วิจัย

Page 1

ปจ จัยที่ มีผ ลตอพฤติก รรมการออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร

สมนึก แกววิไล

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนงบประมาณเงินผลประโยชน พ.ศ. 2552 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ปจ จัยที่ มีผ ลตอพฤติก รรมการออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร

สมนึก แกววิไล

งานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนงบประมาณเงินผลประโยชน พ.ศ. 2552 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


ชื่อเรื่อง :

ปจ จัยที่ มีผ ลตอพฤติก รรมการออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร

ผูวิจัย

:

ผูชวยศาสตราจารย วาที่ ร.ต. สมนึก แกววิไล

พ.ศ.

:

2552 บทคัดยอ

การศึก ษาป จจั ย ที่มี ผ ลต อ พฤติ ก รรมการออกกํา ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญ ญา ตรี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร มีวั ต ถุ ประสงค เ พื่ อ ศึกษาพฤติกรรมการออก กําลัง กาย เปรีย บเทียบ ศึกษาความสั มพั นธ ระหว างปจจัย ดานความรู และปจ จัยดานการรับรู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการ ออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู ภ าวะสุ ข ภาพ การรั บ รู ความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอมกับพฤติกรรม การออกกํา ลัง กาย รวมถึ งป จจัยที่ สามารถรว มกั นในการทํานายพฤติก รรมการออกกํ าลั งกาย ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กลุม ตัวอยางที่ใชใ น การศึกษา ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปการศึกษา 2551 จํานวน 600 คน ซึ่งไดมาจากการคํานวณหาขนาดของตัวอยางจากสูตรของยามาเน และ ใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ผลการศึกษาพบวา 1. นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีพฤติกรรม การออกกําลัง กาย ความรูเกี่ ยวกับ การออกกํา ลัง กาย การรับรูอุ ปสรรคของการออกกํ าลังกาย การรับรูภาวะสุขภาพ แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม อยูในระดับ ปานกลาง สวนการรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย และการรับรูความสามารถแหงตน อยู ในระดับสูง 2. นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่มีเพศ คณะ ที่ศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความรูเ กี่ยวกับ การออกกํา ลัง กายไม มีค วามสัม พันธ กับ พฤติกรรมการออกกํา ลัง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4. การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถ แหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการออกกําลังกายของนัก ศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล


ข พระนคร อยางมีนัยสํ าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ระดั บ .05 ส ว นการรับรูอุ ปสรรคการออกกํ าลั ง กาย มี ค วามสั ม พั น ธ ท างลบกั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ปจ จัย ที่สามารถรว มกั นทํ านายพฤติกรรมการออกกํ าลังกายของนั ก ศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ไดแก การรั บรูค วามสามารถแหงตน การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย เพศ คณะที่ ศึ ก ษา การรั บ รู ภ าวะสุ ข ภาพ และ แรงสนับสนุนทางสังคม รวมกันทํานายไดรอยละ 23.40 ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการถดถอย พหุคูณ แบบขั้นตอนจากคะแนนดิบ ดังนี้ Y = 0.516 + 0.114X6 + 0.068X4 + 0.156X1.1 + 0.102X1.2+ 0.047X5 + 0.029X7

คําสําคัญ : พฤติกรรมการออกกําลังกาย


ค Title

:

Researcher Year

: :

The Predictive Factors on Exercise Behaviors of Undergraduate Students were also explored Assist. Prof. Somnuk Keawvilai 2009 Abstract

This survey research was conducted to study exercise behaviors of undergraduate students, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. The predictive factors on exercise behaviors of undergraduate students were also explored. The samples were 600 undergraduate of Rajamangala University of Technology Phra Nakhon obtained by accidental sampling. Questionnaires were used to collect data. Percentage, Standard deviation, t-test, F-test, Pearson product moment correlation coefficient and Stepwise multiple regression analysis were applied for data analysis. The results were as follows: 1. Undergraduate students Rajamangala University of Technology Phra Nakhon had exercise behaviors, knowledge concerning exercise, perceived barriers, perceived health status and environment support in moderate level. Perceived benefits and self-efficacy in high level. 2. Undergraduate students with different sex and faculty had significantly difference in exercise behaviors at .05 level. 3. Knowledge concerning exercise was not associated with exercise behaviors of undergraduate students. 4. Perceived benefits, perceived health status, perceived self-efficacy, social support and information support were positively associated with exercise behaviors of undergraduate students at .05 level. Perceived barriers were negatively associated with exercise behaviors of undergraduate students at .05 level. 5. Perceived self-efficacy, perceived barriers, sex, faculty, perceived health status and social support could predict the exercise behaviors of undergraduate students at 23.40 percent. Y = 0.516 + 0.114X6 + 0.068X4 + 0.156X1.1 + 0.102X1.2+ 0.047X5 + 0.029X7 Keyword :

Exercise Behaviors


ง กิตติกรรมประกาศ ในการจั ดทําวิ จัย นี้ไ ดรับ ทุนสนับสนุนจากงบประมาณรายจ ายประจํ าปง บประมาณ พ.ศ. 2552 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผลการดําเนินการวิจัย ครั้ง นี้สํ าเร็ จลุ ล ว งไปดว ยดีเ นื่อ งจากได มีบุ ค คลต างๆ ให ค วามชว ยเหลื อ เปน อย างดี ดั ง นั้ น จึงขอขอบคุ ณคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ที่ใ หทุนสนับสนุ น โครงการวิ จัยและ รองศาสตราจารย วิ ส นศัก ดิ์ อ วมเพ็ ง รองศาสตราจารยวั ฒนา สุทธิ พั นธ รองศาสตราจารยสุนทร แมนสงวน รองศาสตราจารยอเนก สูตรมงคล และผูชวยศาสตราจารย ดร.ทรงพล ตอนี ที่เ ปนผูเชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือ วิจัย และขอบคุณนั กศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทั้ง 9 คณะที่กรุณาตอบแบบสอบถาม ทําใหงานวิจัย สําเร็จลุลวงไปดวยดี

สมนึก แกววิไล


จ สารบัญ บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย สมมติฐานการวิจัย นิยามศัพทเฉพาะ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ พฤติกรรมการออกกําลังกาย หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ประเภทของการออกกําลังกาย ประโยชนของการออกกําลังกาย รูปแบบการสงเสริมสุขภาพของเพนเดอร งานวิจัยที่เกี่ยวของ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย สถิติที่ใชในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล

หนา ก ค ง ช 1 1 3 4 4 5 6 7 8 8 12 15 18 20 26 35 35 38 43 44 45


ฉ สารบัญ (ตอ) 4 ผลการวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลทั่วไป การทดสอบสมมติฐาน สรุปขอคนพบที่ไดจากการวิจัย 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ สรุปผล อภิปรายผล ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก แบบทดสอบและสอบถาม ประวัติผูวิจัย

หนา 46 46 52 58 60 60 62 67 68 74 75 82


ช สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 37 3-1 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยางนักศึกษาระดับปริญญาตรีของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามคณะ 4-1 จํานวนและรอยละปจจัยสวนบุคคลสําหรับขอมูลจําแนกประเภทของนักศึกษา 46 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 48 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาต่ําสุด และคาสูงสุด ปจจัยสวนบุคคล 4-2 สําหรับขอมูลเชิงปริมาณ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร 4-3 จํานวนและรอยละของพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ 49 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 50 4-4 จํานวนและรอยละของความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4-5 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจัยดานการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 51 ไดแก การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรคของการออก กําลังกาย การรับรูภาวะภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอมของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4-6 เปรี ยบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการออกกําลังกายของนัก ศึ กษา 52 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามเพศ 4-7 จํานวน คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการออกกําลังกายของ 53 นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนก ตามคณะที่ศึกษา 4-8 เปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษา 53 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามคณะ ที่ศึกษา 54 4-9 การทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู โดยใชวิธีของแอลเอสดี (LSD Method)


ซ สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4-10 ความสัมพันธระหวางกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ 55 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามปจจัยดาน ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และปจจัยดานการรับรูเกี่ยวกับการออก กําลังกายกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 57 4-11 การวิเคราะหการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน ปจจัยที่รวมกันทํานาย พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4-12 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 58


บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา การจะพัฒนาประเทศชาติใหเจริญได ประชากรในประเทศตองมีความสมบูรณทั้งดาน จิตใจและรางกาย การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ไมวาจะเปนบุคลากรดานการกีฬาใหมีคุณภาพ หรือ การใหความรูความเขาใจ แกประชาชนทั่ว ไปเกี่ยวกับ ความสําคัญของการออกกําลังกาย และการเล นกีฬาเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหประชากรไทยมีคานิยมการออกกํ าลังกายและมีความ สนใจเล น กี ฬ าเพื่ อ สุ ข ภาพพลานามั ย ที่ ส มบู ร ณ แ ข็ ง แรง เป น กํ า ลั ง สํ า คั ญ ในการพั ฒ นา ประเทศชาติไดตอไป (กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. 2550) สุขภาพที่ดีจึงเปนสิ่งสําคัญในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย เพื่อการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา การพัฒนาคุณภาพประชากร ในประเทศใหเปน ผูมีคุณภาพ ประชากรจะต องมีสุ ขภาพสมบู รณ แข็ง แรงทั้งสุขภาพกายและ สุ ขภาพจิต การออกกํ าลั งกายเพื่ อ สุ ขภาพเป นกลวิ ธี ห นึ่ ง ที่จ ะนําไปสู ก ารมี สุ ขภาพดี โดยที่ พฤติกรรมการออกกําลังกายจะชว ยสงเสริมสุขภาพและปองกั นโรคซึ่งการออกกําลัง กายแตละ ชนิดจะมีรูปแบบ กระบวนการ และหลักเกณฑแตกตางกันไป แตจากการศึกษาพบวาประชาชน สวนใหญยังขาดการออกกําลังกาย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ไมมีเ วลา สภาพร างกายไมเหมาะสม หรือไมมี สถานที่ ออกกํ าลังกาย การที่ประชาชนไมอ อกกํ าลั งกายนั้น จะส งผลเสี ยต อสุ ขภาพ ตามมา (ชาตรี ประชาพิพัฒน และนฤพนธ วงศจตุรภัทร. 2545) ถนอมวงศ กฤษณเ พ็ชร (2544) ไดศึกษาพฤติกรรมการออกกําลัง กายเลนกีฬาและดู กีฬาของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยใชกลุมตัวอยาง 50 เขต จํานวน 1,750 คน เปนชาย 1,096 คน และหญิ ง 654 คน โดยสั ม ภาษณ ห รื อ ตอบแบบสอบถามผลการศึ ก ษาพบว า ประชาชนในกรุงเทพมหานครส ว นใหญ อายุ 25-59 ป ใชเ วลาว างในการดู โ ทรทัศ น รอ ยละ 25.94 เปนชาย รอยละ 16.44 และหญิง ร อยละ 9.50 รองลงมาคือการออกกํ าลังกายหรือเลน กีฬา รอยละ 21.06 พฤติกรรมการเขารวมกิจกรรมออกกําลังกายหรือเลนกีฬาของประชาชนใน กรุงเทพมหานครออกกําลังกายมากที่ สุด รอ ยละ 61.19 เปนชายรอ ยละ 38.15 และเปน หญิ ง รอ ยละ 23.04 กิจกรรมการออกกําลั ง กายที่มีผู นิยมออกกําลั ง กายมากที่สุ ดได แ ก วิ่ ง เหยาะ รอยละ 32.51 คน และกายบริหาร รอยละ 24.97 นิรันดร พลรัตน และคณะ (2547) ไดศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการออกกําลังกายของ นักศึก ษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิ ต ผลการศึกษาพบว า นักศึก ษาที่อ อกกําลัง กายมี จํานวนนอย เพียง 1 ใน 4 ของนักศึกษาทั้งหมดเทานั้น ปจจัยที่เกี่ยวของกับการออกกําลังกาย ของนักศึกษาไดแก การรับรูประโยชนในการออกกําลังกายวาชวยผอนคลายความเครียด ทําให ปอดและหัวใจทํางานดีขึ้น ทําใหรูจักเพื่อนมากขึ้น และบุคลิกภาพดีขึ้น การรับรูวาสภาพดินฟา


2 อากาศ ไมอํานวยตอการออกกําลังกาย และไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) ไดศึกษาปจจัยที่มีผล ต อ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนิ สิ ต ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ผล การศึกษาพบวา นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง สวนปจจัยที่สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของนิสิต ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒ ได แก การรับรูความสามารถแหง ตน เพศ การไดรับ ขอมูลขาวสาร แรงสนับสนุนทางสังคม และการรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย รัฐบาลไดเล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาดานการกีฬา โดยระบุเปนเปาหมายหลักใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) วาคนเปนศูนยกลางการ พัฒนาและไดมีการกําหนดเปาหมายการยกระดับคุณภาพชีวิตใหคนไทยมีสุขภาพดี มีคุณภาพ สํานัก งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดทําการศึกษา วิเคราะห และ รวบรวมขอ มูล ผลการพัฒ นาดา นเศรษฐกิ จและสัง คมของประเทศไทย พบวา ในเรื่อ งการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรจากป พ.ศ. 2543-2546 นั้น มีอัตราการเจ็บปวยเพิ่มจาก 1,714,000 คน เปน 1,845,000 คน และไดมี การเพิ่มหลักประกันสุขภาพใหกับประชาชนจาก 78% เปน 96% ดังนั้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 มีแนวคิดพื้นฐานใน การยึด “คนเปนศูนยก ลางของการพัฒนา” เพื่ อมุงสู “สังคมที่เขมแข็ง มีคุณภาพ” และมี เปาหมายหลักเพื่อ“ลดอัตราการเพิ่มของการเจ็บปวยดวยโรคที่ปองกันไดใน 5 อันดับแรก คือ หัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง นําไปสูการเพิ่มผลิตภาพ แรงงาน และลดรายจายดานสุขภาพ ของคนลงในระยะยาว” และยังไดพยายามสงเสริมใหคน ไทยหันมาออกกําลังกายใหมากขึ้น ถูกวิธีมากขึ้น ใหเหมาะสมกับเพศ วัย สภาพรางกาย เวลา ระยะเวลา และถูกหลักการออกกําลังกาย ทั้งนี้เปนไปตามยุทธศาสตรดานสาธารณสุขใหมที่เนน การปองกันไมใหเกิดโรค มากกวาตามไปรักษา และมุงเสริมสรางสุขภาวะคนไทยใหมีสุขภาพ แข็งแรงทั้งกายและใจมีความสัมพันธทางสังคม และอยูในสภาพแวดลอมที่นาอยู เนนการพัฒนา ระบบสุขภาพอยางครบวงจร มุงการดูแลสุขภาพเชิง ปองกัน และการฟนฟู สภาพรางกายและ จิตใจ (กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. 2550) การออกกําลัง กายเปนพฤติก รรมสุขภาพที่มี ประโยชน เพราะการออกกํ าลังกายทําให ระบบอวัยวะตาง ๆ ของรางกายไดรับการพัฒนา และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานดีขึ้น เชน ระบบโครงสรางและกลามเนื้อ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบยอยอาหาร ระบบขับถาย อีกทั้งยังชวยใหความดันโลหิตและไขมันในเลือดลดลง อวัยวะตางๆ ของรางกาย ทํางานได ดีขึ้นดังที่ วุฒิพ งษ ปรมัตถากร (2537) ไดก ลาววาประโยชนของการออกกํ าลังกาย มีอยูดวยกันหลายดาน ประโยชนที่มีผลตอรางกาย เชน ผลตอระบบหัวใจ ผูที่ฝกซอมกีฬาระยะ เวลานานๆ สามารถหายใจเขาออกไดอ ยางเต็ มที่ อัตราการหายใจสภาวะปกติจ ะลดลง ผลตอ ระบบไหลเวียนโลหิตทําใหมีป ริมาณเลือดเพิ่มขึ้ น เมื่อ ออกกําลังกายเปนประจํารางกายตองใช เลื อ ดรัก ษาระดับอุ ณ หภูมิ ปริมาณเลื อ ดดํ าไหลกลั บสู หั ว ใจเพิ่ มขึ้น เมื่อ ฟอกจากปอดทําให


3 ปริมาณเลือดแดงมีมากตามไปดวย จึงสามารถเลี้ยงกลามเนื้อไดเพียงพอ เมื่อปริมาณเลือดเพิ่ม เส นเลือ ดจะขยายและหดตัว มากขึ้ นทํ าใหการยืดหยุ นดีขึ้น ปอ งกันไมใ หเ สนเลือ ดแข็ งตั วหรื อ เปราะ ความดันเลือดมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปริมาณเลือดเพิ่ม ทําใหความตานทานในเลือด นอยลงดวย หั วใจได ทําการสูบฉีดเลือดดีขึ้น เปนผลใหกลามเนื้ อหัวใจแข็ งแรงเปนการปองกัน โรคหัว ใจเสื่ อ มสมรรถภาพหรือ หั ว ใจวายได นอกจากนี้ก ารออกกํ าลั ง กายและการเล นกี ฬ า ยังเปนกิจกรรมที่สนุกสนาน ทาทายความสามารถและสรางสุขภาพที่ดีกับคนทุกเพศทุกวัยลวน ตอ งการออกกํ าลังกายเพราะการออกกํ าลั ง กายนอกจากจะทําให รางกายที่ส มบูรณแ ข็ง แรง มีสมรรถภาพทางกายและสุขภาพที่ดีแลว ยังทําใหมีรูปรางที่สงางาม จิตใจที่แจมใส อารมณที่ดี มีสัมพั นธภาพที่ดีตอ ผูอื่น มีไหวพริบ และสติป ญญาที่ดี มี สัมพั นธ ไมตรีที่ ดี การออกกํ าลังกาย และเลน กีฬ า ก็จะสง ผลใหจิตแจมใสเบิ กบานไมโมโหงาย ไมใจรอ น มีค วามสุ ขุมรอบคอบ ยิ้ม แยม สดชื่นตลอดวัน และช ว ยคลายเครีย ดไดเปนอยา งดี ไมมั่ ว สุมกั บยาเสพติด ที่เปน ปญ หา สําคัญระดับประเทศชาติ ในปจจุบันการใชกิจกรรมกีฬามีความสําคัญตอการออกกําลังกาย เปน ปจจัยสําคัญตอการพัฒนาสุขภาพ รางกาย และจิตใจของบุคคล อันจะนําไปสูการพัฒนาประเทศ ใหกาวหนาตอไป จากปญ หาดังกล าว ผูวิ จัยจึ ง สนใจศึ ก ษาพฤติ ก รรมการออกกําลั งกายของนัก ศึก ษา ระดั บปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร โดยผูวิ จัยไดนําแนวคิด การสราง เสริมสุขภาพของเพนเดอร (Pender, Murdeuqhand and Parsons. 2006) มาใชเปนกรอบแนวคิด ในการกําหนด ตัวแปรที่ศึกษา โดยเลือกศึกษาเพียงบางปจจัยเทานั้น ซึ่งผลที่ไดจากการศึกษานี้ จะใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมและการรณรงคเกี่ยวกับการออกกําลังกายแกนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครตอไป 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 1.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1.2.2 เพื่ อเปรี ยบเทีย บพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนัก ศึก ษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ และคณะที่ ศึกษา 1.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งป จ จั ย ด า นความรู และป จ จั ย ด า นการรั บ รู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการ ออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู ภ าวะสุ ข ภาพ การรั บ รู ความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม กับพฤติกรรม การออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


4 1.2.4 เพื่ อศึก ษาป จจัยที่ สามารถร วมกันในการทํานายพฤติก รรมการออกกํ าลังกาย ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 1) ประชากรที่ใชในการศึ กษาไดแก นั กศึกษาระดั บปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปการศึกษา 2551 2) กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาได แ ก นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปการศึกษา 2551 จํานวน 600 คน ซึ่งไดมาจากการ คํานวณหาขนาดของตัวอยางจากสูตรของยามาเน และใชวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) 1.3.2 ตัวแปรที่ศึกษา 1) ตัวแปรอิสระ ประกอบดวย 1.1) ปจจัยสวนบุคคล ไดแก - เพศ - คณะที่ศึกษา 1.2) ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 1.3) ปจจัยการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก - การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย - การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย - การรับรูภาวะสุขภาพ - การรับรูความสามารถแหงตน - แรงสนับสนุนทางสังคม - แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม 2) ตั ว แปรตาม ได แ ก พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1.3.3 ระยะเวลาในการดําเนินงานตั้งแตเดือนตุลาคม 2551 – กันยายน 2552 1.4 กรอบแนวคิด ในการวิจัย การศึก ษาวิจ ัย ครั ้ง นี ้ ผู ว ิจ ัย ไดนํ า แนวคิด การสรา งเสริม สุข ภาพของเพนเดอร (Pender, Murdeuqhand and Parsons. 2006) มาใชเปน กรอบแนวคิดในการกําหนดตัวแปรที่ ศึก ษาปจ จัย ที ่ม ีผ ลตอ พฤติก รรมการออกกํ า ลัง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ดังนี้


5 ตัวแปรอิสระ

ตัวแปรตาม

ปจจัยสวนบุคคล - เพศ - คณะที่ศึกษา

ปจจัยดานความรูและการรับรูเ กี่ยวกับ การออกกําลังกาย - ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย - การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย - การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย - การรับรูภาวะสุขภาพ - การรับรูความสามารถแหงตน - แรงสนับสนุนทางสังคม - แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม

พฤติกรรม การออกกําลังกาย

1.5 สมมติฐานการวิจัย 1.5.1 เพศตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน 1.5.2 คณะที่ศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน 1.5.3 ความรูเ กี่ยวกับการออกกําลังมีค วามสัมพั นธ ทางบวกกั บพฤติกรรมการออก กําลังกายแตกตางกัน 1.5.4 การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม การออกกําลังกาย 1.5.5 การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางลบกับพฤติกรรมการ ออกกําลังกาย 1.5.6 การรับรูภาวะสุขภาพมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย 1.5.7 การรั บรูค วามสามารถแหง ตนมีค วามสัมพั นธทางบวกกั บพฤติกรรมการออก กําลังกาย 1.5.8 แรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย 1.5.9 แรงสนับ สนุน ทางสิ่งแวดลอมมี ความสัมพั นธทางบวกกับพฤติก รรมการออก กําลังกาย


6 1.5.10 ปจจัยสว นบุคคล ไดแ ก เพศ และคณะที่ ศึก ษา ป จจั ยดานความรูเ กี่ยวกั บการ ออกกําลังกาย และปจจัยดานการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออก กําลังกาย การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย การ รับรูภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทาง สิ่งแวดลอม มีค วามสามารถรว มกั นทํ านายพฤติกรรมการออกกําลังกายของนั ก ศึก ษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1.6 นิยามศัพทเฉพาะ 1.6.1 พฤติกรรมการออกกําลังกาย หมายถึง การปฏิบัติตัวหรือการทํากิจกรรมดาน การออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มี การปฏิบัติเกี่ยวกับการออกกําลังกายที่เหมาะสม เปนประจําสม่ําเสมอ โดยมีการปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกกําลังกายอยางนอ ย 3 ครั้งต อสัปดาห ระยะเวลาในการออกกําลังกาย 20-30 นาทีต อ ครั้ง 1.6.2 ความรู เ กี่ ย วกั บ การออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง ความรู และความเข า ใจของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เกี่ยวกับการออกกําลังกาย ซึ่งประกอบดว ย หลักการออกกําลัง กายที่ถู กตอง ขอควรปฏิบัติ และประโยชน ที่ไดรับ จากการ ออกกําลังกาย 1.6.3 การรับ รูป ระโยชนของการออกกําลั งกาย หมายถึง ความคิ ดเห็นหรือ การ แสดงออกทางความคิดและความเขาใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนครตอประโยชนของการออกกําลังกาย ซึ่งประกอบดวย ประโยชนที่ไ ดจากการ ออกกําลังกายทั้งทางรางกาย และจิตใจ 1.6.4 การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง ความคิ ด เห็ น หรื อ การ แสดงออกทางความคิดและความเขาใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร เกี่ยวกับสาเหตุที่ทําใหไมสามารถออกกําลังกายได 1.6.5 การรับรูภาวะสุขภาพ หมายถึง ความคิดเห็นหรือการแสดงออกทางความคิด และความเขาใจของนัก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร เกี่ยวกับสุขภาพของนักศึกษา ซึ่งประกอบดวย รางกายแข็งแรง อาการเจ็บปวย อาการผิดปกติ ของรายกาย และโรคประจําตัว 1.6.6 การรับรูความสามารถแหงตน หมายถึง ความคิดและความเขาใจของนักศึกษา ระดั บปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เกี่ ยวกับความสามารถดานการ ออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง ประกอบด ว ย การแบ ง เวลาสํ า หรั บ การออกกํ า ลั ง กาย ความสามารถดานกีฬา และความสามารถดานการใชอุปกรณกีฬา


7 1.6.7 แรงสนับสนุนทางสังคม หมายถึง ปจจัยสนับสนุนจากบุคคลที่อยูรอบขางหรือ บุคคลใกลตัว ซึ่งประกอบดวย บุคคลในครอบครัว ญาติ พี่นอง และเพื่อน 1.6.8 แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม หมายถึง ปจจัยสนับสนุนเกี่ยวกับการออกกําลัง กาย ซึ่งประกอบดวย สถานที่ อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวกในการออกกําลังกาย 1.7 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.7.1 เปนแนวทางในการจั ด กิ จกรรมการส งเสริมการออกกํ าลัง กายของนัก ศึ ก ษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 1.7.2 เป น แนวทางในการรณรงค ใ ห นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนครมีความตื่นตัวในการออกกําลังกาย 1.7.3 ก อ ให เ กิ ด ประโยชน ต อ สถาบั น การศึ ก ษาอื่ น ๆ ที่ จ ะนํ า ผลการวิ จั ย ไปใช ประโยชนในการสงเสริมการออกกําลังกายใหกับนักศึกษา 1.7.4 สามารถนําผลการวิจัยไปใชเปนพื้นฐานตอการนําไปวิจัยในขั้นสูงตอไป


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาปจจั ยที่ มีผ ลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดั บปริ ญญา ตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ผูวิจัยไดศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของจากตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้ 2.1 พฤติกรรมการออกกําลังกาย 2.2 หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 2.3 ประเภทของการออกกําลังกาย 2.4 ประโยชนของการออกกําลังกาย 2.5 รูปแบบการสงเสริมสุขภาพของเพนเดอร 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 พฤติกรรมการออกกําลังกาย 2.1.1 ความหมายของพฤติกรรม บลู ม (Bloom. 1964) กล าววา พฤติก รรมเปนกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษ ย กระทํา อาจจะเปนสิ่งที่สังเกตไดหรือ ไมได และพฤติกรรมดังกลาวนี้ไดแบงออกเปน 3 สว น คือ ดานความรู ดานเจตคติ และดานการปฏิบัติ ดังนี้ 1) พฤติกรรมด านความรู (Cognitive Domain) พฤติกรรมด านนี้มี ขั้นของ ความสามารถทางดานความรู การให ค วามคิ ดและพัฒนาการทางด านสติ ปญ ญา จําแนกไว ตามลําดับขั้นจากงายไปหายาก ดังนี้ 1.1) ความรู (Knowledge) เปนพฤติกรรมขั้นตนเกี่ยวกับความจําไดหรือ ระลึกได 1.2) ความเขาใจ (Comprehension) เปนพฤติกรรมที่ตอเนื่องจากความรู ตองมีความรูมากอนจึงจะเขาใจ ความเขาใจนี้จะแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ และคาดคะเน 1.3) การนํา ไปใช (Application) เปน การนํา เอาวิธีการทฤษฎี กฎเกณฑ และแนวคิดตาง ๆ ไปใช 1.4) การวิเคราะห (Analysis) เปนขั้นที่บุคคลมีความสามารถ และ มีทักษะ ในการจําแนกเรื่องราวที่สมบูร ณใด ๆ ออกเปนสวนยอย และมองเห็นความสัมพันธอยางแนชัด ระหวางสวนประกอบที่รวมเปนปญหาหรือสถานการณ หรืออยางใดอยางหนึ่ง


