ฟุตซอลโลก 2012 Unofficial Guide Book
หนังสือไกด์บุ๊คศึกฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012 ฉบับไม่เป็นทางการ
24 ทีม 52 นัด 1 แชมเปี้ยน ฟัลเกา ทีมชาติบราซิล เฟอร์นานเดา ทีมชาติสเปน
คาร์ลอส มอร์กาโด & ซาอัด อัสซิส ทีมชาติอิตาลี
ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง ทีมชาติไทย
ฟุตซอลโลก 2012 Unofficial Guide Book ดามันสกี้
คำ�นำ�
นับเป็นการโอกาสอันดียิ่งที่ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก “ฟีฟ่า ฟุตซอล เวิลด์ คัพ ไทยแลนด์ 2012” ตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยกรุงเทพมหานคร และ นครราชสีมา รับหน้าที่เป็นเมืองเจ้าภาพ ซึ่งการแข่งขันฟุตซอลโลกที่ประเทศไทยนี้ ก็นับเป็นครั้งที่ 7 แล้ว ที่มีการจัดการแข่งขันขึ้น นับตั้งแต่การ แข่งขันครั้งแรกที่เนเธอร์แลนด์เมื่อปี พ.ศ. 2535 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน รวมทั้งเป็นประเทศที่สาม ถัดจากฮ่องกง และ ไต้หวัน ที่มีโอกาสได้จัดเกมการแข่งขันฟุตซอลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย ท่ามกลางการเติบโตขึ้นเรื่อยๆของวงการฟุตซอลของโลก ซึ่งทำ�ให้ฟุตซอลโลกที่ไทยต้องเจอกับจุดเปลี่ยน ที่สำ�คัญหลายอย่างเช่น การเพิ่มทีมในรอบสุดท้ายเป็น 24 ทีม และปรับการแข่งขันออกเป็น 6 สาย ทำ�ให้ต้องมี สนามรองรับการแข่งขันมากขึ้น เมื่อสนามฟุตซอลระดับมาตรฐานฟีฟ่าที่มีอยู่ มีไม่เพียงพอ จึงนำ�ไปสู่การสร้างสนาม แบงค็อก ฟุตซอล อารีน่า จนกลายเป็นประเด็นใหญ่ในช่วงโค้งสุดท้ายก่อนการแข่งขัน รวมไปถึงมาตรฐานด้านฟุต ซอลของแต่ละชาติ แต่ละทวีป ที่เริ่มขยับเข้าใกล้กันมากยิ่งขึ้น เกมการแข่งขันเต็มไปด้วยความเร้าใจ มีกลยุทธ์ที่ซับ ซ้อนยิ่งขึ้น และแน่นอนว่าผู้ชมที่สนใจฟุตซอลทั่วโลกก็ย่อมมีมากขึ้นด้วย ส่วนในไทย การที่ฟุตซอลโลกมาอยู่ในแผ่นดินไทยได้นั้น ย่อมทำ�ให้กีฬาฟุตซอล ซึ่งคนไทยคุ้นเคยในทุก ระดับ ไม่ว่าจะสนามปูนใต้สะพานลอย หรือสนามหญ้าเทียมในสนามฟุตบอลให้เช่าก็ตาม แต่แทบทุกคนที่เข้าถึงมัน และคงได้สนุกสนานไกับช่วงเวลาร่วมสองสัปดาห์กว่าๆ กับความเร้าใจ และลีลาการเล่นของ 24 ทีมจากทั่วทุกมุม โลก
ผลงานนี้ ใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ ดัดแปลง 3.0 ต้นฉบับ CREATE BY ADOBE INDESIGN CS4
4
ฟุตซอลโลก 2012 - Unofficial Guide Book
แต่ก็อย่างที่หลายคนทราบกันอีก แม้เวลาที่เราจะได้ซึมซับบรรยากาศฟุตซอลโลกใกล้เข้าไปแค่ไหน แต่การ ประชาสัมพันธ์กลับมีน้อยมากๆ ชนิดที่หลายคนยังไม่รู้ด้วยซ้ำ�ว่ามี หลายคนก็รู้แต่ข่าวสนามอลังการงานสร้าง ราคา ร่วมพันล้านแห่งนั้นที่สร้างไม่ทันแข่งรอบแรก ให้ได้อับอายไปทั่วโลก หลายคนยังไม่รู้ว่าเขาแข่งกันวันไหน หลายคน ยังไม่รู้เลยว่ามีทีมไหนมาแข่งบ้าง นั่นจึงเป็นที่มาของหนังสือเล่มที่ท่านกำ�ลังอ่านอยู่นี้ครับ ด้วยความที่ผมชอบอ่าน ชอบเขียน และชอบทำ�หนังสือเป็นต้นทุนเดิม โดยส่วนตัวมีความตั้งใจที่จะทำ� หนังสือที่เกี่ยวกับฟุตบอล