นให้คิดและ ผู้รับการโค้ช ด้วยคำ�ถาม ตั้งคำ�ถาม ด้วยข้อมูลความรู้
142
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
บทบาทของ ผู้ประสานงาน
บทบาทของโค้ช
• ประสานงานตาม • สังเกตท่าทีของผู้รับการ วัตถุประสงค์ของงาน เช่น เพื่อให้ทราบ ข้อมูลตรงกัน เพื่อ รักษาความสัมพันธ์ ที่ดี เพื่อให้ความ ร่วมมือ เพื่อให้การ ช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้ เกิดความเข้าใจคลาด เคลื่อนขัดแย้งกัน
โค้ช ให้ความรู้สึกสบายใจ ปลอดภัย เมื่อสนทนากัน ไม่ตัดสิน ไม่ถามครั้งเดียว ไม่ถามชี้นำ�
• ใช้การฟังอย่างลึกซึ้ง
บทบาทของผู้เอื้อ อำ�นวยการสนทนา (Facilitator) • ดูแล สังเกต กระบวนการสนทนา ในกลุ่มให้เกิดความ ทั่วถึง เท่าเทียม อย่างเคารพและให้ เกียรติกัน สังเกต ปฏิกิริยา ท่าทีของ คนในวง
• ใช้การฟังอย่าง
ได้ยินสิ่งที่ผู้รับการโค้ชไม่ ลึกซึ้ง ได้ยินสิ่งที่ ได้พูดออกมา คนในวงสนทนา ต้องการสื่อสารแม้ไม่ ได้พูดออกมา • สรุปประเด็นในการ • จับประเด็น สรุป สนทนากับผู้รับการโค้ช ประเด็น ให้เนื้อหา ให้ถูกต้องตรงกัน ตั้งข้อ สาระถูกต้อง กระชับ สังเกต เพิ่มมุมมองเพื่อให้ ไม่ด่วนสรุป ผู้รับการโค้ชเห็นมุมมอง ความคิดที่จะนำ�ไปพัฒนา ต่อได้ • สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้อยากทำ�ตาม เป้าหมายให้สำ�เร็จ
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
143
โค้ชมีตน้ ทุนทักษะความสามารถ กระบวนการหนึง่ ในการโค้ชคือให้โค้ชชีค่ น้ หาศักยภาพของตนเอง เพือ่ ให้รวู้ า่ ตนมีศกั ยภาพอย่างไร และจะดึงมาใช้ได้อย่างไร เช่นเดียวกันกับโค้ชทีต่ อ้ ง ทบทวนต้นทุนศักยภาพของตนเองเพือ่ น�ำมาใช้และเห็นว่าตนเองยังต้องการ เรียนรูเ้ พิม่ เติมในเรือ่ งใดบ้าง สิง่ ทีท่ บทวนจึงมีทงั้ ทีเ่ ป็นทักษะความสามารถและ ความรูท้ เี่ กีย่ วข้องกับประเด็นทีจ่ ะท�ำงาน
ในการทบทวนต้นทุนของโค้ชทัง้ 5 องค์กร พบว่า
ทักษะการโค้ช ทุกคนมองเห็นว่าตนเองมีสามารถในระดับปานกลาง จนถึงขัน้ ท�ำได้ดี ทัง้ ทักษะการฟัง การตัง้ ค�ำถาม ชวนคิดชวนคุย การจับประเด็น การเสริมพลัง ด้านความสามารถต่างๆ อยูใ่ นระดับปานกลางและบางอย่างท�ำได้ดี เช่น การน�ำการประชุม การประสานงาน จัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม การให้คำ� ปรึกษา การท�ำ Case conference การพูดสือ่ สารให้เข้าใจ รวมไปถึง การบริหารโครงการ และการเขียนรายงาน ด้านความรูท้ ที่ กุ คนมีอยูใ่ นระดับดีมากเนือ่ งจากมีประสบการณ์ทำ� งาน ด้านนีม้ ายาวนาน คือ ความรูเ้ กีย่ วกับสุขภาวะทางเพศ เช่น ความรูเ้ รือ่ งเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ท้องในวัยรุน่ บางทีมมีความรูร้ ะดับปานกลางในเรือ่ งของการป้องกันความรุนแรงใน ครอบครัว การป้องกันการค้ามนุษย์ การป้องกันการใช้สารเสพติด ความรู้ที่แต่ละคนมีมากบ้างน้อยบ้างก็คือ ความรู้เรื่องสิทธิเด็ก พัฒนาการเด็ก พรบ.ทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กและประเด็นเกีย่ วกับเด็กปฐมวัยและ ครอบครัว
144
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ข้อดีของการมีโค้ชทีเ่ ป็นนักพัฒนา หรือคนท�ำงานทางสังคม ก็คอื โค้ชเป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ในการขับเคลือ่ นงานประเด็นต่างๆ การโค้ชจะเป็น เหมือนการถ่ายทอดการท�ำงานของโค้ชให้กบั ทีมชุมชน โค้ชเป็นต้นแบบและ สร้างแรงบันดาลใจให้กบั ทีมได้ ให้เครือ่ งมือและกระบวนการในการท�ำงานได้ ข้อควรระวังก็คอื โค้ชต้องไม่ทำ� แทน ไม่เป็นผูล้ งมือท�ำการเปลีย่ นแปลง เสียเอง แต่ตอ้ งมีบทบาทในการพัฒนาทีมให้เป็นคนท�ำงานเพือ่ การเปลีย่ นแปลง ได้ดว้ ยตัวเอง
เข้าใจระบบความสัมพันธ์เพือ่ เชือ่ มโยงคนในทีม
ความสัมพันธ์ทด่ี นี นั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของความจริงใจ ความเท่าเทียม การ ให้เกียรติ ใส่ใจ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน ท�ำให้เกิดการยอมรับและไว้วางใจต่อกัน เป็นเรือ่ งส�ำคัญมากส�ำหรับการโค้ชและการท�ำงานเป็นทีม การสร้างความ สัมพันธ์และการรักษาความสัมพันธ์เป็นเรือ่ งทีโ่ ค้ชต้องใส่ใจเป็นอย่างมาก ก่อนจะรวมคนเข้ามาในทีมนัน้ โค้ชควรวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทเี่ ชือ่ ม โยงคนเหล่านีเ้ ข้ามาด้วยกัน โดยต้องการมองเห็นคนทัง้ ระบบของชุมชน และ วิเคราะห์องค์ประกอบทีเ่ กีย่ วข้องกับคนทีเ่ ราอยากให้เข้ามาท�ำงานด้วย หากเงือ่ นไขในการสร้างทีมของเราคือการเชือ่ มโยงคนทีเ่ กีย่ วข้องให้เข้า มาท�ำงานเป็นทีมเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัว เราจะเชือ่ มคนอย่างไร เพราะ บางครัง้ แม้มบี ทบาทหน้าทีโ่ ดยตรงแต่หากเขาไม่มใี จทีจ่ ะเข้ามาร่วมท�ำงานเป็นทีม เราจะท�ำอย่างไรให้เขาอยากเข้ามาในทีม หรือควรสร้างความสัมพันธ์แบบไหน เพือ่ ให้เขาเป็นส่วนหนึง่ ของทีม หากเขาไม่เข้ามาอยูใ่ นทีมด้วยเราจะรักษาระยะ ของความสัมพันธ์อย่างไรจึงจะท�ำให้การท�ำงานของทีมชุมชนราบรืน่ และบางครัง้ โค้ชอาจจะต้องดูวา่ ก�ำลังพาตัวเองไปอยูใ่ นความสัมพันธ์แบบไหนของคนใน ชุมชน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
145
ตัวอย่างการโยงเส้นความสัมพันธ์
สมคิด
สมศรี
สมศักดิ์
สมหมาย สมใจ
เส้นประ หมายถึง ความสัมพันธ์ยงั ไม่แน่นแฟ้น เส้นทึบ หมายถึง ความสัมพันธ์แน่นแฟ้น
สิง่ ส�ำคัญในการสร้างทีมก็คอื ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ในตอนเริม่ ต้น นัน้ ต้องวิเคราะห์วา่ ความสัมพันธ์ระหว่างโค้ชกับคนทีจ่ ะเข้ามาท�ำงานเป็นทีม ชุมชนนัน้ เป็นอย่างไร โค้ชมีความสัมพันธ์ในระดับทีไ่ ว้วางใจกันกับใครบ้างในทีม แล้วคนเหล่านัน้ สามารถชักชวนใครเข้ามาได้อกี หรือยังมีใครอีกบ้างทีเ่ ป็นผูเ้ ล่น ส�ำคัญของทีมเช่นกันแต่ยงั ไม่ได้เข้ามาร่วมทีม จะมีใครเข้าไปชักชวนให้คน เหล่านัน้ เข้ามาร่วมทีมได้
146
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การท�ำแผนทีค่ วามสัมพันธ์นนั้ เป็นเครือ่ งมือหนึง่ ของการคิดกระบวน ระบบ (Systems thinking) และการสร้างเครือข่าย (Networking) การมองเห็น ความเชือ่ มโยงของคนในทีม ในชุมชน จะท�ำให้โค้ชรูว้ า่ เราจะท�ำให้เส้นความ สัมพันธ์ระหว่างแต่ละคนนัน้ ดีขนึ้ อย่างไร หรือแม้กระทัง่ ความสัมพันธ์ของโค้ช เองทีใ่ นตอนเริม่ ต้นโค้ชอาจจะรูจ้ กั บางคนแต่ยงั ไม่คอ่ ยรูจ้ กั บางคนมากนัก หาก มองเห็นว่าเส้นความสัมพันธ์นนั้ บางเบาโค้ชก็จะได้ปรับความสัมพันธ์นนั้ ให้เป็น แน่นแฟ้นยิง่ ขึน้ ได้ แผนทีค่ วามสัมพันธ์นนั้ มีความส�ำคัญมากในการสร้างทีมและเครือข่าย เกีย่ วข้องกับการดูแลความสัมพันธ์ระหว่างกันในทีมโดยตรง หากในทีมมีความ สัมพันธ์ทห่ี า่ งเหินกัน รูจ้ กั กันเพียงผิวเผิน ร่วมมือบ้างเป็นบางครัง้ การท�ำงาน ให้สำ� เร็จตามเป้าหมายก็จะยิง่ ยาก แต่หากคนในทีมมีความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน เป็นทีมหรือเป็นเครือข่ายทีแ่ น่นแฟ้น และรักษาความสัมพันธ์นนั้ ไว้ได้ดตี ลอด ก็ สามารถท�ำให้เกิดการท�ำงานเป็นทีมทีม่ คี วามร่วมไม้รว่ มมือสามัคคีกนั เพือ่ ท�ำงานไปสูเ่ ป้าหมายทีว่ างไว้รว่ มกันได้ ทัง้ นี้ ทีมโค้ชได้มกี ารท�ำแผนทีค่ วามสัมพันธ์ ลากเส้นความสัมพันธ์ ระหว่างผูท้ มี่ บี ทบาทในชุมชน ทีมของชุมชน และความสัมพันธ์ของโค้ชกับคนใน ทีมของชุมชนแต่ละคน ท�ำให้มองเห็นว่า ใครเป็นผูท้ ชี่ ว่ ยประสานความร่วมมือ กับคนต่างๆ ได้ดี ใครสามารถเชือ่ มโยงถึงใครได้บา้ ง เพราะอะไร มีใครบ้างทีย่ งั ไม่ได้เชือ่ มโยงเข้ามา ซึง่ น�ำไปสูก่ ารวางแผนการท�ำงานของโค้ชได้วา่ จะเชือ่ มโยง ให้ทมี ท�ำงานของชุมชนนัน้ เข้ามาร่วมมือกันเป็นทีมได้อย่างไร
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
147
เข้าใจเชิงระบบและวิเคราะห์ปญ ั หาได้
หากเราไม่เข้าใจปัญหาก็ไม่สามารถวิเคราะห์ปญ ั หาได้ โดยเฉพาะปัญหา ทางสังคมทีม่ คี วามซับซ้อนและสัมพันธ์กบั บริบทสภาพแวดล้อมทีร่ อบตัวปัญหา นัน้ หลายอย่าง ทัง้ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างทีท่ บั ซ้อนกันอยูห่ ลายโครงสร้าง ทัง้ โครงสร้างด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และมีหลายระดับ ทัง้ ระดับครัวเรือน ระดับชุมชน ระดับนโยบายทัง้ นโยบายท้องถิน่ ไปจนถึงนโยบายระดับชาติ เกีย่ ว พันกันปัญหาอืน่ ๆ ทัง้ ปัญหาความยากจน ปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ ฯลฯ การพัฒนาศักยภาพของโค้ช จึงได้เสนอแนวทางการวิเคราะห์ปญ ั หา โดยใช้การคิดกระบวนระบบ (Systems thinking) ทีม่ กี ารใช้เครือ่ งมือ วิธคี ดิ 4 ระดับ เพือ่ ให้มองทะลุระดับปรากฎการณ์หรือระดับเหตุการณ์ลงไปเห็นถึงทีม่ า ราก เหง้าของปัญหา วิธคี ดิ นีเ้ รียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ภูเขาน�ำ้ แข็ง กล่าวคือ ระดับเหตุการณ์ทเี่ รามองเห็น เปรียบเสมือนยอดของภูเขาน�ำ้ แข็ง เช่น เราเห็นเด็กผอม เด็กอ้วน เด็กเล่นโทรศัพท์มอื ถือ เด็กก้าวร้าว เด็กร้องไห้ เด็กถูกตีบอ่ ยๆ เด็กถูกทิง้ ให้อยูค่ นเดียว หากเราแก้ในระดับนี้ ก็จะเป็นการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น ผอมก็ให้กนิ เพิม่ อ้วนก็ลดอาหารลง เล่นโทรศัพท์กย็ ดึ โทรศัพท์ แต่ปญ ั หาแบบนีจ้ ะไม่หมดไป จะแก้ได้เฉพาะบางคน บางกรณี แต่ไม่ สามารถแก้ปญ ั หาโดยรวมได้ และบางครัง้ ปัญหานัน้ ก็วนกลับมาอีกในกรณีเดิม แต่ถา้ เราอยากให้ปญ ั หาลดน้อยลง เราต้องมองให้เห็นภายใต้เหตุการณ์นนั้ ว่า อะไรท�ำให้เกิดสิง่ นีข้ นึ้ ระดับแบบแผนพฤติกรรม เป็นเรือ่ งของแบบแผนหรือแนวโน้มทีท่ ำ� ให้ เกิดเหตุการณ์ เช่น เหตุการณ์เด็กผอม เกิดจากแบบแผนพฤติกรรมของพ่อแม่ ที่ต้องท�ำงานไม่มีเวลาดูว่าเด็กกินอาหารหรือไม่ แค่น�ำอาหารมาวางให้ เหตุการณ์เด็กเล่นโทรศัพท์มอื ถือ เกิดจากแบบแผนพฤติกรรมว่าเด็กงอแงพ่อแม่
148
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ก็จะเอามือถือให้เล่น ท�ำแบบนีเ้ ป็นประจ�ำจนเด็กติดมือถือถ้าอยากเล่นก็จะงอแง เพือ่ ให้ได้เล่น เป็นต้น ถ้าเข้าใจระดับนีก้ จ็ ะแก้ปญ ั หาแบบดักทางไว้กอ่ นหรือปรับ ตัวตัง้ รับกับสถานการณ์ได้ (Adaptive) ระดับโครงสร้างและระบบ ลึกลงไปจากแบบแผนพฤติกรรมก็คอื โครงสร้างและระบบทีท่ ำ� ให้เกิดปัญหานี้ เช่น โครงสร้างด้านเศรษฐกิจทีท่ ำ� ให้ ครอบครัวยากจน มีรายได้นอ้ ย ส่งผลให้ไม่มเี วลาดูแลเด็ก ท�ำให้เด็กไม่ได้รบั การ ดูแลเอาใจใส่เท่าทีค่ วร โครงสร้างทางค่านิยมการเลีย้ งดูแบบไม่เข้าใจ ไม่มคี วามรู้ หรือมีความรูไ้ ม่พอ ก็สง่ ผลต่อการดูแลเด็กได้ และมีโครงสร้างอีกมากมายที่ เกีย่ วข้อง อย่างเช่นโครงสร้างระบบราชการทีเ่ ด็กเข้าไม่ถงึ สวัสดิการ เป็นต้น หากเราวิเคราะห์แล้วพบโครงสร้างทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหา เราจะคิดวิธจี ดั การกับ ปัญหาแบบสร้างสรรค์สร้างนวัตกรรม (Creative) และแก้ปญ ั หาเชิงป้องกันได้ ระดับความเชือ่ ค่านิยม ทัศนคติ ทีเ่ ป็นโลกทัศน์ทงั้ ของปัจเจกและ ของระดับสังคมส่วนรวม เช่น ความเชือ่ ว่าเด็กอ้วนคือเด็กสมบูรณ์แข็งแรง เชือ่ ว่ารักวัวให้ผกู รักลูกให้ตี ความเชือ่ ว่าเด็กอยูน่ งิ่ ๆ คือเด็กดีเรียบร้อย ค่านิยมให้ เล่นมือถือจะได้เท่าทันเทคโนโลยี เป็นต้น ซึง่ ความเชือ่ และค่านิยมนัน้ ส่งผล ต่อการกระท�ำ การแก้ปญ ั หาหรือสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ถ้าจะท�ำได้ดแี ละยัง่ ยืนก็ ต้องลงไปให้ลกึ ถึงความคิดความเชือ่ ของคน กล่าวคือ ต้องท�ำให้เกิดการคิดใหม่ (Rethink) หากเราคิดได้ทงั้ 4 ระดับ เราก็จะแก้ปญ ั หาแบบยัง่ ยืนหรือสร้างสรรค์ สิง่ ใหม่ทสี่ ร้างขึน้ มาจากรากฐานตัง้ แต่ความคิดความเชือ่ การสร้างโครงสร้าง หรือระบบทีเ่ อือ้ ให้เกิดพฤติกรรมทีส่ ง่ ผลหรือมีแนวโน้มทีจ่ ะท�ำให้เกิดสิง่ ดีๆ เหตุการณ์ดๆี ได้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
149
วิธคี ดิ 4 ระดับ
1 ระดับเหตุการณ
Reactive