9 1.5) การสั ง เคราะห (Synthesis) เป น ความสามารถของบุ ค คลในการ รวบรวมสวนยอยตาง ๆ เขาเปนสวนรวมที่มีโครงสรางใหม มีความชัดเจนและมีคุณภาพสูงขึ้น 1.6) การประเมินผล (Evaluation) เปนความสามารถของบุค คลในการ วินิจฉัยตี ราคาของสิ่งของต าง ๆ โดยมี ก ฎเกณฑที่ใชชว ยประเมินค านี้ อาจเปนกฎเกณฑที่ บุคคลสรางขึ้นมาหรือมีอยูแลวก็ตาม 2) พฤติกรรมด านเจตคติ (Affective Domain) พฤติกรรมด านนี้ หมายถึ ง ความสนใจ ความรูสึก ทา ที ความชอบในการใหคุ ณคา หรื อปรั บปรุ งคา นิย มที่ ยึด ถืออยู เปน พฤติก รรมที่ ยากแก การอธิบายเพราะเปน สิ่งที่ เกิด ขึ้น ภายในจิ ตใจของคน การเกิด พฤติกรรม ดานเจตคติแบงขั้นตอน ดังนี้ 2.1) การรับหรือการใหความสนใจ (Receiving or Attending) เปนขั้นที่ บุคคลถูก กระตุ นใหทราบว ามีเหตุก ารณห รือ สิ่ง เราบางอย างเกิดขึ้น และบุคคลนั้ นมีความยินดี หรื อ มีภ าวะจิ ตใจพรอ มที่ จะรับ หรือ ใหความพอใจตอสิ่งเรา นั้น ในการยอมรั บนี้ป ระกอบดวย ความตระหนักความยินดีที่ควรรับ และการเลือกรับ 2.2) การตอบสนอง (Responding) เป น ขั้ น ที่ บุ ค คลถู ก จู ง ใจให เ กิ ด ความรูสึกผูกมัดตอสิ่งเรา เปนเหตุใหบุคคลพยายามทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบสนอง พฤติกรรมขั้น นี้ประกอบดวยการยินยอม ความเต็มใจ และพอใจที่จะตอบสนอง 2.3) การให คานิยม (Valuing) เปนขั้นที่บุ คคลมีปฏิกิ ริยา ซึ่งแสดงใหเห็น วาบุค คลนั้นยอมรับว าเปนสิ่ งที่มีคุณ ค าสํ าหรับตนเอง และได นําไปพั ฒนาเปนของตนอยาง แทจริง พฤติกรรมขั้นนี้สวนมากใชคําวา “คานิยม” ซึ่ ง การเกิ ด ค า นิ ย มนี้ ป ระกอบด ว ย การ ยอมรับ ความชอบและการผูกมัดคานิยมเขากับตนเอง 2.4) การจั ด กลุ ม ค า นิ ย ม (Organization) เป น ขั้ น ที่ บุ ค คลจั ด ระบบของ คานิยมตาง ๆ ใหเขากลุม โดยพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางคานิยมเหลานั้น ในการจัดกลุม ประเภทนี้ประกอบดวยการสรางแนวความคิดเกี่ยวกับคานิยมและการจัดระบบของคานิยม 2.5) การแสดงลั กษณะตามคานิ ยมที่ยึ ดถือ (Characterization by a Value or Value Complex) พฤติกรรมขั้นนี้ถือวาบุคคลมีคานิยมหลายชนิด และจัดอันดับของ คานิยมเหลานั้นจากดีที่สุดไปถึงนอยที่สุด พฤติกรรมเหลานี้จะเปนตัวคอยกระตุนพฤติกรรมของ บุคคล พฤติกรรมในขั้นนี้ประกอบดวย การวางแนวทางของการปฏิบัติและการแสดงลักษณะที่ จะปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนด 3) พฤติก รรมด านการปฏิบั ติ (Psychomotor Domain) เปน พฤติกรรมที่ใช ความสามารถในการแสดงออกของรางกาย ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติที่อาจแสดงออกในสถานการณ หนึ่ง ๆ หรือ อาจเปนพฤติกรรมที่ค าดคะเนว าอาจจะปฏิ บัติในโอกาสตอไปพฤติกรรมดา นนี้เ ปน พฤติกรรม ขั้ นสุด ทายซึ่ง ตอ งอาศั ยพฤติกรรมด านพุทธิ ปญ ญา หรือ เปน พฤติก รรมที่ สามารถ ประเมินผลไดงาย แตกระบวนการที่จะกอใหเ กิดพฤติก รรมนี้ตอ งอาศัยเวลา และการตัด สินใจ


10 หลายขั้น ตอน ในทางดานสุขภาพถือวาพฤติก รรมด านการปฏิบั ติของบุค คลคือ เป าหมายขั้ น สุดทายที่ชวยใหบุคคลมีสุขภาพดี ประภาเพ็ญ สุว รรณ (2532) กล าววา พฤติก รรม หมายถึง ปฏิกิริ ยาหรือ กิจกรรมทุกชนิดที่มนุษยกระทําแมวาจะสังเกตไดหรือไมก็ตาม วรรณวิ ไล จั นทราภา (2536) กล าววา พฤติกรรม หมายถึ ง การบํ ารุงรั กษา รางกายใหมีการกินดีอยูดี ซึ่งรวมถึงสภาพแวดลอมที่ถูกสุขลักษณะ รูจักรักษาสุขวิทยาอนามัย ของตนเอง รักษาความสะอาดของรางกาย รับประทานอาหารที่ มีประโยชนจํานวนเพี ยงพอ มี การออกกํา ลัง กายตามความเหมาะสม พั กผ อนนอนหลับ อย างเพีย งพอกั บความต องการของ รางกาย ราชบัณฑิตยสถาน (2546) กล าววา พฤติก รรม หมายถึ ง การกระทําหรื อ อาการที่แสดงออกทางกลามเนื้อ ความคิดและความรูสึกเพื่อตอบสนองสิ่งเรา ไพบูล ย ศรีชั ยสวัสดิ์ (2549) กล าววา พฤติกรรม หมายถึง ปฏิ กิริ ยาหรือ กิจกรรมทุกชนิดที่มนุษ ยกระทําแมวา จะสัง เกตไดห รือ ไมก็ต าม ซึ่ งอาจเปนการกระทําที่บุค คล นั้นแสดงออกมา หรื อเปนกิจกรรมภายในตัวบุคคลทั้งที่สัง เกตไดโดยตรง หรือใชเครื่องมือ ชวย โดยอาจจะเกิดขึ้นทันทีหรือเกิดขึ้นหลังจากถูกกระตุนมาแลวระยะหนึ่ง กล า วโดยสรุ ป พฤติ ก รรม หมายถึ ง การกระทํา หรื อ การแสดงออกทาง กลามเนื้อ รวมทั้ งกิจกรรมตาง ๆ ที่เ กิด ขึ้นในตั วบุคคล อาจเปน ความคิดและความรูสึก เพื่ อ ตอบสนอง สิ่งเรา ซึ่งอาจสังเกตไดดวยประสาทสัมผัสหรือไมสามารถสังเกตได 2.1.2 ความหมายของการออกกําลังกาย แลมป (Lamp. 1984) กล าววา การออกกํ าลั งกาย หมายถึ ง การทํ างานของ กลามเนื้อ ลายเพื่อใหรางกายมีการเคลื่อ นไหวตามความมุงหมาย โดยที่มีการทํางานของระบบ ตางๆ ในรางกายชวยสนับสนุนใหการออกกําลังกายมีประสิทธิภาพและคงอยูได สมหวัง สมใจ (2520) กลาววา การออกกําลั งกาย หมายถึง การเคลื่อนไหวให มี จัง หวะเหมาะสม เปน การฝกซอ มให รา งกายแทบทุกสว นไดมีค วามคลองแคลววองไว ทําให รางกายเตรียมพรอมอดทนเขมแข็ง ผอนคลายความตึงเครียดจากการทํางานหรือชีวิตประจําวัน ซึ่งมักซ้ําๆ ซากๆ เมื่อรางกายแข็งแรงก็ทําใหสมองแจมใสและปราศจากโรคภัย ชู ศั ก ดิ์ เวชแพศย (2524) กล า วว า การออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง การให กล า มเนื้ อ ลายทํ า งานเพื่ อ ให ร า งกายมี ก ารเคลื่ อ นไหวพร อ มกั บ การได แ รงงานด ว ย ใน ขณะเดียวกั นยั งมีการทํางานของระบบต างๆ ในรางกายเพื่อ ชว ยการจัดแผนงานควบคุ ม และ ปรับปรุงสงเสริมใหการออกกําลังกายมีประสิทธิภาพและคงอยู วรศักดิ์ เพียรชอบ (2525) กลาววา การออกกําลงกาย หมายถึง การที่เราทําให รา งกายไดใ ชแ รงงาน หรือกํ าลังงานที่มีอยูในตั วนั้นเพื่อ ให รา งกายหรือส วนใดสว นหนึ่ง ของ


11 รางกายเกิดการเคลื่อนไหวนั่นเอง เชน การเดิน กระโดด การวิ่ง การทํางานหรือในการเลนกีฬา รางกายตองใชกําลังพลังงานมากนอยแตกตางไปตามลักษณะของงานนั้น ๆ หนักเบาแคไหน สุวิม ล ตั้งสัจจพจน (2526) กลาววา การออกกําลังกาย หมายถึง กิจกรรมของ กล า มเนื้ อ ที่ร า งกายมี สุ ข ภาพและรู ป ร า งดี เพิ่ ม ทั ก ษะและศั ก ยภาพในกี ฬ า ตลอดจนฟ น ฟู กลามเนื้อหลังจากการบาดเจ็บหรือพิการไดอีกดวย จรวยพร ธรณินทร (2530) กลาววา การออกกําลังกาย หมายถึง การออกแรง ทางกายที่ทําใหรางกายแข็งแรง มีสุขภาพและรูปรางดี เพิ่มทักษะและศักยภาพในกีฬา ตลอดจน ฟนฟูกลามเนื้อหลังจากการบาดเจ็บหรือพิการไดอีกดวย ซึ่งการออกกําลังกายจะใช กิจกรรมใด เปนสื่อก็ได เชน การบริหาร การเดิน วิ่งเหยาะ ขี่จักรยานหรือการฝกดวยกีฬาที่ไมคํานึงถึงการ แขงขัน แตมุงความสนุกสนานและสุขภาพ วลี รั ต น แตรตุ ล ากร (2541) กล า วว า การออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง การทํ า กิจกรรมใดๆ เพื่อใหอวัยวะของรางกายไดเคลื่อ นไหวไปไดอยางเหมาะสมไมวาจะออกแรงมาก หรื อ น อ ยก็ ต าม ซึ่ง ไม เ พี ย งแต จ ะทํ า ให ร างกายแข็ ง แรงเท า นั้ น แต ยั ง ทํ าให มี สุ ข ภาพดี แ ละ สามารถตานทานโรคตางๆ ไดอีกดวย สายัณห สุขยิ่ง (2543) กลาววา การออกกําลังกาย หมายถึง การกระทําใดๆ ที่ มีการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของรางกายเพื่อ สุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน และเพื่ อสัง คม โดย ใชกิจกรรมง าย ๆ เชน วิ่ง กระโดดเชือก การบริห ารรา งกาย การยกน้ํา หนัก แอโรบิ กดานซ วายน้ํา ขี่จักรยาน เกม และการละเลนพื้นเมือง เปนตน ไพบู ล ย ศรี ชั ย สวั ส ดิ์ (2549) กล า วว า การออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง การที่ รางกายไดมีการเคลื่อนไหวระบบตางๆ ของรางกายทําใหระบบการไหลเวียนของเลือดไดมีการ สูบฉีด เพิ่ มมากขึ้น และระบบกลามเนื้อทุ กสว นของรา งกายได มีการยืดหดและคลายกล ามเนื้ อ โดยใชกิจกรรมงายๆ เชน วิ่ ง กระโดดเชือก การบริหารรางกาย การยกน้ําหนัก แอโรบิกดานซ วา ยน้ํ า ขี่จัก รยาน เกม และการละเลนพื้นเมือ ง เปน ตน ทําใหสามารถประกอบกิจกรรมงาน ประจําวันไดอยางกระฉับกระเฉง มีภูมิตานทานโรคสูงมีสมรรถภาพทางกายที่ดี กลาวโดยสรุป การออกกําลังกาย หมายถึง การกระทําใด ๆ ที่มีการเคลื่อ นไหว สวนตาง ๆ ของรางกาย เพื่อใหรางกายแข็งแรงมีสุขภาพดี รูปรางดี เพิ่มทักษะและศักยภาพใน การกี ฬา ตลอดจนฟนฟูกลามเนื้อ หลังจากการบาดเจ็บ หรือ พิการได รวมทั้ งผอนคลายความ ตึง เครีย ดจากการทํา งานหรือ ชีวิต ประจํ าวั น เมื่อ รา งกายแข็ งแรงทํ าใหส มองแจ มใสปราศจาก โรคภัย 2.1.3 พฤติกรรมการออกกําลังกาย อดิ ศั ก ดิ์ กรี เ ทพ (2543) กล า วว า พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กาย หมายถึ ง พฤติกรรมจริงที่เกี่ยวกับการออกกําลังกายเพื่อการแขงขันในการเลนกีฬาเพื่อความเปนเลิศ ซึ่ง เปนการรายงานพฤติกรรมการออกกําลัง กายที่บงบอกสิ่ งที่ปฏิบัติจริงอยา งสม่ํา เสมอเกี่ยวกั บ


12 การออกกําลังกาย หรือเลนกีฬาเพื่อการแขงขันประกอบดวย ทางดานการฝกสมรรถภาพ การ ฝกทักษะกีฬาของนักกรีฑา ไพบูลย ศรีชัยสวัส ดิ์ (2549) กลาววา พฤติก รรมการออกกําลังกาย หมายถึ ง การปฏิบั ติเกี่ ยวกับ การออกกํ าลังกายเพื่อสุข ภาพที่ เหมาะสม ถูกหลักของการออกกําลัง กาย และเปนประจําสม่ําเสมอ โดยมีการปฏิบัติเกี่ยวกับการออกกําลังกายอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห และตองกระทําอยางสม่ําเสมอ ระยะเวลาในการออกกําลังกาย 20-30 นาทีตอครั้ง กล าวโดยสรุป พฤติ กรรมการออกกํ าลั งกาย หมายถึง กิ จกรรมการเคลื่ อนไหว รางกายที่บุคคลตั้ งใจปฏิ บัติอย างมีแบบแผน ซึ่งเปนพฤติ กรรมการออกกําลังกายที่ บงบอกสิ่ งที่ ปฏิบัติจริงอยางสม่ําเสมอเกี่ยวกับการออกกําลังกายเพื่อสงเสริมสุขภาพ 2.2 หลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ วรศักดิ์ เพียรชอบ (2523) กลาววา การออกกําลังกายนั้ นถาจะไดรับ ประโยชนอ ยา ง แทจริงแลว ควรจะปฏิบัติใหถูกตองตามหลักและวิธีการออกกําลังกายแตละครั้งไวดังนี้ 1) ควรจะเริ่มออกกําลังกายเบาๆ กอ นจึงคอยๆ เพิ่มความหนักของการออกกําลังกาย ในวันตอๆ ไปใหมากขึ้นตามลําดับ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรั บผูที่ไมเคยออกกําลังกาย มากอ น เลย 2) ผูที่ฟนไขหรือมีโรคภัยไขเจ็บ ควรจะปรึกษาแพทยกอนที่จะออกกําลังกาย 3) ผูที่ประสงคจะออกกําลังกายหนักๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่มีอายุ 40 ป ควรปรึกษา แพทยกอน 4) ในระหวางการออกกําลังกาย ถามีความรูสึกผิดปกติ เชน หนามืด เหนื่อยหรือหอบ มากเกินไป ควรหยุดออกกําลังกายทันที และถาออกกําลังกายตอไปควรปรึกษาแพทย การออก กําลังกายที่จะไดรับประโยชนอยางแทจริงนั้น ควรจะใหออกแรงทุกสวนของรางกาย โดยให ส วน ตางๆ ของรางกายทํางานมากกวาปกติ เพื่อใหรูสึกเหนื่อย เชน หายใจถี่ขึ้นหรือชีพจรเตนเร็วกวา ปกติ 5) การออกกําลังกายแตละครั้งควรเหมาะสมกับวัยของตนเองดวย 6) ผูที่มีภารกิจประจําวันไมสามารถแบงเวลาเพื่อการนี้ได ควรเลือกกิจกรรมที่งายและ กระทําไดใ นบริเ วณบานในเวลาสั้ นๆ ได เชน เดิ นเร็ว ๆ วิ่ ง เหยาะๆ อยูกับที่ กระโดดเชือ ก ชกลม เปนตน 7) การออกกําลังกายควรออกกําลั งกายสม่ําเสมอทุกวันเปนประจําอยา งนอยวันละ 15-20 นาที 8) เพื่ อ ใหก ารออกกํ าลั ง กายมีค วามสนุก สนานหรือ มีแ รงจูง ใจมากขึ้น ควรทําสถิ ติ ควบคูไปดวย เชน การนับอัตราและการเปลี่ยนแปลงของการเตนของชีพจร หรือ การหายใจแต ละครั้งควบคูไปดวย


13 9) ตอ งระลึ กไวเ สมอวา การออกกํ าลั งกายเป นประจํา นั้น เปน เพี ยงปจ จัย หนึ่ งในการ รัก ษาสุ ขภาพเทา นั้น ถาจะใหได ผลที่ แทจริ งควรมีก ารรับ ประทานอาหารที่ดีและถูก ตอง และ มีการพักผอนที่เพียงพอควบคูไปดวย ศิ ริรัต น หิ รัญ รัต น (2539) กล าวถึ ง หลั ก ทั่ว ไปในการออกกํ าลั ง กายและขั้ นตอนการ ออกกําลังกาย ดังนี้ 1) อบอุนรางกาย 5-10 นาที โดยการยืด เหยียดขอตอและเอ็นกลามเนื้อ สวนตางๆ ที่ ใชในการเคลื่อนไหว เชน แขน ขา หลัง คอ นิ้วมือ ฯลฯ แบบอยูกับที่ (Static Stretch) แลวเริ่ม การเคลื่อ นไหวจากชาไปหาเร็ว ตามลําดับ และหลังจากเสร็จ สิ้ น กิ จกรรมการออกกําลั งกาย ซึ่งใชเวลาอยางนอย 20 นาที ควรคอย ๆ ลดสภาวะรางกาย (Cool Down) จนอยูในสภาวะปกติ 2) เลือกกิจกรรมออกกําลังกายใหเหมาะสมกับสภาวะของรางกาย โดยคํานึงถึง เพศ วัย และสภาพรางกายขณะนั้น 3) ไมควรออกกําลังกายใหมากเกินไปจนทําใหรางกายเสื่อมสภาพลง 4) ควรมี สุขนิสัยและสวั สดิ นิสั ยในการออกกําลัง กาย เชน แตง กายใหเ หมาะสมกั บ กิ จกรรมการออกกํ า ลั งกาย เชน เสื้ อ กางเกง ถุ ง เทา และรองเทาไมอั บ ชื้น สกปรก รวมทั้ ง อุปกรณในการออกกําลังกายควรสะอาด เรียบรอย ตั้งใจฝกฝนและเคารพกติกา จินดา บุญชว ยเกื้อกูล (2541) กลาวถึง ขั้นตอนการออกกําลังกายแบงเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นอบอุนรางกาย (Warm-Up) เปนขั้นเตรียมรางกายใหพรอมสําหรับการออกกําลัง กาย การอบอุนรางกายอยางสมบูรณประมาณ 5-15 นาที จะชวยทําใหกลามเนื้อและเอ็นยืดตัว พรอมสําหรับการเคลื่อนไหวที่จะเกิดขึ้นตามมา ทําใหไมเกิดการบาดเจ็บของกลามเนื้อ 2) ขั้ น การออกกํ า ลั ง กายอย า งเต็ ม ที่ (Conditioning) เป น การออกกํ า ลั ง กายที่ ทํ า ตอเนื่องให อัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้นถึงระดับ รอยละ 60-85 ของอัตราการเตนหัวใจสูงสุ ด นาน 20-30 นาที 3) ขั้นการลดการออกกําลังกายจนหยุด (Cool-Down) เปนขั้นลดความเขมขนของการ ออกกําลังกายลงภายหลังการออกกําลังกายอยางเต็มที่แลว เพื่ออัตราการเตนของหัวใจกลับเขา สูสภาวะปกติ ชาตรี ประชาพิพัฒน และนฤพนธ วงศ จตุ รภัทร (2545) กลาววา การออกกํ าลังกาย เป นวิธีการ เปน กระบวนการที่นํา ไปสูเปา หมายที่ ตองการ ซึ่ง แตละคนตั้งไวเพื่อสงเสริม ใหมี สุขภาพดี ปอ งกันโรค ชะลออาการของโรค ฟ นฟู สภาพรา งกายหลั งการรัก ษา หรือแมกระทั่ง เพื่อความเปนเลิศในการแขงขันเพื่อรางวัลในรูปแบบตางๆ และวิธีการออกกําลังกายที่เหมาะสม มีค วามเหนื่อ ยปานกลางหรือ เหนื่อ ยปานกลางถึ ง เหนื่อ ยนอ ย ใชเวลาในการออกกํ าลั ง กาย 20-30 นาที และออกกําลังกาย 3-5 วันตอสัปดาห


14 ประวิตร เจนวรรธนะกุล (2547) ไดกลาวถึงแนวทางการปฏิบัติตนที่ถูกตองเกี่ยวกับการ ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ หรือ อาจเรียกวาบัญญัติ 10 ประการ สําหรับการออกกําลัง กาย เพื่อ สุขภาพดังนี้ คือ 1) สําหรับผูที่ ไมเคยออกกําลัง กายมากอ น หรือเคยออกกํ าลังกายมากอนแตหยุดออก กําลังกายไปนานแลว ควรทําการตรวจเช็ครางกายกอนเริ่มตนการออกกําลังกาย เพี่อ ความปลอดภัย ของตนเอง 2) ควรเลือกออกกําลังกายที่เหมาะสมกับสภาพรางกาย โดยทั่วไปสําหรับผูที่มีรางกาย แข็งแรงเปนปกติ การวิ่งจอกกิ้ง การเตนแอโรบิก การเดินเร็วหรือการเลนกีฬาตางๆ ก็ถือวาเปน การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี สําหรับผูสูงอายุที่ไมไดมีการออกกําลังกายเปนประจําในอดีต หรือ ผูที่สงสัยวาตนเองมีปญหาเกี่ยวกับ ขอเสื่ อม การออกกําลังกายเพื่อสุข ภาพที่เหมาะสมคือ การวา ยน้ํ า หรื อการปน จัก รยานอยู กับ ที่ เพราะจะช วยให มีก ารกระแทกกัน ของข อเขา ไม มาก เกินไป ซึ่งจะชวยลดปญหาการบาดเจ็บของขอตอและชะลอการเสื่อมของขอดวย 3) การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพนั้น ไมวาจะเปน การจอ กกิ้ง การเตนแอโรบิ กหรือ การปนจัก รยานอยูกั บที่ ควรจะออกกํ าลั ง กายจนรูสึ ก เหนื่อ ยปานกลางเปนระยะเวลา นาน 20-30 นาทีตอเนื่องกัน และทํ าเปน ประจํ าสม่ํา เสมอ 3 ครั้ง ตอสัปดาห หรือ วั นเวนวัน การทํา เชนนี้ จะเปนการฝกใหระบบหัวใจและปอดทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพดีขึ้น 4) สําหรับผูที่ ไมเคยออกกําลัง กายมากอ นหรือเคยออกกําลังกายมากอน แตหยุดออก กําลังกายไปนานแลว ควรที่จะเพิ่มระยะเวลาของการออกกําลังกายอยางชาๆ คอยเปน คอยไป เพื่อใหเวลารางกายในการปรับตัวจะไดไมเกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บขึ้น 5) ไมควรเริ่มตนหรือ หยุดการออกกํ าลังกายแบบทันทีทันใด เนื่องจากระบบหัวใจและ ปอดอาจไมส ามารถปรั บตัวไดทัน ทําใหเกิดภาวะหัวใจลมเหลวได ดังนั้น จึง ควรมี การอบอุน รางกายหรือที่เรียกวาวอรม-อัพ (Warm-Up) กอนการออกกําลังกายและการเคลื่อนไหวรางกาย ชาๆ หลังการออกกําลังกายหรือที่เรียกวา คูล-ดาวน (Cool-Down) 6) ทําการอบอุนรางกายกอนออกกําลังกาย เพราะการอบอุนรางกายเปนการเพิ่มการ ไหลเวียนเลือดไปยังกลามเนื้อสวนตาง ๆ ของรางกายที่ตองทํางานในขณะที่อ อกกําลังกายเพิ่ม ความยืด หยุน ในกล ามเนื้ อและเอ็ น และเป นการเพิ่ มการทํา งานของระบบหั วใจและปอดอยา ง ชาๆ 7) ทําการเคลื่อนไหวรางกายชา ๆ ภายหลังการออกกําลังกายเสร็จแลว ซึ่งจะชวยลด อาการปวดเมื่อยกลามเนื้อที่อาจเกิดขึ้นภายหลังการออกกําลังกายได ลักษณะการทําเหมือนกับ การอบอุนรางกาย 8) ควรดื่ม น้ําใหเพียงพอกอนการออกกํ าลังกาย ขณะออกกําลัง กายและหลังการออก กํ า ลั ง กาย เพราะว าการขาดน้ํ า จะส ง ผลเสี ย ต อ รา งกายมากมาย เช น ทํ า ให เ ป น ตะคิ ว หรื อ ลมแดด นอกจากนี้ยังทําใหหัวใจทํางานหนักมากกวาที่ควร ขอแนะนําสําหรับการดื่มน้ําคือ ควร ดื่ม น้ํา 2 แกว กอนออกกําลังกายประมาณ 45 นาที จากนั้นในขณะที่กําลังออกกําลังกายควรมี


15 การดื่มน้ํ า ครั้งละนอยๆ ตลอดชวงเวลาของการออกกําลัง กายและภายหลัง การออกกํ าลังกาย ควรดื่มน้ําใหมาก ในเรื่องของอาหารก็มีความสําคัญควรรับประทานอาหารใหห ลากหลายโดยมี สัดสวนของอาหารจําพวกแปง ผักและผลไมมากกวาจําพวกเนื้อสัตว 9) พึง ระลึกอยูเ สมอวาการออกกําลังกายไมว าจะเปน อะไรก็ ตาม อาจกอใหเกิดการ บาดเจ็บตอรางกายไดถาขาดความระมัดระวัง 10) เมื่อเกิดการบาดเจ็บขึ้นแลว ควรทําการปฐมพยาบาลใหเร็วที่สุด การปฐมพยาบาล เบื้องตนที่ถูกตองจะชวยลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ และทําใหหายเร็วยิ่งขึ้น กลาวโดยสรุป การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ หมายถึง การออกกําลังหรือ การฝกซอ ม ให สว นต างๆ ของร างกายในการทํางานมากกวา ภาวะปกติอ ยางเปนระบบ ทํ าใหรางกายรูสึก เหนื่อ ยด วยการทําใหหัว ใจเต นเร็ว และแรงขึ้ นกวา ปกติ ประมาณเทาตัว หรือเกือบเท าตัว เป น เวลาติ ด ต อ กั น อยา งน อ ย 20 นาที และในสั ปดาห ห นึ่ ง อยา งน อ ย 3 วั น โดยคํ านึ ง ถึ ง ความ เหมาะสมกั บเพศวัย และสภาพรา งกายของแตละบุ คคลเปน สําคัญ จนเปน ผลใหรา งกายและ จิตใจเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น 2.3 ประเภทของการออกกําลังกาย ดํารง กิจกุศ ล (2527) กลาววา การออกกําลัง กายแต ละชนิด จะใหผลตอ องคป ระกอบ ความสมบูรณแข็งแรงไมเหมือนกัน สามารถแบงออกไดดังนี้ 1) การออกกําลัง กายเพื่อ ความสนุกสนานเพลิ ดเพลิ น (Recreational Exercise) ซึ่ง มัก จะมีคํานํ าหนา เสมอ เชน เล นกอลฟ ฯลฯ จุด ประสงค เพื่อ การเขา สังคม ซึ่ง ออกกํา ลังกาย แบบนี้จะไดผลตอองคประกอบของความสมบูรณแข็งแรง หรือไมขึ้นกับผูเลน และวิธีการเลน 2) การออกกํา ลัง กายเพื่ อสุ ขภาพทั่วไป (General Fitness Exercise) ได แก การ บริห ารรางกายตางๆ รวมถึง การออกกํ าลังกายแบบรํามวยจีน ซึ่งถ าทําอยางถู กต อง แลว จะมี ประโยชนตอสุขภาพ เพิ่มความยืดหยุนของขอ 3) การออกกําลังกายเพื่อสุข ภาพหัวใจและปอด (Cardiopulmonary Exercise, True Fitness Exercise หรือ Aerobic Exercise) เปนการออกกําลังกายแบบผสมผสานกัน แตละ ประเภทที่ใ หค วามแข็งแรงของกล ามเนื้อ ความยืด หยุน ของกล ามเนื้อ และขอ ต อ ตางๆ และ สมรรถภาพการทํางานของปอดและหัวใจ ดังนี้ 3.1) ออกกํ า ลั ง กายเพื่ อ ความแข็ ง แรงและอดทนของกล า มเนื้ อ แบ ง เป น แบบ ไม เคลื่อ นที่ เชน การยกน้ํา หนั ก เป นการออกกํ าลั งกายชนิ ดที่ กล ามเนื้ อหดตั ว เกิ ดแรงดึง ตัว ในกลา มเนื้อ เพิ่ มขึ้ นอยา งมาก ความยาวของกลา มเนื้อ ไมเปลี่ ยนแปลง มี ผลตอการไหลเวีย น โลหิตไปเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจ และยังทําใหเกิดความดันซิสโดลิคสูงขึ้นได และแบบเคลื่อนที่เปน การออกกํ าลังกายชนิด ที่ก ล ามเนื้อหดตัว แล ว ทําให ความยาวเปลี่ ยนแปลงไป ขณะเดี ยวกั น แรงดึงตัวในกลามเนื้อเองเปลี่ยนแปลงไปเพียงเล็กนอย