ซึ่งในเมืองไทยยังถือว่าไม่ค่อยมีหนังสือฟุตบอลมากนัก เมื่อเทียบกับประเทศที่เสพย์ติด ฟุตบอลอื่นๆ ประกอบหงุดหงิดเล็กน้อยถึงปานกลาง ในการประชาสัมพันธ์การแข่งขันฟุตซอลโลกของฝ่ายจัดการ แข่งขัน ที่อยากส่ายหน้าให้อย่างไม่มีข้อโต้เถียง ทั้งที่ฟุตซอลโลกไม่ใช่มหกรรมกีฬาที่คิดจะจัดเมื่อไหร่ก็กวักมือเรียก ชาติอื่นเขามาแข่งได้ ดังนั้น เพื่อให้เข้ากับบรรยากาศฟุตซอลโลกที่ใกล้จะมาถึง ผมจึงได้ทำ�หนังสือเล่มนี้ขึ้น เพื่อ เป็นไกด์คร่าวๆในการติดตามชมฟุตซอลโลกอย่างถึงอรรถรส ไม่ว่าจะเป็นประวัติความเป็นมาต่างๆของฟุตซอลโลก ขุนพลทั้ง 24 ทีมที่จะลงดวลแข้งกันในศึกครั้งนี้ รวมทั้งเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยต่างๆ ที่คุณสามารถเอาไปเปิดประเด็นกับ เพื่อนๆยามยกพลกันไปดูฟุตซอลโลกติดขอบสนาม หรือเอาไว้คุยกับพ่อแม่พี่น้องยามดูฟุตซอลผ่านจอทีวีที่บ้านก็ได้ เช่นกัน เนื่องจากหนังสือเล่มนี้ เป็นการทำ�แบบ one man book คือหนังสือถูกทำ�โดยคนเพียงคนเดียวทุกขั้นตอน ซึ่งก็คือผม ไม่ว่าเป็นการเขียนบทความ การแปล การจัดรูปหน้า และอัพโหลดไฟล์ ดังนั้นหากเนื้อหาหรือเทคนิค ต่างๆในหนังสือมีข้อผิดพลาดประการใด ผมขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย และหวังว่าคุณๆท่านๆจะได้สนุกสนานและมี ความสุขในการอ่านหนังสือเล่มนี้ ซึ่งผมในฐานะนักเขียนสมัครเล่น ตั้งใจจะทำ�ขึ้นมาให้เป็นคู่มือประกอบการดูฟุต ซอลโลกที่มีประโยชน์สำ�หรับแฟนลูกกลมๆชาวไทยทุกท่าน
ขอบคุณที่ใช้บริการ สรพงศ์ อ่องแสงคุณ (โน้ต), ดามันสกี้ 13 ตุลาคม 2555
เรียบเรียงเนื้อหา / จัดเลย์เอาต์ พิสูจน์อักษร แหล่งข้อมูล/ภาพประกอบหนังสือ ติดต่อ
: สรพงศ์ อ่องแสงคุณ : สรพงศ์ อ่องแสงคุณ : cliqueesporte.blogspot.com facebook.com/ThaiFutsal fifa.com futsal4all.com futsalleage-blogspot.com futsalplanet.com smm-online.com soccersuck.com the-afc.com thenational.ae uefa.com damansky-football.exteen.com facebook.com/footballhardcorepage facebook.con/damanskypage ivan.damansky@gmail.com
ฟุตซอลโลก 2012 - Unofficial Guide Book
5
สารบัญ สถิติ สนามแข่งขัน การแข่งขันที่ผานมา รอบคัดเลือก เอเชีย 16 แอฟริกา 18 อมเริกาเหนือ 19 อเมิรกาใต้ 20 โอเชียเนีย 22 ยุโรป 23 อันดับโลก รอบสุดท้าย กลุ่ม เอ 32 กลุ่ม บี 36 กลุ่ม ซี 40 กลุ่ม ดี 44 กลุ่ม อี 48 กลุ่ม เอฟ 52 รายชื่อผู้เล่น โปรแกรมการแข่งขัน
8 11 12 14
29 30
56 68
www.skyscrapercity.com - Photo by eddy
วิคเตอร์ เฮอร์มันน์ โค้ชทีมชาติไทย (ภาพจาก thaileagueonline.com)
สถิติ สิ่งที่คุณควรรู้เกี่ยวกับฟุตซอลโลก
ข้อมูลจาก fifa.com