2 ระดับแบบแผนพฤติกรรม
Adaptive
3
Creative
ระดับโครงสรางและระบบ
4 ระดับความเชื่อ คานิยม ทัศนคติ
Rethink
เช่นเดียวกับโครงการนีท้ มี่ าจากความคิดความเชือ่ ในคุณค่าความเป็น มนุษย์และศักยภาพในการแก้ปญ ั หาของคนและชุมชน พยายามปรับทีโ่ ครงสร้าง การท�ำงาน สร้างระบบให้เกิดทีมท�ำงานทีม่ ศี กั ยภาพและเห็นความส�ำคัญของ ประเด็นนี้ให้สามารถท�ำงาน ออกแบบวิธีการเพื่อให้จัดการกับปัญหาและ สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ สร้างปรากฎการณ์ใหม่ๆ ได้ เป็นการคิดทัง้ ระบบเพือ่ ให้เกิด ความยัง่ ยืน
150
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ทักษะและกระบวนการในการโค้ช
กล่าวกันว่า การโค้ช (Coaching) ไม่เหมือนการสอน (Teaching) เพราะทักษะการโค้ช โค้ชมีหน้าทีด่ งึ ศักยภาพซึง่ มีอยูแ่ ล้วในตัวโค้ชชีอ่ อกมา กระตุน้ ให้ทำ� ตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ได้ ท�ำให้โค้ชชีส่ ร้างการเปลีย่ นแปลงด้วยตัว ของเขาเอง สิง่ ทีโ่ ค้ชท�ำ คือ
• การสร้างความไว้วางใจ (trust) การยอมรับ สร้างสัมพันธภาพทีด่ ี เพือ่ ให้สามารถสนับสนุนผูร้ บั การโค้ชได้
• การรับฟังและท�ำความเข้าใจผูร้ บั การโค้ชว่าเขามีเป้าหมายอะไร ต้องการท�ำอะไรได้สำ� เร็จ
• ใช้การฟังอย่างลึกซึง้ ได้ยนิ สิง่ ทีผ่ รู้ บั การโค้ชไม่ได้พดู ออกมา • สังเกตท่าทีของผูร้ บั การโค้ช ให้ความรูส้ กึ สบายใจ ปลอดภัย เมือ่ สนทนากัน ไม่ตดั สิน ไม่ถามครัง้ เดียว ไม่ถามชีน้ ำ�
• กระตุน้ ความคิดของผูร้ บั การโค้ช ด้วยค�ำถาม ด้วยข้อมูลความรู้ • กระตุน้ ด้วยค�ำถามให้ครุน่ คิด ใคร่ครวญ เกิดการเรียนรูแ้ ละค้นพบ ศักยภาพภายในตน
• สรุปประเด็นในการสนทนากับผูร้ บั การโค้ชให้ถกู ต้องตรงกัน ตัง้ ข้อ สังเกต เพิม่ มุมมองเพือ่ ให้ผรู้ บั การโค้ชเห็นมุมมองความคิดทีจ่ ะน�ำ ไปพัฒนาต่อได้
• สร้างแรงบันดาลใจ กระตุน้ ให้อยากท�ำตามเป้าหมายให้สำ� เร็จ
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
151
ทักษะทีโ่ ค้ชต้องเรียนรูจ้ งึ มีทงั้ การสร้างความสัมพันธ์ ความไว้วางใจ ทักษะการสนทนาทีส่ ร้างสรรค์และมีพลัง ทักษะการฟัง เข้าใจระดับการฟังและ บันไดแห่งการวินจิ ฉัย ทักษะการตัง้ ค�ำถาม การสือ่ สารสร้างแรงบันดาลใจหรือ สือ่ สารเชิงบวก การสังเกต และการสังเคราะห์ การจับประเด็น สรุปประเด็น การครุน่ คิดใคร่ครวญ สะท้อนความคิด สะท้อนมุมมอง การถอดบทเรียน การ จดบันทึก และความสามารถในการคิดกระบวนระบบ (Systems thinking) เพือ่ ช่วยให้ผรู้ บั การโค้ชมองเห็นภาพรวมของปัญหาและสามารถค้นหาจุดคานงัดที่ จะจัดการกับปัญหาได้ การฝึกฝนทักษะและกระบวนการต่างๆ ของโค้ชนัน้ นอกจากการฝึกให้ หลักสูตรการอบรมพัฒนาศักยภาพแล้ว โค้ชต้องเป็นผูท้ ฝี่ กึ ฝนตนเองอยูเ่ สมอ และเป็นการเรียนรูผ้ า่ นการท�ำงานงานจริงกับทีมชุมชน หากโค้ชเป็นผูท้ ใ่ี ส่ใจใน การพัฒนาตนเองก็จะมองเห็นการเรียนรูแ้ ละการเปลีย่ นแปลงของตนเองได้ อย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เรียนรูผ้ า่ นกระบวนการทีไ่ ด้ทำ� บ่อยๆ เช่น กระบวนการเตรียมความพร้อมของทีม การสนทนาทีส่ ร้างสรรค์และมีพลัง กระบวนการเช็คอิน – เช็คเอาท์ การถอดบทเรียนการท�ำงานด้วยกระบวนการ AAR (After Action Review) รวมไปถึงการใช้เครือ่ งมือต่างๆ ในการจัด กระบวนการระดมความคิด การประชุมอย่างสร้างสรรค์ เป็นต้น
152
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
แนวทางการโค้ช แนวทางการโค้ชทีส่ ำ� คัญ ทีเ่ รียกไว้วา่ เป็นต้นแบบของการโค้ช ถูก ออกแบบมาให้โค้ชจดจ�ำได้งา่ ย สามารถน�ำไปปรับใช้กบั การโค้ชของตัวเอง ประกอบกับทักษะ กระบวนการและความสามารถทีโ่ ค้ชมี เครือ่ งมือนีเ้ รียกว่า โครงสร้างแห่งการเติบโต (GROW Model) ประกอบด้วย G - Goal คือ เป้าหมาย ในการโค้ชนัน้ ต้องมีการตัง้ เป้าหมายทัง้ เป้าหมายของโค้ช และการท�ำกระบวนการให้โค้ชชีต่ งั้ เป้าหมายของตนเอง โค้ช ต้องให้ทมี ชุมชนช่วยกันคิดว่าเป้าหมายทีช่ มุ ชนต้องการคืออะไร ผลลัพธ์ทจี่ ะ เกิดขึน้ มีลกั ษณะเป็นอย่างไร รวมทัง้ รูว้ า่ เป้าหมายนัน้ มีความส�ำคัญต่อชุมชน อย่างไร R - Reality คือ ความเป็นจริง การท�ำงานนัน้ ต้องมองเห็นสถานการณ์ ความเป็นจริง บริบทแวดล้อม เห็นความจริงของทุกเรือ่ งเพือ่ ไม่ให้เราประเมิน สถานการณ์ผดิ หรืออยูก่ บั ความเพ้อฝันมากเกินไป หากความจริงบิดเบีย้ วการตัง้ เป้าหมายก็จะยิง่ ห่างไกลจากความเป็นไปได้ โค้ชต้องเห็นความจริงตลอดเวลา และท�ำให้โค้ชชีม่ องเห็นและท�ำงานบนฐานความเป็นจริงนัน้ ด้วย การค้นหาความ จริงในปัจจุบนั เช่น เมือ่ เทียบความเป็นจริงกับเป้าหมายแล้วห่างไกลกันแค่ไหน อย่างไร แล้วมีปจั จัยส�ำคัญอะไรทีจ่ ะท�ำให้ชมุ ชนบรรลุเป้าหมายได้บา้ ง O - Options คือ ทางเลือก ต้องท�ำให้ทกุ อย่างมีทางเลือกเสมอ ไม่ใช่ ว่าทุกเรือ่ งจะมีทางออกเดียว ดังนัน้ การคิดออกแบบ วางแผนในการท�ำงาน จะ ต้องมีทางเลือกเสมอ ในการท�ำงานของโค้ชก็เช่นกัน ต้องสามารถปรับตาม สถานการณ์และสร้างทางเลือกใหม่ๆ ได้เสมอ ยิง่ เจอภาวะวิกฤตยิง่ สามารถปรับ เปลีย่ นยืดหยุน่ สร้างทางเลือกใหม่ๆ ได้ ยิง่ มีโอกาสเอาชนะสถานการณ์ทยี่ าก ล�ำบากได้ ทีมชุมชนจะต้องร่วมกันวางแผนงานหรือวิธกี ารในการบรรลุเป้าหมาย ว่าต้องท�ำอย่างไรบ้าง
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
153
W - Way Forward / will / wrap up คือ แนวทางทีเ่ ป็นไปได้ หรือ สิง่ ทีจ่ ะท�ำ หรือจะเป็นข้อสรุปทีจ่ ะลงมือท�ำ เป็นการค้นหาการตัดสินใจ ความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะลงมือท�ำเพือ่ น�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จตามเป้าหมายทีว่ างไว้ บอกได้วา่ ทีม ตัดสินใจทีจ่ ะท�ำอะไรบ้าง สรุปออกมาเป็นแผนการท�ำงาน วิธกี าร และวิเคราะห์ ว่ามีความเป็นได้มาน้อยแค่ไหนทีจ่ ะท�ำให้งานขับเคลือ่ นเข้าใกล้เป้าหมาย การใช้เครือ่ งมือ GROW Model ไม่ตอ้ งใช้ตามล�ำดับ แต่ใช้ตาม สถานการณ์ในการโค้ช บางครัง้ โค้ชก็อาจจะต้องเริม่ ต้นด้วยทางเลือกว่าจะอะไร เพือ่ จัดการกับปัญหา แล้วถึงจะมาดูสถานการณ์ความเป็นจริงแล้วจึงไปตัง้ เป้าหมายก็ได้ หรือบางครัง้ ค้นหาสถานการณ์ความเป็นจริงและตัง้ เป้าหมายแล้ว แต่เกิดสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงท�ำให้ความเป็นจริงทีเ่ คยเก็บข้อมูลไว้ไม่เหมือน เดิมก็กลับไปศึกษาสถานการณ์ความเป็นจริงใหม่อกี ครัง้ ก็เป็นไปได้
G = Goal
O = Options
R = Reality
W = Way Forward
154
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การสร้างเจตนารมณ์ร่วมกันของผูนำ้ � การเริม่ ต้นด้วยการตัง้ เจตนารมณ์รว่ มกัน ถือเป็นการผูกพันมัน่ หมาย (Commitment) หรือพันธสัญญาต่อกัน เพือ่ ให้เกิดความไว้วางใจกันว่าต่อไปนี้ องค์กรทีข่ บั เคลือ่ นการท�ำงาน องค์กรสนับสนุน และหน่วยงานต่างๆ ในชุมชน ร่วมมือกันท�ำงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัว หลังจากชุมชนเห็นปัญหาร่วมและอยากลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาด้วยตัวเอง และได้มกี ารเตรียมความพร้อมของทีมโค้ชแล้ว โครงการจึงได้จดั “เวทีพบ ผูบ้ ริหาร” เพือ่ ให้ผน้ ู ำ� ท้องถิน่ ผูบ้ ริหารของแต่ละหน่วยงานในระดับต�ำบล ผูบ้ ริหาร ขององค์กรสนับสนุน โดยผูอ้ ำ� นวยการส�ำนัก 4 สสส. ผูน้ ำ� องค์กรเอดส์เน็ตและ ทีมโค้ชจากทัง้ 5 องค์กรทีจ่ ะเป็นผูข้ บั เคลือ่ นงาน ได้พบปะพูดคุยถึงการท�ำงาน ทีจ่ ะร่วมมือกันในระยะเวลา 1 ปี โค้ชและแกนน�ำของทีมชุมชน ได้นำ� เสนอข้อมูลสถานการณ์ทพี่ บใน พืน้ ทีเ่ พือ่ ให้เห็นถึงความส�ำคัญของปัญหา โดยเฉพาะปัญหาส�ำคัญๆ เกีย่ วกับ เด็กปฐมวัยและครอบครัว มีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นแนวทางและแผนการ ท�ำงานทีจ่ ะเดินไปด้วยกันด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย มองเห็นเป้าหมายการ ท�ำงานร่วมกัน ท�ำให้เกิดการมีสว่ นร่วมและบูรณาการการท�ำงานร่วมกันระหว่าง หน่วยงาน มีการสนับสนุนการท�ำงานเชิงนโยบายและแผนการท�ำงานปฏิบตั กิ าร ในพืน้ ที่
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
155
ดังนัน้ การท�ำงานในระยะเริม่ ต้นจึงเป็นเรือ่ งของการเชือ่ มโยงคนที่ เกีย่ วข้อง ทัง้ ผูบ้ ริหารระดับนโยบาย และระดับปฏิบตั กิ าร รวมทัง้ ผูม้ จี ติ อาสา เข้าร่วมเป็นทีมท�ำงานเป็นทีมของต�ำบล โดยทางเอดส์เน็ตและทีมโค้ชจะสร้าง กระบวนการเพือ่ ให้คนในชุมชนลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาและสนับสนุนสุขภาวะของ เด็กปฐมวัยและครอบครัวในต�ำบลด้วยตนเอง ท�ำให้เกิดการท�ำงานร่วมกันเป็น ทีม ทีเ่ รียกว่า “ทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล” หรือในทีน่ เี้ รียกว่า “ทีมชุมชน” และมีการโค้ชให้ทมี สามารถท�ำงานกันเป็นทีมได้ ดึงและเพิม่ ศักยภาพให้กบั คน ทีมสามารถออกแบบวางแผนการท�ำงานเพือ่ เด็กปฐมวัยและครอบครัวได้
156
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ศึกษาโครงสร้างของชุมชน และค้นหาคนทีใ่ ช่เข้ามาร่วมทีม คนท�ำงานเพือ่ สร้างการเปลีย่ นแปลงในชุมชนนัน้ ต้องรูโ้ ครงสร้างของ หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ในชุมชนโดยเฉพาะทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็น เพือ่ ออกแบบ วางแผนการท�ำงานให้สอดคล้องกับบริบทดังกล่าว รูว้ า่ จะต้องไปพูดคุยกับใคร หรือเชิญชวนใครเข้ามาในทีม แต่ละคนทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นมีบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบแบบไหน อย่างไร การค้นหาคนเข้ามาท�ำงานเป็นทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล จึงค้นหา จากผู้ที่มีบทบาทและคนที่อยากจะลุกขึ้นมาแก้ปัญหาของชุมชน จากองค์ ประกอบหลัก ได้แก่ 1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 2) ศูนย์พฒ ั นาครอบครัว 3) ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 4) โรงเรียน 5) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 6) สภา เด็กและเยาวชนต�ำบล 7) ผูน้ ำ� ชุมชน 8) อาสาสมัครสาธารณสุข 9) กลุม่ สตรี 10) กลุม่ แม่บา้ น 11) กลุม่ พ่อแม่ผปู้ กครอง โดยเฉพาะผูป้ กครองผูส้ งู อายุ ฯลฯ ในแต่ละหน่วยงานจึงต้องเข้าใจโครงสร้างและบทบาทหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องกับ กลุม่ เป้าหมายด้วย อาทิ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
รูปแบบการปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ อี ยูท่ วั่ ประเทศทุกจังหวัด มี 3 ประเภท ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล (นคร/เมือง/ต�ำบล) และองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) ซึง่ ในพืน้ ทีก่ ารท�ำงานของโครงการนีม้ คี น ท�ำงานจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เข้ามาร่วมทีมด้วย ได้แก่ เทศบาลต�ำบล ดงเย็น เทศบาลต�ำบลบึงเนียม อบต.นาหนองทุม่ อบต.พระธาตุ อบต.กะฮาด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นัน้ มีบทบาทหน้าทีโ่ ดยตรงในการดูแลเด็ก ปฐมวัยและครอบครัว โดยแบ่งภารกิจการท�ำงานผ่านส่วนงานต่างๆ ทัง้ ด้าน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
157
บริหารและด้านการปกครอง ขึน้ อยูก่ บั โครงสร้างการบริหารของแต่ละต�ำบล อาทิ ด้านการศึกษาก็จะมีกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ทีด่ แู ลศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก(ศพด.) โดยมีนกั วิชาการศึกษา ผูช้ ว่ ยนักวิชาการศึกษา ครู และ ผูช้ ว่ ยครูผด้ ู แู ลเด็ก ด้านสาธารณสุข ก็จะมีกองสวัสดิการสังคม กองสาธารณสุข ดูแลงานงานส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข และบางแห่งก็เกีย่ วข้องกับงานด้าน สาธารณสุขและสิง่ แวดล้อม เป็นต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต.)