16 3.2) การออกกําลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ เปนการทํากิจกรรม ใดก็ไดที่เพิ่มระดับ การใชพลังงานใหอยูใ นชว งที่สามารถทําใหออกซิเจนไปเลี้ ยงกลามเนื้อเพิ่ ม มากขึ้น สามารถเพิ่มสมรรถภาพการทํางานระบบหายใจและการไหลเวียนโลหิตเปนประโยชน ตอความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อ ความคลองแคลววองไว การทรงตัวดี เชน การ เดิน การวิ่ง เหยาะๆ การวา ยน้ํา การวิ่งอยูกั บที่ เปนตน ซึ่งการเดินควรเปนการเดินเร็ว จะตอ ง รูสึกเหนื่อย และมีเหงื่อออกพอสมควร เดินติดตอกัน 20-30 นาที 3.3) การออกกํ าลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุนและผอนคลาย (Flexibility and Relaxation Activity) เปนการออกกําลังกายที่ทําซ้ําๆ กัน ดวยการยึด (Stretching) กลามเนื้อ และเอ็น เพื่อใหสามารถเคลื่อนไหวขอตางๆ ไดอยา งเต็มที่ ถือวาเปน สวนหนึ่ง ของการออก กําลังกายในระยะอบอุนรางกายและระยะผอนคลาย ไดแก การฝกโยคะ การฝกไทซิ (มวยจีน) เปนการออกกําลังกายที่มีการควบคุมการเคลื่อนไหวและการหายใจเปนสําคัญ เปนประโยชนใน การพัฒนาความยืดหยุนความตึงตัวของกลามเนื้อและสมรรถภาพของปอดและหัวใจได ฟอกซ (Fox. 1992) ไดแบงประเภทกิจกรรมการออกกําลังกายและระบบพลังงาน ดังนี้ 1) กิจกรรมการออกกําลังกายและกีฬาที่ใชเวลาปฏิบัตินอยกวา 30 วินาที ใชพลังงาน หลักจากระบบเอทีพ-ี พีซี (ATP-PC System) ไดแก การขวางจักร วิ่ง 100 เมตร 2) กิ จ กรรมการออกกํ าลั ง กายและกี ฬ าที่ ใ ช เ วลาปฏิ บั ติ ร ะหว า ง 30 วิ นาที ถึ ง 1½ วินาที ใชพลังงานจากระบบเอทีพี-พีซี (ATP-PC System) และระบบกรดแล็คติค (Lactic Acid System) ไดแก การวายน้ําฟรีสไตล 100 เมตร วิ่ง 200 เมตร และวิ่ง 400 เมตร เปนตน 3) กิจกรรมการออกกํ าลังกาย และกีฬาที่ใชเวลาปฏิบั ติระหวาง 1½ ถึง 3 นาที ใช พลั งงานหลั กจากระบบกรดแล็ค ติค (Lactic Acid System) และระบบแอโรบิ ก (Aerobic System) ได แก การวิ่ง 600 เมตร วายน้ํา ฟรี สไตล 200 เมตร ยิม นาสติ ก มวย (ยกละ 3 นาที) เปนตน 4) กิจกรรมการออกกําลั งกาย และกี ฬาที่ใชเ วลาปฏิ บัติ ตั้ งแต 3 นาทีขึ้นไป ใช พลังงานหลักจากระบบแอโรบิก (Aerobic System) ไดแก การวิ่ง 3,000 เมตร กลาวโดยสรุป การออกกําลังกายมีหลายประเภท ซึ่งการออกกําลังกายที่นิยมในปจจุบัน ไดแก 1) การเดิน หมายถึง การเดินระยะไกล และเดินเร็วพอสมควร การเดินในระยะสั้น ควร ใชเวลาประมาณ 15-30 นาที ขึ้นอยูกับสุขภาพของคนเดิน เมื่อรางกายแข็งแรงแลวจึงเพิ่มเวลา เดินใหมาก (นที รักษพลเมือง และวิชัย วนดุรงควรรณ. 2530) เดินกาวเทายาวๆ ในจังหวะเร็ว เพราะจะต อ งใช พ ลั ง งานมากกว า การเดิ น ก า วเท า สั้ น ๆ ถี่ ๆ การเดิ น ชนิ ด นี้ ต อ งรู สึ ก หอบ พอสมควร ควรจะเดินใหไ ดประมาณวัน ละ 30-60 นาที เดินติดตอ กันไปไมมี การพัก จึง จะ พอที่ จะรักษาใหรา งกายแข็งแรงได การเดินไมหักโหมเหมือนการวิ่ง จึงเหมาะกับผูสูงอายุหรือ คนไขที่มีโรคประจําตัว เชน โรคหัว ใจ โรคความดันโลหิตสู ง เวลา ที่เดินออกกําลังกายที่ดีที่สุ ด


17 คือ ตอนเย็นที่จะไดเผาผลาญอาหารที่เหลื อจากการรับประทานอาหาร และรางกายไมมีโอกาส นําไปเก็บในรูปของคลอเรสเตอรอลหรือไตรกลีเซอไรดได แตอ ยารับประทานอาหารเพิ่มเติมอีก หลัง จากการออกกําลังกายดวยการเดินแลว ควรเดินในที่มีอากาศปลอดโปรง ปราศจากสารพิษ เชน ควันรถยนต หรือควันจากโรงงานอุตสาหกรรม (เสก อักษรานุเคราะห. 2534) 2) การวิ่ง เปนการออกกําลังกายที่ดีที่สุด การวิ่งใหรางกายทุกสวนไดออกกําลังกายใน ระยะเริ่ ม ต น ควรวิ่ ง เหยาะๆ ก อ นใช เ วลา 5-10 นาที หากรู สึ ก เหนื่ อ ยมากควรหยุ ด หรื อ เปลี่ยนเปนเดิน หายเหนื่อยแลวคอยวิ่งตอ เมื่อ รางกายแข็งแรงดีแลวจึงเพิ่มการวิ่งให มาก โดย เพิ่มระยะทางหรือเพิ่มความเร็วในการวิ่งขึ้นทีละนอย (นที รักพลเมือง และวิชัย วนดุรงควรรณ. 2530) การวิ่งอยู กับที่นั้ นทําไดสะดวกในทุกๆ ที่ อาจทําที่ระเบียงบาน หองรับแขก (เวลาที่ไม มี แขก) ในหองนอนหรือแมในหองน้ําก็ทําได 3) ขี่จักยานเดินทาง การขี่จัก รยานเปนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีประเภทหนึ่ ง เหมาะสมสําหรับผูที่มีน้ําหนักเกินหรือมีปญหาเกี่ยวกับ ขอตอ ซึ่ง ไมเหมาะสมกับ การวิ่งเหยาะ แต การขี่จัก รยานตองใช เวลามากกวาการวิ่ง โปรแกรมการขี่จัก รยานที่เหมาะเพื่อ สุขภาพคือ ขี่จักรยานวันละ 30 นาที จากวันจันทรถึงวันศุกร และ 45-60 นาที ในวันเสาร-อาทิตย (จรวยพร ธรณิ นทร. 2530) วิ ธี ก ารขี่ จัก รยานเพื่ อ ให รา งกายแข็ง แรงอาจทําได โ ดยขี่ด ว ยความเร็ ว พอสมควร แตสม่ําเสมอหรือขี่ชาๆ สลับเร็วๆ เปนชวงๆ ระยะทางที่ใชความใกลพอสมควรเปน ระยะแรกๆ อาจใชสัก 4-6 กิโลเมตรกอนตอ ไปจึงเพิ่มระยะทางและความเร็วใหไดต ามกํ าหนด ควรเลือ กจักรยานที่ เหมาะสมกับรูปร าง ดู แลยางใหสู บลมแข็ งพอที่ จะขี่ไ ปไดส บาย ตรวจสอบ เบรกและส ว นอื่ น ๆ เพื่ อ ความปลอดภั ย ในการขี่ ไม ค วรขี่ ใ นย า นชุ ม ชนหรื อ ที่ มี ก ารจราจร หนาแนน (นที รักษพลเมือง และวิชัย วนดุรงควรรณ. 2530) 4) ขี่จั กรยานอยูกับที่ เปน อุปกรณ ชวยในการออกกําลังกายที่สามารถหาซื้ อไดดวย ราคาไมแพงนัก คือ จักรยานอยูกับที่สามารถปรับความตานทานใหมากนอยได ปรับอัตราการขี่ เร็ว-ชาได การออกกําลังกายชนิดนี้จึงนับไดวาเปนการออกกําลังกายตั้งแตเบาไปจนถึงหนัก แต ละคนมี ความสามารถทางกายไมเ ทากั น การฝ กจึง จํา เปน ตองเริ่ม จากการฝก ที่เบาๆ โดยให หัว ใจเต นประมาณรอยละ 50-60 กอนใน 2 สั ปดาห แรก ซึ่งมีปจจั ยที่เกี่ ยวขอ งมากมาย เชน อายุ เพศ และสภาพรางกาย (ศิริรัตน หิรัญรัตน. 2539) 5) การวายน้ํา เปนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่ดีเยี่ยม เพราะรางกายไดเคลื่อนไหว ทุกสวน ไดคุมคา เรงการใชพลังงาน นอกจากนี้ยังมีแรงพยุงในน้ําจึงเหมาะสําหรับคนอวนหรือผูที่ มีป ญหาที่ขอต อ (จรวยพร ธรณิ นทร . 2530) การว ายน้ําเพื่ อสุ ขภาพควรฝกสั ปดาห ละ 3-5 ครั้ ง เชน ศุกร -เสาร-อาทิตย เพราะเปนวันที่เหมาะที่จะปลีกตัวไปวายน้ํา เปาหมายของการวายน้ําคือ อยางน อยฝกใหได สัปดาห ละ 90 นาที การว ายน้ําเปนการออกกํ าลังกายที่ เหมาะสมสํ าหรับเด็ ก ผูใหญและผูสูงอายุ ควรวายน้ําใหเร็วและไกลพอสมควร


18 6) การกระโดดเชื อ ก เป น กิ จ กรรมการออกกํ า ลั ง กายแบบแอโรบิ ก ที่ เ ป น การเล น พื้นเมืองของไทย ทําไดงาย สะดวกใชเนื้อที่จํากัด กอนการกระโดดเชือกควรอบอุนรางกายกอน 6-10 นาที กระโดดเชื อ กนาน 6 นาที เ ป น อย า งน อ ย และผ อ นคลายกล า มเนื้ อ 5-10 นาที (ศั กดิ์ชาย พิทักษ วงษ. 2533) ผู ที่มีน้ํา หนักเกินมีปญ หาเกี่ ยวกับขอ ตอ มีโรคประจํา ตัว เชน หัว ใจ ความดันโลหิต เบาหวาน และผูสูงอายุ ที่ไ มเคยออกกํ าลัง กายดวยการกระโดดเชือกมา กอนไมควรออก กําลังกายดวยการกระโดดเชือก 7) การเต นแอโรบิ ก เปน การออกกําลั งกายที่นําเอาท าบริห ารกายมาผสมผสานกั บ ทักษะการเคลื่อนไหวเบื้อ งตน และจังหวะการเต นรําที่กระตุนหัวใจและปอดตองทํางานมากขึ้น ถึงจุดหนึ่ง ดวยระยะเวลาซึ่งนานพอที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่จะเปนประโยชนตอรางกาย จุดสําคัญของการเตนแอโรบิกตองใหรางกายทํางานหนักหรือรุนแรง พอที่จะทําใหหัวใจเตนเร็ว ถึงอัตราเปาหมาย เมื่อเตนแอโรบิกจนกระทั่งการเตนของหัวใจถึงอัตราเปาหมาย แลวจึงคอย ๆ ลดความหนักหรือความรุนแรงลง จนกระทั่งหยุดเตน ปกติตองเตนติดตอกันอยางนอย 15 นาที โดยไมรวมเวลาอบอุนรางกายและชวงผอนคลาย โดยแบงทําเปนสัปดาหๆ ละ 3-5 ครั้ง 8) โยคะ เปนการออกกําลังกายที่ผสมกับการควบคุมการหายใจใหเขาจังหวะกัน ตองมี ครูฝ กที่รูจริงและปฏิบัติอยางจริงจังก็ใหประโยชนอยางสูง การฝกรางกายโยคะจัดเปนการออก กําลังกายในลัก ษณะยื ดกลา มเนื้อ (Stretching Exercise) และการเพิ่ มความแข็งแรงใหแ ก กลามเนื้อ (Strengthening Exercise) จึงทําใหรางกายของผูที่ฝกโยคะมีความยืดหยุนดีกวาคน ปกติ เนื่องจากกลามเนื้อ เอ็นและขอ ตอมีการเคลื่อนไหวอยูตลอดเวลา อีกทั้งใยกลา มเนื้อหรือ เนื้อเยื่อ จะถูก ยืด ให มีความยาวเท ากับความยาวปกติ ทําให ลดอัตราเสี่ยงตอ อันตรายที่อาจจะ เกิดขึ้นตอรางกายไดเปนอยางมาก ผูที่ฝกโยคะจึงสามารถปอ งกันตนเองไมใหเจ็บปวยดวยโรค ทางกระดูกและกลามเนื้อ ไดเปน อยา งดี ผลดีของการฝกโยคะคือ การกระตุนใหเลือดภายใน รางกายไหลเวียนไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ ไดดีขึ้น โดยเฉพาะสมองทําใหเซลลตางๆ ไดรับ อาหาร อยางเพี ยงพอ บริเ วณไหนที่มีก ารสึ ก หรอก็ มีก ารซอ มแซมใหม รา งกายสดชื่นแข็ง แรงและ กระปรี้กระเปราที่สําคัญสมองยังแจมใส ความทรงจําดี เมื่อเกิดปญ หาตาง ๆ ก็สามารถแกไขได เปน อยา งดี ทําใหไ มเ ครีย ดกั บงานและสภาวะแวดลอ มมากเกิ นไป จึง ทําให ผิวพรรณผ องใส ดูออนกวาวัย จิตใจที่ออนโยนและผอนคลายจากการออกกํ าลัง กาย ชวยใหผู ฝกโยคะมีกําลังใจ ในการเผชิ ญ หน า กั บ ป ญ หาและมี ห ลั ก ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ดี ก ว า ผู ที่ ไ ม ไ ด อ อกกํ า ลั ง กายเลย (แกวปวงคํา วงไชย. 2543 2.4 ประโยชนของการออกกําลังกาย อวย เกตสิงห (2525) ไดสรุปประโยชนของการออกกําลังกายหรือกีฬาที่มีตอรางกายใน ดานสรีรวิทยา ดังนี้


19 1) ทําใหขนาดของกลามเนื้อโตขึ้น มัดของกลามเนื้อหนาขึ้นช วยเพิ่มประสิทธิภาพใน การทํางานของกลามเนื้อ 2) ทําให หัวใจมีขนาดใหญขึ้ น ผนังหนาขึ้ น ขยายตัว ไดมากขึ้น สามารถเก็ บเลือ ดได มากและมีกําลังในการสูบฉีดเลือดมากขึ้น 3) ทําใหเ ม็ดเลื อ ดเพิ่ มขึ้น หลอดเลื อ ดมีค วามยืด หยุนมาก ปอ งกั นโรคหลอดเลื อ ด แข็งตัวหรือแตกได 4) ชวยใหปอดโตขึ้น ขยายตัวไดมากขึ้น ชว ยให รา งกายมีความอดทนสู ง สามารถ ปฏิบัติงานติดตอกันไดเปนเวลานาน โดยมีความเมื่อยลานอย 5) ตอมไรทอจะถูกใหหลั่งฮอรโมนอยูเสมอทําใหรางกายสดชื่น กระปรี้กระเปรา 6) ชวยใหระบบยอยอาหารทํางานดีขึ้น ปองกันโรคทองอืดทองเฟอ 7) ชวยใหเม็ดเลือดขาวเพิ่มปริมาณขึ้นเพื่อประโยชนในการสรางความตานทานโรค 8) ชวยลดภาวะความตึงเครียดทางสมองและจิตใจ 9) ชวยลดความอวนและสรางเสริมทรวดทรงใหสมสวนงดงาม 10) ชวยเพิ่มสมรรถภาพทั่วไปใหสูงยิ่งขึ้น ศิริรัตน หิรัญรัตน (2539) ไดสรุปประโยชนของการออกกําลังกายไว 5 ประการดังนี้ 1) ทางด านรางกาย อวัยวะในระบบต าง ๆ ของรางกายสามารถทํางานประสานกันได อยางมีประสิ ทธิ ภ าพ เปนผลใหรา งกายสมบู รณ แข็ง แรง อดทน มี บุค ลิ ก ภาพที่ ดี สามารถ ประกอบกิ จ กรรมการงานประจํ า วั น ได อ ย า งกระฉั บ กระเฉง มี ภู มิ ต น ทานสู ง สมรรถภาพ ทางกายดี 2) ทางด า นจิ ต ใจ การออกกํ า ลั ง กายสม่ํ า เสมอนอกจากจะทํ า ให ร า งกายสมบู ร ณ แข็งแรงแลว จิตใจราเริง เบิกบานก็จะเกิดควบคูกันมาเนื่องจากรางกายปราศจากโรคภัยไขเจ็บ ถ าไดอ อกกํ า ลั ง กายร ว มกั น หลาย ๆ คน เช นการเล นกี ฬ าเป นที ม ทํา ให เ กิ ด ความเอื้ อ เฟ อ มีเหตุผล อดกลั้น สุขุม รอบคอบ และยุติธรรม 3) ทางดานอารมณ มีอารมณเยือกเย็นไมหุนหันพลันแลน ชวยคลายความเครียดจาก การประกอบอาชีพในชีวิตประจําวัน เมื่ออารมณเยือกเย็นก็สามารถทํางานหรือออกกําลังกายได อยางดี 4) ทางดานสติปญญา การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอทําใหความคิดอานปลอดโปรง มีไหวพริบ มีความคิดสรางสรรค คิดคนวิธีเอาชนะคูตอสูในวิถีทางในเกมการแขงขัน ซึ่งบางครั้ง สามารถนํามาใชในการดําเนินชีวิตไดอยางถูกตอง 5) ทางสังคม สามารถปรับตัวเขากับผูรวมงานและผูอื่นได เพราะการเลนกีฬาหรือการ ออกกําลังกายรวมกันเปนหมูมากๆ ทําใหเกิดความเขาใจและเรียนรูพฤติกรรม มีบุคลิกภาพที่ดี มีความเปนผูนํา มีมนุษยสัมพันธที่ดีและสามารถอยูรวมในสังคมไดอยางมีความสุข


20 2.5 รูปแบบการสงเสริมสุขภาพของเพนเดอร ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดนําแนวคิดการสรางเสริ มสุขภาพของเพนเดอร (Pender, Murdeuqhand and Parsons, 2006) มาใชเปนกรอบแนวคิดในการกําหนดตัวแปรที่ศึกษาปจจัย ที่มีผลตอพฤติ กรรมการออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดับปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร เพนเดอร (Pender) ไดมีการพัฒนารูปแบบการสงเสริมสุขภาพมาตั้งแต ค.ศ. 1982 หลังจากไดเสนอแบบจําลองการปองกันสุขภาพขึ้นในป ค.ศ. 1975 ซึ่งกลาวถึงปจจัยที่มีอิทธิพล ต อ การตั ด สิ น ใจและการกระทํ า ของแต ล ะบุ ค คลในการป อ งกั น โรค ต อ มา Dr.Pender ได พิ จารณาเห็นว ามโนทั ศ นของแบบจําลองการปอ งกั นสุ ขภาพที่นําเสนอนี้เ ปนมโนทัศ นทาง สุขภาพเชิงลบ เพราะพฤติกรรมสว นใหญเปนพฤติกรรมหลี กเลี่ยง ดังนั้นถา ตองการชว ยเหลือ ใหบุคคลมีสภาพความเปนอยูที่ดีและมีสุขภาพสมบูรณ ควรมีการพิจารณามโนทัศนทางสุขภาพ ในเชิงบวกดวย ซึ่งมโนทัศนการสงเสริมสุขภาพเปนมุมมองในเชิงบวกที่เนนการปฏิบัติกิจกรรม ต างๆ เพื่ อ ยกระดับสุ ข ภาพและสภาพความเปนอยู ที่ดี จึ ง ได เ สนอแบบจํา ลองการส ง เสริ ม สุขภาพ พรอมทั้งมีการพิ มพเผยแพรครั้งแรกเมื่อ ป ค.ศ. 1982 โดย Dr. Perder เชื่อ วา การ สงเสริมสุขภาพเปนสิ่งที่ชวยเพิ่มระดับ ความผาสุก และความสําเร็จในจุดมุงหมายสูงสุดในชีวิต ของบุคคลและกลุมคนได นับแตนั้นเปนตนมาแบบจําลองการสงเสริมสุขภาพของ Pender ก็ไดรับความนิยม ในการนํามาใชเปน กรอบแนวคิด ในการศึก ษาเกี่ยวกับ พฤติก รรมส งเสริมสุขภาพ และป ค.ศ. 1987 Dr. Perder ไดทําการปรับปรุงแกไขรูปแบบการสงเสริมสุขภาพ โดยใหความสนใจกับตัว แปรที่สามารถอธิบายและทํ านายพฤติก รรมสงเสริม สุขภาพได แต หลัง จากที่มีการปรั บปรุ ง แก ไ ขแล ว ยั ง มี นั ก วิ จั ย หลายคนพบว า ตั ว แปรบางตั ว ยั ง ไม มี ค วามชั ด เจนในการอธิ บ าย พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ ดังนั้น Dr. Perder จึงไดตัดตัวแปรดังกลาวออก พรอมทั้งทําการ ปรั บ ปรุง แบบจํ า ลองการส ง เสริม สุ ข ภาพใหม ใ นป ค.ศ. 1996 และทํ า การปรับ ปรุ ง ร ว มกั บ Murdaugh and Parsons ในป ค.ศ. 2002 และ ค.ศ. 2006


21 ลักษณะเฉพาะและ ความคิดและความรูสึก และประสบการณของบุคคล ตอพฤติกรรม

พฤติกรรมผลลัพธ

การรับรูประโยชนของ การปฏิบัติ พฤติกรรมที่เกี่ยวของ ในอดีต

การรับรูอุปสรรคในการ ปฏิบัติพฤติกรรม การรับรูความสามารถ ของตนเอง

พฤติกรรมทางเลือกเกิด จากจิตสํานึกและ พฤติกรรมทางเลือกที่ เกิดจากปจจัยเสริมแรง

ความรูสึกที่มีตอพฤติกรรม ปจจัยสวนบุคคล - ชีวภาพ - จิตใจ - ดานสังคมวัฒนธรรม

ความมุงมั่นที่จะ ปฏิบัติพฤติกรรม

พฤติกรรม สงเสริมสุขภาพ

อิทธิพลของความสัมพันธ ระหวางบุคคล อิทธิพลของสถานการณ

ภาพที่ 2-1 แบบจําลองการสงเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised) ที่มา : Pender, Murdeuqhand and Parsons. 2006. แบบจําลองการสงเสริมสุขภาพเปนกรอบแนวคิดที่ ไดรับการบูรณาการจากทฤษฎี ความคาดหวั ง และการให คุ ณ ค า กั บ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู ท างสั ง คมจนได รู ป แบบใหม โดยมี รายละเอียดดังตอไปนี้ 1) ปจจัยสวนบุคคล บุคคลแตละคนจะมีป จจัยสวนบุคคลและประสบการณเฉพาะ ของตน ซึ่ง มีผ ลกระทบตอ การปฏิ บัติ พฤติกรรมในครั้ง ตอๆ ไป ความสํ าคัญ ของผลกระทบนี้ ขึ้นอยูกับพฤติกรรมเปาหมาย โดยตัวแปรที่ไดรับการเลือกสรรวามีความสัมพันธกับพฤติกรรม สุขภาพ ไดแก อายุ เพศ ความสามารถในการออกกําลังกาย ความแข็งแรง การศึ กษา สภาพ เศรษฐกิจและสังคม ปจจัยสวนบุคคลเหลานี้มีอิทธิพล โดยตรงตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ 2) พฤติก รรมที่ เกี่ยวขอ งในอดี ต ความถี่ใ นการปฏิ บัติ พฤติกรรมที่เหมือ นๆ กัน หรือ คล ายคลึงกั บการปฏิบัติพ ฤติกรรมที่ผานมาในอดีต มีผลโดยตรงและโดยออ มที่จะนําไปสู การปฏิบั ติพฤติกรรมสง เสริมสุขภาพ ผลโดยตรงของพฤติกรรมในอดีตที่ผานมาต อพฤติกรรม สงเสริมสุขภาพในปจจุบัน อาจเกิ ดจากการสรางนิสัย ซึ่งนําไปสูก ารปฏิบัติ พฤติก รรมสุขภาพ


22 โดยอัตโนมัติหรือเปนไปดว ยความตั้ งใจ สนใจ ผลโดยออ มของพฤติกรรมในอดีตมี อิทธิพลตอ พฤติ ก รรมส ง เสริ ม สุ ข ภาพในปจ จุ บั น โดยผ า นการรั บ รูค วามสามารถของตนเอง การรั บ รู ประโยชน การรับรูอุปสรรค และความรูสึกที่สัมพันธกับพฤติกรรมที่ปฏิบัติในอดีต ทําใหบุคคลมี โอกาสที่จะแสดงพฤติกรรมนั้นซ้ําไดมากขึ้น 3) ความคิดและความรูสึกตอพฤติกรรมเฉพาะ ตัวแปรกลุมนี้ไดรับการพิจารณาวา เป น กลุ ม ที่มี ค วามสํ า คั ญ ในการจู ง ใจมากที่สุ ด และเป นแกนสํ า คั ญ ที่ จ ะนํ า ไปใชป ฏิ บัติ เ พื่ อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ซึ่งตัวแปรเหลานี้ไดแก 3.1) การรับ รูประโยชนข องการกระทํา การวางแผนของบุค คลที่จะกระทํ า พฤติกรรมใดๆ ขึ้นอยูกับ ประโยชนที่ เคยไดรับ หรือ ขึ้นกับ ผลของการปฏิบั ติพฤติกรรมนั้ นๆ ประโยชนที่เคยได รับจากการกระทํ า จะแสดงออกทางจิต ใจโดยคํ านึงถึ งผลทางบวก หรือการ เสริมแรงของการกระทําพฤติกรรมนั้น จากทฤษฎีความเชื่อ-คานิยม การคาดการณถึงประโยชน เป นสิ่งสําคัญของการจู งใจ ซึ่ง อยูบ นพื้นฐานของลักษณะและประสบการณที่ผานมาโดยตรง หรือเรียนรูจ ากการสังเกตสิ่ งตา งๆ ที่ผ านเขา มา ความเชื่อ ในประโยชนหรือ ความเชื่อที่ วาผล จากการกระทําที่เกิดขึ้นนั้นจะเปนไปในทางบวกเปนสิ่ง สําคัญ แมวาจะไมเพียงพอที่จะใช เปน เงื่อนไขในการนําไปสูพฤติกรรมสุขภาพที่เฉพาะเจาะจงก็ตาม ประโยชนที่ไดรับจากการปฏิบัติ พฤติ กรรมอาจเปนสิ่งที่เ กิดขึ้นภายในหรือ ภายนอกก็ ได ตัว อยางประโยชนที่ เกิ ดขึ้นภายใน ได แก การเพิ่ มความตื่นตั ว และการลดความรูสึก เหนื่อ ยล า ประโยชนภายนอก ได แก รางวัล ทรัพยสิน เงินทอง หรือการมีปฏิสัมพัน ธทางสัง คม การปฏิบัติพ ฤติกรรมในชว งแรกประโยชน ภายนอกจะเป นแรงจูง ใจสํา คัญ ในการเขา สูพ ฤติกรรมสุข ภาพ ซึ่ง ตอ มาประโยชนภ ายในอาจ เปนแรงจูงใจใหมีพฤติกรรมสุขภาพอยางตอเนื่องมากกวา การรับรูประโยชนจะเปนแรงจูงใจตอ พฤติกรรมทั้งโดยตรงและโดยออม 3.2) การรั บ รู อุ ป สรรคต อ การกระทํ า เป น การรั บ รู อุ ป สรรคที่ ขั ด ขวางต อ พฤติกรรมสง เสริมสุ ขภาพ อาจเปนสิ่ งที่เกิ ดขึ้นจริงหรือสิ่ง ที่คาดคะเน ไดแ ก การรับ รูเกี่ยวกั บ ความไมเ ปนประโยชน ความไมสะดวกสบาย คาใชจาย ความยากลําบาก หรือระยะเวลาที่ใชใน การกระทํานั้นๆ อุ ปสรรคเปรี ยบเสมื อนสิ่ง ขัดขวางไมใ หบุ คคลปฏิ บัติ พฤติกรรม หรื อจูง ใจให บุคคลหลีกเลี่ยงที่จะปฏิบัติพฤติกรรม เมื่อขาดความพรอมในการกระทําและอุปสรรคมีมาก การ กระทํานั้นก็จะไมเกิดขึ้น แตเมื่อมีความพรอมในการกระทําสูงและอุปสรรคมีนอย ความเปนไป ได ที่จะกระทําก็ มีมากขึ้น การรั บรูอุป สรรคมีผ ลกระทบตอพฤติก รรมส งเสริม สุขภาพโดยตรง โดยเปนตัวกระทําก็มีมากขึ้น การรับรูอุปสรรคมีผลกระทบตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพโดยตรง โดยเปนตัวขัดขวางกระทํา และมีผลในทางออมตอการลดความตั้งใจในการวางแผนที่จะกระทํา พฤติกรรม 3.3) การรับรูความสามารถของตนเอง เปนการตัดสินความสามารถของบุคคล วาจะสามารถปฏิ บัติ พฤติกรรมไดใ นระดั บใด และบุ คคลนั้ นสามารถที่ จะทําอะไรไดบางโดยมี