1. 6 ทีมน้องใหม่ในฟุตซอลโลก 2012 คือ โคลัมเบีย คูเวต เม็กซิโก โมรอคโค ปานามา และเซอร์เบีย 2. ฟุตซอลโลก 2008 ที่บราซิล สร้างสถิติยอดผู้ชมสูงสุดรวมทุกนัด 292,161 คน ตามมาด้วย กัวเตมาลา 200 สถิติอยู่ที่ 224,038 คน แต่หากนับเฉลี่ยต่อเกมแล้ว ฟุตซอล โลกที่กัวเตมาลา มีผู้ชมเฉลี่ยมากกว่า บราซิล เพราะ ที่กัวเตมาลา มีเกมการแข่งขัน 40 นัด ส่วนบราซิล 56 นัด ซึ่งผลค่าเฉลี่ย กัวเตมาลา 2000 อยู่ที่ 5,601 คน/เกม ส่วนบราซิล 2008 อยู่ที่ 5,217 คน/เกม 3. เอเชีย เป็นทวีปที่จัดฟุตซอลโลกมากที่สุดจนถึงขณะนี้ โดยจัดมาแล้ว 3 ครั้ง (ฮ่องกง 1992 ไต้หวัน 2004 และ ไทย 2012) ตามมาด้วยทวีปยุโรป (เนเธอร์แลนด์ 1989 และสเปน 1996) ส่วนอเมริกาใต้ (บราซิล 2008) และอเมริกาเหนือ/กลาง (กัวเตมาลา 2000) จัดมาทวีปละครั้ง 4. 43 ทีมที่มีส่วนกับฟุตซอลโลก รวมถึงในไทยแลนด์ 2012 นี้ด้วย มีเพียง 3 ชาติที่เคยเข้าร่วมฟุตซอลโลกครบทุกสมัยคือ สเปน บราซิล และอาร์เจนติน่า 5. 3 เกมที่จบลงด้วยการดวลจุดโทษชี้ขาด 6. มานูเอล โทเบียส ผู้เล่นจากบราซิล เป็นผู้เล่นหนึ่งเดียวในฟุตซอลโลกที่เคยได้ ตำ�แหน่งดาวซัลโว 2 สมัย 7. 12 ผู้เล่น จากสหรัฐ (6) แอลจีเรีย แคนาดา จีน คอสตาริกา และเดนมาร์ก เคยลงเล่นทั้งในฟุตบอลโลก และฟุตซอลโลก 8. แท็บ รามอส ผู้เล่นสหรัฐอเมริกา เคยติดทีมชาติสหรัฐชุดฟุตซอลโลก 1989 ต่อมาได้ไปเล่นสนามใหญ่ในฟุตบอลโลก 1990 1994 และ 1998 9. ลัคดาร์ เบลลูมี่ ของแอลจีเรีย และ ไบรอัน เลาดรูป ของเดนมาร์ก เป็นผู้เล่น ที่เคยทำ�ประตูได้ทั้งใน ฟุตบอลโลก และฟุตซอลโลก 10. ฟุตซอลโลก 1989 ที่เนเธอร์แลนด์ เป็นฟุตซอลโลกหนเดียวที่มีการแข่งขัน เกมละ 50 นาที แบ่งครึ่งละ 25 นาที ก่อนจะมาเปลี่ยนกติกาในปี 1992 ที่ฮ่องกง ให้แข่งขัน เหลือเกมละ 40 นาที ครึ่งละ 20 นาที จนถึงปัจจุบัน 8
แมตช์แรกในฟุตซอลโลก 5 มกราคม 1989 เนเธอร์แลนด์ 4-2 เดนมาร์ก
ผู้ชม 6,000 คน
ประตูแรกในฟุตซอลโลก 5 มกราคม 1989 เนเธอร์แลนด์ 4-2 เดนมาร์ก มาริโอ ฟาเบอร์ (เนเธอร์แลนด์) นาทีที่ 12 จุดโทษแรกในฟุตซอลโลก 5 มกราคม 1989 เนเธอร์แลนด์ 4-2 เดนมาร์ก เคิร์ต จอร์เกนเซ่น (เดนมาร์ก) นาทีที่ 42 ไล่ออกครั้งแรกในฟุตซอลโลก 6 มกราคม 1989 แคนาดา 1-3 อาร์เจนติน่า กาเบรียล บาลาดิน (อาร์เจนติน่า) นาทีที่ 37 ใบเหลืองแรกในฟุตซอลโลก 5 มกราคม 1989 ปารากวัย 5-0 แอลจีเรีย เชริฟ กูเอ็ตไต (แอลจีเรีย) นาทีที่ 21 แมตช์ต่อเวลาแรกในฟุตซอลโลก 14 มกราคม 1989 เบลเยี่ยม 1-1 บราซิล ต่อเวลา เสมอ 3-3 จุดโทษ บราซิล ชนะ 5-3
รอบรองชนะเลิศ
9
หลักไมล์การทำ�ประตูในฟุตซอลโลก ประตู ที่ 1 5 มกราคม 1989 มาริโอ ฟาเบอร์ (เนเธอร์แลนด์) เนเธอร์แลนด์ - เดนมาร์ก ประตู ที่ 100 8 มกราคม 1989 หลุยส์ ยาร่า (ปารากวัย) เนเธอร์แลนด์ - ปารากวัย ประตู ที่ 500 27 พฤศจิกายน 1992 เซยเยด อับตาฮี (อิหร่าน) อิหร่าน - สหรัฐอเมริกา ประตูที่ 1,000 23 พฤศจิกายน 2000 วลาดิสลาฟ ชุชโก้ (รัสเซีย) รัสเซีย - ออสเตรเลีย ประตูที่ 1,500 5 ตุลาคม 2008 โมฮัมเหม็ด ฮาสเฮมซาเดห์ (อิหร่าน) อิหร่าน - ลิเบีย ประตู ที่ 1,722 19 ตุลาคม 2008 อัลบาโร่ (สเปน) บราซิล - สเปน
10
สกอร์ยอดนิยม 4-1 2-1 4-2 3-1 2-2 3-2 6-2 3-0
22 17 17 13 12 11 11 10