เดิมคือสถานีอนามัย ซึง่ เป็นแนวคิดการขยายงานสาธารณสุขมูลฐาน ไปยังท้องถิน่ โดยคิดว่าการดูแลสุขภาพควรเน้นทีก่ ารป้องกัน และการป้องกันที่ ดีทสี่ ดุ คือให้ชาวบ้านมีทพี่ งึ่ ด้านสุขภาพระดับหมูบ่ า้ น ระดับชุมชน จึงมีอาสา สมัครสาธารณสุข (อสม.) ทีส่ ามารถรักษาขัน้ พืน้ ฐานได้ ลดการกระจุกตัวทีพ่ งุ่ เข้ามาทีโ่ รงพยาบาลจังหวัด เรียกได้วา่ สถานีอนามัยเป็นสถานพยาบาลทีม่ คี วาม ส�ำคัญต่อการขับเคลือ่ นงานสาธารณสุขของประเทศ และเป็นสถานพยาบาลชัน้ ต้นทีอ่ ยูใ่ กล้ชดิ กับประชาชนมากทีส่ ดุ ได้รบั การยกฐานะจากสถานีอนามัย หรือ ศูนย์สขุ ภาพชุมชน มาเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล หรือ รพ.สต. เมือ่ ปี พ.ศ. 2552 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล มีการให้บริการสาธารณสุขทีห่ ลาก หลาย อาทิ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟืน้ ฟู สภาพ และการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค งานบริการด้านสาธารณสุขต่างๆ เช่น ตรวจ รักษาพยาบาลขัน้ ต้น การฝากครรภ์ การให้บริการสร้างเสริมภูมคิ มุ กันโรค ฉีด วัคซีนเด็ก การดูแลโภชนาการเด็ก งานอนามัยโรงเรียน ตรวจสุขภาพเบือ้ งต้น ส�ำหรับนักเรียน คัดกรองภาวะผิดปกติตา่ งๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต คัด กรองมะเร็งปากมดลูก ส�ำหรับหญิงวัยเจริญพันธุ์ การดูแลผูพ้ กิ าร การดูแลวัย ท�ำงาน การดูแลผูส้ งู อายุ ตรวจสุขภาพเบือ้ งต้น งานฟืน้ ฟูสมรรถภาพ ฯลฯ
158
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เมือ่ มองปรัชญาการก่อเกิดและพัฒนาการของ รพ.สต. เจ้าหน้าทีด่ า้ น สาธารณสุขจึงให้ความส�ำคัญต่อเด็กปฐมวัยและครอบครัว โดยให้คำ� แนะน�ำ และเป็นทีป่ รึกษาให้กบั พ่อแม่ของเด็กตัง้ แต่การฝากครรภ์ และการดูแลเยีย่ ม บ้านของอสม. เป็นต้น อีกทัง้ มีการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการและสุขภาพ รวมทัง้ เสริมความรูค้ วามเข้าใจให้ผดู้ แู ลเด็กปฐมวัยส่งเสริมสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพือ่ ให้เด็กมีพฒ ั นาการสมวัยและสุขภาพทีส่ มบูรณ์ แข็งแรงต่อไป
สภาเด็กและเยาวชน
สภาเด็กฯ เป็นอีกหน่วยงานหนึง่ ทีเ่ ป็นก�ำลังส�ำคัญให้กบั ทีมชุมชนแต่ละ ทีม โดยทีม่ าของสภาเด็กฯ นัน้ เกิดจากการจัดตัง้ ตามมติของส�ำนักงานส่งเสริม สวัสดิภาพและพิทกั ษ์เด็ก เยาวชน ผูด้ อ้ ยโอกาสคนพิการ และผูส้ งู อายุ (ปัจจุบนั เปลีย่ นเป็นกรมกิจการเด็กและเยาวชนหรือ ดย.) กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมัน่ คงของมนุษย์ (พม.) ตัง้ แต่ปี 2547 และได้ขยายผลให้มสี ภาเด็ก และเยาวชนให้ครบทัง้ 76 จังหวัดในปี 2549 ต่อมาได้มกี ารปรับแก้ไขพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการพัฒนาเด็กและ เยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ก�ำหนด ให้มสี ภาเด็กและเยาวชนต�ำบล สภาเด็กและเยาวชนเทศบาล สภาเด็กและ เยาวชนอ�ำเภอ สภาเด็กและเยาวชนเขต สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด สภาเด็ก และเยาวชนกรุงเทพมหานคร และสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึง่ มี โครงสร้างเชือ่ มโยงกัน รวมทัง้ ให้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรเอกชน ภาคประชาสังคม ร่วมส่งเสริมสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชน ให้ มีสว่ นร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน บทบาทของสภาเด็กและเยาวชนนัน้ สามารถน�ำมาหนุนเสริมการท�ำ กิจกรรมกับเด็กปฐมวัยและครอบครัวได้เป็นอย่างดี
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
159
ผูน้ ำ� ชุมชน ผูน้ ำ� โดยธรรมชาติและปราชญ์ชาวบ้าน
ผูน้ ำ� ชุมชนท้องถิน่ ทีเ่ ป็นทางการปกครอง เช่น ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ว่ ย ผูใ้ หญ่บา้ น ประธานชุมชน รวมไปถึงผูน้ ำ� ในชุมชนทีม่ บี ทบาทส�ำคัญทัง้ ผูน้ ำ� ทาง ธรรมชาติ ผูน้ ำ� ทางจิตวิญญานหรือศาสนา เช่น พระ ครู พ่อแม่ผสู้ นใจใน กิจกรรมส่วนรวมต่างๆ ซึง่ คนเหล่านีม้ บี ทบาทและเป็นก�ำลังทีส่ ำ� คัญมากในการ พัฒนาชุมชนในทุกๆ ด้าน นอกจากกลุม่ คนทีม่ บี ทบาทหน้าทีต่ ามโครงสร้างในหน่วยงานต่างๆ แล้ว ยังมีกลุม่ ทีเ่ ข้ามาร่วมทีมด้วยความตัง้ ใจ โดยเฉพาะกลุม่ คนสนใจปัญหา เพราะเริม่ จากปัญหาของตนเอง เช่น กลุม่ คุณพ่อคุณแม่ กลุม่ ผูส้ งู อายุ เพราะ มีตน้ ทุนในเรือ่ งการดูแลเด็กมาบ้าง สามารถน�ำมาแลกเปลีย่ นประสบการณ์ทงั้ ความส�ำเร็จและปัญหาที่ค้นพบในการเลี้ยงดูบุตรหลาน และร่วมกันค้นหา แนวทางการดูแลทีถ่ กู ต้อง เหมาะสมกับบริบทของท้องถิน่ โดยอาจจะเชิญผู้ เชีย่ วชาญด้านเด็กปฐมวัยในพืน้ ที่ เช่น ครูศนู ย์เด็กเล็กมาร่วมให้ขอ้ มูลทีเ่ ป็น ประโยชน์อกี ทางหนึง่ อีกกลุม่ หนึง่ คือ กลุม่ คนทีส่ นใจด้านการพัฒนาตนเองและสังคม ซึง่ อาจ จะไม่ได้อยูใ่ นบทบาททีต่ อ้ งดูแลเด็ก กลุม่ คนเหล่านีก้ ระจายอยูใ่ นทีต่ า่ งๆ เรา อาจจะสามารถสือ่ สารกันได้ผา่ นการสือ่ สังคมออนไลน์และเป็นกองหนุนในรูป แบบต่างๆ ต่อไปได้ในอนาคต การค้นหาคนทีใ่ ช่สำ� หรับการท�ำงานชุมชนนัน้ สามารถท�ำได้หลายรูป แบบ ทัง้ การจัดเวทีสนทนา การจัดกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานอืน่ ๆ การแนะน�ำ บอกต่อ เพือ่ ให้เราเข้าไปพูดคุย สร้างและรับแรงบันดาลใจให้แก่กนั และกัน อาจ จะไม่ได้มาร่วมทีมกันในวันนี้ แต่กร็ วู้ า่ ยังมีผทู้ มี่ แี นวคิดเดียวกัน และสนับสนุน กันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงได้
160
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เชือ่ มโยงคนเข้ามาร่วม เพือ่ สร้างทีมของชุมชน เป้าหมายของโค้ชและทีมในช่วงแรกคือ หาคนทีใ่ ช่ คนทีม่ ใี จอยาก ท�ำงานเพือ่ เด็กเข้ามาร่วมทีม การเชือ่ มโยงคนเข้ามาร่วมทีมนัน้ ท�ำได้หลายวิธี ทัง้ การประสานความ ร่วมมือไปยังผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เล่าให้ฟงั ถึงสถานการณ์ดา้ นเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทีไ่ ด้มกี ารส�ำรวจข้อมูลเบือ้ งต้น และเล่าถึงโครงการทีอ่ งค์กรและทีมโค้ชก�ำลังจะ รวมทีมของชุมชนเพือ่ ช่วยกันจัดการกับปัญหา ชวนเขาเข้ามาร่วมกันเป็นทีม หรือโค้ชใช้วธิ ปี ระสานงานกับคนทีเ่ รารูจ้ กั คุน้ เคยอยูแ่ ล้วให้เขาออกความเห็นว่า ควรจะชวนใครเข้ามาอีกบ้าง และให้คนทีเ่ รารูจ้ กั ไปชวนคนเข้ามา อีกวิธกี ารหนึง่ ก็คอื การจัดประชุมชีแ้ จงวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการท�ำงานของเรา ขัน้ ตอนนีเ้ ราจะพบว่า มีทงั้ คนทีเ่ ชิญชวนเข้ามาโดยคุณสมบัตทิ เี่ หมาะ สมในการเข้ามาร่วมกันเป็นทีม และคนทีอ่ าสาสมัครเข้ามา เป็นคนหรือกลุม่ คน ทีส่ นใจอยากช่วยแก้ปญ ั หาของชุมชน ไม่วา่ คนทีเ่ ข้ามาในทีมจะมาด้วยวิธใี ด การ ก่อรูปก่อร่างเพือ่ จะเป็นทีมทีท่ ำ� งานร่วมกันนัน้ เริม่ ต้นจากตรงนี้ ดังนัน้ การ ท�ำความรูจ้ กั กับทุกคนในทีม และท�ำให้คนในทีมรูจ้ กั กันและกันมากขึน้ เป็นอีก บทบาทหนึง่ ของการโค้ชแบบทีม โค้ชจะท�ำขัน้ ตอนนีไ้ ด้ดขี นึ้ หากโค้ชได้มกี ารวิเคราะห์และท�ำแผนทีค่ วาม สัมพันธ์ของคนในชุมชนมาก่อน เพราะโค้ชจะมองเห็นว่าควรเชือ่ มโยงใครเข้ามา บ้าง และมองเห็นความสัมพันธ์ของคนแต่ละคนว่าสัมพันธ์กนั อย่างไร มีใครบ้าง ทีย่ งั ไม่คอ่ ยคุน้ เคยกัน มีใครบ้างทีส่ นิทสนมกันอยูแ่ ล้ว แม้แต่โค้ชเองก็จะได้เห็น ตนเองว่ามีใครบ้างทีเ่ รายังไม่คอ่ ยได้พดู คุยด้วย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
161
ช่วงนีส้ ำ� หรับโค้ชคือการรูจ้ กั กลุม่ เป้าหมายของการโค้ช ตามหลักการ โค้ชคือการค้นหาว่าจะโค้ชให้กบั ใคร (Who) รูว้ า่ แต่ละคนท�ำงานอะไร เป็น อย่างไร เป็นคนแบบไหน ต้องการการโค้ชแบบไหน วิเคราะห์อย่างละเอียดเพือ่ ให้เห็นว่า ผลจากการโค้ชนัน้ มีใครได้ประโยชน์บา้ ง เช่น คนในทีมชุมชนทีไ่ ด้รบั การโค้ช องค์กรต้นสังกัดของคนทีไ่ ด้รบั การโค้ช คนในชุมชนทีโ่ ค้ชชีไ่ ปท�ำงาน ด้วย อย่างเช่น เด็ก ครอบครัว ผูป้ กครอง เป็นการวิเคราะห์ทงั้ กลุม่ เป้าหมาย หลักของโค้ช และกลุม่ เป้าหมายทีท่ มี ชุมชนต้องท�ำงานด้วย
สร้างความสัมพันธ์ ความไว้วางใจ
เป้าหมายของโค้ช คือ ท�ำให้ทมี ยอมรับในตัวโค้ช และยอมรับการ ท�ำงานผ่านการโค้ช มีความจริงใจและตกลงร่วมกันทัง้ สองฝ่าย และท�ำให้ภายใน ทีมมีความสัมพันธ์ทด่ี ตี อ่ กันด้วย ส่วนเป้าหมายของทีมในขัน้ ตอนนีค้ อื ความสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน พร้อมที่ จะท�ำงานไปด้วยกัน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโค้ชกับผู้รับการโค้ชนั้นส�ำคัญที่สุด เพราะเป็นจุดเริม่ ต้นของการเปิดใจ ยอมรับ และน�ำไปสูค่ วามไว้วางใจ (trust) การโค้ชบางประเภทนัน้ ผูร้ บั การโค้ชจะเป็นคนเลือกโค้ชเอง เพราะต้องดูวา่ จะ ไปด้วยกันได้ไหม รูส้ กึ สบายใจ ไม่อดึ อัด ปลอดภัยในเวลาทีส่ นทนากันหรือไม่ ซึง่ เป็นการวัดด้วยความรูส้ กึ ทัง้ สิน้ แต่การวัดด้วยความรูส้ กึ นี้ เกิดจากท่าที (approach) การเข้าหาของโค้ช การแสดงให้เห็นความจริงใจ ทัศนคติของโค้ชที่ ผ่านการแสดงออกบางอย่าง เช่น เคารพศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ เอาใจใส่ ดูแล ไม่แสดงออกให้ผรู้ บั การโค้ชรูส้ กึ ว่าตัวเองไม่เก่งท�ำไมเรือ่ งแค่นคี้ ดิ ไม่ได้ทำ� ไม่ได้
162
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หรือมุง่ แต่จะแนะน�ำ ชีแ้ นะบอกทางออกโดยไม่รบั ฟัง ช่วงเวลาทีส่ นทนากันโค้ช ก็เป็นผูพ้ ดู อยูฝ่ า่ ยเดียว เป็นต้น สัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างโค้ชกับทีมชุมชนและคนในชุมชนนัน้ ต้องอยูบ่ น พืน้ ฐานของการเคารพนับถือกัน ให้เกียรติและปฏิบตั ติ อ่ คนในทีมอย่างเท่าเทียม ให้ความสนใจ เอาใจใส่ ดูแล แสดงออกถึงการรับฟัง และฟังคนในทีมทุกคน อย่างลึกซึง้ ไม่ดว่ นสรุป ไม่ตดั สิน ไม่ดว่ นสวนกลับ ส่วนหนึง่ ของการสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจทีม่ ตี อ่ กัน จนน�ำ ไปสูค่ วามร่วมมือกันระหว่างโค้ชกับทีมชุมชนก็คอื การมีกติการ่วมหรือข้อตกลง ร่วมว่าการโค้ชนีจ้ ะเริม่ ต้นเมือ่ ไหร่และจะเดินไปด้วยกันจนถึงตอนไหน ข้อตกลงการโค้ช เช่น ทีมกับโค้ชจะพบกันสัปดาห์ละครัง้ มีการติดต่อ สือ่ สารกันสม�ำ่ เสมอ เป็นข้อตกลงให้รวู้ า่ ต่างฝ่ายต่างรับผิดชอบ ไม่ทอดทิง้ กัน ระหว่างทาง แสดงถึงความจริงจังและจริงใจต่อกัน สร้างความผูกพันมัน่ หมาย (Commitment) ระหว่างโค้ชกับทีมชุมชน โดยโค้ชสามารถอธิบายถึงแผนการ โค้ชว่า เป้าหมายของการโค้ชช่วงแรกจะเห็นอะไร จากนัน้ จะเดินไปอย่างไรต่อ และผูร้ บั การโค้ชจะให้ความร่วมมือกับโค้ชอย่างไรบ้าง จนท้ายทีส่ ดุ โค้ชชีจ่ ะต้อง มีศกั ยภาพ วางแผนการท�ำงานและปฏิบตั งิ านตามเป้าหมายได้ เป็นการบอกถึง หัวใจส�ำคัญของแต่ละช่วงว่าจะเป็นอย่างไร ทัง้ สองฝ่ายก็จะมองเห็นเส้นทางของ ความสัมพันธ์นวี้ า่ จะเดินไปด้วยกันจนถึงเป้าหมายได้อย่างไร กระบวนการสร้างความสัมพันธ์นนั้ นอกจากเป็นกระบวนการทีท่ ำ� โดย โค้ชแล้ว ยังเป็นเรือ่ งทีค่ นในทีมควรมีกจิ กรรมสร้างความสัมพันธ์ภายในทีมเป็น ระยะ ทัง้ กิจกรรมทีเ่ ป็นการออกแบบร่วมกันของทีม และการสร้างสัมพันธ์สว่ น บุคคล ภายในทีมต้องมีการดูแลความสัมพันธ์ให้ดี ไม่ละเลยมองข้ามเรือ่ งความ สัมพันธ์