23 ทัก ษะหรื อ ไมมีทัก ษะก็ ไ ด การตั ด สิ นความสามารถของบุค คลแสดงให เ ห็ นโดยการตั ด สิ น เกี่ยวกับความสามารถของบุคคลในการกระทํา พฤติก รรมนั้นใหสําเร็จ การรับรู เกี่ยวกับทักษะ และความสามารถเปนแรงจูงใจสําคัญของบุคคลที่จะกระทําพฤติกรรมที่ดีและถูกตองเหมาะสม ความรูสึกเกี่ยวกับความสามารถและทักษะในการกระทําของบุคคลเปนสิ่งเสริมใหบุคคลบรรลุ ถึงพฤติ กรรมเปา หมายไดมากกว าบุ ค คลที่มีความรู สึก วาตนเองไมมีค วามสามารถและไมมี ทักษะ การรับรู ความสามารถของตนเองมีพื้นฐานที่ พัฒนามาจากปจจัย 4 ประการคือ 1) การ กระทํ า ที่ ไ ด ผ ลสํ า เร็ จ จากการที่ ไ ด ป ฏิ บั ติ พ ฤติ ก รรมนั้ น และการประเมิ น การกระทํ า ตาม มาตรฐานของตนเอง หรือจากการประเมินที่ไดรับจากบุคคลอื่น 2) ประสบการณจากการไดเห็น การกระทําของผูอื่น โดยการสังเกตและนํามาประเมินเปรียบเทียบกับตนเอง 3) การชักจูงดว ย คํ า พู ด ของผู อื่ น ทํ า ให บุ ค คลดึ ง เอาความสามารถที่ มี อ ยู ใ นตนเองออกมาเพื่ อ ใช ใ นการทํ า กิจกรรมนั้นๆ และ 4) สภาพรางกาย เชน ความวิตกกังวล ความกลัว ความสงบ ความเงียบ สิ่ง เหลานี้บุคคลนํามาใชตัดสินความสามารถของตนเอง แบบจําลองการสงเสริมสุขภาพเสนอว า ความรูสึกที่สัมพันธกับพฤติกรรมที่ปฏิบัติ มีอิทธิพลตอการรับรูความสามารถของตนเอง เมื่อมี ความรูสึกทางบวกมากขึ้นการรับรูความสามารถก็จะมากขึ้น นอกจากนี้การรับรูความสามารถ ของตนเองยังมีอิทธิพลตอการรับรูอุปสรรคของการกระทํา โดยบุคคลที่มีการรับรูความสามารถ ของตนเองเปนแรงจูงใจใหเกิดพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพโดยตรง และมีอิทธิพลโดยออมตอการ รับรูอุปสรรคและการตกลงใจที่จะปฏิบัติตามแผนที่กําหนด 3.4) ความรูสึกที่สั มพั นธกับพฤติก รรมที่ ปฏิ บัติ เป นความคิด หรือ ความรูสึก ของบุคคลที่เกิดขึ้นกอนปฏิบัติพฤติกรรม ขณะปฏิบัติพฤติกรรม และภายหลังปฏิบัติพฤติกรรม การตอบสนองของอารมณ ความรูสึกเหล านี้อาจเป นระดับนอ ย ปานกลาง หรือรุ นแรง และถูก ตัดสินความคิดทําใหเกิดการเรียนรูเก็บไวในความทรงจํา แลวนํามาเปนกระบวนการคิดตอการ กระทํ าพฤติกรรมในเวลาตอมา การตอบสนองตอความรูสึก ที่สัมพั นธกับพฤติกรรมที่ ปฏิ บัติ ประกอบดวยองคประกอบ 3 องคประกอบคือ อารมณที่เกี่ยวกับการกระทําในขณะนั้น อารมณ ของตนเองในขณะนั้ น และอารมณ เ กี่ ย วกั บ บริ บ ทหรื อ สภาพแวดล อ มในขณะนั้ น ผลของ ความรูสึก ที่เ กิด ขึ้นจะมีอิทธิพ ลตอบุ คคลในการเลือ กปฏิบัติหรือไมปฏิบั ติพ ฤติก รรมนั้ นซ้ําอี ก หรื อคงพฤติก รรมนั้ นไวใ หยาวนานขึ้ น อารมณ และความรูสึกนี้มี ผลตอการปฏิ บัติ พฤติกรรม แบบปฏิ กิ ริย าลู ก โซ นั่ น คื อ ถ ากิ จ กรรมนั้น ให ผ ลในทางบวกต อ ความรูสึ ก เช น ความรู สึ ก สนุก สนาน ความพึ งพอใจ ความรูสึ ก เพลิ ด เพลิ น บุค คลก็ จะปฏิบัติ ซ้ํา ในขณะที่กิ จกรรมที่ กอใหเ กิดความรูสึกในด านลบ เชน ความเบื่อหนาย ความไมพ อใจ ความอึดอั ด บุค คลก็จะ หลี กเลี่ย งไมป ฏิบั ติ ดัง นั้น ความรู สึก ที่สั มพั นธ กับ พฤติก รรมที่ ปฏิ บัติ จึง มีอิ ทธิ พลโดยตรงตอ พฤติกรรมสุขภาพ เชนเดียวกับที่มีอิทธิพลทางออมโดยผานการรับรูความสามารถของตนเอง และความตั้งใจในการวางแผนวาจะกระทําพฤติกรรม


24 3.5) อิทธิพลระหวางบุคคล เปนการเรียนรูของบุคคลเกี่ยวกับพฤติกรรมความ เชื่อหรือ ทัศนคติ ของบุค คลอื่น โดยการเรีย นรู นี้อ าจจะตรงหรือ ไมตรงกับความเปน จริ งก็ ไ ด อิทธิพลระหวางบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ ไดแก 1) บรรทัดฐานของสังคม เปน ตั ว กํ า หนดมาตรฐานของการกระทํ า ซึ่ ง บุ ค คลสามารถที่ จ ะยอมรั บ หรื อ ปฏิ เ สธได 2) การ สนับสนุนทางสังคม เปนการชวยเหลือในดานอุปกรณและกําลังใจที่บุคคลไดรับจากผูอื่น ซึ่งจะ เป น สิ่ ง เสริ ม ให บุ ค คลมี ก ารปฏิ บั ติ พ ฤติ ก รรม และ 3) การเป น แบบอย า ง เป น การเรี ย นรู พฤติกรรมของบุคคลจากบุคคลอื่น โดยผานการสังเกต และประสบการณการกระทําพฤติกรรม เฉพาะนั้นๆ แล ว นํามาประกอบขึ้น เป นพฤติ ก รรมสุ ข ภาพของตนเอง ซึ่ง กระบวนการของ อิทธิ พลระหว างบุค คลทั้ง 3 นี้ จะเปนสิ่ งโนม นาวให บุค คลปฏิ บัติ พฤติ กรรมสง เสริม สุขภาพ นอกจากนี้ อิ ท ธิ พ ลระหว า งบุ ค คลยั ง มี ผ ลต อ การปฏิบั ติ ป ระพฤติ ส ง เสริ มสุ ขภาพของบุ ค คล ทั้งหลายทั้งทางตรงและทางด อม โดยเปนแรงกดดันของสั งคมที่มีตอการปฏิบัติพฤติกรรมของ บุคคล หรือเปนสิ่งกระตุนใหบุคคลมีการปฏิบัติพฤติกรรมตามแผนที่กําหนดไว แหลงที่ไดมาซึ่ง อิทธิ พ ลระหว างบุค คลเบื้อ งต นนั้น ได แ ก ครอบครัว (บิด า มารดา พี่ นอ ง) กลุ มเพื่ อ น และ บุคลากรทางสุขภาพ 3.6) อิ ท ธิ พ ลด า นสถานการณ คื อ การรั บ รู แ ละการเรี ย นรู ข องบุ ค คลต อ สถานการณหรือบริบทใดๆ ที่อํานวยความสะดวกหรือขัดขวางตอการแสดงพฤติกรรม อิทธิพล ดานสถานการณที่มีผลตอ การสงเสริมพฤติก รรมสุขภาพ ไดแ ก การรับรูทางเลื อกที่เ หมาะสม คุณลักษณะตางๆ ที่ ตองการ และลัก ษณะของสิ่งแวดลอมที่สวยงามที่จะทํา ใหพฤติกรรมนั้นๆ เกิดขึ้น อิทธิพ ลดานสถานการณอาจจะมีผลตอพฤติกรรมสุข ภาพทั้งโดยทางตรงและทางออ ม ทางตรงคือ การแสดงให เห็นในสภาพแวดลอมนั้นๆ โดยการใชสัญลั กษณหรือ สิ่งที่ตองปฏิบั ติ เชน การติ ดปาย “หามสู บบุ หรี่ ” แสดงให เห็น สัญ ลักษณที่ต องการของสถานที่นั้นวา ตอ งการ พฤติก รรมการงดสูบบุหรี่ นอกจากนี้สถานการณอ าจมีผ ลโดยการนําเสนอสิ่ง ชี้นํ าเพื่อ กระตุ น พฤติกรรมใหมากขึ้น 4) ผลลัพ ธดานพฤติกรรม การกําหนดความตั้ งใจเพื่อ วางแผนการกระทํา เปนจุด เริ่มของการเกิดพฤติกรรม ความตั้งใจนี้จะทําใหบุคคลปฏิบัติพฤติกรรมไดสําเร็จ นอกจากจะมี ความตอ งการอื่นเขามาแทรก ซึ่งบุคคลไมสามารถหลีกเลี่ยงไดหรือ มีความพึงพอใจในสิ่งที่เขา มาแทรกมากกวา ทําให บุค คลนั้นไมไดปฏิบัติพ ฤติก รรมที่ ได ตั้ง ใจไว ตั้ง แต ตน การที่บุคคลจะ ปฏิบัติพฤติกรรมไดสําเร็จนั้นประกอบดวย 4.1) การตกลงที่จะปฏิบัติพฤติกรรมตามแผนที่กําหนด พฤติกรรมของมนุษ ย โดยทั่วไปจะเปนระบบมากกวาไมเปนระบบตามที่ Fishbein and Ajzen (1975 cited in Pender, Murdaugh and Parsons. 2006) ไดกลาววา ความตั้งใจเปนสิ่งสําคัญตามแผนที่ กําหนดในรู ปแบบการสงเสริม สุขภาพนี้ สามารถอธิบายไดจากกระบวนการทางดานความรู ความเขาใจ คือ 1) ความตั้งใจที่มี ตอการปฏิบัติพฤติกรรมนั้น ในเวลาและสถานที่ที่กําหนดกับ


25 บุค คลที่ ระบุ ไ ว ห รือ ทํ า โดยลํ า พั ง โดยไม คํ านึ ง ถึ ง ว า จะมี สิ่ ง ใดๆ เขา มาแทรก และ 2) การ วิเ คราะหหาวิ ธี ก ารที่จะทําใหเ กิ ด แรงเสริมในการปฏิบัติ พ ฤติ ก รรมนั้น เปนการหาวิ ธี ก ารที่ เฉพาะในการปฏิบัติที่จะใชกับพฤติกรรมที่มีความแตกตางกัน เพื่อใหกลายเปนความตั้งใจที่จ ะ วางแผนการปฏิ บั ติ พ ฤติ ก รรมนั้ น ๆ การวางแผนเพื่ อ การกระทํ า นี้ ค วรทํ า ร ว มกั น ระหว า ง พยาบาลและผู ปว ย เพื่ อ ใหเ กิ ดการปฏิ บัติ ที่ประสบผลสําเร็จ ตั วอยางเชน การทําขอ ตกลง รว มกั นในการกระทํากิ จกรรมอยา งหนึ่ง โดยฝายหนึ่ง เปน ผู ตกลงกับอีกฝายหนึ่ง วาจะไดรับ รางวั ล ถ าความตั้ งใจที่จะกระทํานั้ นยัง คงมี อ ยู วิ ธี ก ารนี้ ผู ปว ยสามารถที่จ ะเลื อ กพฤติ ก รรม สุขภาพที่เสริมแรงตามที่พวกเขาชอบ และสามารถเลือกขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ที่พ วกเขาต องการ การมีค วามตั้งใจเพียงอยา งเดียวโดยไมสั มพั นธกับวิธีก ารนั้น บอ ยครั้ง จะ เกิดผลเพียงความตั้งใจดี แตมักจะลมเหลวในการแสดงออกถึงพฤติกรรมสุขภาพที่มีคุณคา 4.2) ปจจัยความต องการและความเข าใจที่แทรกแซงในทันทีทันใด หมายถึ ง พฤติ ก รรมทางเลื อ กอื่ นที่แทรกเขามาในความคิ ด ซึ่ง สามารถกระทําได ก อ นเกิ ด พฤติ ก รรม ส ง เสริ ม สุ ข ภาพตามที่ ไ ด ว างแผนไว ความต อ งการที่ แ ทรกแซงเข า มานั้ น ถู ก มองว า เป น พฤติกรรมทางเลือกอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งบุคคลสามารถควบคุมไดในระดับต่ําเนื่องจากเงื่อนไขของ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม เช น ความรั บ ผิ ด ชอบในการทํ า งานและการดู แ ลครอบครั ว ถ า ไม ตอบสนองตอความตองการนั้น จะสงผลรา ยตอตนเองหรือ บุคคลสําคัญในชี วิตได สวนความ พอใจที่แทรกแซงเขามานั้นถูกมองวาเปนพฤติกรรมทางเลือกที่ใหผ ลตอบแทนที่ม ากกวาหรือ เหนือกว า ซึ่งบุค คลสามารถควบคุ มได ใ นระดับสู ง สามารถทําใหล มเลิก พฤติ ก รรมส งเสริม สุ ข ภาพที่ ตั้ ง ใจไว แ ต แ รกได เมื่ อ พอใจที่ จ ะปฏิ บั ติ พ ฤติ ก รรมที่ เ ข า มาแทรกแซงมากกว า ความสามารถที่จะเอาชนะความพอใจที่แทรกแซงเขามานั้ น ขึ้นอยูกับความสามารถของบุคคล ที่จะควบคุมตนเอง ตัวอยางของการเกิดความพอใจที่เขามาแทรกแซงมากกวา ไดแก การขับรถ ผานศูนย การคาแลว เกิ ดเปลี่ ยนใจเข าศูนย การคา แทนที่จะขับรถไปสนามกี ฬาเพื่ อออกกําลัง กายตามที่ตั้งใจและวางแผนไวแตแรก เพราะพอใจที่จะไดไปซื้อของมากกวา 4.3) พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ เปนจุดสุดทายหรือเปนการกระทําที่เกิดขึ้นใน รูปแบบการสง เสริมสุขภาพ อยางไรก็ตามควรระลึก ไววา พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ จะใชเ พื่อ คงไวซึ่งผลที่เกิดขึ้นตอสุขภาพในทางบวกของผูรับบริการโดยตรง และสามารถผสมผสานเขา ไปในวิ ถี ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ทางสุ ข ภาพโดยครอบคลุ ม ในทุ ก ช ว งชี วิ ต ส ง ผลให มี สุ ข ภาพ ความสามารถในการทําหนาที่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น กลาวโดยสรุป การที่ บุค คลมีการปฏิ บัติพฤติ กรรมสุ ขภาพแตกต างกั นขึ้ นอยูกั บ ปจจัย หลายประการ ทั้ งจากภายในตั วบุค คลและสิ่ง แวดล อม ซึ่ งมี ผลโดยตรงและโดยอ อมตอ การปฏิบัติพฤติกรรมของบุคคล


26 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.6.1 งานวิจัยในตางประเทศ โรสกี (Roski. 1992) ได ศึ ก ษาเรื่อ ง กี ฬ าสุ ขภาพที่เ กี่ ยวกั บคุ ณ ค าและผล ยอ นกลับ ที่เกิ ดขึ้นในกิจกรรมการออกกําลังกายของเด็กวั ยรุ นในระหวา งเวลาว าง พบว า เด็ ก วั ย รุ น เห็ น ว า การที่ มี สุ ข ภาพดี แ ละสมรรถภาพทางกายที่ ดี นั้ น เป น พวกที่ เ ล น กี ฬ า ความ เปลี่ยนแปลงทางสุขภาพที่ดี เกิดขึ้ นนี้ จะลดลง โดยเกี่ยวขอ งกับ ความตั้งใจที่ จะเลน กีฬา ซึ่ง มี ปจจัยต างๆ ที่เกี่ยวข องตามลําดับคือ สมรรถภาพทางกาย การเขารวมเลน กีฬ าในฐานะต างๆ บรรยากาศในครอบครัว ในชั้นเรียน และในการทํางานเปนหมูคณะ ฮิลเดอรแบรน (Hildebrand. 1996) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบ ของแรงจู ง ใจและการมี ส ว นร ว มในการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ วิ ท ยาลั ย และ มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงคของการศึกษา คือ เพื่อสํารวจองคประกอบที่สัมพันธกับการเขา รวมกิจกรรมของนักศึกษาระดับวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ผูเขารวมกิจกรรมคือ นักศึกษาระดับ วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย จํานวน 460 คน ตัวแปรตามคือ จํานวนนักศึก ษาที่เขารวมกิจกรรม พลศึกษา ตัวแปรอิสระคือ ระดับของศักยภาพแหงตนสําหรับการรวมกิจกรรมปกติ การคาดหวัง เกี่ยวกับผลของการเขารวมกิจกรรมปกติ สภาพการควบคุมตนเองเพื่อเขารวมกิจกรรม แรงขับ ของกิจกรรมและผลของการเขารวมกิจกรรม สถิ ติที่ใชวิเ คราะหความแปรปรวนทางเดียว เพื่ อ แสดงความแตกต า งในเรื่อ งลั ก ษณะของแรงจู ง ใจระหว างผู เ ขา รว มกิ จกรรมนอ ยที่ สุ ด และ ผูเ ขารวมกิจกรรมในระดับปานกลาง ผลการวิ จัยพบวา องค ประกอบของแรงจูงใจและการเข า รวมกิจกรรมมีความสัมพันธกั นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตัว แปรศั กยภาพแหง ตน และแรงขั บ สนั บ สนุ น รู ป แบบซึ่ ง มี ศั ก ยภาพแห ง ตนเป น ตั ว สนั บ สนุ น ที่ เ ข ม แข็ ง มากที่ สุ ด องคประกอบที่จํา แนกผูเขาร วมกิ จกรรมน อยที่ สุด จากผูเขาร วมกิ จกรรมระดั บปานกลาง คือ ศักยภาพแหงตนและแรงขับในเรื่องสุขภาพ การไดพบบุคคลใหมๆ และความตื่นเตน ตลอดจน สุขภาพที่อยูในสภาพดีแตกตางกันระหวางกลุมนี้ โจนส และไนส (Jones & Nies. 1996) ไดศึกษาปจจัยที่มีความสําคัญตอ การ ออกกําลังกาย ผลการศึกษาพบวา ความสะดวกในการออกกําลังกายเปนปจจัยที่สําคัญที่สงผล ตอการออกกําลังกายของสตรี ไดแก สถานที่ อุปกรณในการออกกําลังกาย คาใชจายในการออก กํ า ลั ง กาย เสื้ อ ผ า ที่ ส วมใส ข ณะออกกํ า ลั ง กาย ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ ห ากไม มี ความเหมาะสมหรื อ เอื้ออํานวยตอความสะดวกในการออกกําลังกาย จะกอใหเกิดความยุงยากและขาดความมั่นใจ 2.6.2 งานวิจัยในประเทศ ปทมา รอดทั่ง (2540) ไดศึกษา “การใชเวลาวางดวยการเลนกีฬา และการออก กํ า ลั ง กายของประชาชน ในเขตภาคเหนื อ ตอนล า ง” โดยมี จุ ด มุ ง หมายเพื่ อ ศึ ก ษาและเพื่ อ เปรี ย บเที ย บการใช เ วลาว า งด ว ยการเล น กี ฬ าและการออกกํ า ลั ง กายของประชาชนในเขต ภาคเหนือตอนลาง เกี่ยวกับสภาพความตองการรับบริการดานสถานที่ อุปกรณ สิ่งอํานวยความ


27 สะดวกและบุคลากรผูให บริการ กลุม ตัวอยางที่ใ ชเปนประชาชนที่ใชเวลาวาง ดวยการเลน กีฬา และการออกกําลังกาย ในเขตภาคเหนือตอนลาง ผลการวิจัยพบวา 1) ประชาชนสวนมากที่ใชเวลาวางดวยการเลนกีฬา และการออกกําลังกาย มี อายุระหวาง 15-25 ป มีวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไมไดประกอบอาชีพ และยังไม มีรายได 2) ประชาชนสวนมากไดรับขาวสารความรูเกี่ยวกับการเลนกีฬาและการออก กําลังกายทางโทรทัศน เลนกีฬาและออกกําลังกายทั้งในวันธรรมดาและวันหยุดมากที่สุดใชเวลา 1-2 วัน/สัปดาห และใชเวลาในแตละครั้ง 15-30 นาที ในชวงเวลา 16.00-19.00 น. ใชสนามกีฬา ของโรงเรี ยนหรือของหมูบานเปน ที่เ ลนกีฬาและออกกําลั งกายมากที่ สุด กิจกรรมในร มที่ นิย ม มากที่สุดคื อ วอลเลย บอล กิจกรรมกลางแจงที่นิยมมากที่สุ ดคื อ วิ่ง เหยาะ แต กีฬ าที่สนใจมาก ที่สุดคือ ฟุตบอล 3) ประชาชนมี จุ ด มุ ง หมายของการเล น กี ฬ าและออกกํ า ลั ง กาย เพื่ อ ให มี สุขภาพดีมากที่สุด 4) ประชาชนมีปญหาในการเลนกีฬาและออกกําลังกายดานสถานที่คือ สถานที่ ไม เพี ยงพอ ด านอุป กรณคื ออุปกรณ ไม เพี ยงพอ ป ญหาส วนตัว ของประชาชนอยู ในระดับ มาก ที่สุดคือ เวลาวางไมเพียงพอที่จะใชในการเลนกีฬาและออกกําลังกาย 5) ความตองการรับบริการในการเลนกีฬาและออกกําลังกายของประชาชนใน เขตภาคเหนื อ ตอนล า ง ด า นสถานที่ อุ ป กรณ สิ่ ง อํ า นวยความสะดวก และด า นบุ ค ลากร ผูใหบริการอยูในระดับมาก ทั้ง 2 ดาน 6) จากการทดสอบคาที พบวา ความตอ งการดานสถานที่ อุปกรณ สิ่งอํานวย ความสะดวก ระหวางประชาชนชายกับประชาชนหญิง มีความตองการไมแตกตางกัน และความ ต อ งการดานบุค ลากรผู ใ หบริก ารโดยรวม ไมมีค วามแตกต างกั น ยกเว นความต อ งการให มี บุค ลากรคอยใหคํ า แนะนํา ในการเล น กี ฬ าและออกกํ า ลั ง กาย และให มีเ จ าหนา ที่ ดู แ ลความ ปลอดภัยในบริเวณสนามกีฬาและสถานที่ออกกําลั งกาย พบวา ประชาชนหญิงมีความตอ งการ มากกวาประชาชนชาย 7) จากการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว พบวา 7.1) ความต อ งการด า นสถานที่ อุ ป กรณ สิ่ ง อํ านวยความสะดวกและ บุค ลากรผู ใหบริก ารระหว างกลุม อายุ ทุ กขอไมแ ตกตางกัน แต เมื่อ พิจารณาเปน รายคู โดยวิธี เชฟเฟ (Scheffe’) พบวา ประชาชนกลุมอายุ 15-25 ป กับประชาชนกลุมอายุ 26-35 ป และ ประชาชนกลุ มอายุ 15-25 ป กับประชาชนกลุมอายุ 50 ปขึ้นไป มีความต องการดานความ ตองการใหมีหองเก็บและยืมอุปกรณโดยเฉพาะ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05


28 7.2) ความต อ งการด า นสถานที่ อุ ป กรณ สิ่ ง อํ านวยความสะดวกและ บุคลากรผูใหบริการ ระหวางระดับการศึกษาไมมีความแตกตางกัน 7.3) ความต อ งการด า นสถานที่ อุ ป กรณ สิ่ ง อํ านวยความสะดวกและ บุคลากรผูใหบริการ ระหวางกลุมอาชีพไมมีความแตกตางกัน อุบลรัตน รุงเรืองศิลห (2540) ไดศึกษาพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักศึกษา อาชีวศึกษา จังหวัดประจวบคีรีขันธ โดยประยุก ตรูปแบบการส งเสริมสุข ภาพของเพนเดอร มา เปนกรอบแนวคิดของการศึกษา จํานวนตั วอยาง 400 คน ผลการศึ กษาพบว าปจจัยรวม ไดแ ก รายไดของครอบครัว และการมีแ หล ง บริก ารสุ ขภาพ มีค วามสั มพั นธ กั บพฤติ ก รรมส ง เสริ ม สุขภาพอยางมีนัย สําคัญ ทางสถิติ ปจจัยดานสังคมจิต วิท ยา ไดแ ก คานิยมเกี่ยวกับ พฤติก รรม สงเสริม สุ ขภาพ และการรั บรูอุ ปสรรคเกี่ ยวกั บพฤติ ก รรมส ง เสริม สุ ขภาพมีความสั มพั นธ กั บ พฤติก รรมส งเสริมสุ ขภาพอยา งมีนัย สําคัญ ทางสถิ ติ และสิ่ งชักนําให ปฏิ บัติ ได แก การได รับ คําแนะนํา และการสนับสนุนจากบุคคล การไดรับขอมูลขาวสารจากสิ่งตางๆ มีความสัมพันธกับ พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อวิเคราะหอํานาจจําแนกพหุพบวา ปจจัย รวม ปจจัยดานสังคมวิทยา และสิ่งชักนําใหปฏิบัติสามารถทํานายพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของ นัก ศึ ก ษาไดดีที่สุด คื อ การมีแหล ง บริก ารสุ ขภาพ รองลงมาคื อ ค านิยมเกี่ยวกั บพฤติ ก รรม สงเสริมสุขภาพ พัลลภ คําลือ (2543) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของนักศึกษา มหาวิทยาลัยพายั พ จากกลุมตัว อยา ง จํา นวน 852 คน นัก ศึกษาที่ออกกําลัง กายเปน ประจํ า จํานวน 225 คน นักศึก ษาที่ไมออกกําลังกายเปนประจํา จํ านวน 597 คน คัดเลือกลุมตัวอยาง โดยวิธีสุ มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลโดยหาค า รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา 1) ปจจัยดานการเรียนรูในเรื่องการออกกําลังกายโดยรวมอยูในระดับสูง 2) ปจจัยหลักดานทัศนคติตอการออกกําลังกายโดยรวมอยูในระดับสูง 3) ปจจัย เอื้อ ดานการสนับสนุน ขององคก รในมหาวิ ทยาลัยเกี่ยวกับ การออก กําลังกายอยูในระดับปานกลาง 4) ปจจัย เสริม ดา นการสนับสนุนทางสังคมในการออกกํ าลัง กาย อยูใ นระดั บ ปานกลาง 5) นโยบายมหาวิ ท ยาลั ย พายั พ ด า นการส ง เสริ ม การออกกํ า ลั ง กายของ นักศึกษามีแตไมมีเปนลายลักษณอักษร 6) การบริห ารจัด การดานการออกกํ าลังกายยัง ไมเ อื้อตอการออกกําลังกาย ของนักศึกษา 7) สภาพแวดลอ มทางกายภาพตอ การออกกํ าลังกาย เชน สนามกีฬาและสิ่ง อํานวยความสะดวกยังมีไมเพียงพอ