ทีมที่พบกันบ่อยที่สุดในฟุตซอลโลก บราซิล -สเปน 6 บราซิล -อาร์เจนติน่า 5 บราซิล - รัสเซีย 4 บราซิล - สหรัฐอเมริกา 4 อิหร่าน - สเปน 4 อิตาลี - สเปน 4 อิตาลี - สหรัฐอเมริกา 4 รัสเซีย - สเปน 4
สนามแข่งขัน แบงค็อก ฟุตซอล อารีน่า ที่ตั้ง : เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ใช้แข่งขันในเกมรอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่สาม และรอบ ชิงชนะเลิศ
นิมิบุตร ที่ตั้ง : เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ใช้แข่งขันในเกมรอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มดี กลุ่มเอฟ นัดสุดท้าย กลุ่มบี กลุ่มอี และรอบ 16 ทีมสุดท้าย
อินดอร์ สเตเดี้ยม หัวหมาก ที่ตั้ง : เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ใช้แข่งขันในเกมรอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มเอ กลุ่มบี กลุ่มอี นัดสุดท้ายกลุ่มซี กลุ่มดี กลุ่มเอฟ รอบ 16 ทีม สุดท้าย และรอบก่อนรองชนะเลิศ
ชาติชาย ฮอลล์ ที่ตั้ง : จังหวัดนครราชสีมา ใช้แข่งขันในเกมรอบแบ่งกลุ่ม กลุ่มซีี นัด สุดท้ายกลุ่มเอ และรอบ 16 ทีมสุดท้าย 11
การแข่งขันที่ผ่านมา เนเธอร์แลนด์ 1989 แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
บราซิล รองแชมป์ สหรัฐอเมริกา อันดับสี่ ลาสโล่ ซาดานยี่ (ฮังการี)
เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม
ฮ่องกง 1992 แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
บราซิล รองแชมป์ สหรัฐอเมริกา สเปน อันดับสี่ อิหร่าน ซาอิด ราจาบี้ ชิราซี่ (อิหร่าน)
สเปน 1996 แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
บราซิล รองแชมป์ รัสเซีย อันดับสี่ มานูเอล โทเบียส (บราซิล)
สเปน ยูเครน
กัวเตมาลา 2000 แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
สเปน รองแชมป์ โปรตุเกส อันดับสี่ มานูเอล โทเบียส (บราซิล)
บราซิล รัสเซีย
ไต้หวัน 2004 12
แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
สเปน รองแชมป์ บราซิล อันดับสี่ ฟัลเกา (บราซิล)
อิตาลี อาร์เจนติน่า
บราซิล 2008 แชมป์ อันดับสาม ดาวซัลโว
บราซิล รองแชมป์ อิตาลี อันดับสี่ ปูล่า (รัสเซีย)
สเปน รัสเซีย
13
รอบ คัดเลือก
กว่าจะได้ 24 ยอดทีม ที่เข้ามาประชันแข้งกันในรอบสุดท้ายที่ ประเทศไทย ถ้านอกเหนือจาก เจ้าภาพ อย่างไทยแล้ว อีก 23 ทีมที่เหลือ จะ ต้องฝ่าด่านรอบคัดเลือกของแต่ละทวีป เพื่อช่วงชิงตั๋วรอบสุดท้ายฟุตซอล โลก 2012 มาให้ได้ โดยรอบคัดเลือกของทวีปต่างๆก็มีรุปแบบที่แตกต่างกัน ออกไป ทั้งการคัดเลือกผ่านศึกชิงแชมป์ประจำ�ทวีป หรือแยกมาคัดเลือกฟุต ซอลโลกโดยเฉพาะ ซึ่งเส้นทางการคัดเลือกแต่ละเส้นทาง ล้วนหนักหน่วง จนได้ทีมคุณภาพสูงที่จะเข้ามาต่อสู้กันในรอบสุดท้าย ข้อมูลรอบคัดเลือกจาก : FIFA Futsal World Cup Statistical Kit เว็บไซต์ FIFA.com
โซนเอเชีย : เอเอฟซี
เอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปี้ยนชิพ 2012 สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์