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
163
ในเรือ่ งนี้ บางทีมมีกจิ กรรมสร้างความสัมพันธ์ควบคูไ่ ปกับการท�ำงาน เช่น การจัดประชุมวางแผนการท�ำงานนอกสถานทีเ่ พือ่ ให้คนในทีมได้ผอ่ นคลาย พักผ่อน และท�ำกิจกรรมอืน่ ๆ ร่วมกัน ทัง้ แคมป์ปง้ิ ท�ำอาหารด้วยกัน ร้องเพลง สันทนาการ บางทีมนัดวางแผนงานและรับประทานอาหารร่วมกัน หลายทีมมี การดูแลเอาใจใส่กนั เช่น วันหยุด หรือเมือ่ เพือ่ นในทีมต้องเข้าเวรท�ำงานก็ทำ� อาหารไปฝาก ไปเยีย่ มเยียนกันถึงบ้าน นัดหมายพบปะพูดคุยกัน เป็นต้น เหล่านี้ เป็นการสร้างสายสัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กันและช่วยให้เกิดความรัก สามัคคีกนั ในทีม พร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือ ดูแล สนับสนุนและผลักดันกันและกัน ซึง่ เป็นส่วนส�ำคัญ ในการท�ำงานเป็นทีมเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมาย
164
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
สร้างเป้าหมายร่วมของทีม ตัง้ เป้าหมายของโค้ช ส�ำหรับทีมชุมชนนัน้ การมีเป้าหมายร่วมและเป็นเป้าหมายทีช่ ดั เจนนัน้ ส�ำคัญมาก เพือ่ ให้ทกุ คนในทีมรูว้ า่ จุดหมายปลายทางของการท�ำงานนีท้ ำ� ไป เพื่ออะไร การมีเป้าหมายจะท�ำให้แต่ละคนช่วยกันคิดหาหนทางที่จะไปสู่ เป้าหมายนัน้ ให้ได้ และมีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำให้เป้าหมายนัน้ เป็นจริงขึน้ มา เป้าหมายของโค้ชก็คอื การท�ำให้ทมี ชุมชนไปถึงเป้าหมายทีท่ มี ต้องการได้ แล้วเป้าหมายทีท่ มี ชุมชนต้องการคืออะไร โค้ชต้องท�ำกระบวนการตัง้ เป้าหมาย (Goal setting) ให้ทมี ชุมชนมีเป้าหมายหรือภาพฝันทีท่ มี ชุมชนอยากเห็นร่วมกัน ท�ำให้ทกุ คนในทีมมีเป้าหมายร่วมกันทีช่ ดั เจน ในระยะแรกของโครงการได้เคยมีการท�ำภาพฝันของชุมชนมาบ้างแล้ว โครงการระยะที่ 2 มีคนในทีมของชุมชนเพิม่ ขึน้ ทุกคนทีเ่ ข้าร่วมในทีมมีความ เข้าใจมากขึน้ ว่าการเข้ามาร่วมกันเป็นทีมก็เพือ่ ลุกขึน้ มาแก้ปญ ั หาเกีย่ วกับเด็ก ปฐมวัยและครอบครัว และสร้างสรรค์นวัตกรรมทีท่ ำ� ให้ชมุ ชนเหมาะสมในการ เลีย้ งเด็กให้เติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพและมีความสุข การตัง้ เป้าหมายอาจจะไม่แจ่มชัดในครัง้ แรกๆ บางครัง้ อาจจะฟังเป็น นามธรรม เป็นเหมือนค�ำขวัญ และเป้าหมายนัน้ มีหลายระดับ และหลายระยะ เช่น เป้าหมายสูงสุด เป้าหมายหลัก เป้าหมายรอง เป้าหมายย่อย เป้าหมาย ระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว เป็นต้น ดังนัน้ กระบวนการท�ำเป้าหมายร่วมเพือ่ ให้ทกุ คนเกิดภาพทีช่ ดั เจนร่วมกันนัน้ อาจจะต้องท�ำหลายครัง้ และเมือ่ ได้เป้าหมาย แล้ว จะต้องทบทวนกันบ่อยๆ เพือ่ ให้เรารูว้ า่ เราจะไปไหน และตอนนีเ้ ราเดินมา ถึงจุดไหนแล้ว
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
165
ในแต่ละทีมต�ำบล โค้ชได้สนทนาถึงเป้าหมายของทีมชุมชนหลายครัง้ มีทงั้ กระบวนการให้ปน้ั ดินน�ำ้ มันเป็นภาพฝันของชุมชน ทัง้ เขียนเป้าหมายทีท่ มี ชุมชนอยากเห็น มีการพูดคุยกับบ่อยๆ ว่าอยากเห็นอะไร อยากให้มอี ะไรเกิดขึน้ บ้าง พร้อมทัง้ เหตุผลว่าท�ำไมถึงอยากให้เป็นเช่นนัน้ เพือ่ ให้ภาพฝันของชุมชนชัดทีส่ ดุ ก่อนทีจ่ ะวางแผนงานว่าจะท�ำเป้าหมายทีอ่ ยากเห็นให้เป็นจริงได้อย่างไร
ยกตัวอย่างกระบวนการตัง้ เป้าหมายร่วมของทีม
• แต่ละคนในทีมทบทวนเป้าหมายของตัวเอง ทัง้ เป้าหมายชีวติ เป้า หมายในหน้าทีก่ ารงานหรืออาชีพ และเป้าหมายหรือภาพฝันว่าเราอยากเห็น ชุมชนของเราเป็นอย่างไร โดยมีตวั เรา ครอบครัวของเรา คนรอบข้างในชุมชน ของเราอยูใ่ นภาพฝันนัน้ ด้วย สิง่ ส�ำคัญในการคิดภาพฝันของชุมชนหรือการตัง้ เป้าหมายนัน้ จะต้องหลีกเลีย่ งเรือ่ งงบประมาณและความเป็นไปได้ตา่ งๆ ออกไป ก่อน เพือ่ ให้สงิ่ ทีเ่ ราฝันนัน้ ไม่ตดิ กรอบ • เขียนเป้าหมายหรือวาดภาพเป้าหมายของแต่ละคนในกระดาษของ ตัวเอง ทัง้ เป้าหมายชีวติ เป้าหมายในหน้าทีก่ ารงานอาชีพ เป้าหมายทีเ่ ป็นภาพ ฝันของชุมชน • ค้นหาแรงบันดาลใจของแต่ละคนทีอ่ ยากจะมุง่ ไปสูเ่ ป้าหมายนัน้ ไม่ ว่าแรงบันดาลใจนัน้ จะเป็นเรือ่ งทีจ่ บั ต้องได้ เป็นเพียงความคิด ความรูส้ กึ ภายใน หรืออะไรก็ตามทีเ่ ป็นแรงผลักดันให้เขาอยากท�ำ อยากเห็น ด้วยความเชือ่ ว่าทุก คนต้องมีแรงบันดาลใจ ค้นหาให้ได้วา่ อะไรท�ำให้อยากท�ำเป้าหมายนีใ้ ห้สำ� เร็จ • เล่าเป้าหมายของเราแต่ละเป้าหมายให้กบั คนในทีมและโค้ชฟัง ทุก คนจะมองเห็นเป้าหมายในชีวติ ของตนเองและผูอ้ นื่ และมองเห็นว่าแต่ละเป้าหมาย ในชีวติ เรานัน้ สอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร กับเป้าหมายของส่วนรวมนัน้ ไปด้วย กันได้อย่างไร
166
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
• โค้ชใช้การฟังอย่างตัง้ ใจ และจับประเด็น โค้ชก็จะมองเห็นเป้าหมาย ในชีวติ ของแต่ละคนในทีม เป้าหมายในหน้าทีก่ ารงานอาชีพ และเป้าหมายว่า อยากเห็นชุมชนเป็นอย่างไร รวมทัง้ แรงบันดาลใจในแต่ละเป้าหมายว่าท�ำไมจึง อยากท�ำให้สำ� เร็จ • ดึงเป้าหมายทีเ่ ป็นภาพฝันชุมชนของแต่ละคน มาสร้างภาพฝันร่วม กัน ค้นหาจุดเหมือนและจุดต่าง แลกเปลีย่ น อภิปรายกัน เพือ่ วาดภาพฝัน ชุมชนทีท่ กุ คนอยากเห็นร่วมกัน ขัน้ ตอนนีอ้ าจจะใช้การปัน้ ดินน�ำ้ มัน หรือท�ำ แบบจ�ำลองออกมาเป็นโมเดลชุมชนทีท่ กุ คนอยากเห็นก็ได้ • หากแต่ละต�ำบลมีสถานทีป่ ระชุมพบปะกันของทีม หรือสถานทีท่ ำ� การ ของทีมชุมชน ให้นำ� ภาพฝันหรือแบบจ�ำลองชุมชนทีท่ กุ คนอยากเห็นนีม้ าวางไว้ เพือ่ ให้ทกุ คนได้เห็นเสมอ เพือ่ เป็นการย�ำ้ เป้าหมายทีเ่ ราอยากไปให้ถงึ จริงๆ
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
167
ค้นหาความจริงในปัจจุบนั เข้าใจปัญหาและต้นทุนของชุมชน โค้ชและทีมท�ำความเข้าใจกับสถานการณ์ความเป็นจริงในทุกด้าน ทัง้ ภาพรวมของปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับกลุม่ เป้าหมายเพือ่ น�ำมาวิเคราะห์ปญ ั หาและ สาเหตุ และการส�ำรวจต้นทุนในด้านต่างๆ ของทีมและชุมชน น�ำความเป็นจริง ทุกด้านเพือ่ ดูวา่ เราจะวางแผนการท�ำงานอย่างไร สิง่ ทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั กับเป้าหมาย ห่างกันแค่ไหน และต้องท�ำอะไรบ้างเพื่อไปสู่เป้าหมายแต่ละขั้นจนไปถึง เป้าหมายสูงสุด
การค้นหาความจริง แบ่งปันข้อมูล อาจแบ่งออกเป็น
• ส�ำรวจข้อมูลเกีย่ วกับกลุม่ เป้าหมายจากหน่วยงานต่างๆ ว่าหน่วยงาน ใดมีขอ้ มูลของกลุม่ เป้าหมายอย่างไรบ้าง มีการส�ำรวจครัง้ สุดท้ายเมือ่ ไหร่ รวมไป ถึงวิธกี ารส�ำรวจของแต่ละหน่วยงาน มีการท�ำโครงการอะไรไปแล้วบ้างทีเ่ กีย่ ว กับกลุม่ เป้าหมาย และโครงการทีก่ ำ� ลังด�ำเนินการ ทัง้ จากหน่วยงานภายใน ต�ำบลและหน่วยงานภายนอกทีเ่ ข้ามา ผลของการท�ำโครงการต่างๆ เป็นอย่างไร ข้อมูลส่วนนีท้ ำ� ได้จากการจัดการกระบวนการสนทนาแลกเปลีย่ นข้อมูลกันในทีม และเชิญหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม • ส�ำรวจข้อมูลกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นจริงในปัจจุบนั ข้อมูลของเด็ก ปฐมวัยในทุกด้าน ทัง้ การเลีย้ งดู พัฒนาการ พฤติกรรม การบริโภค การเติบโต ตามวัย สุขภาพ ฯลฯ ข้อมูลสถานการณ์ของครอบครัว สภาพปัญหาเป็น อย่างไร อาจจะเน้นข้อมูลทีต่ อ้ งการใช้งานเป็นพิเศษ ขึน้ อยูก่ บั การออกแบบการ ส�ำรวจข้อมูลของทีมชุมชน
168
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
• น�ำข้อมูลของกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นจริงมาจัดหมวดหมู่ เพือ่ ดูภาพ รวมและแนวโน้มของปัญหา วิเคราะห์ปญ ั หาว่ามีเหตุปจั จัยมาจากอะไรบ้าง เกีย่ วข้อง สัมพันธ์กนั อย่างไร เพือ่ ค้นหาจุดคาดงัด ในส่วนนีส้ ามารถวิเคราะห์ ด้วยเครือ่ งมือของการคิดกระบวนระบบได้ ทัง้ เพือ่ เป็นการฝึกการวิเคราะห์ และ น�ำสิง่ ทีว่ เิ คราะห์ไปใช้ในการวางแผนการท�ำงานได้ • ค้นหาศักยภาพของทีมชุมชนที่ใช้ในการท�ำงานว่าใครมีความ สามารถ ความรู้ ทักษะด้านใดบ้าง เพือ่ ให้เห็นศักยภาพของคนในทีม วิเคราะห์ ต้นทุนทีม่ อี ยูแ่ ล้วดูวา่ ทีมต้องการศักยภาพด้านใดเพิม่ เติมอีก ควรเสริมความรู้ ด้านใด หรือจะมีใครถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั คนในทีมได้บา้ ง รวมไปถึงคนในทีม ใครอยากเสริมทักษะความรูค้ วามสามารถด้านใด แต่ละคนอยากจะท�ำงานใน ด้านใด ส่วนไหน เพือ่ แบ่งบทบาทของคนในทีมให้เหมาะสม • ค้นหาต้นทุนทีเ่ ป็นศักยภาพของชุมชน ต้นทุนทีเ่ ป็นทรัพยกร เช่น สถานทีจ่ ดั กิจกรรม งบประมาณจากหน่วยงานไหนบ้าง มีแหล่งทุนสนับสนุน ใดบ้าง โครงสร้างทีเ่ อือ้ ต่อการท�ำงาน กฎระเบียบทีเ่ อือ้ ต่อการท�ำงาน หากมี น้อยหรือมีไม่เพียงพอต้องท�ำอย่างไร เพือ่ ให้ชว่ ยกันหาหนทางทีจ่ ะมีตน้ ทุนใน การท�ำงานตามแผนงาน ข้อมูลความเป็นจริงและต้นทุนเหล่านี้จะช่วยให้ทีมชุมชนน�ำมาใช้ ประกอบในการวางแผนการท�ำงานไปสูเ่ ป้าหมายได้ ส�ำหรับโครงการนี้ ในการท�ำโครงการระยะแรกได้มกี ารส�ำรวจข้อมูล ของกลุม่ เป้าหมายเพือ่ ให้เห็นสถานการณ์ปญ ั หาว่าควรจะต้องลุกขึน้ มาร่วมมือ กันแก้ไข เมื่อระยะเวลาผ่านไปหลายคนในทีมชุมชนสะท้อนว่าเกิดการ เปลีย่ นแปลงของข้อมูลกลุม่ เป้าหมายบางส่วน มีทงั้ เด็กเกิดใหม่ การย้ายเข้าย้าย ออก สถานการณ์ของครอบครัวทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และข้อมูลทีไ่ ด้มาตอนแรกนัน้ ไม่ครบบ้าง ไม่ถกู ต้องตามความเป็นจริงบ้างเนือ่ งจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลปกปิดข้อมูล
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
169