29 ถนอมวงศ กฤษณเพ็ชร (2544) ไดศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายเลนกีฬา และดู กีฬ าของประชาชนในกรุง เทพมหานคร โดยใช กลุมตัวอยาง 50 เขต จํานวน 1,750 คน เปนชาย 1,096 คน และหญิง 654 คน โดยสัมภาษณหรือตอบแบบสอบถามผลการศึกษาพบวา ประชาชนในกรุงเทพมหานครส ว นใหญ อายุ 25-59 ป ใชเ วลาว างในการดู โ ทรทัศ น รอ ยละ 25.94 เปนชาย รอยละ 16.44 หญิง ร อยละ 9.50 รองลงมาคื อการออกกําลังกายหรือ เลนกีฬา รอ ยละ 21.06 พฤติ ก รรมการเขารว มกิ จกรรมออกกํ าลั ง กายหรือ เล นกี ฬ าของประชาชนใน กรุงเทพมหานครมากที่ สุด รอยละ 61.19 เปนชายรอยละ 38.15 และเปน หญิ ง รอ ยละ 23.04 กิจกรรมการออกกําลังกายที่มีผูนิยมออกกําลังกายมากที่สุดไดแก วิ่งเหยาะ รอยละ 32.51 คน กรุง เทพฯ มี อ าชี พ ค า ขายมีพ ฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายและเล นกี ฬ ามากที่สุ ด ประชาชนมี การศึกษาระดับปริญญาตรีออกกําลังกายมากที่สุด รอยละ 87.80 ปริญ ญา ดาสา (2544) ได ศึ ก ษาพฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายและการรับ รู อุ ป สรรคต อ การออกกํ าลั งกายของอาจารย สตรี มหาวิ ทยาลั ยเชี ยงใหม ผลการศึ กษาพบว า อาจารยสตรีในมหาวิทยาลั ยเชียงใหม รอยละ 83.45 มีพฤติกรรมการออกกําลังกาย แตมีเพียง ร อ ยละ 4.55 ที่ มี พ ฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และร อ ยละ 95.45 ยั ง มี พฤติกรรมการออกกําลังกาย ที่ไมมีประสิทธิภาพตามหลักการออกกําลังกาย ในเรื่องระยะเวลา อบอุนรางกาย ความถี่ และพบวาการรับรู อุปสรรคตอการออกกําลังกายโดยรวมอยูในระดับต่ํ า สวนการรับ รูอุปสรรคตอ การออกกําลั งกายรายด าน ไดแ ก การใชเวลาในการออกกํ าลัง กาย สภาพแวดลอมของการออกกําลังกาย การขาดการสนับสนุนจากครอบครัวหรือสังคม และความ พรอมของรางกาย อยูในระดับต่ําทุกดาน และพฤติกรรมการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับ การรับรูอุปสรรคตอการออกกําลังกาย สุธี คําคง (2544) ไดศึกษาขอมูลพฤติกรรมดานสุขภาพของประชาชนจัง หวัด ตรัง โดยเก็บขอมูลกับประชาชนจังหวัดตรัง โดยมีวัตถุประสงคการทําวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรม การออกกําลังกายของประชาชนจังหวัดตรัง ผลการวิจัยพบวา 1) ประชาชนจังหวัดตรัง มีพฤติกรรมการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับสภาพ รางกายและอายุ ไดอออกกําลังกายไมนอยกวา 3 วันตอสัปดาห โดยออกกําลังกายเพื่อสงเสริม สุขภาพและเพื่อความเพลิดเพลิน 2) เพศกั บพฤติ กรรมการออกกําลัง กาย มีค วามสั มพั นธ กัน คื อ เพศชายมี พฤติกรรมการออกกําลังกายที่เหมาะสมมากกวาเพศหญิง 3) การประกอบอาชี พ กั บพฤติ กรรมการออกกําลั ง กาย มีค วามสั มพนธ กั น สว นใหญ มีอ าชีพ ที่ตอ งการเคลื่ อ นไหว ใชแ รงกายมาก ไดแ ก ผู มีอ าชีพ เกษตรกรรม อาชีพ รับจางใช แรงงาน กอสราง


30 4) การมีสถานที่ออกกําลังกายกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย มีความสัมพัน ธ กั นคื อ กลุ มประชาชนที่มีส ถานที่สํ าหรับออกกํ าลั ง กาย จะมีพ ฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายที่ เหมาะสมมากกวากลุมประชาชนที่ไมมีสถานที่สําหรับออกกําลังกาย 5) การมีอุ ปกรณ สํ าหรับออกกํ าลั ง กายกั บพฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กาย มี ความสัมพันธกั น คือ กลุมประชาชนที่มีอุป กรณสําหรับออกกําลังกาย จะมีพฤติก รรมการออก กําลังกายที่เหมาะสมมากกวากลุมประชาชนที่ไมมีอุปกรณสําหรับออกกําลังกาย เฉลิ มพล สุ ทธจรรยา (2546) ไดศึ กษาวิจัย เรื่อ ง ปจ จัยที่ มีความสั มพั นธกั บ พฤติกรรมการออกกํ าลังกายของนักศึกษาปริญ ญาตรีสถาบัน ราชภัฎในกรุงเทพมหานคร กลุ ม ตั ว อย า งคื อ นั ก ศึ ก ษาภาคปกติ ข องสถาบั น ราชภั ฎ ในกรุ ง เทพมหานคร จํ า นวน 400 คน ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาสถาบันราชภัฎในกรุงเทพมหานครทั้ง 6 แหง มีพ ฤติกรรมการออก กําลังกายอยูในระดับ ดี ตัวเปรเพศ ระดับชั้นปที่ศึก ษา สังกัดคณะ ความรูใ นเรื่อ งการออกกําลัง กาย ทัศ นคติ ที่มีตอการออกกํ าลังกาย ระบบสนับสนุนขององค กรในการออกกํ าลัง กายและการ สนับสนุนทางสังคมในการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมในการออกกําลังกายของ นักศึกษามีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ประศัก ดิ์ สันติ ภาพ (2546) ได ศึกษาเรื่อ ง พฤติก รรมการออกกํ าลัง กายและ ป จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งในกลุ ม นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี ภาคปกติ สถาบั น ราชภั ฎ จั น ทรเกษม กรุงเทพมหานคร โดยการศึกษานี้เปนการศึกษาเชิงพรรณา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม การออกกําลังกาย และปจจัยที่เกี่ยวของในกลุมนักศึกษาปริญญาตรี ภาคปกติ สถาบัน ราชภัฎ จัน ทรเกษม กรุ งเทพมหานคร ทําการศึกษาในนั กศึก ษาชั้น ปที่ 1 สถาบั นราชภัฎ จัน ทรเกษม จํา นวน 638 คน เก็บขอมูลโดยกลุมตั วอยา งตอบแบบสอบถามด วยตนเองระหว างธันวาคม 2546 ถึงกุมภาพันธ 2547 ผลการศึกษาพบวา นักศึ กษามีการออกกําลังกายเพียงพอรอยละ 24.49 มีการ ออกกําลังกาย ไมเพียงพอรอยละ 56.92 และไมมีการออกกําลังกายเลยรอ ยละ 18.59 นักศึกษา ชายออกกําลังกายเพียงพอรอยละ 41.6 มากกวานักศึกษาหญิงที่ออกกําลังกายเพียงพอรอยละ 12.8 สายการเรียนพลศึก ษามีการออกกํ าลังกายเพียงพอรอ ยละ 71.7 มากกวา สายการเรีย น อื่น ๆ ผูมีผลการเรี ยน (เกรดเฉลี่ ย) ดี มาก (3.50-4.00) มีการออกกํ าลังกายเพี ยงพอนอ ยที่สุด รอยละ 17.4 การศึกษานี้ยัง พบวา พฤติกรรมการออกกํา ลัง กายต างกันมีค วามแตกตา งกั นใน เรื่อ งทัศ นคติการรับรูสมรรถนะตนเอง ทัศ นคติการรับรูอุปสรรคตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม สายการเรียน เพศ ผลการเรียน ดัชนีมวลกาย การมีเพื่อนออกกําลังกาย การรวมกิจกรรมการ ออกกํ าลังกาย การมีสถานที่ออกกําลังกาย ระยะเวลาเดินทางไปออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (p<0.05) สวนโรคประจําตั ว ภูมิลําเนา คาใชจายที่ไดรับ ความเพียงพอในการใชจาย ฐานะเศรษฐกิ จของครอบครัว ไม พบความแตกตา งกั นอยา งมีนั ยสํ าคั ญทางสถิติ (p<0.05) กับ พฤติกรรมการออกกํ าลังกาย นอกจากนี้ยังพบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ


31 (p<0.05) ในพฤติกรรมการออกกําลังกาย แรงสนับ สนุน ทางสัง คม ทัศนคติการรั บรูอุปสรรค ตนเอง ทั ศ นคติ ก ารรั บ รู ส มรรถนะตนเองต อ การออกกํ า ลั ง กายระหว า งนั ก ศึ ก ษาชายและ นักศึกษาหญิง ขอเสนอแนะ สถาบันควรเพิ่มสถานที่ความสะดวกในการออกกํ าลัง กายและจัด โปรแกรมการออกกําลังกาย การเพิ่มทัศนคติที่เหมาะสมแกนักศึกษาหญิงไดปฏิบัติในเวลาที่วาง จากการเรียน มนั สวี เจริ ญเกษมวิทย (2546) ไดศึ กษาป จจั ยที่ มีค วามสัมพั นธ กับการออก กําลังกายของพยาบาลวิช าชีพ ในโรงพยาบาลศูน ยเขตภาคตะวั นออก ผลการศึกษาพบวา อายุ จํานวนการอยูเวรเชา ประสบการณการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับการออกกําลัง กายของพยาบาลวิ ชาชี พในโรงพยาบาลศูนย เขตภาคตะวันออก อยา งมีนัย สําคัญทางสถิติ ที่ ระดับ .05 แตการรับรูอุปสรรคตอการออกกําลังกาย จํานวนการอยูเวรบา ย และจํานวนการอยู เวรดึกมีความสัมพันธทางลบกับการออกกําลังกายของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลศูนยเขต ภาคตะวันออกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ชื่น ศิริรักษ (2547) ไดศึกษาปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลในภาคกลาง สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุ ข กลุ มตัวอยางจํานวน 346 คน ผลการศึก ษาพบวา นั กศึ กษาพยาบาลมีพฤติก รรม การออกกําลังกายระดับดี มีเจตคติเกี่ยวกั บการออกกํ าลังกายระดั บดี มีการรับรูป ระโยชนของ การออกกําลังกายระดับมาก มีการรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกายระดับมาก ไดรับแรงจูงใจ เกี่ ยวกับการออกกํ าลังกายระดับดี ไดรับการสนับ สนุนทางสัง คมดานอารมณร ะดับมาก ได รับ การสนับ สนุนทางสังคมดานข อมูลขาวสารระดับมาก และไดรับการสนับสนุน ทางสั งคมด าน สิ่งของระดับมาก และนัก ศึกษาพยาบาลมีเ จตคติเกี่ยวกั บการออกกําลังกาย การสนับสนุนทาง สั งคมดานอารมณ การสนับสนุ นทางสั ง คมด า นขอ มูล ขาวสาร การสนับสนุ นทางสั ง คมด า น สิ่งของมีความสัมพันธทางบวกกั บพฤติก รรมการออกกําลังกายของนักศึก ษาพยาบาล อย างมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 และพบว า การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย มีความสัมพัน ธทางลบกับพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึกษาพยาบาลอย างมี นัยสํ าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ธีรศัก ดิ์ ดี รักษา (2547) ได ศึก ษาความตอ งการการบริการออกกําลัง กายของ สมาชิกศูนยออกกําลังกายขนาดใหญในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา 1) สมาชิกที่มาใชบริการศูนยออกกําลังกายขนาดใหญ ในเขตกรุงเทพมหานคร สว นใหญเ ปน สมาชิกเพศชาย คิ ดเปนร อยละ 54.37 และเพศหญิง คิ ดเปนร อยละ 45.63 ซึ่ง มี อายุต่ํ ากวา 30 ป คิ ดเป นร อยละ 41.90 และอายุ 31 ปขึ้ นไป คิดเปน รอ ยละ 58.10 ประกอบ อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปนรอยละ 38.47 อาชีพธุรกิจ คิดเปนรอยละ 26.26 และอาชีพ อื่นๆ (นักเรียน นั กศึ กษา และแมบาน) คิ ดเปนรอยละ 12.99 อาชีพรับราชการ คิดเปนรอ ยละ 11.40 และพนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเปนรอยละ 10.88


32 2) สมาชิกที่มาใชบริการศูนยออกกําลังกายขนาดใหญ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวม มีความตองการการบริก ารออกกําลังกายดานวันและเวลาที่ตองการออกกําลัง กายวัน เสารมากที่สุด คิดเปน รอยละ 24.39 และเวลา 18.00-20.00 น. มากที่สุด คิดเปนรอยละ 26.85 3) สมาชิกที่มาใชบริการศูนยออกกําลังกายขนาดใหญ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค วามตองการการบริการออกกําลัง กายดานประเภทของกิ จกรรมการออกกําลัง กาย และกี ฬา กิ จกรรมในห องออกกํ าลั งกายมากที่ สุด คิด เป นรอยละ 17.16 สมาชิกที่ม าใชบ ริการ ศูนยออกกําลังกายขนาดใหญในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีความตองการการบริก ารออก กําลังกายดานสถานที่ อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวกในเรี่องการดูแลรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับทรัพยสินของสมาชิกขณะมาใชบริการมากที่สุด คิดเปนรอยละ 51.72 4) สมาชิกที่มาใชบริการศูนยออกกําลังกายขนาดใหญ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีค วามต องการการบริก ารออกกําลังกายดานการจัด การ ความสะดวกในการติดต อ เจาหนาที่มากที่สุด คิดเปนรอยละ 53.38 5) สมาชิกที่มาใชบริการศูนยออกกําลังกายขนาดใหญ ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยรวมมีความตองการการบริการออกกําลังกายดานบุคลากร ควรกระตือรือรนในการใหบริการ ของเจาหนาที่มากที่สุด คิดเปนรอยละ 61.54 ปรียาภรร โกมุท (2548) ไดศึกษาปจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออก กําลังกายของบุคลากรทางการพยาบาล โรงพยาบาลพระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี กลุมตัวอยาง เปนบุคลากรทางพยาบาล จํานวน 210 คน ผลการวิจัยพบวา 1) ปจจัยที่มีความสัมพันธกั บพฤติกรรมการออกกํ าลังกาย อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ ระดับ .05 ไดแก อายุ พบวาบุคลากรทางการพยาบาลที่ มีอ ายุ 41-50 ป และมี อายุ มากกวา 50 ป มีการออกกําลังกายมากกวาบุคลากรทางพยาบาลที่มีอายุ 21-30 ป บุคลากรทาง พยาบาลที่มีรายไดมาก มีการออกกําลังกายมากกวาบุคลากรที่มีรายไดนอย 2) ป จ จั ย ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กาย ได แ ก แรงสนับสนุนทางสังคมเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และคานิยมเกี่ยวกับการออกกําลังกาย มงคล แฝงสาเคน (2548) ไดศึก ษาพฤติกรรมสุข ภาพและพฤติกรรมการออก กํา ลังกายของนัก ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ ภาคตะวันออกเฉีย งเหนือ ตอนบน ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการออกกําลั งกายเพื่อสุ ขภาพของนั กศึก ษามี การออกกํา ลังกายเปน ประจํ า รอยละ 62.4 ใชเวลาในการออกกําลังกาย 31 นาทีขึ้นไปรอ ยละ 53.4 และ 21-30 นาที รอยละ 27.8 ความหนัก ในการออกกํ าลังกายอยู ในระดั บหนัก มาก รอ ยละ 6.5 อยูใ นระดั บปานกลาง รอยละ 77.6 อยูในระดับต่ํา รอยละ 15.6 ทัศ นัน ท กาบแกว (2549) ไดศึก ษาป จจั ยที่ มีผ ลตอ พฤติกรรมการออกกํา ลัง กายของนัก ศึ ก ษาผู ชว ยพยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตร เ ขตรอ น มหาวิ ทยาลั ยมหิ ด ล ผล การศึ ก ษาพบว า ปจจั ยเอื้ อ ทุก ตั ว แปร ได แ ก นโยบายของโรงพยาบาลเวชศาสตรเ ขตรอ น


33 สถานที่ แ ละอุ ป กรณ ใ นการออกกํ า ลั ง กาย และเวลาที่ เ หมาะสมในการออกกํ า ลั ง กาย มี ความสัมพั นธทางบวกกั บพฤติกรรมการออกกํ าลังกายโดยรวมของนัก ศึกษาผู ชวยพยาบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.246, 0.338, 0.260 ตามลําดับ ส ว นตั วแปรปจ จัยเสริม ไดแ ก การได รับ แรงสนับสนุน จากบุค คลตางๆ มี ความสั มพั นธ กั บพฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายโดยรวมของนัก ศึ ก ษาผู ชว ยพยาบาลอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเปนความสัมพันธเชิงบวกโดยมีคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.378 สว นปจจัยนําเขา ไดแ ก ความรูเกี่ยวกั บการออกกํ าลังกาย และทัศนคติ ตอ การ ออกกํ าลั งกายไมมีความสัม พัน ธกับ พฤติก รรมการออกกํา ลัง กายโดยรวมของนัก ศึก ษาผูช วย พยาบาล ไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผลการศึกษาพบวา 1) นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง 2) นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีน ครินทรวิโรฒที่มีเพศ คณะที่ศึกษา และ สถานที่ศึ กษาตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางมีนั ยสําคัญทางสถิติ ที่ ระดับ .05 3) การรั บรูป ระโยชนข องการออกกํ าลัง กาย การรับ รูภ าวะสุข ภาพ การรับ รู ความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และการไดรับขอ มูล ขาวสาร มีค วามสัมพันธ ทางบวกกับ พฤติก รรมการออกกํ าลั งกายของนิ สิต ปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลั ยศรีน คริ นทรวิ โรฒ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางลบกับพฤติกรรม การออกกําลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 5) ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออก กําลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 6) การรับรูความสามารถแหงตน เพศ การไดรับขอมูลขาวสาร แรงสนับสนุน ทางสังคมและการรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออก กําลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลับศรีนครินทรวิโรฒ ไดรอยละ 23.40 จารุณี ศรีทองทุม (2550) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของประชาชนที่มาออกกําลังกายที่สวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คนควาเปนประชาชนที่มาออกกําลังกายที่สวนลุมพินี ในวันเสารและวันอาทิตย จํานวน 366 คน ตามกิจกรรมที่ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 6 กิจกรรม ไดแก เดิน วิ่ง โยคะ เตนแอโรบิค ลีลาศ และรํามวยจีน โดยการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใชเปนแบบสอบถามปจจัยที่เกี่ยวของ


34 กับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ที่ผูวิจัยสรางขึ้น วิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที การทดสอบคา F หาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน และการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบวา 1) พฤติกรรมการออกกําลังกายของกลุมตัวอยางมีความสมบูรณครบถวน อยู ในระดับนอย 2) ปจจัยสว นบุคคลพบว า เพศชายมีคาเฉลี่ ยพฤติก รรมการออกกํ าลังกาย มากกวาเพศหญิง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เชื้อ ชาติไทยมีคาเฉลี่ยพฤติกรรมการ ออกกําลังกายมากกวาเชื้อชาติอื่นๆ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อาชีพขาราชการ/ รัฐวิสาหกิจ และนักเรียนมีคาเฉลี่ยพฤติกรรมการออกกําลังกายมากกวาอาชีพ คาขาย/กิจการ สวนตัวอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) อิทธิพลระหวางบุคคลตอการออกกําลังกาย และอิท ธิพลของสถานการณ ตอ การออกกําลังกายมีความสัมพัน ธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ความรูสึก ที่สัมพันธกั บการออกกําลังกาย และปจจัยแทรกแซงการออก กําลังกายมีค วามสัมพั นธทางลบกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนั ยสําคัญทางสถิติ ที่ ระดับ .05 4) ตัวแปรที่มีอิทธิพลรวมทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกาย ไดแก เชื้อชาติ เพศ ความรูสึกที่สัมพันธกับการออกกําลังกาย และปจ จัยแทรกแซงการออกกําลั งกาย โดย สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายไดรอยละ 6.70 วีระชาติ สมใจ (2550) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักเรียน นักศึกษา สัง กัดสํานักงานคณะกรมการการอาชี วศึกษาอุดรธานี ปการศึ กษา 2550 โดยใชกลุ ม ตัวอยางจํานวน 400 คน โดยการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน ผลการวิจัยพบวา 1) นักเรียน นักศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอุดรธานี มี พฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับดี 2) นักเรียน นักศึกษาสังกัดสํ านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอุดรธานี มีเพศและระดับชั้นตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายไมแตกตางกัน สุดกั ญ ญา ปานเจริญ และปริทรรศน วั นจันทร (2550) ได ศึ ก ษาปจจัยที่มี อิท ธิพลตอ พฤติกรรมการออกกํา ลัง กายของนั กเรีย นชั้ นมั ธยมศึ กษาตอนปลาย ผลการศึกษา พบวา คะแนนเฉลี่ยการรับรูอุปสรรคตอ การออกกําลังกายอยูในระดับต่ํา การรับรูสมรรถนะแหง ตนดา นการออกกําลังกาย การสนั บสนุน ทางสัง คมดานการออกกําลัง กาย และพฤติกรรมการ ออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทาง ลบกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย (r=-0.44, p<.01) ในขณะที่การรั บรูสมรรถนะแหงตนดาน การออกกําลังกาย และการสนับสนุนทางสังคมดานการออกกําลังกาย รวมกันทํานายพฤติกรรม การออกกําลังกายไดรอยละ 40.60 (p<.01)


บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การศึกษาปจ จัยที่มีผ ลต อ พฤติ ก รรมการออกกํา ลั ง กายของนัก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรี มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ผู วิ จัย ได นํ า แนวคิ ด ทฤษฎีแ ละผลงานวิ จั ย ที่ เกี่ยวของมาใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัย โดยกําหนดวิธีดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ ดังนี้ 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.3 สถิติที่ใชในการวิจัย 3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.5 การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากรที่ ใ ช ใ นการศึ กษาได แก นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ที่กําลั ง ศึก ษาในภาคเรีย นที่ 2 ปก ารศึ ก ษา 2551 ใน 9 คณะ จํานวน 9,235 คน ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 3-1 3.1.2 กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการศึ ก ษาได แ ก นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครทุก ชั้นป ทั้งที่ กํ าลั ง ศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร 4 ป และ 2 ป ต อ เนื่อ ง ใน 9 คณะ จํานวน 600 คน ผูวิจัยไดกําหนดขั้นตอนการสุมกลุมตัวอยางดังนี้ 1) ผูวิจัยใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางโดยใชสูตรของ Taro Yamane (อางถึงใน มนตชัย เทียนทอง. 2549) ผู วิจัยไดกํ าหนดระดับคาความเชื่อ มั่นในการเลื อกกลุมตัวอยา งที่ 95% คาระดับความคลาดเคลื่อ น 5% และในตาราง Taro Yamane ได กําหนดไววา ถา ประชากรมีจํานวน 10,000 คนขึ้นไป ประชากรกลุมนั้นจะมีกลุมตัวอยางประมาณ 385 คน แต เพื่อใหผลการวิจัยไดผลใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด และงายตอการคํานวณและการเก็บ ขอมูล ผู วิจัยจึง กําหนดกลุมตัวอยางในการดํา เนินการวิ จัยครั้งนี้ เปน 600 คน โดยใชสู ตรการ คํานวณ ดังนี้ N n= 1  Ne 2 เมื่อ n

แทน จํานวนกลุมตัวอยาง N แทน จํานวนประชากร e แทน ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได เทากับ .05


36 2) ผูวิจัยใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) (มนตชัย เที ยนทอง. 2549) เป น การเลื อ กกลุ ม ตั ว อย า งตามที่ ผู วิ จั ย ได กํ า หนดเกณฑ เงื่ อ นไข และ คุณสมบัติของกลุมตัวอยางไวลวงหนาเกี่ยวกับกลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 3) ผู วิ จัยใชวิ ธี ก ารสุ มตั ว อยางแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) (กั ล ยา วานิชยบั ญชา. 2550) เปนการกําหนดพื้นที่ที่ต องการศึ กษา ซึ่ งผูวิ จัยไดกํ าหนดเปนนั กศึ กษา ระดับปริญญาตรีที่กําลัง ศึก ษา หลัก สูต ร 4 ป และ 2 ป ตอ เนื่อง จาก 9 คณะของมหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประกอบดวย คณะวิศวกรรมศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลป ศาสตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะสถาปตยกรรมและการ ออกแบบ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยี ค หกรรมศาสตร และคณะ อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 4) กํ าหนดสั ดส ว นของกลุ มตั ว อยางจากจํานวนนัก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรี ทั้งหมด ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยคํานวณสัดสวนของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จาก 9 คณะ โดยใชสูตรคํานวณ ดังนี้ จํานวนตัวอยางทั้งหมด x จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีของแตละคณะ จํานวนนักศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมดของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จํานวนกลุมตัวอยาง จํานวนประชากร

= =

600 คน 9,235 คน

1. คณะวิศวกรรมศาสตร =

600 x1, 639 9 , 235

=

106.49 เทากับ

106 คน

600 x 3, 349 9 , 235

=

217.59 เทากับ

218 คน

600 x 421 9 , 235

=

27.35 เทากับ

27 คน

=

62.44 เทากับ

62 คน

2. คณะบริหารธุรกิจ = 3. คณะศิลปศาสตร =

4. คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม =

600 x 961 9 , 235


37 5. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน =

600 x 506 9 , 235

=

32.87 เทากับ

33 คน

6. คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ =

600 x 408 9 , 235

=

26.51 เทากับ

27 คน

=

20.06 เทากับ

21 คน

=

83.55 เทากับ

84 คน

7. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี =

600 x 321 9 , 235

8. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร =

600 x1, 286 9 , 235

9. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น =

600 x 344 9 , 235

=

22.35 เทากับ

22 คน

จากการคํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยางในแตละคณะโดยคิดเปนสัดสวนกับขนาด ประชากร ดังแสดงในตารางที่ 3-1 ตารางที่ 3-1 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยางนักศึกษาระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามคณะ คณะ จํานวนประชากร จํานวนกลุมตัวอยาง คณะวิศวกรรมศาสตร 1,639 106 คณะบริหารธุรกิจ 3,349 218 คณะศิลปศาสตร 421 27 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม 961 62 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน 506 33 คณะสถาปตยกรรมและการออกแบบ 408 27 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 321 21 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 1,286 84 คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 344 22 รวม 9,235 600


38 5) ผูวิ จัย ใชวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวม ข อ มู ล โดยจะทํ า การเก็ บ ข อ มู ล จากนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ ศึ ก ษาใน 9 คณะของ มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในภาคการศึ กษาที่ 2 ปการศึกษา 2551 ซึ่งจะเก็บ ขอมูลใหครบ 600 ตัวอยางตามสัดสวนที่กําหนดไวของแตละคณะ 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.2.1 รูปแบบของเครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิ จัยครั้งนี้ เปนแบบทดสอบและแบบสอบถามชนิ ดคําถาม แบบปด (Closed Response Questions) โดยแบงออกเปน 9 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก - เพศ - คณะที่ศึกษา - น้ําหนักตัว - สวนสูง - จํานวนวันที่ออกกําลังกายตอสัปดาห - สถานที่ที่ไปออกกําลังกายเปนประจํา - ชวงเวลาที่ออกกําลังกาย - โรคประจําตัว สวนที่ 2 พฤติกรรมการออกกําลังกาย สวนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย สวนที่ 4 การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย สวนที่ 5 การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย สวนที่ 6 การรับรูภาวะสุขภาพ สวนที่ 7 การรับรูความสามารถแหงตน สวนที่ 8 แรงสนับสนุนทางสังคม สวนที่ 9 แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม 3.2.2 เกณฑการใหคะแนนและการแปลความหมาย 1) แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกําลังกาย มีเกณฑการใหคะแนนดังนี้ ปฏิบัติเปนประจํา 2 ปฏิบัติเปนบางครั้ง 1 ไมเคยปฏิบัติ 0 การแปลความหมายของคะแนนพฤติกรรมการออกกําลังกาย แบงออกเปน 3 ระดับ