กลุ่ม เอ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ ไทย 3 3 0 0 11 คีร์กิซสถาน 3 2 0 1 5 สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ 3 1 0 2 6 เติร์กเมนิสถาน 3 0 0 3 3 25.05.2012 25.05.2012 26.05.2012 26.05.2012 27.05.2012 27.05.2012
สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ ไทย เติร์กเมนิสถาน สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ คีร์กิซสถาน
กลุ่ม บี ญี่ปุ่น เลบานอน ทาจิกิสถาน ไต้หวัน 25.05.2012 25.05.2012 26.05.2012 26.05.2012 27.05.2012 27.05.2012
25.05.2012 25.05.2012 26.05.2012 26.05.2012 27.05.2012 27.05.2012
16
เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ไทย คีร์กิซสถาน ไทย เติร์กเมนิสถาน
ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง คะแนน 3 3 0 0 15 4 +11 9 3 2 0 1 7 6 +1 6 3 1 0 2 8 12 -4 3 3 0 0 3 7 15 -8 0
ญี่ปุ่น ไต้หวัน เลบานอน ทาจิกิสถาน ญี่ปุ่น ทาจิกิสถาน
กลุ่ม ซี อิหร่าน ออสเตรเลีย กาตาร์ เกาหลีใต้
3-1 2-0 1-5 1-3 2-4 2-1
เสีย ผลต่าง คะแนน 3 +8 9 4 +1 6 8 -2 3 10 -7 0
3-2 4-6 3-2 1-6 6-1 1-2
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ 3 3 0 0 31 3 2 0 1 9 3 1 0 2 7 3 0 0 3 4
ออสเตรเลีย อิหร่าน เกาหลีใต้ กาตาร์ อิหร่าน กาตาร์
3-1 14-1 0-6 0-8 9-0 6-3
เลบานอน ทาจิกิสถาน ไต้หวัน ญี่ปุ่น ไต้หวัน เลบานอน
ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ
เสีย ผลต่าง คะแนน 1 +30 9 10 -1 6 14 -7 3 26 -22 0 กาตาร์ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อิหร่าน ออสเตรเลีย เกาหลีใต้
ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ
กลุ่ม ดี คูเวต อุซเบกิสถาน จีน อินโดนีเซีย 25.05.2012 25.05.2012 26.05.2012 26.05.2012 27.05.2012 27.05.2012
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง คะแนน 3 2 1 0 15 4 +11 7 3 2 1 0 12 3 +9 7 3 1 0 2 6 9 -3 3 3 0 0 3 6 23 -17 0
อุซเบกิสถาน อินโดนีเซีย คูเวต จีน อุซเบกิสถาน จีน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
29.05.2012 29.05.2012 29.05.2012 29.05.2012
ไทย อิหร่าน ญี่ปุ่น คูเวต (เวลาปกติเสมอ 2-2)
รอบก่อนรองชนะเลิศ
30.05.2012 30.05.2012
ไทย (เวลาปกติเสมอ 3-3) ญี่ปุ่น
รอบชิงอันดับสาม 01.06.2012
อิหร่าน
1-1 2-5 9-3 1-2 9-1 0-5
คูเวต จีน อินโดนีเซีย อุซเบกิสถาน อินโดนีเซีย คูเวต
ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ
5-3 6-3 1-0 2-3
เลบานอน อุซเบกิสถาน คีร์กิซสถาน ออสเตรเลีย
ดูไบ ดูไบ ดูไบ ดูไบ
5-4
อิหร่าน
ดูไบ
3-0
ออสเตรเลีย
ดูไบ
4-0
ออสเตรเลีย
ดูไบ
รอบชิงชนะเลิศ
01.06.2012 ญี่ปุ่น 6-1 ไทย ดูไบ ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย : ไทย (เจ้าภาพ) ญี่ปุ่น อิหร่าน ออสเตรเลีย
คูเวต
www.futsal4all.com www.the-afc.com