ดังนัน้ การส�ำรวจข้อมูลของแต่ละต�ำบลในระยะนี้ จึงมีการออกแบบ การเก็บข้อมูล จัดระบบข้อมูลใหม่ให้สอดคล้องกับการน�ำข้อมูลมาใช้ โดยแต่ละ ต�ำบลใช้วธิ กี ารเก็บข้อมูลเป็นระยะๆ เพือ่ อัพเดทข้อมูลทีเ่ กิดการเปลีย่ นแปลงไป ด้วย และส่วนหนึง่ ก็เพือ่ เพิม่ เติมข้อมูลทีข่ าดไป การส�ำรวจข้อมูลในครัง้ ถัดๆ ไป เมือ่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเกิดความไว้วางใจ หรือได้ครุน่ คิดทบทวนถึงประโยชน์จากการให้ ข้อมูล ความจริงก็จะค่อยๆ ปรากฎมากขึน้ เรื่องของการส�ำรวจข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลจริงนั้น เป็นเรื่องที่ต้อง รอบคอบเป็นอย่างมาก หากทีมได้ขอ้ มูลทีไ่ ม่ตรงกับความเป็นจริง การแก้ปญ ั หา ก็จะไม่ถกู จุด และการช่วยเหลือก็จะไม่ทวั่ ถึงท�ำให้เด็กบางคนตกหล่นไปเพราะ คนท�ำงานไม่ได้นบั รวมอยูใ่ นรายชือ่ ทีจ่ ะต้องเข้าไปช่วยเหลือเร่งด่วน จากการสนทนาถอดบทเรียนกับทีมกลไกท้องถิน่ ต�ำบลได้เล่า ถึงเรือ่ งทีบ่ างคนสังเกตเห็นว่าในการเก็บข้อมูลครัง้ แรกๆ นัน้ บางครอบครัวให้ขอ้ มูลไม่จริง ปกปิดข้อมูล ให้ขอ้ มูลทีด่ เู ป็น กลางๆ จึงท�ำให้ไม่เห็นปัญหาทีแ่ ท้จริง แต่เมือ่ ทีมส�ำรวจข้อมูล ลงพืน้ ทีไ่ ปพูดคุยสอบถามหลายครัง้ เข้า ผูใ้ ห้ขอ้ มูลเกิดความ รูส้ กึ คุน้ เคยและบางคนก็มปี ญ ั หาทีอ่ ยากให้ใครรับฟังหรือขอ ความช่วยเหลือจึงบอกข้อมูลจริง เช่น ครอบครัวทีเ่ ด็กอยูก่ บั ยาย ในครัง้ แรกๆ ก็ให้ขอ้ มูลว่าพ่อแม่ของเด็กส่งเงินมาให้เลีย้ ง ดูเด็กทุกเดือนแต่ขอ้ มูลจริงทีเ่ ปิดเผยภายหลังนัน้ ท�ำให้รวู้ า่ พ่อ แม่เด็กไม่ได้สง่ เงินมาให้นานแล้ว และยายก็ไม่มรี ายได้ในการ เลีย้ งดูเด็ก มีเงินจากรัฐทีใ่ ห้กบั ผูส้ งู อายุกไ็ ม่เพียงพอทีจ่ ะใช้จา่ ย ต่อเดือน แม้มรี ายได้จากการรับจ้างล้างจานในงานต่างๆ ทีจ่ ดั ในต�ำบลบ้างแต่กน็ านๆ จึงจะมีรายได้เข้ามา ถึงอย่างไรก็ไม่ เพียงพออยูด่ ี เป็นต้น
170
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
นอกจากการส�ำรวจข้อมูลเฉพาะประเด็นแล้ว ยังมีขอ้ สังเกตทีน่ า่ สนใจว่า ข้อมูลบางส่วนนัน้ ได้มาจากเพือ่ นบ้าน และ อสม.1 ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ก็บข้อมูลให้กบั ทางสาธารณสุข นอกจากจะมีขอ้ มูลทีท่ างสาธารณสุขต้องใช้แล้ว ยังมีขอ้ มูลอืน่ ๆ เกีย่ วกับเด็กและครอบครัวทีไ่ ม่ได้บนั ทึกไว้ เช่น สภาพครอบครัว เรือ่ งความ รุนแรงในครอบครัว พฤติกรรมของเด็ก สภาพปัญหาอืน่ ๆ ของครอบครัวนัน้ ที่ ส่งผลต่อเด็ก เกือบทุกพืน้ ทีน่ นั้ ต้องพึง่ พาข้อมูลจาก อสม. และการมี อสม. อยู่ ในทีมชุมชน ก็ชว่ ยเติมเต็มข้อมูลได้เป็นอย่างมาก การเชือ่ มโยงข้อมูลและ วิเคราะห์ขอ้ มูลให้เห็นภาพรวมก็จะท�ำได้ดยี งิ่ ขึน้ ถ้าชุมชนท�ำระบบข้อมูลได้ดกี จ็ ะมีประโยชน์ตอ่ การท�ำงานมาก ทัง้ การ ท�ำให้เห็นภาพรวมของปัญหา การใช้ขอ้ มูลร่วมกัน หรือส�ำรวจข้อมูลร่วมกัน ต่าง ฝ่ายต่างเติมข้อมูลให้กนั เพือ่ ท�ำให้ขอ้ มูลของกลุม่ เป้าหมายของแต่ละหน่วยงาน ตรงกัน จะท�ำให้มองเห็นความจริงได้อย่างรอบด้าน การใช้ขอ้ มูล เลือกข้อมูล วิเคราะห์ปญ ั หาก็จะท�ำได้ดขี นึ้ ท�ำให้นำ� ไปใช้จดั การปัญหาได้ตรงจุด อีกทัง้ การ เห็นข้อมูลทัง้ หมดจะท�ำให้ชมุ ชน “ตืน่ ” อย่างทีห่ ลายคนได้สะท้อนว่า “เมือ่ เห็น ข้อมูลก็แปลกใจว่าในชุมชนเรามีเรือ่ งแบบนีด้ ว้ ยหรือ?” การตืน่ มาเห็นความจริง จะท�ำให้รสู้ กึ ว่าต้องลุกขึน้ มาจัดการแก้ปญ ั หา ในช่วงแรกของการโค้ชและการสร้างทีม หากเริม่ ต้นด้วยการท�ำความ เข้าใจกับปัญหาโดยใช้ขอ้ มูลความเป็นจริงในชุมชน โค้ชจะต้องสร้างกระบวนการ เพือ่ ให้ทมี ชุมชนสามารถเก็บข้อมูลได้ถกู ต้อง และจัดระบบข้อมูลเป็น เพือ่ น�ำ ข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการวิเคราะห์ปญ ั หาของชุมชนได้ ส่วนทีมชุมชนก็ได้เรียนรู้ 1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) เป็นกลุม่ บุคคลภายในชุมชนทีไ่ ด้รบั การอบรมให้ความรู้ จากเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข และปฏิบตั งิ านด้านสาธารณสุขด้วยความเสียสละต่อประชาชนในหมูบ่ า้ น โดยมี บทบาทหน้าทีใ่ นการดูแล ให้คำ� แนะน�ำ ในการปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้องตามหลักสุขอนามัยเพือ่ สุขภาพของ ตนเอง และให้การช่วยเหลือขัน้ พืน้ ฐานกับคนในชุมชน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
171
การเก็บข้อมูลและจัดระบบข้อมูลเพือ่ น�ำมาใช้งานจริง อีกทัง้ กิจกรรมการเก็บ ข้อมูล ส�ำรวจข้อมูลนัน้ เป็นกิจกรรมเพือ่ สร้างความเป็นทีมได้ดว้ ย เป็นการฝึก ทดลองท�ำงานเป็นทีม แบ่งงานกันท�ำ ในช่วงนีโ้ ค้ชก็จะท�ำกระบวนการสนทนา เพือ่ ให้รจู้ กั แต่ละคนว่ามีความสามารถในเรือ่ งใดบ้าง ถนัดด้านไหน อยากพัฒนา ตนเองในเรือ่ งใด อย่างไรบ้าง เพือ่ โค้ชจะได้วางแผนในการโค้ชแต่ละคนต่อไป หลังจากการเตรียมข้อมูลก็จะมีการวิเคราะห์ขอ้ มูล ในการวิเคราะห์ ข้อมูลนัน้ โค้ชอาจจะใช้กระบวนการในการวิเคราะห์ขอ้ มูลร่วมกันด้วยเครือ่ งมือ ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ปญ ั หาด้วยการคิดกระบวนระบบ เป็นต้น
วางแผนการทำ�งานเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมาย ก่อนอืน่ เราต้องมีความชัดเจนร่วมกันเสียก่อนว่า เป้าหมายสูงสุดทีท่ มี ชุมชนมีรว่ มกันทีเ่ ราเรียกกันว่า “ภาพฝันของชุมชน” นัน้ เป็นเป้าหมายทีเ่ ราไม่ สามารถเดินไปถึงได้ภายในระยะเวลา 1 ปี แต่การจะเดินไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุดได้ จะต้องประกอบด้วยเป้าหมายย่อยว่าเราจะต้องบรรลุเป้าหมายอะไรบ้างจึงจะส่ง ผลไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุด เป้าหมายย่อยทีว่ า่ นีเ้ ราจะมีกเี่ ป้าหมายก็ได้ และสิง่ หนึง่ ทีต่ อ้ งคิดเช่นกันก็คอื เป้าหมายระยะสัน้ แล้วแต่เราก�ำหนดระยะเวลา ต้องท�ำให้ ส�ำเร็จภายใน 3 เดือน ซึง่ ส่วนใหญ่จะต้องท�ำเพือ่ แก้ปญ ั หาเร่งด่วน กรณีทไี่ ม่ สามารถรอเวลาได้ เป้าหมายระยะกลาง เราอาจจะก�ำหนดระยะเวลา 6 เดือน หรือ 1 ปี เราจะต้องได้ผลลัพธ์อะไร และเป้าหมายระยะยาว เราอาจจะก�ำหนด ไว้วา่ ในระยะเวลา 5 ปี ชุมชนของเราจะเป็นอย่างไร เป้าหมายระยะยาวนีเ่ องที่ จะประกอบภาพฝันของเราให้เป็นจริงหรือใกล้เคียงกับความจริงให้มากทีส่ ดุ
172
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
หากเราเข้าใจเป้าหมาย และเข้าใจความเป็นจริงในปัจจุบนั เราก็จะ ประเมินได้วา่ จังหวะก้าวทีเ่ ราจะเดินไปสูเ่ ป้าหมายนัน้ จะเดินไปอย่างไร และ แต่ละก้าวทีเ่ ราเดินไป ท�ำให้เราเข้าใกล้กบั เป้าหมายสูงสุดทีเ่ ป็นความฝันของเรา ได้มากน้อยแค่ไหน เป้าหมายแต่ละเรือ่ ง เป็นเป้าหมายทีเ่ มือ่ เชือ่ มโยงกันแล้วจะ น�ำเราไปสูเ่ ป้าหมายสูงสุดทีเ่ ป็นภาพฝันของชุมชน และกว่าจะไปถึงฝันนัน้ เรา ต้องเริม่ ต้นทีท่ ำ� ก้าวแรกให้สำ� เร็จเสียก่อน การวางแผนการท�ำงานจึงเป็นการเชือ่ มโยงจากสิง่ ทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั ไป สูเ่ ป้าหมายทีเ่ ราต้องการ ดังนัน้ กระบวนการคิด วิเคราะห์สถานการณ์ปจั จุบนั จะ ช่วยให้เราต้องคิดพิจารณาถึงรายละเอียดของสิง่ ทีเ่ ราต้องท�ำ และคาดการณ์ลว่ ง หน้าว่าจะเกิดผลส�ำเร็จอะไรขึ้นบ้าง ที่เป็นผลส�ำเร็จตามที่เราต้องการตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ กระบวนการวางแผนทีม่ ปี ระสิทธิภาพส�ำหรับทีมชุมชนนัน้ โค้ชจะเป็น ผูท้ ำ� กระบวนการ โดยเปิดโอกาสให้ทกุ คนได้แสดงความคิดอย่างเต็มที่ ก่อนหน้า นีใ้ นการทบทวนต้นทุนการท�ำงานของชุมชน คนในทีมทีม่ าจากแต่ละหน่วยงาน ได้แบ่งปันข้อมูลแผนงานทีอ่ งค์กรท�ำอยู่ ให้เขียนแผนงานเหล่านีใ้ ห้ชดั เจนเพือ่ น�ำ มาพิจารณาร่วมกัน อาจจะเขียนลงในตารางเพือ่ ให้เห็นความเชือ่ มโยงกัน เช่น • กิจกรรมหรือโครงการอะไร • เหตุผลของการท�ำโครงการนี้ ท�ำไปท�ำไม • มีวธิ กี ารขัน้ ตอนการท�ำงานอย่างไร • ระยะเวลาของการท�ำงาน • ต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง (งบประมาณ คน ความรู้ ฯลฯ) • ใครเป็นผูร้ บั ผิดชอบ • ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั คืออะไร • วัดผลส�ำเร็จของงานด้วยวิธกี ารใด
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
173
จากนัน้ เราจึงมาพิจารณาวิเคราะห์แผนว่ามีแผนงานเดิมแผนไหนบ้างที่ มีแนวโน้มว่าหากเราร่วมมือกันท�ำให้ดขี นึ้ ปรับวิธกี าร วัตถุประสงค์ รวมไปถึง ผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ แล้วจะเป็นการเพิม่ คุณภาพให้กบั กิจกรรมหรือโครงการ มากขึน้ ก็จะเป็นแผนทีห่ น่วยงานรับผิดชอบสามารถด�ำเนินการต่อได้และมี หน่วยงานอืน่ ๆ หรือคนในทีมชุมชนเข้าร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการด�ำเนินงาน ก็จะ เป็นการบูรณาการแผน บูรณาการคนท�ำงานไปด้วย ส่วนการออกแบบแผนงานใหม่ ก็ตอ้ งท�ำให้สอดคล้องกับเป้าหมายร่วม ของทีมชุมชน เป้าหมายและภารกิจของแต่ละหน่วยงาน พัฒนาและออกแบบ แผนงานให้เกิดการบูรณาการคนและการท�ำงานให้มากทีส่ ดุ การออกแบบแผนงานใหม่ทพี่ ฒ ั นาร่วมกัน โดยมีเป้าหมายร่วมของ ชุมชนทีต่ งั้ ไว้เป็นเป้าหมายสูงสุด จะมีเป้าหมายหลายประการทีอ่ าจจะเรียกว่า เป็นเป้าหมายย่อยหรือเป้าหมายของกิจกรรมทีส่ อดคล้องกับเป้าหมายและ ภารกิจของแต่ละหน่วยงาน การคิดแผนงานที่ท�ำให้เกิดการบูรณาการทั้ง แผนการท�ำงานและบูรณาการคนผ่านการเป็นทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบลก็จะ เกิดขึน้ ได้ หากเราพิจารณาจากเป้าหมายทีเ่ ราตัง้ ไว้ซงึ่ มีอยูห่ ลายเรือ่ งหลายด้าน เช่น ท�ำให้ผปู้ กครองมีความรู้ ความเข้าใจในการเลีย้ งดูเด็ก แก้ปญ ั หาเด็กติด โทรศัพท์มอื ถือ แก้ปญ ั หาการกระท�ำความรุนแรงต่อเด็ก แก้ปญ ั หาโภชนาการเด็ก ดูแลพัฒนาการเด็ก พัฒนาการเรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ของเด็ก พัฒนาด้านราย ได้ให้ครอบครัวมีตน้ ทุนในการเลีย้ งดูเด็ก ท�ำสภาพแวดล้อมในชุมชนให้ปลอดภัย ต่อเด็ก ฯลฯ คนในทีมควรได้แลกเปลีย่ นกันถึงประเด็นปัญหาทีเ่ ราใส่ใจอยาก แก้ไขก่อนมีอะไรบ้าง หรือมีเรือ่ งใดทีจ่ ะท�ำไปพร้อมๆ กันได้ จากนัน้ จึงออกแบบ กิจกรรมหรือโครงการทีจ่ ะท�ำในแต่ละเรือ่ งว่า ใครมีแนวคิดในเรือ่ งนัน้ อย่างไรบ้าง
174