39 คาระดับคะแนน 1.34-2.00 หมายถึง 0.67-1.33 หมายถึง 0.00-0.66 หมายถึง

ระดับพฤติกรรม ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับควรปรับปรุง

2) แบบทดสอบความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ตอบถูก 1 ตอบผิด 0 การแปลความหมายของคะแนนความรูเ กี่ยวกั บการออกกําลัง กาย แบง ออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ คาระดับคะแนน ระดับความรู รอยละ 80.00 ขึ้นไป หมายถึง ระดับดี รอยละ 50.00-79.99 หมายถึง ระดับปานกลาง รอยละ 1.00-49.99 หมายถึง ระดับควรปรับปรุง 3) แบบสอบถามการรั บรูป ระโยชนข องการออกกําลั งกาย เปน ขอความที่ แสดงลักษณะทางบวก มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวย 4 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 การแปลความหมายของคะแนนการรับรูป ระโยชนข องการออกกํ าลังกาย แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ คาระดับคะแนน ระดับการรับรูประโยชน 3.67-5.00 หมายถึง ระดับสูง 2.34-3.66 หมายถึง ระดับปานกลาง 0.00-2.33 หมายถึง ระดับต่ํา


40 4) แบบสอบถามการรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย เปนขอความที่แสดง ลักษณะทางลบ มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวย 4 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 การแปลความหมายของคะแนนการรับ รูอุปสรรคของการออกกําลั งกาย แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ คาระดับคะแนน ระดับการรับรูอุปสรรค 3.67-5.00 หมายถึง ระดับสูง 2.34-3.66 หมายถึง ระดับปานกลาง 1.00-2.33 หมายถึง ระดับต่ํา 5) แบบสอบถามการรับรูภาวะสุขภาพ มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

เปนขอความที่แสดงลักษณะทางบวก 5 4 3 2 1

การแปลความหมายของคะแนนการรับ รูภ าวะสุขภาพของการออกกําลัง กาย แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ คาระดับคะแนน ระดับการรับรูภาวะสุขภาพ 3.67-5.00 หมายถึง ระดับสูง 2.34-3.66 หมายถึง ระดับปานกลาง 1.00-2.33 หมายถึง ระดับต่ํา


41 6) แบบสอบถามการรับรูค วามสามารถแหงตน เปนข อความที่แ สดงลั กษณะ ทางบวก มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวย 4 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 การแปลความหมายของคะแนนการรับรูความสามารถแหงตนของการออก กําลังกาย แบงออกเปน 3 ระดับ ดังนี้ คาระดับคะแนน ระดับการรับรูความสามารถแหงตน 3.67-5.00 หมายถึง ระดับสูง 2.34-3.66 หมายถึง ระดับปานกลาง 1.00-2.33 หมายถึง ระดับต่ํา 7) แบบสอบถามแรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คม เป น ข อ ความที่ แ สดงลั ก ษณะ ทางบวก มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวย 4 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 3 ระดับ ดังนี้

การแปลความหมายของคะแนนการแรงสนับสนุนทางสัง คม แบงออกเปน คาระดับคะแนน 3.67-5.00 2.34-3.66 1.00-2.33

หมายถึง หมายถึง หมายถึง

ระดับแรงสนับสนุน ระดับสูง ระดับปานกลาง ระดับต่ํา


42 8) แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสิ่ งแวดลอ ม เปนขอความที่ แสดงลัก ษณะ ทางบวก มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เห็นดวยอยางยิ่ง 5 เห็นดวย 4 ไมแนใจ 3 ไมเห็นดวย 2 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 1 3 ระดับ ดังนี้

การแปลความหมายของคะแนนแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม แบงออกเปน คาระดับคะแนน 3.67-5.00 2.34-3.66 1.00-2.33

ระดับแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม หมายถึง ระดับสูง หมายถึง ระดับปานกลาง หมายถึง ระดับต่ํา

3.2.3 ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ 1) ศึกษาตํารา เอกสาร บทความ ทฤษฎีหลักการ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อ กําหนดขอบเขตของการศึกษาวิจัย และสรางเครื่องมือในการวิจัยใหครอบคลุมตามความมุงหมาย การวิจัย 2) ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบและแบบสอบถามจากเอกสาร สัมภาษณผูที่ เกี่ยวของ เพื่อกํ าหนดขอบเขต และเนื้อหาของแบบทดสอบและแบบสอบถาม จะไดมีความ ชัดเจนตามความมุงหมายการวิจัย 3) นําขอมูลที่ไดมาสรางแบบทดสอบและแบบสอบถาม 4) นําแบบทดสอบและแบบสอบถามไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตอง เหมาะสมและปรับปรุงใหสมบูรณ 5) นําแบบทดสอบและแบบสอบถามไปทดลองใช (Try out) จํานวน 50 ชุด กับนักศึ ก ษามหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนครที่ ไ มได เ ปน กลุ มตั ว อยาง แล วนํามา วิเคราะหหาคุณภาพของเครื่องมือ 3.2.4 การหาคุณภาพเครื่องมือ 1) การหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) 1.1) นํ า แบบทดสอบและแบบสอบถามที่ ส ร า งขึ้ น ไปให ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ จํ า นวน 5 ท า น ตรวจสอบความเที่ ย งตรงตามเนื้ อ หา โดยอาศั ย ดุ ล พิ นิ จ ของผู เ ชี่ ย วชาญ


43 พิจารณาเป นรายขอ วาแตล ะขอคําถามนั้นมีความสอดคลองกับลั กษณะเฉพาะกลุมพฤติกรรม โดยใชเกณฑกําหนดคะแนนดังนี้ (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543) +1 เมื่อแนใจวาขอคําถามนั้นมีความสอดคลองกับจุดประสงคที่ตองการ 0 เมื่ อ ไม แ น ใ จว า ข อ คํ า ถามนั้ น มี ค วามสอดคล อ งกั บ จุ ด ประสงค ที่ ตองการหรือไม -1 เมื่ อ แน ใ จว า ข อ คํ า ถามนั้ น ไม มี ค วามสอดคล อ งกั บ จุ ด ประสงค ที่ ตองการ นําผลการพิ จารณาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน ในแตล ะขอ มา หาคาดัชนีความสอดคลอ งของขอคําถามโดยใชสูตร IC โดยเลือกขอที่มีคาดัชนีความสอดคลอง เทากับหรือมากกวา 0.5 ขึ้นไป เปนขอคําถามที่นําไปใชได 1.2 นํ า แบบทดสอบและแบบสอบถามที่ ผ า นการพิ จ ารณาจาก ผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุ งแกไ ขใหม และนําไปทดลองใช Try out) จํานวน 50 ชุ ด กับนักศึก ษา มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครที่ไ มไ ด เ ปนกลุ มตั ว อยาง แล ว นํามาวิ เ คราะห ห า คุณภาพเครื่องมือ 2) แบบทดสอบความรูเ กี่ยวกั บการออกกําลังกายนํามาหาคุณภาพเครื่องมือ โดยหาความยากงาย (Difficulty) หาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) และหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) 3) แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกําลังกาย และการรับรู เกี่ ยวกับ การออก กําลังกาย ไดแก การรับรูประโยชนของการออกกําลัง กาย การรับรูอุปสรรคของการออกกําลัง กาย การรั บรู ภาวะสุข ภาพ การรั บรู ความสามารถแห งตน แรงสนั บสนุน ทางสั งคม และแรง สนับสนุนทางสิ่งแวดลอม นํามาหาคุณภาพเครื่องมือ โดยหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) และหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) 3.3 สถิติที่ใชในการวิจัย 3.3.1 วิเคราะห ขอมู ลป จจั ยส วนบุคคลของนัก ศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ที่เปนขอมูลจําแนกประเภท ไดแก เพศ คณะที่ศึกษา สถานที่ที่ไป ออกกําลังกายเปนประจํา ชวงเวลาที่ออกกําลังกาย และโรคประจําตัว โดยการแจกแจงความถี่ และคารอยละ สวนที่เปนขอมูลเชิงปริมาณไดแก น้ําหนักตัว สวนสูง และจํานวนวันที่ออกกําลัง กายตอสัปดาห โดยหาคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) คาต่ําสุด และคาสูงสุด 3.3.2 วิ เ คราะหขอ มู ล พฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยหาคาเฉลี่ ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.)


44 3.3.3 วิเคราะหขอมูลความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยการแจกแจงความถี่ และคารอยละ 3.3.4 วิเคราะหขอมูลการรับรูเ กี่ยวกั บการออกกําลังกายตอ พฤติกรรมการออกกําลัง กายของของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิท ยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได แก การ รับรูป ระโยชนของการออกกํ าลังกาย การรับ รูอุ ปสรรคของการออกกํ าลั งกาย การรับรู ภาวะ สุ ข ภาพ การรับ รู ค วามสามารถแห ง ตน แรงสนับ สนุน ทางสั ง คม และแรงสนับ สนุน ทาง สิ่งแวดลอม โดยหาคาเฉลี่ย ( X ) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) 3.3.5 เปรี ย บเที ย บความแตกต า งของคะแนนเฉลี่ ย พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กาย ระหว า งกลุ ม ตั ว อย าง 2 กลุ มที่ เ ป นอิ ส ระจากกั น โดยการทดสอบค า ที (t-test) เพื่ อ ทดสอบ สมมติฐานขอ 1 3.3.6 เปรี ย บเที ย บความแตกต า งของคะแนนเฉลี่ ย พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กาย ระหวางกลุมตัวอยางมากกวา 2 กลุมที่เ ปนอิส ระจากกัน โดยการทดสอบคาเอฟ (F-test) แบบ การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance) ในกรณีที่ผลการ ทดสอบมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคั ญทางสถิติ จะทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปน รายคูโดยใชวิธีของแอลเอสดี (LSD Method) เพื่อทดสอบสมมติฐานขอ 2 3.3.7 วิเคราะหคาสัมประสิท ธิ์สหสัมพันธ ของเพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ระหวางปจ จัยด านความรูเ กี่ยวกั บการออกกําลังกาย และปจจัยดา น การรั บรูเ กี่ยวกับ การออกกําลัง กาย ไดแก การรับ รูป ระโยชนข องการออกกําลัง กาย การรับ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บรู ภ าวะสุ ข ภาพ การรับ รู ค วามสามารถแห ง ตน แรง สนับสนุนทางสังคม และแรงสนั บสนุน ทางสิ่ง แวดลอม กับ พฤติก รรมการออกกําลังกายของ นัก ศึกษาระดั บปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนครระดับปริ ญญาตรี เพื่ อ ทดสอบสมมติฐานขอ 3-9 3.3.8 วิเคราะหหาปจจัยที่สามารถรวมกั นในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลั งกาย ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยการวิเคราะหการ ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ขอ 10 3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 3.4.1 ขอข อ มู ล จํ า นวนนั ก ศึ ก ษา จากสํ า นั ก ส ง เสริ ม วิ ช าการและงานทะเบี ย น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 3.4.2 แจกแบบสอบถามใหกั บนัก ศึก ษาระดั บปริญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร จาก 9 คณะ จํานวน 600 ชุด ตามสัดสวนของกลุมตัวอยาง


45 3.4.3 รวบรวมแบบสอบถามจากนักศึ กษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ใหครบจํานวน 600 ชุด เพื่อนํามาวิเคราะห 3.5 การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล 3.5.1 ขอมูลปจจัย สวนบุค คลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล พระนคร ไดแ ก เพศ และคณะที่ศึ ก ษา นําเสนอขอ มูล ในรูปแบบตารางประกอบ ความเรียง 3.5.2 ขอ มู ล เกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการออกกํ าลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางประกอบความเรียง 3.5.3 ขอ มูล เกี่ยวกับความรู และการรั บรูเ กี่ ยวกั บการออกกํ าลั ง กายของนัก ศึก ษา ระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได แก การรับรูป ระโยชน ของการ ออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู ภ าวะสุ ข ภาพ การรั บ รู ความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม นําเสนอขอมูล ในรูปแบบตารางประกอบความเรียง 3.5.4 การเปรียบเทียบความแตกต างของคะแนนเฉลี่ย พฤติก รรมการออกกําลัง กาย ระหวางกลุมตัว อยาง 2 กลุ มที่เปนอิสระจากกัน นําเสนอขอ มูลในรูปแบบตารางประกอบความ เรียง 3.5.5 การเปรียบเทียบความแตกต างของคะแนนเฉลี่ย พฤติก รรมการออกกําลัง กาย ระหว า งกลุ ม ตั ว อย า งมากกว า 2 กลุ ม ที่ เ ป น อิ ส ระจากกั น นํ า เสนอข อ มู ล ในรู ป แบบตาราง ประกอบความเรียง 3.5.6 การวิเ คราะหค าสั มประสิทธิ์ส หสัมพั นธร ะหวางปจ จัย ดานความรูแ ละการรับ รู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการ ออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู ภ าวะสุ ข ภาพ การรั บ รู ความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม กับพฤติกรรม การออกกํา ลังกายของนัก ศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางประกอบความเรียง 3.5.7 การหาปจจัยที่สามารถรวมกันในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลั งกาย ของ นักศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร ไดแก ป จจั ยส วนบุ คคล ประกอบดวย เพศ และคณะที่ศึกษา และปจจัยดานความรู และการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรค ของการออกกําลังกาย การรับรู ภาวะสุขภาพ การรั บรูความสามารถแห งตน แรงสนับ สนุน ทาง สังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางประกอบความเรียง


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การศึ กษาป จจั ยที่ มี ผลต อพฤติ กรรมการออกกํ าลั งกายของนั กศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร จากการดํา เนิน การวิจัย และเก็บรวบรวมข อมูล สามารถสรุปผลไดดังนี้ 4.1 วิเคราะหขอมูลทั่วไป 4.2 การทดสอบสมมติฐาน 4.3 สรุปขอคนพบที่ไดจากการวิจัย 4.1 วิเคราะหขอมูลทั่วไป 1. ขอ มูล ป จจัยส ว นบุค คล สํ าหรับ ขอ มูล จําแนกประเภท ได แ ก เพศ คณะที่ศึ ก ษา สถานที่ที่ไปออกกําลังกายเปนประจํา ชวงเวลาที่ออกกําลังกาย และโรคประจําตัว โดยการแจก แจงความถี่ และคารอยละ และนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ตารางที่ 4-1 จํานวนและรอ ยละป จจั ยสว นบุ คคล สํา หรั บขอมูล จําแนกประเภทของนัก ศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ปจจัยสวนบุคคล จํานวน รอยละ รวม 600 100.00 เพศ ชาย 224 37.33 หญิง 376 62.67 คณะที่ศึกษา วิศวกรรมศาสตร 106 17.67 บริหารธุรกิจ 218 36.33 ศิลปศาสตร 27 4.50 ครุศาสตรอุตสาหกรรม 62 10.33 เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน 33 5.50 สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ 27 4.50 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 21 3.50 เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 84 14.00 อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 22 3.67


47 ตารางที่ 4-1 (ตอ) ปจจัยสวนบุคคล สถานที่ที่ไปออกกําลังกายเปนประจํา ไมระบุ มหาวิทยาลัย สนามกีฬา บริเวณบาน Fitness ลานเตนแอโรบิก ชวงเวลาที่ออกกําลังกาย เชา กลางวัน เย็น กลางคืน โรคประจําตัว ไมมี มี

จํานวน

รอยละ

394 107 62 25 12 1

65.67 17.83 10.33 4.17 2.00 0.17

16 139 393 52

2.66 23.17 65.50 8.67

497 103

82.83 17.17

จากตารางที่ 4-1 การวิเ คราะห ขอมูล ปจ จัย ส วนบุ ค คล สําหรับ ขอมูล จํา แนกประเภท ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ที่ตอบแบบสอบถาม จํานวน 600 คน สามารถสรุปผลได ดังนี้ เพศ พบวา สวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 62.67 คณะที่ศึกษา พบวา สวนใหญเปนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ คิดเปนรอยละ 36.33 สถานที่ ที่ไปออกกํ าลังกายเปน ประจํ า พบว า ส ว นใหญนัก ศึก ษาออกกําลั งกายที่ มหาวิทยาลัย คิดเปนรอยละ 17.83 ชว งเวลาที่ ออกกําลั งกาย พบวา สว นใหญอ อกกํา ลังกายในช วงเย็ น คิดเปน รอ ยละ 65.50 โรคประจําตัว พบวา สวนใหญไมมีโรคประตัว คิดเปนรอยละ 82.83


48 2. ขอมูล ปจ จัย สวนบุ คคล สําหรับ ขอมูล เชิงปริ มาณ ไดแก น้ํา หนัก ตัว สวนสูง และ จํานวนวั นที่ ออกกํ าลังกาย โดยหาคาเฉลี่ ย คาเบี่ย งเบนมาตรฐาน คาต่ํา สุด คาสูง สุด และ นําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ตารางที่ 4-2 คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาต่ําสุด และคาสูงสุด ปจจัยสวนบุคคล สําหรับขอมูลเชิงปริมาณ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร SD. ต่ําสุด สูงสุด ตัวแปร X น้ําหนักตัว 58.17 12.954 38 110 สวนสูง 164.67 8.683 140 186 จํานวนวันที่ออกกําลังกายตอสัปดาห 1.41 1.419 0 7 จากตารางที่ 4-2 การวิเคราะหขอมูล ปจ จัย ส วนบุ คคล สําหรับขอมูล เชิงปริ มาณของ นัก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรีม หาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ที่ต อบแบบสอบถาม จํานวน 600 คน สามารถสรุปผลได ดังนี้ น้ําหนักตัว พบวา มีน้ําหนักตัวเฉลี่ย 58.17 สวนสูง พบวา มีสวนสูงเฉลี่ย 164.67 จํานวนวันที่ออกกําลังกาย พบวา มีจํานวนวันที่ออกกําลังกายเฉลี่ย 1.41 วันตอสัปดาห


49 3. พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร โดยหาคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานและนํ าเสนอในรูป แบบตาราง ประกอบความเรียง ตารางที่ 4-3 จํานวนและรอยละของพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร การแปลความหมาย ตัวแปรที่ศึกษา SD. ความหมาย X 1. ทานมีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอโดยถือเปน 1.03 0.501 ปานกลาง สวนหนึ่งในการดําเนินชีวิตประจําวัน 2. ทานออกกําลังกายครั้งละ 20-30 นาที อยางนอย 0.95 0.620 ปานกลาง สัปดาหละ 3 ครั้ง 3. ทานอบอุนรางกายกอนออกกําลังกายทุกครั้ง 0.95 0.666 ปานกลาง 4. ทานออกกําลังกายจนรูสึกวาเหนื่อยและมีเหงื่อออก 1.31 0.588 ปานกลาง 5. ทานหยุดออกกําลังกายทันทีเมื่อรูสึกเกิดความผิดปกติ 1.26 0.663 ปานกลาง ของรางกาย 6. ทานเลือกกิจกรรมออกกําลังกายที่เหมาะสมกับสภาพ 1.38 0.592 ดี ตนเอง 7. ทานมีการจัดชวงเวลาออกกําลังกายที่แนนอนในแตละวัน 0.97 0.631 ปานกลาง 8. ทานออกกําลังกายหลายรูปแบบเพื่อไมใหเกิดความ 1.10 0.600 ปานกลาง เบื่อหนาย ในภาพรวม 1.11 0.351 ปานกลาง จากตารางที่ 4-3 พบว า ในภาพรวมพฤติกรรมการออกกํ าลัง กายของนั กศึ กษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยูในระดับปานกลาง ( X =1.11, SD. = 0.351)


50

4. ความรูเ กี่ ยวกั บการออกกํ าลั ง กายของนัก ศึ ก ษาระดั บปริญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยใชการแจกแจงความถี่ รอยละ และนําเสนอในรูปแบบตาราง ประกอบความเรียง ตารางที่ 4-4 จํานวนและรอยละของความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ตัวแปรที่ศึกษา ตอบถูก ระดับ จํานวน รอยละ ความรู 1. ในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่จะเกิดประโยชนตอ 444 74.00 ปานกลาง รางกายมากที่สุดคือขอใด 2. การอบอุนรางกายกอนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพใน 233 38.80 ควร แตละครั้งควรใชเวลาติดตอกันมากเทาใด ปรับปรุง 382 63.70 ปานกลาง 3. ในการออกกําลังกายแตละครั้ง ทําใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด ควรออกกําลังกายเปนเวลานานเทาใด 4. ในแตละสัปดาหควรออกกําลังกายอยางนอยกี่ครั้ง 281 46.80 ควร ปรับปรุง 355 59.20 ปานกลาง 5. เหตุใดที่ผูออกกําลังกายเปนประจํา จึงรูสึกเหนื่อยชากวา ปกติ 6. ขอใดเปนการปฏิบัติที่ถูกตองสําหรับผูที่ออกกําลังกาย 450 75.00 ปานกลาง เพื่อสุขภาพ เฉลี่ยภาพรวม 357.5 59.58 ปานกลาง จากตารางที่ 4-4 พบว า นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนครมีความรูเกี่ ยวกั บการออกกํ าลัง กายอยูใ นระดั บปานกลาง (ตอบถูก เฉลี่ ย รอยละ 59.58) ขอที่ควรปรับปรุงคือ การอบอุนรางกายกอนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพในแต ละครั้งควรใชเวลาติดตอกันมากเทาใด และในแตละสัปดาหควรออกกําลังกายอยางนอยกี่ครั้ง


51 5. ปจจัยดานการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก การรับรูประโยชนของการออก กํ า ลั ง กาย การรั บ รู อุ ป สรรคของการออกกํ า ลั ง กาย การรั บ รู ภ าวะภาวะสุ ข ภาพ การรั บ รู ความสามารถแหง ตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม ของนักศึกษา ระดั บปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยใชส ถิ ติ ค าเฉลี่ ย และค า เบี่ยงเบนมาตรฐาน และนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียง ตารางที่ 4-5 คาเฉลี่ ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปจจั ยด านการรับรูเ กี่ยวกับการออกกํ าลังกาย ไดแก การรับ รูประโยชนข องการออกกํ าลังกาย การรับรูอุปสรรคของการออก กําลังกาย การรับรูภาวะภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถแหงตน แรงสนับสนุน ทางสั ง คม และแรงสนั บ สนุ น ทางสิ่ ง แวดล อ มของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร SD. ระดับ ตัวแปรที่ศึกษา X 1. การรับรูประโยชนของการออกกกําลังกาย 4.48 0.630 สูง 2. การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย 2.99 1.053 ปานกลาง 3. การรับรูภาวะสุขภาพ 3.38 0.788 ปานกลาง 4. การรับรูความสามารถแหงตน 3.81 0.803 สูง 5. แรงสนับสนุนทางสังคม 3.55 0.912 ปานกลาง 6. แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม 3.48 1.131 ปานกลาง จากตารางที่ 4-5 สามารถสรุปผลไดดังนี้ 1. การรับรูประโยชนของการออกกกําลัง กาย พบวา มีการรับรูประโยชนของการออก กําลังกาย อยูในระดับสูง ( X = 4.48, SD. = 0.630) 2. การรับรูอุ ปสรรคของการออกกํ าลั ง กาย พบว า มีก ารรับรูอุ ปสรรคของการออก กําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ( X = 2.99, SD. = 1.053) 3. การรับรูภาวะสุขภาพ พบว า มีก ารรับรูภาวะสุขภาพ อยูใ นระดั บปานกลาง ( X = 3.38, SD. = 0.788) 4. การรับรูความสามารถแหงตน พบวา มีการรับรูความสามารถแหงตน อยูในระดับสูง ( X = 3.81, SD. = 0.803) 5. แรงสนับสนุนทางสั งคม พบว า มีแ รงสนับ สนุนทางสั ง คม อยูใ นระดั บปานกลาง ( X = 3.55, SD. = 0.912) 6. แรงสนับ สนุน ทางสิ่งแวดลอม พบวา มีแ รงสนั บสนุน ทางสิ่งแวดลอม อยูใ นระดั บ ปานกลาง ( X = 3.48, SD. = 1.131)


52 4.2 การทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ 1 เพศตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน การเปรี ยบเที ยบความแตกตา งของพฤติกรรมการออกกํ าลังกาย ระหว างประชากร 2 กลุมที่เปนอิสระจากกัน ไดแต เพศ โดยการทดสอบคาที (t-test) ตารางที่ 4-6 เปรียบเทียบความแตกตางของพฤติก รรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามเพศ SD. t p ตัวแปรที่ศึกษา N X เพศ ชาย 224 1.20 0.318 515.026* .000 หญิง 376 1.05 0.360 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 4-6 แสดงวา นักศึกษาเพศชายมีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการออก กําลังกายเทากับ 1.20 (SD. = 0.318) และเพศหญิง มีคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการออกกําลัง กายเทากับ 1.05 (SD. = 0.360) เมื่อทําการทดสอบสมมติฐาน พบวาเพศชายและเพศหญิงมี พฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับ สมมติฐานขอที่ 1

สมมติฐานที่ 2 คณะที่ศึก ษาตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน การเปรีย บเทียบความแตกตางของพฤติก รรมการออกกําลั งกาย ระหวางประชากร มากกวา 2 กลุมที่เปน อิส ระจากกัน ไดแ ก คณะที่ศึ กษา โดยการทดสอบค าเอฟ (F-test) แบบ การวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way analysis of variance) ในกรณีที่ผลการ ทดสอบมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคั ญทางสถิติ จะทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปน รายคู โดยใชวิธีของแอลเอสดี (LSD Method)


53 ตารางที่ 4-7 จํา นวน ค าเฉลี่ ย ค าเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติก รรมการออกกํ าลั ง กายของ นัก ศึกษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร จํา แนก ตามคณะที่ศึกษา S.D. ความหมาย ระดับการศึกษา n x วิศวกรรมศาสตร 106 1.051 0.315 ปานกลาง บริหารธุรกิจ 218 1.158 0.346 ปานกลาง ศิลปศาสตร 27 0.974 0.382 ปานกลาง ครุศาสตรอุตสาหกรรม 62 1.216 0.330 ปานกลาง เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน 33 0.973 0.442 ปานกลาง สถาปตยกรรมศาสตร 27 1.011 0.438 ปานกลาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 21 1.176 0.328 ปานกลาง เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร 84 1.115 0.311 ปานกลาง อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น 22 0.927 0.301 ปานกลาง ตารางที่ 4-8 เปรียบเทียบความแตกตางของพฤติก รรมการออกกําลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จําแนกตามคณะที่ศึกษา แหลงความ Df SS MS F p แปรปรวน ระหวางกลุม 8 3.781 .473 3.977* .000 ภายในกลุม 591 70.234 .119 รวม 599 74.016 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 4-8 พบวา นั กศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร จําแนกตามคณะที่ศึ กษามี พฤติก รรมการออกกํ าลัง กายแตกตางกันอยางมีนัย สําคัญ ทางสถิติที่ร ะดั บ .05 ซึ่ง สอดคลอ งกั บสมมติฐ านขอ ที่ 2 ดั งนั้ นจึ งนํ ามาทดสอบความแตกต าง ของคาเฉลี่ยเปนรายคู โดยใชวิธีของแอลเอสดี (LSD Method) ดังนี้


54

.078 .185* .001 .243* -

สถาปตยกรรมศาสตร

เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน

ครุศาสตรอุตสาหกรรม

ศิลปศาสตร

.107* .077 .165* - .184* .058 - .242* -

.039 .147* .037 .205* .038 -

เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร อุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่น

-

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

วิศวกรรมศาสตร บริหารธุรกิจ ศิลปศาสตร ครุศาสตรอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน สถาปตยกรรมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร อุตสาหกรรมสิ่งทอและ ออกแบบแฟชั่น

บริหารธุรกิจ

ตัวแปร

วิศวกรรมศาสตร

ตารางที่ 4-9 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู โดยใชวิธีของแอลเอสดี (LSD Method)

.125 .018 .202* .039 .203* .165 -

.064 .123 .042 .231* .141 .047 .101 .289* .143* .045 .104 .083 .061 .249* - .188* -