www.thenational.ae
www.the-afc.com
17
โซนแอฟริกา : ซีเอเอฟ ฟุตซอลโลกรอบคัดเลือกโซนแอฟริกา
รอบคัดเลือกมีสามรอบ โดยจะมีทีมวางในแต่ละรอบ อันเนื่องมาจากการยกเลิกการแข่งขัน แอฟริ กัน ฟุตซอล แชมเปี้ยนชิพ 2011 เพราะบูร์กิน่า ฟาโซ ถอนตัวจากการเป็นเจ้าภาพ รอบแรก 08.04.2012
ซิมบับเว
5-2
ซูดาน
ชิตุงซิวา
แอฟริกาใต้ โมซัมบิก ตูนีเซีย
4-2 1-3 1-4
ซิมบับเว แซมเบีย อียิปต์
เทิร์ฟฟอนเตน (แอฟริกาใต้) มาปูโต ลา กวตเต้
รอบสอง
นัดแรก 05.05.2012 05.05.2012 06.05.2012 นัดสอง 18.05.2012 19.05.2012 20.05.2012
อียิปต์ 5-2 ตูนีเซีย (ผลสองนัด 9-3) ซิมบับเว 1-1 แอฟริกาใต้ (ผลสองนัด 3-5) แซมเบีย 1-3 โมซัมบิก (ผลสองนัด 4-4 โมซัมบิกชนะจุดโทษ 5-4)
ไดโร เทิร์ฟฟอนเตน (แอฟริกาใต้) ลูซาก้า
รอบสาม
นัดแรก 08.06.2012 อียิปต์ 8-2 ไนจีเรีย ไคโร 09.06.2012 ลิเบีย 4-0 แอฟริกาใต้ ลา กวตเต้ 09.06.2012 โมซัมบิก 2-6 โมรอคโค มาปูโต นัดสอง --.--.---- ไนจีเรีย - อียิปต์ (ไนจีเรียถอนตัว อียิปต์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยไม่ต้องแข่งนัดสอง ด้วยประตูรวม 8-2) 23.06.2012 โมรอคโค 1-4 โมซัมบิก ราบาต (โมรอคโค ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ด้วยประตูรวม 7-6) 23.06.2012 แอฟริกาใต้ 4-6 ลิเบีย โซเวโต (ลิเบีย ผ่านเข้ารอบสุดท้าย ด้วยประตูรวม 10-4) ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย : อียิปต์ โมรอคโค ลิเบีย
18
www.futsalplanet.com
www.fifa.com facebook.com/ThaiFutsal
โซนคอนคาเคฟ
คอนคาเคฟ ฟุตซอล แชมเปี้ยนชิพ 2012 กัวเตมาลา
รอบเพลย์ออฟ
28.06.2012 29.06.2012
แคนาดา เอล ซัลวาดอร์
1-4 2-6
เอล ซัลวาดอร์ แคนาดา
กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้
02.07.2012 02.07.2012 03.07.2012 03.07.2012 04.07.2012 04.07.2012
สหรัฐอเมริกา กัวเตมาลา แคนาดา กัวเตามาลา ปานามา กัวเตมาลา
2-5 7-3 2-3 5-2 8-5 2-1
ปานามา แคนาดา สหรัฐอเมริกา ปานามา แคนาดา สหรัฐอเมริกา
กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้
กลุ่ม เอ กัวเตมาลา ปานามา สหรัฐอเมริกา แคนาดา
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ 3 3 0 0 14 3 2 0 1 15 3 1 0 2 6 3 0 0 3 10
กลุ่ม บี แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ คอสตาริกา 3 2 1 0 13 เม็กซิโก 3 2 1 0 14 คิวบา 3 1 0 2 12 เซนต์คิตส์ แอนด์เนวิส 3 0 0 3 5 02.07.2012 02.07.2012 03.07.2012 03.07.2012 04.07.2012 04.07.2012
เม็กซิโก เซนต์ คิตส์ แอนด์ เนวิส เม็กซิโก คิวบา คอสตาริกา คิวบา
รอบรองชนะเลิศ
เสีย ผลต่าง คะแนน 6 +8 9 12 +3 6 9 -3 3 18 -8 0
เสีย ผลต่าง คะแนน 6 +7 7 9 +5 7 7 +5 3 22 -17 0
4-4 0-10 5-4 1-2 7-1 1-5
คอสตาริกา คิวบา เซนต์ คิตส์ แอนดื เนวิส คอสตาริกา เซนต์ คิตส์ แอนด์ เนวิส เม็กซิโก
กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้
06.07.2012 06.07.2012
คอสตาริกา กัวเตมาลา