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การร่วมคิด ร่วมวางแผนนัน้ โค้ชจะต้องท�ำให้แน่ใจว่าทุกคนได้แสดง ความคิดเห็นและได้แลกเปลีย่ นกันจนสามารถหาข้อสรุปร่วมกันได้วา่ จะท�ำ โครงการหรือกิจกรรมอะไรบ้างโดยมีรายละเอียดให้ครอบคลุมเชือ่ มโยงกันเช่น เดียวกับหัวข้อทีว่ างไว้ ช่วยกันเขียนลงกระดาษแล้วน�ำมาติดบนฝาผนังเพือ่ ให้ทกุ คนได้วเิ คราะห์แผนร่วมกัน ว่าโครงการหรือกิจกรรมทีเ่ ราเลือกท�ำนัน้ แต่ละคน มีบทบาทอย่างไรบ้าง ต้องการการสนับสนุนอะไรบ้าง ทัง้ เรือ่ งของทักษะ ความรู้ กระบวนการ ยังมีปญ ั หาอุปสรรคอะไรบ้าง ในการคิดแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมนัน้ เราควรช่วยกันคิดออก มาหลายๆ แผน และเมือ่ เราวิเคราะห์ เราจะได้พจิ ารณาเลือกแผนทีเ่ ราสามารถ ท�ำให้เป็นจริงได้ หรือเลือกว่าเราจะท�ำโครงการไหนก่อน โครงการไหนหลัง และ การคิดแผนงานนัน้ เราต้องระบุวธิ กี าร กระบวนการท�ำงานของแต่ละโครงการให้ ชัดเจน เพือ่ ให้เราสามารถมองเห็นภาพการท�ำงานล่วงหน้า นอกจากการวางแผนร่วมกันของทีมชุมชนแต่ละต�ำบลโดยมีโค้ชท�ำ กระบวนการจัดท�ำแผน ทบทวนแผน วิเคราะห์แผน ไปจนถึงการคัดเลือกแผนที่ จะด�ำเนินการในช่วงระยะเวลาประมาณ 6 เดือนก่อนจบโครงการแล้ว ในส่วน ของโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกชุมชนฯ ก็ได้จดั เวทีเพือ่ วางแผนการท�ำงาน โดยแต่ละต�ำบลน�ำแผนการท�ำงานทีม่ อี ยูแ่ ล้ว และการวางแผนการท�ำงานใหม่ที่ จะด�ำเนินงานเพือ่ ไปสูเ่ ป้าหมายร่วมทีช่ มุ ชนได้ตงั้ ไว้รว่ มกัน ในเวทีวางแผนการ ท�ำงาน ท�ำให้แต่ละทีมได้แลกเปลีย่ นเรียนรูจ้ ากกันและกัน เห็นต้นทุนและ ศักยภาพของต�ำบลต่างๆ เพือ่ น�ำมาพัฒนาวางแผนการท�ำงานของตนเองให้ดยี งิ่ ขึน้ อีกด้วย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
175
พัฒนาศักยภาพคน ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และการเสริมแรง การพั ฒ นาศักยภาพให้กับ ทีมชุมชนสามารถท� ำ ได้ ผ ่ า นการจั ด กระบวนการของโค้ช การสนทนากับโค้ชถึงสิง่ ทีแ่ ต่ละคนอยากมีความรูห้ รือ พัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพิม่ เติม จะเป็นการพัฒนาด้วยกันทัง้ ทีม หรือการ พัฒนาศักยภาพเฉพาะด้านก็ได้ ในโครงการนีไ้ ด้มกี ารจัดเวทีพฒ ั นาศักยภาพให้กบั ทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบล ร่วมกัน 3 ครั้ง โดยวางแผนการพัฒนาศักยภาพจากข้อมูล สถานการณ์ปญ ั หาในการท�ำโครงการระยะแรก และมองเห็นว่าประเด็นปัญหาที่ ชุมชนประสบอยูเ่ กีย่ วกับเด็กปฐมวัยและครอบครัวนัน้ มีรปู แบบคล้ายๆ กัน จึง ได้วางแผนพัฒนาศักยภาพเพือ่ ให้ทมี ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในประเด็นเด็ก ปฐมวัยและครอบครัวเพิม่ ขึน้ เพือ่ น�ำความรูไ้ ปปรับใช้กบั การวางแผนการท�ำงาน ในชุมชน
176
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
เวทีการอบรมพัฒนาศักยภาพ 3 ครัง้ ได้แก่
1. แนวทางการปกป้องคุม้ ครองเด็ก (สิทธิเด็ก) และการช่วยเหลือเด็ก ประสบปัญหาและเด็กทีม่ ภี าวะเสีย่ ง/เปราะบางจากการดูแลจากครอบครัว 2. อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ งแนวทางการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยใน ทุกมิติ สุขภาวะกาย จิตใจ และสังคม และชุมชน 3. อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ทักษะการท�ำกิจกรรม Group Support และ การออกแบบแนวทางการท�ำกิจกรรมกับผูป้ กครองทีม่ กี ารดูแลเด็กทีม่ ภี าวะ ประสบปัญหาและภาวะเสีย่ งหรือภาวะเปราะบางจากการดูแลของครอบครัวและ ชุมชน (ต่อมาทีมวิทยากรกระบวนการได้ปรับให้เวทีนเี้ ป็นอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง แนวคิดและวิธกี ารออกแบบกิจกรรมเพือ่ สร้างการเรียนรูอ้ ย่างมีสว่ นร่วมใน ประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง กับการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกมิติ สุขภาวะกาย จิตใจ และสังคม เพือ่ ให้ทมี กลไกท้องถิน่ ได้ฝกึ ทักษะและจ�ำลองการจัดกิจกรรม มีการแลกเปลีย่ น และข้อเสนอแนะต่อกิจกรรม ให้ทมี น�ำไปปรับใช้กบั กิจกรรม ทีจ่ ะท�ำจริงในชุมชน)
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
177
ในการอบรมทัง้ 3 ครัง้ นอกจากการอบรมปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับความรู้ ในประเด็นที่ก�ำหนดไว้แล้ว ได้มีการฝึกฝนให้ทีมชุมชนได้เรียนรู้ทักษะ กระบวนการ เทคนิคและเครือ่ งมือทีจ่ ะน�ำไปใช้ในการท�ำงาน ผ่านกระบวนการ ฝึกอบรม อาทิ ทักษะการสนทนาสร้างสรรค์ทมี่ พี ลัง ทักษะการฟังด้วยหัวใจ กระบวนการเตรียมความพร้อมเจริญสติ สมาธิ กระบวนการเช็คอิน – เช็คเอาท์ กระบวนการสนทนากลุม่ ย่อย การใช้เครือ่ งมือแผนทีค่ วามคิด (Mind mapping) เทคนิคการ์ด และกระบวนการอืน่ ๆ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าอบรมได้เก็บเกีย่ วประสบการณ์ จากการเข้าร่วมเวทีพฒ ั นาศักยภาพให้มากทีส่ ดุ การศึกษาดูงาน เป็นอีกรูปแบบหนึง่ ของการได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ ของผูอ้ นื่ และท�ำให้ผเู้ ข้าร่วมเรียนรูด้ งู านมีความรูแ้ ละประสบการณ์เพิม่ ขึน้ ได้ อาทิ เข้าร่วมมหกรรมเล่นเปลีย่ นโลก ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา และเรียนรูด้ งู าน ที่ ศูนย์ความเป็นเลิศการพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น โดย ดร.พูลสุข ศิรพิ ลู ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ความเป็นเลิศฯ ซึง่ เป็นผู้ เชีย่ วชาญและทีป่ รึกษาของโครงการ ได้เปิดให้เข้าไปเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ จริง ในพืน้ ทีท่ ด่ี แู ลเด็กปฐมวัย ทุกคนได้สมั ผัสถึงบรรยากาศของการดูแลเด็กที่ เหมาะสมกับพัฒนาการและความสนใจของเด็ก การจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ให้ เด็กได้เกิดการเรียนรูแ้ ละเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ
178
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การลงมือปฏิบต ั กิ ารของทีมและการสรุปบทเรียน เมือ่ ทีมชุมชนได้ออกแบบและคัดเลือกกิจกรรมหรือโครงการทีจ่ ะลงมือ ท�ำแล้ว ทุกคนคาดการณ์รว่ มกันว่าสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในขัน้ ตอนต่อไปจะเป็นอย่างไร มีการก�ำหนดระยะเวลาทีจ่ ะลงมือปฏิบตั กิ าร มีขนั้ ตอนการท�ำงาน แต่ละคนมี บทบาทอย่างไร มีการเตรียมตัวทัง้ จากการพัฒนาศักยภาพเพิม่ เติมและการ ค้นคว้าเรียนรูแ้ ลกเปลีย่ นด้วยกันในทีมแล้ว ก็ถงึ เวลาลงมือท�ำ การด�ำเนินกิจกรรมในแต่ละต�ำบลจะมีความแตกต่างกัน ตามความ สนใจของคนในทีม และกิจกรรมทีเ่ ป็นเรือ่ งเร่งด่วน ยกตัวอย่างกิจกรรม อาทิ • กิจกรรมเยีย่ มบ้านเพือ่ ช่วยเหลือเป็นรายกรณีทเี่ ป็นปัญหาเร่งด่วน ในการท�ำกิจกรรมนีก้ เ็ ป็นโอกาสในการเก็บข้อมูลเกีย่ วกับเด็กและครอบครัวเพิม่ เติมด้วย
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
179
• กิจกรรมลานเล่นสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างปัญญา ซึง่ เป็นกิจกรรมที่ ได้ไอเดียมาจาก มหกรรม Let ‘s play more : เล่นเปลีย่ นโลก และการน�ำ ภูมปิ ญ ั ญาของคนในชุมชนเกีย่ วกับการท�ำของเล่นจากวัสดุธรรมชาติและวัสดุ เหลือใช้มาท�ำเป็นของเล่น ซึง่ กิจกรรมนีย้ งั มีการพัฒนาต่อยอดในแต่ละพืน้ ทีแ่ ตก ต่างๆ กัน บางพืน้ ทีค่ รูจากศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กก็สอนผูป้ กครองท�ำของเล่นให้เด็ก ชวนเด็กเล่น หรือแม้แต่การให้เด็กได้ทำ� ของเล่นเอง บางทีมได้พฒ ั นาเป็นสือ่ การ เรียนรูผ้ า่ นการเล่น โดยทีมชุมชนช่วยกันผลิตสือ่ ให้กบั เด็กๆ ในช่วงเกิดวิกฤต โควิด - 19 เป็นต้น
180
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
• กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ สร้างทีมกลไกท้องถิน่ ระดับหมูบ่ า้ น ซึง่ เป็นการถ่ายทอดความรูจ้ ากทีมกลไกชุมชนระดับต�ำบลไปสูก่ ารสร้างทีมใน ระดับหมูบ่ า้ นเพือ่ ให้มคี วามรูแ้ ละทักษะในการช่วยเหลือดูแลเด็ก
• กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับพฤติกรรมเด็กติดโทรศัพท์ มือถือ มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ นั ในประเด็นดังกล่าว และผูป้ กครองเด็กแต่ละ ครอบครัวก็มกี ารลงมือท�ำ ปรับพฤติกรรม มีการติดตามผลจากทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบลถึงพฤติกรรมเด็กเป็นต้น • กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ กีย่ วกับพัฒนาการเด็ก และสิทธิเด็ก โดยกลุม่ เป้าหมายเป็นผูป้ กครองของเด็กและทีมกลไกท้องถิน่ ระดับหมูบ่ า้ น เพือ่ ให้มคี วามรูใ้ นการดูแลช่วยเหลือเด็ก • ในกรณีทตี่ อ้ งช่วยเหลือเด็กเร่งด่วน การเข้าถึงสวัสดิการของรัฐ การ ส่งต่อดูแลเด็กต่างๆ ในกรณีเช่นนีท้ กุ พืน้ ทีไ่ ด้ให้ความส�ำคัญและเร่งแก้ไขพร้อม กับถ่ายทอดความรูใ้ นการด�ำเนินการเรือ่ งเหล่านีใ้ ห้กบั คนทีม หากกรณีมคี วาม ซับซ้อนก็มกี ารส่งต่อให้กบั หน่วยงานระดับจังหวัด ซึง่ มีการประสานงานกันอย่าง ต่อเนือ่ ง หลังการจัดกิจกรรมต่างๆ แล้ว ในแต่ละต�ำบลได้มกี ารจัดกิจกรรมสรุป บทเรียน เพือ่ ให้แต่ละทีมได้มองเห็นเส้นทางทีผ่ า่ นมาของตนเอง สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ การเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ๆ การพัฒนาทีม พัฒนาการท�ำงานไปด้วยกัน ค้นพบจุดเด่น จุดด้อย จังหวะและโอกาสในการท�ำงานของทีม ปัญหาอุปสรรคทีท่ มี ต้องประสบ พบเจอ ทัง้ วิกฤตจากโรคระบาดไวรัสโควิด -19 ทีท่ ำ� ให้แต่ละทีมก็ปรับแผน ปรับ กิจกรรม เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ แรงและก�ำลังใจทีแ่ ต่ละทีมได้รบั ที่ ท�ำให้ผา่ นพ้นอุปสรรคกันมาได้ สิง่ เหล่านีใ้ นแต่ละพืน้ ทีไ่ ด้นำ� มาเป็นบทเรียนใน การท�ำงานต่อในระยะต่อไป
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
181
บทเรียนทีไ่ ด้เรียนรูจ้ ากการทำ�งาน การท�ำงานเพื่อให้คนในชุมชนลุกขึ้นมาแก้ปัญหาด้วยตัวเอง โดย ออกแบบให้มกี ารพัฒนาการเป็นโค้ชเพือ่ สร้างทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบลให้ พร้อมท�ำงานเป็นทีมในประเด็นเด็กปฐมวัยและครอบครัวในชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูท้ เี่ กิดจากการด�ำเนินโครงการทัง้ หมดมีดงั นี้ 1. เริม่ ต้นทีค่ นมีใจ ทีอ่ ยากลุกขึน้ จัดการกับปัญหาในชุมชนของตัว เอง ท�ำอย่างไรให้หาคนทีใ่ ช่ให้เจอ การท�ำงานสร้างความเปลีย่ นแปลงนัน้ ขึน้ อยู่ กับแนวคิดและจิตใจของคน สิง่ ทีส่ ะท้อนความเอาจริงเอาจัง อยากช่วยเหลือผูอ้ นื่ และท�ำให้สงั คมดีขนึ้ คนทีม่ องเห็นเรือ่ งส่วนรวมเป็นเรือ่ งส�ำคัญ และต้องช่วยกัน การเข้าไปในชุมชนเพือ่ ค้นหาคนทีใ่ ช่มาร่วมมือกันท�ำงานนัน้ ต้องค้นหา ให้ถกู คน เพราะบางครัง้ อาจจะพบว่า คนในชุมชนเหล่านีเ้ ป็นคนทีเ่ ห็นปัญหา อยูแ่ ล้ว อยากท�ำ อยากจะลุกขึน้ มาจัดการกับปัญหา และอาจจะเคยลุกขึน้ มา พยายามพูดถึงปัญหา พยายามท�ำบางอย่างตามทีต่ นเองมีกำ� ลัง และอาจจะเคย ผิดหวังกับโครงการอืน่ ๆ ทีเ่ คยเข้ามาในชุมชน เมือ่ สิน้ สุดโครงการก็ไม่มกี ารท�ำ อะไรต่อ ความไม่ตอ่ เนือ่ งอาจจะท�ำให้คนเหล่านีเ้ คยท้อแท้ หมดหวัง ดังนัน้ การเข้าไปท�ำงานกับชุมชนจึงต้องจับทีห่ วั ใจเขาให้ได้วา่ เขาคิด อย่างไร รูส้ กึ อย่างไร เขาอยากท�ำอะไร อยากท�ำแบบไหน และหน่วยงานทีค่ วร จะท�ำงานร่วมด้วยช่วยกันไปกับเขามากทีส่ ดุ คือหน่วยงานทีอ่ ยูใ่ นชุมชนเอง ทีเ่ ห็น ว่าปัญหาในชุมชนก็เป็นปัญหาของเขาเองเช่นกัน การเชือ่ มโยงให้แต่ละคนได้เจอ กันและสร้างกระบวนการให้คนในชุมชนได้ทำ� งานด้วยกัน แบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละออกแบบการท�ำงานร่วมกัน จะช่วยปลุกพลังในตัวคน เหล่านีใ้ ห้ทำ� งานอย่างเอาจริงเอาจัง ต่อเนือ่ ง และสร้างผลส�ำเร็จให้เกิดขึน้ ใน ชุมชนได้