จากตารางที่ 4-9 การทดสอบความแตกต า งของค า เฉลี่ ย เป น รายคู โดยใช วิ ธี ข อง แอลเอสดี (LSD Method) พบวา แตกตางกัน 15 คู ประกอบดวย คูที่ 1 คณะวิศวกรรมศาตร กับ คณะบริหารธุรกิจ คูที่ 2 คณะบริหารธุรกิจ กับ คณะศิลปศาสตร คูที่ 3 คณะบริหารธุรกิจ กับ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คูที่ 4 คณะบริหารธุรกิจ กับ คณะสถาปตยกรรมศาสตร คูที่ 5 คณะบริหารธุรกิจ กับ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คูที่ 6 คณะศิลปศาสตร กับ คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม คูที่ 7 คณะศิลปศาสตร กับ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คูที่ 8 ครุศาสตรอุตสาหกรรม กับ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คูที่ 9 ครุศาสตรอุตสาหกรรม กับ คณะสถาปตยกรรมศาสตร คูที่ 10 ครุศาสตรอุตสาหกรรม กับ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น คูที่ 11 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน กับ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คูที่ 12 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน กับ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร คูที่ 13 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน กับ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


55 คูที่ 14 คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กับ คณะอุต สาหกรรมสิ่ง ทอและออกแบบ แฟชั่น คูที่ 15 คณะเทคโนโลยีค หกรรมศาสตร กับ คณะอุตสาหกรรมสิ่ง ทอและออกแบบ แฟชั่น สมมติฐานที่ 3-9 ปจจัยดานความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และปจจัยดานการรับรู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรคของ การออกกําลังกาย การรับรูภาวะภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถแหงตน แรงสนับสนุนทาง สัง คม และแรงสนับ สนุน ทางสิ่งแวดลอมมี ความสัมพั นธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผูวิ จัย ทํา การวิ เคราะหห าค าสั มประสิท ธิ์ส หสัม พัน ธข องเพี ยร สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ตารางที่ 4-10 ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งกั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จํ าแนกตามปจจัยดาน ความรูเกี่ยวกับการออกกําลัง และปจจัยดานการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย กับพฤติก รรมการออกกํ าลัง กายของนัก ศึก ษาระดั บปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล พระนคร ปจจัย N r p ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 600 .044 .283 การรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย 600 .201* .000 - การรับรูประโยชนของการออกกกําลังกาย 600 .197* .000 - การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย 600 .183* .000 - การรับรูภาวะสุขภาพ 600 .371* .000 - การรับรูความสามารถแหงตน 600 .220* .000 - แรงสนับสนุนทางสังคม 600 .205* .000 - แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 4-10 แสดงความสั มพันธร ะหวางตัวแปรตางๆ กับกั บพฤติกรรมการออก กําลัง กายของนัก ศึก ษาระดับปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สามารถ สรุปผลตามสมมติฐานไดดังนี้


56 1. ความรูเ กี่ย วกั บการออกกําลั งกาย ไมมีค วามสัมพั นธ กับพฤติก รรมการออกกําลั ง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งไมสอดคลอง กับสมติฐานฐานขอ 3 2. การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออก กํา ลังกายของนั ก ศึก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 4 3. การรับรูอุปสรรคการออกกํ าลังกาย มี ความสัมพั นธ ทางลบกับพฤติกรรมการออก กํา ลังกายของนั ก ศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 5 4. การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของ นักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 6 5. การรับรูความสามารถแหงตน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 7 6. แรงสนั บสนุน ทางสั งคม มีค วามสัม พัน ธท างบวกกับ พฤติก รรมการออกกํา ลัง กาย ของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 8 7. แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ ออกกําลัง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับสมติฐานฐานขอ 9


57 สมมติฐานที่ 10 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ และคณะที่ศึ กษา ปจจัยดา นความรู และ การรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชน ของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย การรับรูภาวะสุขภาพ การรับรู ความสามารถแห ง ตน แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คม และแรงสนั บ สนุ น ทางสิ่ ง แวดล อ ม มี ความสามารถร ว มกั น ทํ า นายพฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ผูวิจัยทําการวิเคราะหหาปจจัยที่สามารถรวมกันในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยการวิเคราะห การถดถอยพหุ คูณ แบบ ขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) เพื่ อทดสอบ สมมติฐาน ตารางที่ 4-11 การวิเคราะหการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน ปจจัยที่รวมกันทํานายพฤติกรรม การออกกํ าลังกายของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิท ยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร สัมประสิทธิ์ การถดถอย Beta การแปรที่เขาสมการตามลําดับ t R b SE(b) คาคงที่ .516 .081 6.334 .000 การรับรูความสามารถแหงตน (X6) .114 .017 .261 6.568* .000 การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย (X4) -.068 .013 -.203 -5.138* .000 เพศ (X1.1) .156 .029 .215 5.469* .000 คณะที่ศึกษา (X1.2) .102 .028 .140 3.601* .000 การรับรูภาวะสุขภาพ (X5) .047 .019 .106 2.502* .003 แรงสนับสนุนทางสังคม (X7) .029 .012 .095 2.476* .014 2 R = .484 R = .234 F = 30.243* p = .000 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 4-11 พบวา ปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ไดแก การรั บรูค วามสามารถแห งตน การรั บรู อุป สรรคของการออกกํ าลั งกาย เพศ คณะที่ศึ กษา การรับรูภาวะสุขภาพ และแรงสนับสนุนทางสังคม มีความสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการ ออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ได อ ย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยสามารถอธิ บ ายการผั น แปรของพฤติ ก รรม


58 การออกกําลังกาย ไดรอยละ 23.4 (R2 = .234) ซึ่งสอดคลอ งกับสมมติฐานขอ 10 โดยสามารถ เขียนเปนสมการถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) จาก คะแนนดิบ ดังนี้ Y = 0.516 + 0.114X6 + 0.068X4 + 0.156X1.1 + 0.102X1.2+ 0.047X5 + 0.029X7 4.3 สรุปขอคนพบที่ไดจากการวิจัย การศึ กษาป จจั ยที่ มี ผลต อพฤติ กรรมการออกกํ าลั งกายของนั กศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร นัก ศึ ก ษามีพ ฤติ ก รรมการออกกํา ลั ง กายอยู ใ น ระดับ ปานกลาง ความรู เ กี่ย วกับ การออกกํา ลัง กายที่ค วรปรั บ ปรุ ง คือ การอบอุน ร า งกาย และจํา นวนวั น ที่ อ อกกํา ลั ง กายต อ สั ปดาห และเมื่อ นําปจจัยที่เก ยวขอ งมาทดสอบสมมติฐ าน สามารถสรุปผลไดดังนี้ ตารางที่ 4-12 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐาน ผลการทดสอบ 1 เพศตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน ยอมรับ 2 คณะที่ศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกัน ยอมรับ ปฏิเสธ 3 ความรู เ กี่ ย วกั บ การออกกํ า ลั ง กาย ไม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4 การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับ ยอมรับ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 5 การรั บรู อุ ปสรรคการออกกํ าลั งกาย มี ความสั มพั นธ ทางลบกั บ ยอมรับ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 6 การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออก ยอมรับ กําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลพระนคร 7 การรับรูความสามารถแหงตน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม ยอมรับ การออกกํ าลั งกายของนั กศึ กษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


59 ตารางที่ 4-12 (ตอ) สมมติฐาน ผลการทดสอบ 8 แรงสนับ สนุน ทางสังคม มีค วามสั มพั นธทางบวกกับ พฤติกรรม ยอมรับ การออกกํ าลังกายของนัก ศึก ษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 9 แรงสนั บ สนุ น ทางสิ่ ง แวดล อ ม มี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกั บ ยอมรับ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 10 ปจจัยที่สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของ รอยละ 23.40 นั ก ศึก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคล พระนคร ไดแก การรับรูความสามารถแหงตน การรับรูอุปสรรค ของการออกกําลังกาย เพศ คณะที่ศึก ษา การรับรูภาวะสุขภาพ และแรงสนับสนุนทางสังคม


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึก ษาป จจั ย ที่มี ผ ลต อ พฤติ ก รรมการออกกํา ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญ ญา ตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร จากวิเคราะหขอมูล สามารถสรุปไดดังนี้ 5.1 สรุปผล 5.2 อภิปรายผล 5.3 ขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผล การศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของนัก ศึก ษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลัง กาย เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกําลังกาย เพื่อศึกษาความสัมพัน ธระหวางปจจัยด าน ความรูและการรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรู ประโยชนข องการออกกํ าลั งกาย การรับรูอุ ปสรรคของการออกกําลังกาย การรับ รูภ าวะภาวะ สุ ขภาพ และการรับ รูค วามสามารถแห ง ตน แรงสนับสนุนทางสั ง คม และแรงสนั บสนุ นทาง สิ่ง แวดล อม และเพื่ อศึกษาปจจัยที่สามารถรว มกันในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลัง กาย ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในการวิจัย ครั้ง นี้เ ปน การวิจั ยเชิงปริ มาณ (Quantitative Research) และเปน การใช แบบทดสอบและแบบสอบถาม ในการเก็ บ ข อ มู ล จากกลุ ม ตั ว อย า งที่ เ ป น นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร จํานวน 600 คน ซึ่งผลการวิ เคราะห ขอมูลสามารถสรุปไดดังนี้ 5.1.1 ปจจัยสวนบุคคล สรุปไดวา 1) เพศ พบวา สวนใหญเปนเพศหญิง คิดเปนรอยละ 62.67 2) คณะที่ศึกษา พบวา สวนใหญเปนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ คิดเปนรอย ละ 36.33 3) น้ําหนักตัว พบวา มีน้ําหนักตัวเฉลี่ย 58.17 4) สวนสูง พบวา มีสวนสูงเฉลี่ย 164.67 5) จํา นวนวันที่ออกกํ าลัง กาย พบว า มีจํานวนวั นที่อ อกกํ าลั ง กายเฉลี่ ย 1.41 วันตอสัปดาห 6) สถานที่ที่ไปออกกําลังกายเปนประจํา พบวา สวนใหญนักศึกษาออกกําลัง กายที่มหาวิทยาลัย คิดเปนรอยละ 17.83


61 7) ชว งเวลาที่ อ อกกํ าลัง กาย พบว า ส ว นใหญ อ อกกําลั ง กายในชว งเย็น คิดเปนรอยละ 65.50 8) โรคประจําตัว พบวา สวนใหญไมมีโรคประตัว คิดเปนรอยละ 82.83 5.1.2 พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พบวา ในภาพรวมมีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปาน กลาง ( X =1.11, SD. = 0.351) 5.1.3 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักศึ กษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร พบวา นั กศึ กษามี ความรูเกี่ยวกั บการออกกํ าลังกายอยู ในระดับ ปานกลาง (ตอบถูกเฉลี่ยรอยละ 59.58) 5.1.4 การรับรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไดแก การรับรูประโยชนของการออกกําลัง กาย การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย การรับรูภาวะภาวะสุขภาพ การรับรูความสามารถ แห ง ตน แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คม และแรงสนั บ สนุ น ทางสิ่ ง แวดล อ ม ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร สรุปไดดังนี้ 1) การรับรูประโยชนของการออกกกําลังกาย พบวา มีการรับรูประโยชนของ การออกกําลังกายอยูในระดับสูง ( X = 4.48, SD. = 0.630) 2) การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย พบวา มีการรับรูอุปสรรคของการ ออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ( X = 2.99, SD. = 1.053) 3) การรับรูภาวะสุขภาพ พบวา มีการรับรูภาวะสุขภาพอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.38, SD. = 0.788) 4) การรับรูความสามารถแหงตน พบวา มีการรับรูความสามารถแหงตนอยูใน ระดับสูง ( X = 3.81, SD. = 0.803) 5) แรงสนับสนุนทางสัง คม พบว า มีแ รงสนับสนุนทางสัง คมอยูใ นระดับปาน กลาง ( X = 3.55, SD. = 0.912) 6) แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม พบวา มีแ รงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอมอยูใน ระดับปานกลาง ( X = 3.48, SD. = 1.131) 5.1.5 การทดสอบสมมติฐาน 1) นักศึกษาที่มีเพศตางกันมีพ ฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตา งกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) คณะที่ ศึกษาตางกัน มีพ ฤติกรรมการออกกํ าลังกายแตกต างกัน อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออก กําลังกายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


62 4) การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม การออกกํา ลัง กายของนัก ศึก ษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) การรับรูอุปสรรคการออกกําลัง กาย มี ความสัมพันธ ทางลบกับ พฤติก รรม การออกกํา ลัง กายของนัก ศึก ษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) การรับรูภาวะสุขภาพ มี ความสัมพั นธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 7) การรั บรูค วามสามารถแห งตน มีค วามสัมพั นธทางบวกกับพฤติก รรมการ ออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 8) แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คม มี ค วามสั ม พั น ธ ทางบวกกั บ พฤติ ก รรมการ ออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 9) แรงสนับ สนุน ทางสิ่งแวดลอม มีค วามสัมพั นธทางบวกกับพฤติกรรมการ ออกกํ า ลั ง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 10) ปจจัยที่สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลั งกายของนัก ศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได แก การรับรูความสามารถแหง ตน การรับรูอุปสรรคของการออกกําลัง กาย เพศ คณะที่ศึก ษา การรับรูภาวะสุขภาพ และแรง สนับสนุนทางสังคม รวมกันทํานายไดรอยละ 23.40 ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอนจากคะแนนดิบ ดังนี้ Y = 0.516 + 0.114X6 + 0.068X4 + 0.156X1.1 + 0.102X1.2+ 0.047X5 + 0.029X7 5.2 อภิปรายผล จากการศึ ก ษาปจ จัย ที ่ม ีผ ลตอ พฤติก รรมการออกกํ า ลัง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร อภิป รายผลไดดังนี้ 5.2.1 พฤติ ก รรมการออกกํา ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ผลการศึกษาพบว า พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยูในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคลอง กั บ การศึ ก ษาของสิ ว าณี เซ็ ม (2542) พบว า การออกกํ า ลั ง กายและการเล นกี ฬ าของนิ สิ ต


63 นัก ศึกษามหาวิทยาลั ยของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย สว นใหญมีพ ฤติกรรมด านพุทธิวิสั ย เกี่ยวกับการออกกําลังกายและการเลนกีฬาอยูในระดับปานกลาง สอดคลองกับทิวาวัน คําบันลือ (2546) ที่ พบว า นั กศึ กษาพยาบาลวิ ทยาลั ยพยาบาลในภาคกลางสั งกั ดสถาบันพระบรมราชนก กระทรวงสาธารณสุข มีพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพอยูในระดับปานกลาง สอดคลองกับสุรีย พันธรักษ (2546) ที่พบวา นักศึกษาสถาบันราชภัฎ หมูบานจอมบึงสวนใหญจะออกกําลังกายเพียงสัปดาห ละ 1-2 ครั้ง สอดคลองกับมงคล แฝงสาเคน (2548) ที่พบวา นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ใชเวลาในการออกกําลังกาย 31 นาทีขึ้นไป และความหนักใน การออกกําลังกายสวนใหญอยูในระดับปานกลาง สอดคลองกับทัศนันท กาบแกว (2549) พบวา นักศึ กษาผูชวยพยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน มหาวิ ทยาลัยมหิดล มีพฤติกรรมการ ออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง และสอดคลองกั บไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา นิสิต ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง 5.2.2 ปจจัยสว นบุคคล ได แก เพศ และคณะที่ศึก ษา ผลการศึก ษาพบวา 1) เพศตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง สถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาชายมี พ ฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายมากกว า นั ก ศึ ก ษาหญิ ง สอดคลองกับการศึกษาของวิไลรัตน แสงวณิช (2542) พบวา นักศึกษาชายสวนใหญออกกําลัง กายแตละครั้ง มากกวา 60 นาที ในขณะที่ นัก ศึก ษาหญิง จะออกกําลังกายประมาณ 20 นาที สอดคล อ งกั บนิรัน ดร พลรัต น และคณะ (2547) พบว า นัก ศึ ก ษาชายมีก ารออกกํ าลั ง กาย มากกวานักศึ กษาหญิ ง เพราะนัก ศึก ษาชายชอบเล นกีฬามากกวา และมั กหากิ จกรรมทําอยู เสมอเมื่อ มีเ วลาว าง และสอดคล อ งกั บไพบูล ย ศรีชัยสวั ส ดิ์ (2549) พบว า นิสิ ต ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโรฒ มีเพศตางกันมีพฤติกรรมการออกกําลังกายแตกตางกั นอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) คณะที่ ศึกษาตางกัน มีพ ฤติกรรมการออกกํ าลังกายแตกต างกัน อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ และคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มี พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายแตกต า งจากนั ก ศึ ก ษาคณะศิ ล ปศาสตร คณะเทคโนโลยี สื่อ สารมวลชน คณะสถาปต ยกรรมศาสตร และคณะอุตสาหกรรมสิ่ งทอและออกแบบแฟชั่ น สอดคลอ งกั บการศึก ษาของนิรันดร พลรัต น และคณะ (2547) ที่ พบวา นั กศึ กษาที่เรียนคณะ ตางกัน มีพฤติกรรมการออกกําลัง กายตางกั น และสอดคลองกับไพบูล ย ศรี ชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา นิสิต ปริญญาตรี มหาวิทยาลั ยศรีนครินทรวิโรฒ มีคณะที่ศึกษาตา งกัน มีพฤติกรรมการ ออกกําลังกายแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.2.3 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนัก ศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากขอจํากัดของนัก ศึกษาในหลายประการเชน ความสนใจในการศึกษาเป นอยางมาก ความเหน็ดเหนื่อ ยจากการเรียน การไมมีเวลาวางเปนตน สอดคลองกั บการศึกษาของกรีนและ


64 กรูเทอร (Green & Greuter. 1991) พบวา ความรูเปนปจจัยนําที่สําคัญที่สงผลตอพฤติกรรม แต การเพิ่มความรูเพียงอยางเดียวไมสามารถทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสมอไป สอดคลอง กับปนัดดา จูเภา (2544) ที่พบว า ความรูเกี่ยวกับ การออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับ การ ออกกํ าลั งกายของนั กเรีย น สอดคลอ งกั บนิ รัน ดร พลรั ตน และคณะ (2547) ที่ พบวา ความรู เกี่ ยวกั บการออกกํ าลั งกายไม มีความสัมพั นธ กั บการออกกํ าลั งกายของนักศึ กษามหาวิ ทยาลั ย ธรรมศาสตร ศู น ย รั ง สิ ต สอดคล อ งกั บ กนกลดา อั ม ยงค (2548) ที่ พ บว า ความรู เ กี่ ย วกั บ พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ สอดคล อ งกั บ ทั ศ นั น ท กาบแก ว (2549) พบว า ความรู เ กี่ ย วกั บ การออกกํ า ลั ง กายไม มี ความสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษาผู ช ว ยพยาบาล โรงพยาบาล เวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิด ล และสอดคล องกับ ไพบูล ย ศรี ชัยสวัส ดิ์ (2549) พบว า ความรูเ กี่ยวกั บการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธ กับ พฤติก รรมการออกกําลังกายของนิสิ ต ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5.2.4 การรับรูพฤติกรมการออกกําลัง ไดแก การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย การรับรูอุปสรรคของการออกกําลั งกาย การรับรู ภาวะภาวะสุขภาพ และการรับรู ความสามารถ แหงตน แรงสนับสนุนทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม ผลการศึกษาพบวา 1) การรับรูประโยชนของการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม การออกกํา ลัง กายของนัก ศึก ษาระดั บปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อย างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ ระดับ .05 ทั้ งนี้อาจเนื่อ งมากจากการที่บุคคล จะกระทําพฤติก รรม ใดๆ มักคํานึงถึงประโยชนที่ได จากการปฏิบัติพฤติกรรมนั้น การคาดการถึ งประโยชนของการ กระทําเปนสิ่งจูงใจในการปฏิบัติกิจกรรมนั้น (Pender. 1996) สอดคลอ งกับการศึกษาของกรับ และคารเตอร (Grubbs & Carter. 2002) ที่พบวา การรับรูประโยชนมีค วามสัมพันธกับนิสัยการ ออกกําลังกายของนักศึกษา สอดคลองกับบราวน (Brown. 2005) ที่พบวา การรับรูประโยชนมี ความสัม พันธกับพฤติก รรมการออกกําลังกายของนักศึก ษาระดั บมหาวิทยาลัย สอดคล องกั บ พั ช รี พ รรณ ตรี ศั ก ดิ์ ศ รี (2548) ที่ พ บว า การรั บ รู ป ระโยชน ข องการส ง เสริ ม สุ ข ภาพ มี ความสั มพันธทางบวกกับพฤติก รรมสงเสริมสุ ขภาพของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กรุง เทพมหานคร และสอดคล องกับไพบูลย ศรี ชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา การรับรูป ระโยชน ของ การออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) การรับรูอุปสรรคการออกกําลัง กาย มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการออก กํา ลังกายของนั ก ศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร อยา งมี นัย สํ าคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่อ งมาจากการรับ รูอุ ปสรรคเปน สิ่ง ขัด ขวางตอ การ ปฏิบัติพฤติกรรม อาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจริง หรือ เปนสิ่งที่ค าดคะเนก็ได ซึ่ง จะมีผลตอความตั้งใจ ในการที่จะปฏิบัติพฤติกรรม ดังนั้น การรับรูอุปสรรคเปรียบเสมือนสิ่งกีดขวางไมใ หบุคคลปฏิบัติ


65 พฤติกรรม เมื่อบุคคลมีค วามพรอ มในการปฏิ บัติพ ฤติกรรมน อย และมี การรับ รูอุปสรรคมาก พฤติก รรมก็อาจเกิ ดขึ้นยาก แต ถาบุ คคลมีค วามพรอมในการปฏิบัติพ ฤติก รรม และการรั บรู อุป สรรคพฤติกรรมนอ ยก็จะสง ผลใหบุ คคลมีแนวโน มที่จะปฏิบัติ พฤติก รรม (Pender. 1996) สอดคลองกั บการศึ กษาของกรับ และคารเ ตอร (Grubbs & Carter. 2002) ที่พบวา การรับ รู อุ ป สรรคมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ นิ สั ย การออกกํ า ลั ง กายของนั ก ศึ ก ษา สอดคล อ งกั บ ทิ ว าวรรณ คําบันลือ (2546) ที่พบวา นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลภาคกลาง สังกัดสถาบันพระบรม ราชนก กระทรวงสาธารณสุ ข ที่มี ก ารรับ รูอุ ปสรรคต า งกั น มี พ ฤติ ก รรมการส ง เสริม สุ ข ภาพ แตกตางกัน สอดคลองกับชื่น ศิริรักษ (2547) ที่พบวา การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย มีค วามสัมพั นธทางลบกับพฤติก รรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาล สอดคลองกั บ พั ช รี พ รรณ ตรี ศั ก ดิ์ ศ รี (2548) ที่ พ บว า การรั บ รู อุ ป สรรคของการส ง เสริ ม สุ ข ภาพ มี ความสัมพั นธ ทางลบกับพฤติก รรมส งเสริม สุขภาพของนั กศึ กษาสถาบั นเทคโนโลยี ราชมงคล กรุงเทพมหานคร และสอดคลองกับไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา การรับรูอุปสรรคของการ ออกกํ าลั งกาย มีค วามสั ม พั นธ ทางลบกั บพฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนิ สิ ต ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 3) การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของ นักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการรับรูภาวะสุขภาพมีความเกี่ยวของกับความจริงจังของการ กระทํ าพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ โดยบุคคลที่รับรูวา ตนเองมี สุขภาพดีก็มีแนวโนมที่จะกระทํา พฤติก รรมส งเสริ มสุขภาพมากกว าบุคคลที่รั บรูวา ตนเองสุ ขภาพไมดี สอดคลอ งกั บการศึก ษา ของทิวาวรรณ คําบันลือ (2546) ที่พบวา นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลภาคกลาง สังกัด พระบรมราชนก กระทรวงสาธารณสุ ขที่มีก ารรั บรูภาวะสุ ขภาพต างกัน มีพ ฤติ กรรมส งเสริม สุขภาพแตกตางกัน สอดคลองกับการศึกษากับกนกลดา อัมยงค (2548) ที่พบวา การรับรูภาวะ สุ ข ภาพมี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ พฤติ ก รรมส ง เสริ ม สุ ข ภาพของพยาบาลวิ ช าชี พ และ สอดคลองกับไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา การรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวก กับพฤติก รรมการออกกําลั งกายของนิสิ ตปริญ ญาตรี มหาวิ ทยาลั ยศรีนคริน ทรวิ โรฒอยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) การรับรู ความสามารถแหงตน มีความสัมพันธกั บพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการรับรูความสามารถแหงตน เปนการรับรูวาตนเอง สามารถปฏิ บั ติ พ ฤติ ก รรมได สํ า เร็ จ เพี ย งใด ซึ่ ง จะมี อิ ท ธิ พ ลต อ ความรู สึ ก นึ ก คิ ด ที่ เ กี่ ย วกั บ พฤติกรรมหรือการปฏิบัติพฤติกรรม ความรูสึกในทางบวกตอการปฏิบัติพฤติกรรมมีมากเทาใด การรั บรู ความสามารถแห งตนก็จ ะมี มากเท านั้ น ดังนั้น การรับ รูค วามสามารถแห งตน จึง เปน แรงจูงใจใหเกิดพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพโดยตรง (Pender. 1996) สอดคลองกับการศึกษาของ


66 สดุดี ภูหอ งไสย (2541) ที่พบวา การรับรูความสามารถของตนเองมีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติ ก รรมส ง เสริ ม สุ ข ภาพของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย สอดคล อ งกั บ มนั ส วี เจริญ เกษมวิทย (2546) ที่พบวา การรับ รูความสามารถแหง ตนมี ค วามสัมพั นธ ทางบวกกั บ พฤติกรรมการออกกําลังกายของพยาบาลวิชาชีพ สอดคลองกับณัฐภรณ ผลึก เพชร (2547) ที่ พบวา การรับรู ความสามารถของตนเองมีค วามสัม พันธทางบวกกั บพฤติก รรมสงเสริมสุ ขภาพ ของพยาบาล และสอดคลองกับไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์ (2549) พบวา การรับรูความสามารถแหง ตน มีความสัมพันธ ทางบวกกับพฤติกรรมการออกกํ าลัง กายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5) แรงสนั บสนุ นทางสัง คม มีค วามสัมพั นธกับ พฤติกรรมการออกกํา ลังกาย ของนัก ศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติ ที่ระดั บ .05 ทั้งนี้อาจเนื่อ งมาจาก แหล งขอมูลเบื้อ งต นของอิทธิพ ลระหวางบุคคลใน พฤติก รรมสงเสริมสุขภาพคือ ครอบครัว กลุ มเพื่อ น และบุคลากรทางการแพทย แรงสนับสนุ น ทางสังคมจะเปนตัว สนับ สนุนใหบุคคลคงไว ซึ่ง พฤติก รรมที่ เ ปน ที่ยอมรั บ (Pender. 1996) สอดคลอ งกับการศึกษาของเคอรนีย า และคณะ (Courneya & others. 2000) ที่ พบวา แรง สนับสนุนทางสังคม จะสามารถทํานายความตั้ง ใจในการออกกําลังกายของบุคคลได สอดคลอง กับทิวาวัน คําบรรลือ (2546) ที่พบวา นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลในภาคกลาง สังกัด พระบรมราชนก กระทรวงสาธารณสุ ขที่ไ ด รับการสนั บสนุน จากบุ ค คลต างกั น มีพ ฤติ ก รรม สงเสริมสุขภาพแตกตางกัน สอดคลอ งกับชื่น ศิริรักษ (2547) ที่พบวา การสนับสนุนทางสังคม มีความสัม พันธทางบวก กับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึก ษาพยาบาล สอดคล องกับ กนกลดา อั ม ยงค (2548) ที่ พ บว า การสนั บ สนุ น ทางสั ง คมมี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ พฤติก รรมสงเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ และสอดคล องกับไพบูล ย ศรี ชัยสวัส ดิ์ (2549) พบวา แรงสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนิสิต ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6) แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม มีความสัมพัน ธกับพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึก ษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิ ติที่ระดับ .05 สอดคลอ งกั บ สรัลรั ตน พลอิน ทร (2543) ที่ พบวา สภาพแวดลอ มของ วิทยาลัยมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย สอดคลองกับสุธี คําคง (2544 ที่พบว า การมีส ถานที่ และอุ ปกรณ ในการออกกํ าลัง กายมีค วามสั มพั นธ กับพฤติกรรมการออก กําลังกายที่เหมาะสม และสอดคลองกับทัศนันท กาบแกว (2549) ที่พบวา สถานที่และอุปกรณ ในการออกกํ า ลั ง กายมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายมากที่ สุ ด และเป น ความสัมพันธในเชิงบวก 7) ปจจัยที่สามารถทํานายรวมกันเกี่ยวกับ พฤติกรรมการออกกําลัง กายของ นัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร ได แ ก การรั บ รู