4-1 3-0
ปานามา เม็กซิโก
กัวเตมาลา ซิตี้ กัวเตมาลา ซิตี้
08.07.2012
ปานามา (เสมอในเวลาปกติ 4-4)
6-4
เม็กซิโก
กัวเตมาลา ซิตี้
กัวเตมาลา กัวเตมาลา
กัวเตมาลา ซิตี้ ปานามา เม็กซิโก
รอบชิงอันดับสาม รอบชิงชนะเลิศ
08.07.2012 คอสตาริกา 3-2 ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย : คอสตาริกา
19
โซนอเมริกาใต้ : คอนเมโบล ฟุตซอลโลกรอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้
กลุ่ม เอ บราซิล อาร์เจนติน่า ชิลี เปรู โบลิเวีย
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ 4 4 0 0 37 4 3 0 1 16 4 1 1 2 11 4 1 1 2 9 4 0 0 4 6
กลุ่ม บี โคลัมเบีย ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอล่า เอกวาดอร์
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ 4 3 0 1 19 4 3 0 1 15 4 2 0 2 13 4 2 0 2 12 4 0 0 4 9
เสีย ผลต่าง คะแนน 1 +36 12 5 +11 9 20 -9 4 20 -11 4 33 -27 0
15.04.2012 15.04.2012 16.04.2012 16.04.2012 17.04.2012 17.04.2012 18.04.2012 18.04.2012 19.04.2012 19.04.2012
บราซิล อาร์เจนติน่า อาร์เจนติน่า บราซิล ชิลี บราซิล อาร์เจนติน่า ชิลี เปรู บราซิล
15-1 6-0 6-2 9-0 4-4 3-0 4-0 7-0 5-3 10-0
โบลิเวีย ชิลี โบลิเวีย เปรู เปรู อาร์เจนติน่า เปรู โบลิเวีย โบลิเวีย ชิลี
กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้
15.04.2012 15.04.2012 16.04.2012 16.04.2012 17.04.2012 17.04.2012 18.04.2012 18.04.2012 19.04.2012 19.04.2012
อุรุกวัย ปารากวัย ปารากวัย โคลัมเบีย เวเนซุเอล่า อุรุกวัย เวเนซุเอล่า โคลัมเบีย ปารากวัย เอกวาดอร์
2-1 3-0 6-0 3-1 5-4 8-4 6-5 7-2 4-2 0-5
เวเนซุเอล่า เอกวาดอร์ เวเนซุเอล่า อุรุกวัย โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย โคลัมเบีย
กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้ กรามาโด้
20
เสีย ผลต่าง คะแนน 8 +11 9 9 +6 9 12 +1 6 17 -5 6 22 -13 0
รอบชิงอันดับเก้า 21.04.2012
โบลิเวีย
5-4
รอบรองชนะเลิศ
เอกวาดอร์
กรามาโด้
21.04.2012 21.04.2012
โคลัมเบีย บราซิล
0-1 3-5
อาร์เจนติน่า ปารากวัย
กรามาโด้ กรามาโด้
22.04.2012
ชิลี
1-3
อุรุกวัย
กรามาโด้
5-1
โคลัมเบีย
กรามาโด้
22.04.2012 อาร์เจนติน่า 1-1 (จุดโทษ 7-6) ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย : อาร์เจนติน่า
ปารากวัย
กรามาโด้
รอบชิงอันดับห้า
รอบชิงอันดับสาม 22.04.2012
บราซิล
รอบชิงชนะเลิศ
ปารากวัย
บราซิล
www.smm-online.com
โคลัมเบีย
www.smm-online.com
cliqueesporte.blogspot.com
21
โซนโอเชียเนีย : โอเอฟซี โอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปี้ยนชิพ 2011 ฟิจิ
กลุ่ม เอ นิวซีแลนด์ วานูอาตู ฟิจิ คิริบาติ 16.05.2011 16.05.2011 17.05.2011 17.05.2011 18.05.2011 18.05.2011
แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ 3 2 1 0 31 3 2 0 1 18 3 1 1 1 28 3 0 0 3 6