182
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
พลังใจส�ำหรับการท�ำเรือ่ งยากๆ และซับซ้อนนัน้ ส�ำคัญมาก และพลัง แรงใจที่จะท�ำเป้าหมายให้ส�ำเร็จจะท�ำให้คนเหล่านี้ผลักดันตนเอง พัฒนา ศักยภาพตนเอง เพือ่ ให้ตนเองมีความสามารถมากขึน้ มีความรูม้ ากขึน้ ท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่เคยท�ำมาก่อน จึงควรหล่อเลีย้ งพลัง รักษาไฟแห่งความฝัน ความหวังของ คนด้วยการท�ำงานเป็นทีมจะท�ำให้เขาไม่โดดเดีย่ ว มีเพือ่ นร่วมทางทีเ่ ข้าใจและ พร้อมจะฟันฝ่าไปด้วยกัน 2. การเป็นโค้ชทีด่ ี เป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ความเป็นโค้ชนัน้ สะท้อนผ่านการโค้ชชิง่ ให้ทมี อยากจะเรียนรูแ้ ละพร้อมทีจ่ ะท�ำงาน ดังนัน้ โค้ช ต้องฝึกฝนตนเองและเรียนรูอ้ ยูเ่ สมอ สิง่ ส�ำคัญคือเท่าทันตัวเอง ความน่าเชือ่ ถือของโค้ชนัน้ มาจากการเป็นแบบอย่างทีด่ ี และสร้างความ เชือ่ มัน่ ให้กบั ทีมได้ การแสดงออกของโค้ชผ่านการกระท�ำและค�ำพูด ท่าทีตอ่ คนในทีม ท่าทีตอ่ การเรียนรูพ้ ฒ ั นาตนเอง ยกตัวอย่างเช่น การวางตัวและท่าที ของโค้ชในวงประชุม การตรงต่อเวลา การตัง้ ใจฟัง ใส่ใจรายละเอียด ดูแลเอาใจ ใส่คนในทีม สิง่ เหล่านีเ้ ป็นสิง่ ทีม่ นุษย์สมั ผัสมนุษย์ สามารถเข้าใจได้โดยไม่ตอ้ ง อธิบายแต่เข้าใจผ่านท่าที บุคลิกภาพ ความเป็นโค้ชนัน้ ต้องไม่ตงึ และไม่หย่อน รูจ้ งั หวะและโอกาส รูจ้ กั การ เพิม่ พลังให้ทมี ฮึกเหิม และรูจ้ กั การผ่อนคลายเพือ่ เสริมพลังสร้างความอุน่ ใจให้ กับคนในทีม ทีมท�ำงานแม้จะเข้มแข็ง ร่วมมือกันเป็นอย่างดี แต่กใ็ ช่วา่ จะคงสภาพ ความเป็นทีมอย่างเดิมได้ตลอดเวลาหรือตลอดไป สภาวะแห่งความเป็นทีมก็มี ชีวติ เหมือนคนเรา ทีม่ ขี นึ้ ลง มีฮกึ เหิม อ่อนแอได้ ดังนัน้ การดูแลรักษาและ หล่อเลีย้ งพลังในทีมจึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญ และต้องให้ความใส่ใจส�ำรวจเช็คสภาวะ ของทีมและของคนในทีมอยูเ่ สมอ เพือ่ รักษาพลังความเป็นทีมให้ไปได้เรือ่ ยๆ (ซึง่ อาจเป็นเรือ่ งทีโ่ ค้ชหรือหัวหน้าทีมต้องใส่ใจเป็นพิเศษในเรือ่ งนี)้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
183
การเป็นโค้ชนัน้ เป็นศิลปะแห่งความสัมพันธ์ การเรียนรูแ้ ละการสร้าง โอกาสในการท�ำบางอย่างเพือ่ ให้ถงึ เป้าหมาย เป็นการรักษาความสมดุลระหว่าง การท�ำให้โค้ชชีไ่ ปถึงเป้าหมายให้ได้ แต่ในขณะเดียวกันต้องไม่กดดันจนท�ำให้เกิด ความเครียด ยิง่ เป็นโค้ชแบบทีม ยิง่ ต้องถ่ายทอดความเข้าใจในเรือ่ งของความ สัมพันธ์ การดูแลกันและกันในทีม ไม่มองกันแต่เรือ่ งของงานเท่านัน้ แต่ควรมอง เรือ่ งของการใช้ชวี ติ ทีส่ มดุลให้เกิดสุขภาวะทัง้ กายและใจ โค้ชจึงมีสว่ นอย่างมาก ในการหลอมให้ทกุ คนในทีมเป็นคนทีเ่ อาจริงเอาจัง ไม่ทงิ้ เป้าหมาย อยาก เอาชนะปัญหาให้ได้ แต่ขณะเดียวกันก็ทำ� งานด้วยความเบิกบานมีความสุข 3. เน้นความเป็นทีม ไม่ใช่โครงสร้างตามต�ำแหน่ง จากทีเ่ คยเป็นมา ส่วนใหญ่แล้วหน่วยงานต่างๆ มักไปสนับสนุนให้ชาวบ้านจัดตัง้ กลุม่ โดยมี โครงสร้างมาก่อน มีตำ� แหน่งต่างๆ แล้วใส่ชอื่ คนในชุมชนทีค่ ดิ ว่าเหมาะสมเข้ามา แต่โครงการนีไ้ ด้เปลีย่ นจากการจัดตัง้ กลุม่ เป็นการสร้างทีมท�ำงาน ทีม่ าจาก หน่วยงานต่างๆ และคนทีม่ ใี จอยากท�ำงานในประเด็นเด็กปฐมวัยและครอบครัว ทัง้ นีค้ นทีม่ าจากหน่วยงานทีม่ ารวมตัวกันเป็นทีมก็เพือ่ ให้การท�ำงานเป็นเนือ้ เดียวกันกับงานทีม่ บี ทบาทรับผิดชอบอยู่ และมีปจั จัยสนับสนุนไม่วา่ จะด้วยงบ ประมาณหรืออ�ำนาจความรับผิดชอบ และมีกระบวนการสร้างเป้าหมายร่วมกัน ของทีม โครงสร้างของทีมจะเป็นไปโดยความถนัด ความสนใจ (ความแตกต่าง ของกลุม่ กับทีม) เน้นทีม่ ใี จอยากท�ำเรือ่ งนีจ้ ริงๆ ดึงคนทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ ภี ารกิจตรง กับกลุม่ เป้าหมายเข้ามาร่วม ท�ำให้เห็นความส�ำคัญของการท�ำเรือ่ งนี้ นอกจากนีย้ งั มีการสนับสนุนให้มกี ารตัง้ ทีมท�ำงานเล็กๆ ตามความ สนใจ ก็จะยิง่ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน เพราะคนทีล่ กุ ขึน้ มาเหล่านี้ เป็นคนทีอ่ ยูก่ บั ปัญหา การหันหน้าเข้าหากัน พูดคุยแลกเปลีย่ นเกีย่ วกับปัญหา นัน้ ๆ และหาทางออกร่วมกันได้ เช่น กลุม่ พ่อแม่ทมี่ ลี กู หลานพิการก็จะมีองค์
184
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
ความรูอ้ ย่างหนึง่ ทีจ่ ะแลกเปลีย่ นถ่ายทอดกันได้ หรือการตัง้ เป็นศูนย์ชว่ ยเหลือ ทีมเฝ้าระวัง ทีมในระดับหมูบ่ า้ น เป็นต้น การมีทมี เล็กๆ หลายทีม แต่ละทีมมี อิสระและมีแผนของตนเอง และเชือ่ มโยงกันเป็นทีมเครือข่ายระดับต�ำบล จะ ท�ำให้เราเห็นความเข้มแข็งของผูค้ นทีช่ ว่ ยกันคนละไม้คนละมือ ไม่มใี ครเป็น เจ้าของและผูกขาดการให้ความช่วยเหลือ แต่ทกุ คนช่วยกันทัง้ ชุมชน การพัฒนาความเป็นทีมทีต่ อ้ งท�ำอย่างต่อเนือ่ งและรักษาโครงสร้าง ความสัมพันธ์ทเี่ ท่าเทียม เคารพและให้เกียรติซงึ่ กันและกัน รับฟังกัน สร้างความ สัมพันธ์ทดี่ ตี อ่ กัน ก็จะท�ำให้ความเป็นทีมยิง่ แน่นแฟ้น สามารถท�ำงานทีย่ ากๆ และซับซ้อนให้สำ� เร็จได้ 4. ความสัมพันธ์เป็นเงือ่ นไขส�ำคัญสูค่ วามส�ำเร็จในการท�ำงานและ การแก้ไขปัญหา เพราะทุกงานเดินได้ดว้ ยคน และไม่ใช่คนเพียงคนเดียว แต่เป็น กลุม่ คน ดังนัน้ ความสัมพันธ์ของคนในทีม รวมไปถึงความสัมพันธ์ของคนใน ชุมชนด้วย จึงเป็นเงือ่ นไขส�ำคัญทีจ่ ะน�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จตามทีต่ งั้ เป้าหมายไว้ หลายคนในชุมชนรูจ้ กั กันผ่านหน้าทีก่ ารงาน รูจ้ กั กันโดยต�ำแหน่ง แต่ เมือ่ เข้ามาร่วมทีมกันก็เกิดความสัมพันธ์เป็นคนในทีมเดียวกัน บางส่วนทีเ่ คยมี ความสัมพันธ์แบบบนลงล่างก็เปลีย่ นให้เป็นแนวราบ เพือ่ การท�ำงานร่วมกันเป็น ทีมทีใ่ ห้ความส�ำคัญทุกคนเท่ากัน ให้เกียรติกนั แต่โดยบทบาทแล้วคนในทีมต้อง มีคนทีเ่ ป็นแกนน�ำ คนทีม่ ภี าวะผูน้ ำ� มีความรับผิดชอบหลัก เป็นคนผลักดัน ให้การท�ำงานมุง่ ไปสูค่ วามส�ำเร็จได้ตามเป้าหมาย และมีผทู้ มี่ บี ทบาทสนับสนุน บางครัง้ บทบาทเหล่านีก้ ส็ ลับกันได้ เป็นการผลัดกันน�ำผลัดกันตาม ความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไปนี้เกิดขึ้นจากการที่ทีมได้มีโอกาสเข้า กระบวนการฝึกอบรมของโครงการ และสัมพันธ์กบั รูปแบบการท�ำงานระหว่าง ทีมกลไกท้องถิน่ ระดับต�ำบลกับโค้ช หลายคนในทีมสะท้อนว่า ความสัมพันธ์ทด่ี ี นัน้ เกิดมาจากความรูส้ กึ ว่าพวกเขาเป็นคนส�ำคัญ เช่น โค้ชมีวธิ กี ารประสานงาน
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
185
ตกลง นัดหมายทีใ่ ส่ใจทุกคน เป็นการนัดหมายทีม่ กี ารตกลงร่วมกัน ไม่ใช่การ แจ้งวันเวลาไปโดยคนทีม่ ตี ำ� แหน่งซึง่ ชาวบ้านเกรงใจและต้องจัดสรรเวลามาเข้า ร่วมกิจกรรม แต่จะเป็นการนัดหมายทีท่ กุ คนหาเวลาร่วมกัน และเป็นการนัด หมายล่วงหน้าทีท่ กุ คนสามารถจัดสรรเวลาได้ เป็นต้น สิง่ ส�ำคัญคือดูแลรักษาความสัมพันธ์ให้เจริญงอกงาม ความช่วยเหลือ เกือ้ กูลและดูแลเอาใจใส่ตอ่ กัน เปิดโอกาส เปิดใจ รับฟังกันและกัน ผลักดันกัน และกัน อันเป็นหัวใจส�ำคัญของการสร้างทีม ก็จะท�ำให้ทมี อยูบ่ นความสัมพันธ์ท่ี ดีตอ่ กันได้ยาวนาน 5. สร้างวัฒนธรรมใหม่ของการประชุมและการสนทนา เปลีย่ นวิธี การประชุม จากอบรมแบบบรรยาย ให้คนไปประชุม นัง่ ฟัง เป็นการประชุมอย่าง สร้างสรรค์ ทุกคนได้มสี ว่ นร่วม ได้แสดงความคิดเห็น ได้พดู โดยมีกระบวนการ สนทนาทีม่ พี ลัง การเตรียมพร้อมด้วยการนัง่ สมาธิภาวนาให้ใจพร้อมกายพร้อม การฟังอย่างตัง้ ใจ การสรุปสิง่ ทีไ่ ด้พดู คุยแลกเปลีย่ นกันให้มขี อ้ สรุปร่วม สร้างการ สนทนาทีแ่ ต่ละคนได้แลกเปลีย่ น แสดงความคิด ความรูส้ กึ และมีคนรับฟัง ท�ำให้ คนรูส้ กึ ถึงพลัง ศักยภาพในตน ได้รบั การยอมรับ เป็นการเสริมพลัง (empower) ซึง่ มีสว่ นในการสร้างพลังแห่งความเป็นทีม เพราะคนรูส้ กึ เป็นส่วนหนึง่ ในทีม ได้รบั การยอมรับ ฟังกันและกัน การเรียนรูผ้ า่ นการประชุมในโครงการนี้ มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผ่านการดูหนัง ดูภาพ อ่านบทความ และสร้างการสนทนาทีม่ คี วามหมาย ไม่ ท�ำให้การมาประชุมร่วมกันเป็นเรือ่ งน่าเบือ่ ทุกครัง้ ของการสนทนากันต้องมีความหมาย ได้ประโยชน์กนั ทุกคน เห็นได้จากการสะท้อนมุมมองความคิดของผูเ้ ข้าร่วมประชุมในแต่ละครัง้ ทีม่ กี าร ตัง้ ค�ำถามว่าเขาได้ประโยชน์อะไร ในเรือ่ งไหน เรือ่ งไหนทีจ่ ำ� ได้ เรือ่ งไหนทีร่ สู้ กึ สะดุดใจ สะกิดใจ
186
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การสนทนาเป็นทัง้ กระบวนการและเครือ่ งมือในการเชือ่ มความคิด เชือ่ มใจ สร้างสรรค์ความคิดใหม่ ก่อเกิดพลังใจ สายสัมพันธ์ และน�ำไปสูพ่ ลัง การปฏิบตั ริ ว่ มกัน ดังนัน้ การสนทนา ไม่วา่ จะในรูปแบบไม่เป็นทางการ อย่าง บนโต๊ะอาหาร หรือ แบบประชุม ก็ควรใส่ใจเรือ่ งพลังในการสร้างสรรค์และเชือ่ ม ผูค้ นในวงสนทนาให้เกิดขึน้ ในการประชุมควรท�ำเป้าหมายการสนทนาให้ชดั เจนว่า ประชุมท�ำไม เพือ่ อะไร ส�ำคัญอย่างไร เพือ่ ให้ทกุ คนจดจ่อไปทีเ่ ป้าหมาย การแบ่งปันเป้าหมาย (shared goal) ของการสนทนา จะท�ำให้การสนทนามีหลัก ชัดเจน และกระชับได้ ไม่ทำ� ให้เสียพลัง นอกจากนีย้ งั มีการน�ำกระบวนการถอดบทเรียน โดยใช้การ AAR (After Action review) บ่อยๆ ทุกครัง้ หลังการประชุม ไม่วา่ จะเป็นทีมบริหาร โครงการ ทีมโค้ช ทีมชุมชน ส�ำหรับโครงการนีไ้ ด้มกี ารมานัง่ คุยกันเพือ่ ทบทวน สิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวันนัน้ ว่าเกิดอะไรขึน้ บ้าง ผลเป็นอย่างไร มีอะไรทีเ่ ป็น ประโยชน์สำ� หรับการน�ำไปใช้หรือไปปรับปรุงต่อ มีปญ ั หาอุปสรรคอะไรเกิดขึน้ บ้าง ในตอนนัน้ แก้ปญ ั หาอย่างไร หรือถ้ายังไม่ได้แก้ปญ ั หา มีแนวทางแก้ไข อย่างไร การตั้งวงสนทนาหลังจบการประชุมแต่วันของทีมจะช่วยให้ทีมได้ ทบทวนร่วมกัน ท�ำความเข้าใจร่วมกัน และเดินมาอยูใ่ นจุดเดียวกันได้ ไม่ใช้เวลา ในการสนทนามากเกินไป และให้ทกุ คนได้พดู แสดงความคิด ความรูส้ กึ ยังคง ใช้กระบวนการสนทนาอย่างสร้างสรรค์ในทุกวงสนทนา ส่วนค�ำถามนัน้ ขึน้ อยูก่ บั โค้ชทีน่ ำ� คุยต้องการรูอ้ ะไรบ้างในวันนัน้ และอยากรูไ้ ปเพือ่ อะไร ส�ำหรับโครงการ นีส้ งิ่ ทีม่ กั ย�ำ้ กันเสมอคืออย่าท�ำให้การ AAR เป็นพิธกี รรม แต่ตอ้ งท�ำให้ได้ ประโยชน์ การ AAR เป็นการสรุปและถอดบทเรียนเพือ่ พัฒนาตนเอง พัฒนาทีม เพือ่ ท�ำงานให้เกิดผลส�ำเร็จตามทีม่ งุ่ หวัง การ AAR ต้องรูว้ า่ จะท�ำช่วงเวลาไหน เช่น ภายหลังท�ำกิจกรรมส�ำคัญๆ แต่ละครัง้ และ/หรือในช่วงทีท่ ำ� โครงการไปได้