67 ความสามารถแหงตน การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย เพศ คณะที่ศึกษา การรับรูภาวะ สุขภาพ และแรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม มีความสามารถรว มกัน ทํานายพฤติก รรมการออก กํา ลังกายของนัก ศึกษาระดับ ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร อยา งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถอธิบายการผันแปรของพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของนั ก ศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได รอ ยละ 23.4 สอดคลองกับการศึกษาของไพบูลย ศรีชั ยสวัสดิ์ (2549) ที่ว า การรับ รูค วามสามารถแหงตน เพศ การไดรับขอมูลขาวสาร แรงสนับสนุนทางสังคมและการรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย สามารถร ว มกั น ทํ า นายพฤติ ก รรมการออกกํ า ลั ง กายของนิ สิ ต ปริ ญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั บ ศรีนคริน ทรวิโรฒ ไดรอ ยละ 23.40 และสอดคลอ งกั บสุ ด กั ญญา ปานเจริ ญ และปริท รรศน วันจันทร (2550) ที่วา การรับรู สมรรถนะแหงตนดานการออกกําลังกาย และการสนับสนุนทาง สังคมดานการออกกําลังกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ร วมกันทํานายพฤติก รรม การออกกําลังกายไดรอยละ 40.60 (p<.01) 5.3 ขอเสนอแนะ 5.3.1 ขอเสนอแนะจากการวิจัย จากผลการวิจัยครั้งนี้พ บว า พฤติก รรมการออกกําลังกายและความรูเ กี่ย วกั บ การออกกําลังกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยู ในระดั บปานกลาง ดังนั้น การที่จะให นัก ศึกษามี พฤติกรรมการออกกําลั งกายในระดั บดีมาก ยิ่งขึ้น อยางต อ เนื่ อ ง และสามารถทํา ให เ กิ ด เปน วั ฒนธรรมขององค ก รได ควรมี ก ารกํ าหนด นโยบาย โดยมุงเนนการออกกําลังกายของนักศึกษา ใหตระหนักถึงความรับผิดชอบในการดูแล สุขภาพของตนเอง ใหไดรับรู ถึงพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพทั้งดานรางกาย และจิต ใจ จะทํา ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งปจจุบันและอนาคต 5.3.2 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1) ควรนํ าตัว แปรอื่น ๆ มาศึก ษาพฤติกรรมการออกกํ าลังกายของนั กศึกษา เพิ่ ม เติ ม เช น พฤติ ก รรมที่ เ กี่ ย วข อ งในอดี ต พฤติ ก รรมทางเลื อ กที่ เ กิ ด จากจิ ต สํ า นึ ก และ พฤติกรรมทางเลือกที่เกิดจากปจจัยเสริมแรง เพื่อสงเสริมพฤติกรรมการออกกําลังกายที่ตอเนื่อง 2) ควรมี การศึก ษาพฤติก รรมการออกกําลังกายของคณาจารยและบุคลากร ของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร โดยศึ ก ษาว า มี ป จ จั ย ใดบ า งที่ ส ง ผลให มี พฤติกรรมการออกกําลังกายที่ตอเนื่อง


บรรณานุกรม กนกลดา อัมยงค. 2548. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ วิทยาลัยแพทยศาสตร กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล. ปริญญานิพนธ วท.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. 2550. รางแผนพัฒนาการกีฬาแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ : กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา. กระทรวงสาธารณสุขและสํานักงานสถิติแหงชาติ. 2545. การสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2542-2543. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึกษา. แกวปวงคํา วงไชย. 2543. โยคะเพื่อสุขภาพ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : เดลฟ. จรวยพร ธรณินทร. 2530. กรกฎาคม. “กีฬาสุขภาพ.” ใกลหมอ. 11(7): 51-52. จารุณี ศรีทองทุม. 2550. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกําลังกายของประชาชนที่มาออก กําลังกายที่สวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จินดา บุญชวยเกื้อกูล. 2541. การดูแลรักษาและสงเสริมสุขภาพ : สุขภาพเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เจริญ กระบวนรัตน และคณะ. 2525. ความตองการรับการบริการทางดานการออกกําลังกาย เพื่อสงเสริมสุขภาพของขาราชการและนิสิตในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เฉลิมพล สุทธจรรยา. 2546. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของ นักศึกษาปริญญาตรีสถาบันราชภัฎในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางการกีฬา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. เฉลิมพล สัตยเสวนา. 2532. พฤติกรรมศาสตรสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสุขศึกษาและ พฤติกรรมศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. ชาตรี ประชาพิพัฒน และนฤพนธ วงศจตุรภัทร. 2545. แนวทางการสงเสริมการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพ. มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาลัยวิทยาศาสตรการกีฬา. ชื่น ศิริรักษ. 2547. ปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลในภาคกลาง สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ชูศักดิ์ เวชแพศย. 2524. สรีรวิทยาการออกกําลังกาย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ภาควิชา สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล.


69 ณัฐภรณ ผลึกเพชร. 2547. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดพัทลุง. ปริญญานิพนธ วท.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ดํารง กิจกุศล. 2527. การออกกําลังกาย. กรุงเทพฯ : โครงการตําราศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล. ถนอมวงศ กฤษณเพชร. 2544, มกราคม-ธันวาคม. “พฤติกรรมการออกกําลัง กายเลนกีฬาและ ดูกีฬาของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และ นันทนาการ. 27:25-33. ทัศนันท กาบแกว. 2549. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาผูชวย พยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล. ปริญญานิพนธวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ทิวาวัน คําบรรลือ. 2546. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลในภาคกลาง สังกัดพระบรมราชนก กระทรวงสาธารณสุข. ปริญญา นิพนธ วท.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. นที รักษพลเมือง และวิชัย วนดุรงศวรรณ. 2530. กีฬาเวชศาสตรพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ภาควิชา ศัลยศาสตรออรโธปดิกสและกายภาพบําบัดคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. นิรันดร พลรัตน และคณะ. 2547. “ปจจัยที่เกี่ยวของกับการออกกําลังกายของนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต.” วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. 12(1): 65-71. ปนัดดา จูเภา. 2544. พฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนตนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา´ ปริญญานิพนธ กศ.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ประภาเพ็ญ สุวรรณ. 2532. การสอนสุขศึกษา ทฤษฎีและการประยุกต. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พาณิช. ประวิตร เจนวรรธนะกุล. 2547, กุมภาพันธ. “บัญญัติ 10 ประการของการออกกําลังกาย.” Health Today Thailand. 3(3): 80-83. ประศักดิ์ สันติภาพ. 2546. พฤติกรรมการออกกําลังกาย และปจจัยที่เกี่ยวของในกลุม นักศึกษาปริญญาตรี ภาคปกติ สถาบันราชภัฎจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ ค.ม. (พลศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปริญญา ดาสา. 2544. พฤติกรรมการออกกําลังกายและการรับรูอุปสรรคตอการออกกําลัง กายของอาจารยสตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิทยานิพนธ พย.ม. (พยาบาลสตรี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม.


70 ปรียาภรร โกมุท. 2548. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ทางการพยาบาล โรงพยาบาลพระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี. ปริญญานิพนธ วท.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปทมา รอดทั่ง. 2540. การใชเวลาวางดวยการเลนกีฬาและออกกําลังกายของประชาชนใน เขตภาคกลางตอนลาง. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ ประสานมิตร. พวงรัตน ทวีรัตน. 2543. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณ. พัชรีพันธ ตรีศักดิ์ศรี. 2548. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ วท.ม. (สุขศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พัลลภ คําลือ. 2543. ปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (วิชาการสงเสริมสุขภาพ) บัณฑิตวิทยาลีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ไพบูลย ศรีชัยสวัสดิ์. 2549. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มงคล แฝงสาเคน. 2548. รายงานวิจัย เรื่อง พฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมการออกกําลัง กายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. มนตชัย เทียนทอง. 2549 สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. มนัสวี เจริญเกษมวิทย. 2546. ปจจัยที่มีความสัมพันธกับการออกกําลังกายของพยาบาล วิชาชีพในโรงพยาบาลศูนยเขตภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ พย.ม. (การพยาบาล ชุมชน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นาน มีบุคสพับลิเคชั่นส. วรรณวิไล จันทราภา. 2536. “มโนมติเกี่ยวกับสุขภาพสวนบุคคลและชุมชน.” เอกสารการสอน วิชาสุขศึกษาหนวยที่ 1-7. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วรศักดิ์ เพียรชอบ. 2523. หลักและวิธีสอนพลศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. . 2525, ตุลาคม. “การออกกําลังกายสําคัญไฉน.” วารสารสุขศึกษา พลศึกษา สันทนา การ. 8(4): 56-64.


71 วลีรัตน แตรตุลาการ. 2541. การประยุกตทฤษฎีความสามารถตนเองรวมกับกระบวนการเรียนรู อยางมีสวนรวมในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลศาสตร ชั้นปที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ศรีธัญญา จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. (อัดสําเนา) วิไลรัตน แสงวณิช. 2542. ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการรับรูขาวสาร การออกกําลังกาย และกีฬา กับพฤติกรรมการออกกําลังกายและเลนกีฬา ของนักศึกษาวิทยาลัย อาชีวศึกษาภาคเหนือ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. วีระชาติ สมใจ. 2550. พฤติกรรมการออกกําลังกายของนักเรียน นักศึกษา สังกัดสํางาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอุดรธานี ปการศึกษา 2550. ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ. วุฒิพงษ ปรมัตถากร. 2537. การออกกําลังกาย. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส. ศักดิ์ชาย พิทักษวงษ. 2533. “การกระโดดเชือกเพื่อสุขภาพ.” คูมือการออกกําลังกายเพื่อ สุขภาพ. กรุงเทพฯ : กรมอนามัย. ศิริรัตน หิรัญรัตน. 2539. สมรรถภาพทางกายและทางกีฬา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาศัลยศาสตร ออรโธปดิกสและกายภาพบําบัด คณะแพทศาสตรศิริราชพยาบาล. สดุดี ภูหองไสย. 2541. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสงเสริมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล. สมหวัง สมใจ. 2520. “การออกกําลังกายและพักผอน.” วารสานสุขภาพสําหรับประชาชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรสมัย. สรัลรัตน พลอินทร. 2543. “ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล การรับรูความสามารถของ ตนเองในการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย และ สภาพแวดลอมของวิทยาลัยกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย.” วารสารเพื่อสุขภาพ. 12(2) : 44-45. สายัณห สุขยิ่ง. 2543. ความตองการการเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกายของครูและ เจาหนาที่โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สิรภัทร โสตถิยาภัย. 2547. ปจจัยที่สัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายกของอาจารย พยาบาลในภาคใต. สงขลา : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา. สิวาณี เซ็ม. 2542. การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายและการเลนกีฬาของนิสิตนักศึกษา ในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ ค.ม. (พลศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.


72 สุดกัญญา ปานเจริญ และปริทรรศน วันจันทร. 2550. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออก กําลังกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย” วารสารสภาการพยาบาล. 22(3): 80-90. สุธี คําคง. 2544. ขอมูลพฤติกรรมดานสุขภาพของประชาชนจังหวัดตรัง. สืบคนเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2552. จาก http://203.157.230.14/Hed/pso6.Htm สุรีย พันธรักษ. 2546. “การศึกษาการออกกําลังกายของนักศึกษาสถาบันราชภัฏ หมูบานจอม บึง ปการศึกษา 2545.” วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึง. 6: 137-144. สุวิมล ตั้งสัจจพจน. 2526. หลักการออกกําลังกาย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เสก อักษรานุเคราะห. 2534. การออกกําลังกายสายกลางเพื่อสุขภาพและชะลอความแก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาศัลยศาสตร ออรโธปดิกสและกายภาพบําบัด คณะแพทศาสตร ศิริราชพยาบาล. อดิศักดิ์ กรีเทพ. 2543. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ทัศนคติตอการออกกําลังกายพฤติกรรมการออก กําลังกาย และผลสัมฤทธิ์ในการแขงขันของนักกรีฑาในกีฬานักเรียนนักศึกษาแหง ประเทศไทยครั้งที่ 20 พ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (พลศึกษา). ขอนแกนบัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. (อัดสําเนา) อนันต อัตชู. 2520. สรีรวิทยาการออกกําลังกาย. กรุงเทพฯ : แผนกวิชาพลศึกษา คณะครุ ศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อวย เกตุสิงห. 2525. “รางกายกับการออกกําลังกาย.” วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และ นันทนาการ. 2: 19. Bloom, Benjamin S. 1964. Taxonomy of Education Objective: The classification of education goals Hand Book 1: Cognitive Domain. New York : David McKay. Brown, SA. 2005. Measuring Perceived Benefits and Perceived Barriers for Physical Activity. American Journal of Health Behavior. 29(2) : 107-116. Courneya, K.S & others. 2000. “Social Support and the Theory of Planned Behavior in the Exprcise Domain.” American Journal of Health Behavior. 24(4): 300-308. Fox, E.L. 1992. Sports physiology. 3rd ed. Dubuque: wm.C.Brown. Green, Lawrence W. & kreuter, Marshall W. 1991. Health Promotion Planning and Education Approach. 2nd ed. Toronto : Mayfield Publishing Company. Grubbs L. & Carter J. “The relationship of Perceived Benefits and Barriers to Reported Exercise Behaviors in College Undergraduates. Fam Community Health. 25(2): 76-84.


73 Hildebrand, K.M. 1996, February. “Relationship between Motivation Factors and Exercise Participation of College Students.” Dissertation Abstracts International. Jones, M. & Nies, M.A. 1996. “The Relationships of Perceived Benefits of and Barriers to Reported Exercise in Older African American Women.” Public Health Nursing. 13(2): 151-158. Lamp, D.R. 1984. Physiology of Exercise. New York : Macmilan Publishing Company. Pender, NJ. 1996. Health Promotion in Nursing Practice. 3rd ed. USA : Appleton & Lange. Pender, Nola J., Murdeuqhand, Carolyn L. and Parsons, Mary Ann. 2006. Health Promotion in Nursing Practice. USA : Pearson Education. Roski, G.S. 1992. Health-related values and their reflection in youngster sport activities during leisure time. Canadian journal of Public Health.


ภาคผนวก แบบทดสอบและแบบสอบถาม


75 แบบทดสอบและแบบสอบถาม เรื่อง ปจจั ยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลั งกายของนัก ศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร คําชี้แจงเกี่ยวกับแบบทดสอบและแบบสอบถาม แบบทดสอบและแบบสอบถามเรื่อง ปจ จัย ที่มีผลตอ พฤติกรรมการออกกําลังกายของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ทั้งหมดมี 9 สวน คือ สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล สวนที่ 2 พฤติกรรมการออกกําลังกาย สวนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย สวนที่ 4 การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย สวนที่ 5 การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย สวนที่ 6 การรับรูภาวะสุขภาพ สวนที่ 7 การรับรูความสามารถแหงตน สวนที่ 8 แรงสนับสนุนทางสังคม สวนที่ 9 แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม แบบทดสอบและแบบสอบถามนี้มี จุด มุง หมายเพื่ อรวบรวมขอ มูล เรื่อ ง พฤติกรรมการ ออกกําลังกายของนัก ศึกษาระดั บ ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เพื่อ นําผลการวิจัยมาใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการออกกําลังกายแกนักศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ซึ่งจะไมสงผลเสียตอผูตอบแบบทดสอบและแบบสอบถามแตอยาง ใด ขอความกรุณาใหทานตอบแบบทดสอบและแบบสอบถามใหครบทุกขอ และตอบตามความ เปนจริงของทานเพื่อประโยชนทางวิชาการ ขอขอบคุณทานที่ไดใหความรวมมือตอบแบบสอบถามนี้ ผูชวยศาสตราจารย วาที่ ร.ต. สมนึก แกววิไล


76 สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคล คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงใน [ ] หนาขอความ หรือเติมขอความในชองวาง ตามความเปนจริงของทาน 1. เพศ 2. คณะทีศ่ ึกษา

3. 4. 5. 6. 7. 8.

[ ] 1. ชาย [ ] 2. หญิง [ ] 1. วิศวกรรมศาสตร [ ] 2. บริหารธุรกิจ [ ] 3. ศิลปศาสตร [ ] 4. ครุศาสตรอุตสาหกรรม [ ] 5. เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน [ ] 6. สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ [ ] 7. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี [ ] 8. เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร [ ] 9. อุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น ทานมีน้ําหนักตัว.........................กิโลกรัม สวนสูง.............................เซนติเมตร จํานวนวันที่ออกกําลังกายตอสัปดาห............................. สถานที่ที่ทานไปออกกําลังกายเปนประจํา............................................................ ชวงเวลาที่ทานออกกําลังกาย [ ] เชา [ ] กลางวัน [ ] เย็น [ ] กลางคืน ทานมีโรคประจําตัวหรือหรือไม [ ] 1. ไมมี [ ] 2. มีโรคประจําตัว โปรดระบุ........................


77 สวนที่ 2 พฤติกรรมการออกกําลังกาย คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตรงกับการปฏิบัติของทานมากที่สุดเพียงขอเดียว ปฏิบัติเปนประจํา หมายถึง พฤติกรรมที่ทานปฏิบัติ 4-5 วันตอสัปดาห ปฏิบัติเปนบางครั้ง หมายถึง พฤติกรรมที่ทานปฏิบัติ 1-3 วันตอสัปดาห ไมเคยปฏิบัติ หมายถึง พฤติกรรมที่ทานไมเคยปฏิบัติเลย ระดับการปฏิบัติ ขอ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ไมเคย ขอความ เปน เปน ปฏิบัติ ที่ ประจํา

1.

ทานมีการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอโดยถือเปน สวนหนึ่งในการดําเนินชีวิตประจําวันของทาน 2. ทานออกกําลังกายครั้งละ 20-30 นาที 3. ทานออกกําลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน 4. ทานอบอุนรางกายกอนออกําลังกายทุกครั้ง 5. ทานออกกําลังกายจนรูสึกวาเหนื่อยและมีเหงื่อออก 6. ทานหยุดออกกําลังกายทันทีเมื่อรูสึกเกิดความ ผิดปกติของรางกาย 7. ทานเลือกกิจกรรมออกกําลังกายที่เหมาะสมกับ สภาพตนเอง 8. ทานนําวิธีการออกกําลังกายบางอยางจากทาง โทรทัศนไปออกกําลังกาย 9. ทานออกกําลังกายเมื่อมีจุดประสงคบางอยาง เทานั้น เชน ตองการใหรางกายไดสัดสวนเหมาะสม 10. ทานออกกําลังกายหลายรูปแบบเพื่อไมใหเกิด ความเบื่อหนาย

บางครั้ง


78 สวนที่ 3 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย คําชี้แจง ใหทําเครือ่ งหมาย  ลงในชองที่ตรงกับความรูสึกของทานเพียงขอเดียว ขอความ 1. ในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่จะเกิดประโยชนตอรางกายมากที่สุดคือขอใด [ ] 1. ออกกําลังกายใหเหนื่อยที่สุด [ ] 2. ออกกําลังกายสม่ําเสมอตามสภาพของรางกาย [ ] 3. ออกกําลังกายในเวลาเดียวกันของทุกวัน [ ] 4. ออกกําลังกายตามความตองการของตนเอง 2. การอบอุนรางกายกอนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพในแตละครั้งควรใชเวลาติดตอกัน มากเทาใด [ ] 1. 3-5 นาที [ ] 2. 5-10 นาที [ ] 3. 10-15 นาที [ ] 4. 15-20 นาที 3. ในการออกกําลังกายแตละครั้ง ทําใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ควรออกกําลังกายเปน เวลานานเทาใด [ ] 1. 5-10 นาที [ ] 2. 10-15 นาที [ ] 3. 20-30 นาที [ ] 4. ไมมีกําหนดที่แนนอน 4. ในแตละสัปดาหควรออกกําลังกายอยางนอยกี่ครั้ง [ ] 1. สัปดาหละ 1 ครั้ง [ ] 2. สัปดาหละ 2 ครั้ง [ ] 3. สัปดาหละ 3 ครั้ง [ ] 4. ไมมีกําหนดแนนอน 5. เหตุใดที่ผูออกกําลังกายเปนประจํา จึงรูสึกเหนื่อยชากวาปกติ [ ] 1. เพราะมีรูปรางไดสัดสวนกวา [ ] 2. สัปดาหละ 2 ครั้ง [ ] 3. เพราะรางกายมีการระบายความรอนที่ดี [ ] 4. เพราะปอดแข็งแรงและมีความสามารถในการรับออกซิเจนไดมากกวา 6. ขอใดเปนการปฏิบัติที่ถูกตองสําหรับผูที่ออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ [ ] 1. ออกกําลังกายวันแรกใหมากแลวคอยๆ ลดลง [ ] 2. ออกกําลังกายวันแรกใหเบาแลวคอยๆ เพิ่มขึ้น [ ] 3. ออกกําลังกายหนักและเบาสลับกันไปมา [ ] 4. ออกกําลังกายตามความสะดวก


79 สวนที่ 4 การรับรูประโยชนของการออกกําลังกาย คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. การออกกําลังกายชวยใหระบบการยอยอาหารดีขึ้น 2. การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอชวยปองกันโรคหัวใจและความดัน โลหิตสูงได 3. การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอชวยกระตุนการทํางานของปอดได 4. ผูที่ออกกําลังกายเปนประจําจะทําใหทํางานไดนานกวาและเหนื่อย นอยกวาคนที่ไมออกกําลังกาย 5. การออกกําลังกายชวยสรางเสริมภูมิคุมกันและปองกันโรค 6. การออกกําลังกายจะชวยชะลอความแก 7. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความเครียดได 8. การออกกําลังกายเปนการเสริมสรางบุคลิกภาพ 9. การออกกําลังกายกอใหเกิดการพัฒนาทางดานสติปญญา สวนที่ 5 การรับรูอุปสรรคของการออกกําลังกาย คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. ทานไมทราบวิธีการออกกําลังกายที่ถูกตอง 2. ทานไมสามารถออกกําลังกายไดเพราะไมมีเวลา 3. ทานไมสามารถออกกําลังกายไดเพราะไมมีอุปกรณในการออก กําลังกาย 4. ทานไมสามารถออกกําลังกายไดเพราะไมมีสถานที่ออกกําลังกาย 5. ทานเลนกีฬาไมเปนจึงทําใหไมอยากออกกําลังกาย 6. ทานไมมีผูสอนหรือแนะนําในการออกกําลังกาย 7. ทานไมออกกําลังกายเพราะไมมีเพื่อน 8. ทานมีสุขภาพไมดี จึงไมควรออกกําลังกาย

2

1

2

1


80 สวนที่ 6 การรับรูภาวะสุขภาพ คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. ทานไมไดเจ็บปวยมาเปนเวลานานแลว 2. ขณะนี้ทานรูสึกวาสุขภาพของตนเองสมบูรณแข็งแรงดี 3. ทานรูสึกวาตนเองเจ็บปวยไดงายกวาคนอื่น 4. เมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ทานมักเจ็บปวยไดงาย 5. ชีวิตของทานมีปญหาเรื่องการเจ็บปวยบอยๆ 6. ทานรูสึกวาตนเองมีภูมิตานทานโรคไดดี 7. ทานหยุดออกกําลังกาย เมื่อมีอากาศผิดปกติของรางกาย สวนที่ 7 การรับรูความสามารถแหงตน คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. ทานสามารถจัดเวลาใหเหมาะสมในการออกกําลังกายได 2. ทานสามารถเลือกกิจกรรมการออกกําลังกายที่เหมาะสมสําหรับ ทาน 3. ทานสามารถใชเวลาวางเพื่อการออกกําลังกาย 4. ทานสามารถออกกําลังกายไดแมไมมีเพื่อน 5. ทานรับรูการออกกําลังกายมีผลตอระบบประสาท ทําใหอวัยวะ ตางๆ สามารถปรับตัวไดสมดุลกัน 6. ทานสามารถเลือกใชอุปกรณและเครื่องแตงกายที่เหมาะสม ผลดีตอ การออกกําลังกาย 7. ทานรับรูวาการออกกําลังกาย จะทําใหศักยภาพในการเคลื่อนไหว ของรางกายดีขึ้น

2

1

2

1


81 สวนที่ 8 แรงสนับสนุนทางสังคม คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. บุคคลในครอบครัวจะกระตุนใหทานออกกําลังกาย 2. เพื่อจะชักชวนทานใหออกกําลังกาย 3. เมื่อทานมีปญหาเรื่องการออกกําลังกาย ทานสามารถขอคําปรึกษา จากผูอื่นได 4. บุคคลในครอบครัวหรือเพื่อนสามารถใหคําปรึกษาเรื่องสุขภาพแก ทานได 5. เพื่อน คนในครอบครัวหรือญาติพี่นองของทานมักคอยดูแลเอาใจใส สอบถามสุขภาพของทาน สวนที่ 9 แรงสนับสนุนทางสิ่งแวดลอม คําชี้แจง โปรดใสเครื่องหมาย  ลงในชองตามความคิดเห็นหรือความรูสึกของทาน 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด 5 4 3 ขอความ 1. มีสถานที่เพื่อใหออกกําลังกายกลางแจง 2. มีสถานที่เพื่อใชออกกําลังกายในรม 3. มีการจัดหองพักผอนหลังการออกกําลังกาย 4. มีหองอาบน้ํา หองสวม สําหรับผูออกกําลังกาย 5. มีหองแตงตัวพรอมตูเก็บของ สําหรับเปลี่ยนเครื่องแตงกาย 6. มีหองปฐมพยาบาลสําหรับผูบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย 7. มีการจัดน้ําดื่มไวบริการ 8. มีอุปกรณตรวจสอบรางกาย เชน ที่วัดสวนสูง เครื่องชั่งน้ําหนัก 9. มีอุปกรณกีฬาตางๆ ไวบริหาร 10. สถานที่ออกกําลังกายมีความสะอาด

2

1

2

1


80

ประวัติผูวิจัย 1. ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) ผูชวยศาสตราจารย วาที่รอยตรี สมนึก แกววิไล ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Assist. Prof. Somnuk Keawvilai 2. เลขหมายบัตรประจําตัวประชาชน : 3141400302432 3. ตําแหนงปจจุบัน : ผูชวยศาสตราจารย ระดับ 8 ผูชวยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4. หนวยงานที่สามารถติดตอไดสะดวกพรอมหมายเลขโทรศัพท โทรสาร และ E-mail สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 86 ถนนพิษณุโลก แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร : 022829101-2 โทรสาร : 022811838 E-mail : Somnuk_bcc@hotmail.com 5. ประวัติการศึกษา : - การศึกษาบัณฑิต (พลศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พลศึกษา - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(การจัดการและบริหารองคการ) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย - วิทยาลัยเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด 7. ประสบการณที่เกี่ยวของกับงานวิจัย 7.1 รหัสนักวิจัย : 46000071 7.2 งานวิจัยที่ทําแลวเสร็จ : 1. ความรู เจตคติและพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับโรคเอดสของนัก ศึกษา สถาบั น เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร งบประมาณเงินผลประโยชนประจําป 2543 2. ความรูและการรับรูเกี่ยวกับยาเสพติดของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนคร งบประมาณเงินผลประโยชนประจําป 2546 3. ทัศนคติ และการยอมรับของนักศึ กษาตอการนําเสนอข าวสารดานการปองกั น ยาเสพติ ดของสถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคล วิ ท ยาเขตในกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล งบประมาณเงินผลประโยชนประจําป 2546 (หัวหนาโครงการวิจัย) 4. ปจจัยที่มีผ ลตอยุท ธศาสตรการปลุกพลังแผนดินและการปองกันยาเสพติดใน ชุมชน งบประมาณเงินผลประโยชนประจําป 2547 (หัวหนาโครงการวิจัย)


81 5. ความรูและทัศนคติของนักศึก ษามหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร เกี่ ย วกั บ การไปใช สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง งบประมาณเงิ น ผลประโยชน ป ระจํ า ป 2549 (หั ว หน า โครงการวิจัย) 6. การปฏิ บั ติ ตนทางจริ ยธรรมตามการรั บรู ของนั กศึ กษา สาขาบริ หารธุ รกิ จใน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพณิชยการพระนครงบประมาณเงินผลประโยชนประจําป 2549 (หัวหนาโครงการวิจัย) 7. สภาพปญ หาและแนวทางการพั ฒ นาคุ ณ ธรรมของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร งบประมาณเงินผลประโยชน ประจําป 2549 (ผูวิจัยรวม) 8. ป จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ พฤติ ก รรมการมี วิ นั ย ของนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร วิ ทยาเขตพณิ ชยการพระนคร งบประมาณเงิ น ผลประโยชน ประจําป 2549 (ผูวิจัยรวม) 9. ความรู ความเขาใจเกี่ยวกั บประชาธิ ปไตยของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร งบประมาณแผนดินประจําป 2550 (หัวหนาโครงการวิจัย)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.