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
187
สักระยะ (ซึง่ ต้องออกแบบวางแผนการทบทวนบทเรียนว่า ตอนไหน เวลาใดจึง จะเหมาะ) รวมถึงอาจมีการ AAR ได้ในจังหวะทีเ่ ห็นว่าจ�ำเป็น เช่น ในกรณีทมี่ ี เหตุวกิ ฤตบางอย่างเกิดขึน้ หรือเมือ่ ทีมเห็นว่า มีบางอย่างทีจ่ ำ� เป็นต้องถอด บทเรียนก็สามารถ AAR ได้ 6. ใช้กระบวนการทีท่ ำ� ให้ความรูอ้ อกมาจากทุกคน ด้วยความเชือ่ ว่า ทุกคนมีความรูแ้ ละศักยภาพในตัว เพียงแต่ยงั ไม่ได้ดงึ ออกมาใช้หรือน�ำมา จัดการความรูเ้ พือ่ น�ำไปใช้งาน จากเดิมหน่วยงานต่างๆ มักจะจัดกิจกรรมให้ ความรูก้ บั คนในชุมชนในเรือ่ งต่างๆ แต่โครงการนีไ้ ด้ทำ� ให้คนในทีมชุมชนมอง เห็นว่าความรูน้ นั้ อยูใ่ นตัวคน ไม่วา่ จะเป็นความรูเ้ กีย่ วกับการเลีย้ งดูเด็ก ความรู้ ในการท�ำของเล่นให้กบั เด็ก รวมไปถึงความรูด้ า้ นอืน่ ๆ การดึงความรูอ้ อกมาจาก ตัวคนโดยใช้กระบวนแลกเปลีย่ นความรู้ วิทยากรกระบวนการท�ำหน้าทีเ่ ชือ่ มโยง ความรูท้ อี่ อกมาจากทุกคน และเรียบเรียงให้ทำ� ความเข้าใจง่ายขึน้ บางครัง้ ไม่ ต้องสรุปทุกคนก็เข้าใจความรูน้ นั้ แล้ว และถ้ามีสว่ นไหนทีข่ าดวิทยากรถึงจะ เพิม่ เติม หลายคนทีเ่ ข้าร่วมกระบวนการสะท้อนว่า การแลกเปลีย่ นเรียนรูท้ ำ� ให้ เขามองเห็นคุณค่าในตัวเองว่าเขาก็มคี วามรู้ และท�ำให้เขากล้าพูด กล้าแสดง ความเห็น รูส้ กึ มีคนรับฟัง กระบวนการเรียนรูแ้ บบนีจ้ ะท�ำให้ทกุ คนจ�ำได้เพราะ ผ่านการพูดคุยกันจนตกผลึก และเป็นการท�ำให้ความรูเ้ ป็นเรือ่ งสนุก
นอกจากการเรียนรูท้ คี่ นในทีมได้เรียนรูจ้ ากโครงการแล้ว ทีมแต่ละ ต�ำบลยังได้ปรับกิจกรรมการฝึกอบรมทีจ่ ะให้ความรูก้ บั กลุม่ เป้าหมายมาเป็นการ อบรมเชิงปฏิบตั กิ าร มีการออกแบบหลักสูตรการอบรมและซักซ้อมทดลองจน มัน่ ใจ เมือ่ จัดกิจกรรมกลุม่ เป้าหมายแล้วหลายคนสะท้อนว่าเป็นการอบรมที่ ท�ำให้ผเู้ ข้าร่วมไม่เบือ่ เข้าร่วมตลอดการอบรม จดจ�ำสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูไ้ ด้ และอยาก ให้มกี ารอบรมแบบนีอ้ กี เพราะรูส้ กึ ว่าเป็นความรูท้ เ่ี ข้าถึงและเข้าใจได้ไม่ยาก
188
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การจัดกิจกรรมการอบรมให้ความรูท้ เี่ กิดผลส�ำเร็จเช่นนี้ ยิง่ ท�ำให้ทมี ชุมชนมีกำ� ลังใจในการท�ำงาน และยิง่ พัฒนาตนเอง ค้นคว้าความรูเ้ พิม่ เติมเพือ่ น�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์กบั กลุม่ เป้าหมายในชุมชน 7. การท�ำงานบนฐานข้อมูลทีเ่ ป็นจริง รอบด้าน ทันสถานการณ์ ไม่ ได้เก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว เพราะข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและครอบครัวมีการ เปลีย่ นแปลง และเด็กเติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ สถานการณ์ครอบครัวก็ไม่นงิ่ มีการ ปกปิดข้อมูล บอกความจริงไม่หมด การท�ำระบบข้อมูลจึงต้องมีการอัพเดทกัน บ่อยๆ มีการลงพืน้ ทีเ่ พือ่ เก็บข้อมูลเป็นระยะ ยกตัวอย่าง ข้อมูลทีเ่ ปลีย่ นแปลง เช่น เก็บข้อมูลครัง้ แรกเด็กอยูก่ บั พ่อแม่ แต่พอผ่านไปอีกหนึง่ เดือน พ่อแม่ไป ท�ำงานต่างจังหวัด เด็กต้องอยูก่ บั ยาย การเลีย้ งดูกเ็ ปลีย่ นไป เป็นต้น การท�ำงานต้องอาศัยข้อมูลความเป็นจริงในพืน้ ที่ ดังนัน้ จึงต้องทัน เหตุการณ์ เท่าทันสถานการณ์ในพืน้ ทีต่ ลอดเวลา ไม่มองข้อมูลความเป็นจริงทีม่ ี เป็นสิง่ ตายตัว หยุดนิง่ กับที่ จึงต้องออกแบบกระบวนการ วิธกี ารทีจ่ ะเท่าทัน ความเป็นจริงทีเ่ กิดขึน้ ด้วย นอกจากนี้ การมีขอ้ มูลทีร่ อบด้านเกีย่ วข้องกับ ประเด็นงานก็เป็นเรือ่ งส�ำคัญ ไม่เพียงข้อมูลเรือ่ งเด็ก แต่อาจเป็นข้อมูลเกีย่ วกับ สภาพการท�ำมาหากินของทางบ้าน ความสัมพันธ์ วัฒนธรรม ความเชือ่ ของผู้ ทีด่ แู ลและเกีย่ วข้องกับเด็ก ฯลฯ ทีมเก็บข้อมูลจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับความเป็นจริงอืน่ ๆ ที่ อาจจะหรือมีผลกระทบต่อประเด็นปัญหาหรือกลุม่ เป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องด้วย เพือ่ ให้รบั มือกับปัญหาได้ทนั การณ์ หรือเห็นทางออก/โอกาสในการรับมือกับปัญหา 8. การแก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบ และไม่แก้ปญ ั หาแบบเหมารวม เช่น การส�ำรวจข้อมูลในชุมชนว่ามีผทู้ มี่ ปี ญ ั หาคล้ายกันกีร่ าย และจัดวงคุยให้คน ทีม่ ปี ญ ั หาคล้ายกันได้พดู คุยเพือ่ หาทางออกร่วมกัน เป็นการจัดตัง้ กลุม่ เล็กๆ ที่ ทีมชุมชนจะสามารถเข้าไปท�ำงานด้วยได้อย่างตรงจุด เช่น กลุม่ ครอบครัวทีเ่ ด็ก
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
189
ปฐมวัยมีปญ ั หาเรือ่ งโภชนาการ / กลุม่ ครอบครัวทีเ่ ด็กมีปญ ั หาสุขภาพ / กลุม่ ครอบครัวทีป่ ยู่ า่ ตายายเป็นคนเลีย้ งดูเด็ก / กลุม่ ครอบครัวทีม่ ปี ญ ั หาเรือ่ งเด็กติด โทรศัพท์ เป็นต้น และเมือ่ จัดให้กลุม่ ครอบครัวเหล่านีม้ าพูดคุยกัน ค้นหาสาเหตุ ของปัญหาว่าเกิดจากอะไรบ้าง และค้นหาความต้องการในการแก้ปญ ั หาของ แต่ละกลุม่ รวมทัง้ ให้แต่ละกลุม่ ลองคิดค้นหาทางออกจากปัญหา โดยทีมชุมชน เป็นผูเ้ อือ้ อ�ำนวยให้เกิดวงคุย ช่วยชวนคุย ตัง้ ค�ำถาม และหาข้อสรุปร่วมกัน ทีม ชุมชนก็จะเห็นทางออกของปัญหาว่าควรจะสนับสนุนอย่างไร ถ้าช่วยเหลือต้อง ช่วยอย่างไรในเบือ้ งต้นและต้องค้นหาทางออกทีน่ ำ� ไปสูค่ วามยัง่ ยืนด้วย สิง่ ทีท่ มี ชุมชนต้องค�ำนึงถึงก็คอื ทางแก้ปญ ั หาไม่ใช่การสงเคราะห์ เพราะการสงเคราะห์เป็นทางออกทีเ่ ร่งด่วนทีท่ ำ� ได้ชว่ั คราวเท่านัน้ แต่ทางออกที่ ยัง่ ยืน จะช่วยให้ครอบครัวต่างๆ ในชุมชนยืนอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น เด็กมีปญ ั หาเกีย่ วกับโภชนาการ หากสาเหตุมาจากความไม่รข้ ู องผูเ้ ลีย้ งดู ก็สามารถ ให้ความรู้ ให้คำ� แนะน�ำ ท�ำเป็นตัวอย่างได้ ให้ผเู้ ลีย้ งดูทดลองจัดเมนูอาหารให้ เด็กให้ถกู ต้องตามโภชนาการได้ แต่หากปัญหาเกิดจากความยากจน ก็ตอ้ งหา ทางออกภายใต้ขอ้ จ�ำกัดนัน้ ว่าจะท�ำอย่างไรให้เด็กได้รบั อาหารทีถ่ กู ต้องตาม โภชนาการได้ บางครัง้ เราสงเคราะห์คนยากจนด้วยการให้เขาได้รบั เงินสงเคราะห์จาก ทางรัฐ แต่เงินดังกล่าวไม่ได้ถกู ใช้ตามวัตถุประสงค์ของการให้เงิน เด็กก็ยงั ได้รบั อาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการอยู่ดี ท�ำอย่างไรให้เด็กได้รับอาหารถูกหลัก โภชนาการจึงเป็นโจทย์หลักทีต่ อ้ งแก้ของคนกลุม่ นี้ แต่ตอ้ งแก้ควบคูก่ นั ไปกับ เรือ่ งของความยากจน ซึง่ บางชุมชนอาจจะช่วยเหลือเด็กกลุม่ นีไ้ ด้ดว้ ยการท�ำโรง อาหารของอาสาสมัครในชุมชนทีจ่ ดั อาหารถูกต้องตามโภชนาการให้กบั เด็กและ ครอบครัว เป็นต้น แม้ความคิดเหล่านีจ้ ะยังไม่ได้เกิดขึน้ ในช่วงระหว่างการท�ำงาน โครงการ แต่แนวโน้มการคิดแก้ปญ ั หาของชุมชนนัน้ มีความเป็นไปได้ทจี่ ะน�ำไป สูก่ ารลงมือท�ำสิง่ เหล่านี้
190
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
การคิดแก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบนัน้ ต้องมีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ การ คิดเชือ่ มโยง ซึง่ ทีมชุมชนและโค้ชต้องฝึกฝนตนเองให้มคี วามสามารถในการคิด วิเคราะห์เพือ่ ให้แก้ปญ ั หาอย่างเป็นระบบ แก้ทรี่ ะบบและสร้างระบบทีท่ ำ� ให้ชมุ ชน เป็นพืน้ ทีเ่ หมาะสมในการเลีย้ งดูเด็กต่อไปในอนาคต 9. การท�ำงานแบบมีเป้าหมายร่วมและมีความหมายร่วม พลังของ ความฝันจะท�ำให้คนอยากจะท�ำงาน และการขยับก้าวเข้าใกล้กบั ความฝันจะช่วย สร้างก�ำลังใจให้คนอยากท�ำให้ดยี งิ่ ขึน้ อยากท�ำให้ใกล้เข้าไปอีก ในระยะสัน้ เรา อาจจะตอบได้วา่ เราอยากท�ำอะไร และคิดว่าท�ำอย่างไร แต่หลักของการโค้ชมัก จะบอกเสมอว่าต้องท�ำให้ผรู้ บั การโค้ชรูว้ า่ ท�ำไมถึงอยากท�ำ มันมีความหมายต่อ ตัวเขาอย่างไร มีความหมายมากแค่ไหน และเป็นสิง่ ทีเ่ ขาต้องการไปให้ถงึ ที่ แท้จริงหรือเปล่า เพราะหากสิง่ ทีเ่ ขาอยากเห็นนัน้ มันมีความหมายต่อชีวติ ของ เขาและคนรอบข้างเขามากพอ มันก็จะมีพลังมากพอทีจ่ ะท�ำให้เขามุง่ มัน่ ผลัก ดันตนเองให้ทำ� สิง่ นัน้ ให้สำ� เร็จจนได้ แม้พบกับอุปสรรคมากมายแค่ไหน ถ้าเป็น สิง่ ทีเ่ ขาต้องการจริงๆ เขาก็จะก้าวข้ามฝันฝ่าอุปสรรคนัน้ ไปจนได้ ยิง่ เป็นเป้าหมาย ร่วมยิง่ ท�ำให้เห็นว่าแต่ละคนไม่ได้กำ� ลังเดินทางเพียงล�ำพังแต่มเี พือ่ นร่วมทางทีจ่ ะ คอยประคับประคองดูแลกันไป
ทีมมีฝนั โค้ชด้วยใจ
191
ดังนัน้ การท�ำเป้าหมายร่วมของทีมให้แจ่มชัด และมีความหมายจึงเป็น สิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้เราอ่านแนวโน้มได้วา่ ทีมชุมชนจะท�ำงานได้ประสบความ ส�ำเร็จมากน้อยแค่ไหน
บทเรียนทีไ่ ด้เรียนรูจ้ ากการทำ�งาน 1. เริม่ ต้นทีค่ นมีใจ ทีอ่ ยากลุกขึน้ จัดการกับปัญหาใน ชุมชนของตัวเอง 2. การเป็นโค้ชทีด่ ี เป็นปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ 3. เน้นความเป็นทีม ไม่ใช่โครงสร้างตามต�ำแหน่ง 4. ความสัมพันธ์เป็นเงือ่ นไขส�ำคัญสูค่ วามส�ำเร็จในการ ท�ำงานและการแก้ไขปัญหา 5. สร้างวัฒนธรรมใหม่ของการประชุมและการสนทนา 6. ใช้กระบวนการทีท่ ำ� ให้ความรูอ้ อกมาจากทุกคน 7. การท�ำงานบนฐานข้อมูลทีเ่ ป็นจริง รอบด้าน ทันสถานการณ์ 9. การท�ำงานแบบมีเป้าหมายร่วมและมีความหมายร่วม
“การเลี้ยงเด็กคนหนึ่ง ใช้คนทั้งหมู่บ้าน” เพราะการที่เด็กคนหนึ่ง จะเติบโตขึ้นมาได้ดีนั้น นอกจากจะมาจากการเลี้ยงดูที่ดี ของครอบครัวแล้ว ยังต้องมีการเอาใจใส่ของเพื่อนบ้าน มีการใช้ชีวิตร่วมกับเพื่อน และมีความสุขในการเรียนรู้ ที่โรงเรียน มีการดูแลที่ดีที่เกื้อหนุนเด็ก จากชุมชนและสังคม รวมทั้งสื่อต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีผลต่อพัฒนาการของเด็ก