วานูอาตู ฟิจิ คิริบาติ ฟิจิ ฟิจิ นิวซีแลนด์
9-2 4-4 1-21 2-5 22-3 6-4
กลุ่ม บี แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ หมู่เกาะโซโลมอน 3 3 0 0 30 ตาฮิติ 3 1 1 1 8 นิว คาลิโดเนีย 3 1 1 1 18 ตูวาลู 3 0 0 3 1 16.05.2011 16.05.2011 17.05.2011 17.05.2011 18.05.2011 18.05.2011
ตาฮิติ หมู่เกาะโซโลมอน ตูวาลู หมู่เกาะโซโลมอน นิว คาลิโดเนีย ตูวาลู
6-0 13-5 1-11 1-0 2-2 0-16
เสีย ผลต่าง คะแนน 9 +22 7 10 +8 6 12 +16 4 52 -46 0 คิริบาติ นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ วานูอาตู คิริบาติ วานูอาตู
เสีย ผลต่าง คะแนน 5 +25 9 3 +5 4 16 +2 4 33 -32 0 ตูวาลู นิว คาลิโดเนีย นิว คาลิโดเนีย ตาฮิติ ตาฮิติ หมู่เกาะโซโลมอน
ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา
นิวซีแลนด์ 3-3 ตาฮิติ (เสมอกันหลังต่อเวลา 2-2 จุดโทษ 3-4) หมู่เกาะโซโลมอน 13-1 วานูอาตู
ซูวา
รอบรองชนะเลิศ
19.05.2011 19.05.2011
รอบชิงอันดับสาม
20.05.2011
ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา ซูวา
นิวซีแลนด์ (จุดโทษ 5-4)
วานูอาตู
ซูวา
10.05.2011 หมู่เกาะโซโลมอน 6-4 ตาฮิติ ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย : หมู่เกาะโซโลมอน
ซูวา
รอบชิงชนะเลิศ
22
1-1
ซูวา
โซนยุโรป : ยูฟ่า ฟุตซอลโลกรอบคัดเลือกโซนยุโรป รอบแบ่งกลุ่มรอบแรก กลุ่ม เอ (ทลิบิซี่, จอร์เจีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ มอลโดวา 3 1 2 0 14 จอร์เจีย 3 1 2 0 14 อาร์เมเนีย 3 1 2 0 8 มอลตา 3 0 0 3 0 20.10.2011 20.10.2011 21.10.2011 21.10.2011 23.10.2011 23.10.2011
มอลโดวา จอร์เจีย อาร์เมเนีย จอร์เจีย มอลตา จอร์เจีย
10-0 2-2 2-2 10-0 0-4 2-2
มอลตา อาร์เมเนีย มอลโดวา มอลตา อาร์เมเนีย มอลโดวา
กลุ่ม บี (โซเฟีย, บัลแกเรีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ บัลแกเรีย 3 2 0 1 15 กรีซ 3 2 0 1 10 นอร์เวย์ 3 2 0 1 8 อันดอร์ร่า 3 0 0 3 8 20.10.2011 20.10.2011 21.10.2011 21.10.2011 23.10.2011 23.10.2011
กรีซ บัลแกเรีย อันดอร์ร่า บัลแกเรีย นอร์เวย์ บัลแกเรีย
3-1 8-4 1-6 2-3 4-3 5-1
เสีย ผลต่าง คะแนน 4 +10 5 4 +10 5 4 +4 5 24 -24 0
เสีย ผลต่าง คะแนน 8 +7 6 7 +3 6 8 0 6 18 -10 0
นอร์เวย์ อันดอร์ร่า กรีซ นอร์เวย์ อันดอร์ร่า กรีซ
www.uefa.com
www.portugaldailyview.com
กลุ่ม ซี (เจลกาว่า, ลัตเวีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ผลต่าง คะแนน ลัตเวีย 3 2 1 0 18 4 +14 7 อังกฤษ 3 2 0 1 9 12 -3 6 ไซปรัส 3 1 1 1 7 6 +1 4 ซาน มาริโน่ 3 0 0 3 5 17 -12 0 20.10.2011 20.10.2011 21.10.2011 21.10.2011 23.10.2011 23.10.2011
ไซปรัส ลัตเวีย อังกฤษ ลัตเวีย ซาน มาริโน่ ลัตเวีย
3-1 7-1 3-2 9-1 3-5 2-2
ซาน มาริโน่ อังกฤษ ไซปรัส ซาน มาริโน่ อังกฤษ ไซปรัส
กลุ่ม ดี (ทัลลินน์, เอสโตเนีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ ตุรกี 3 3 0 0 15 แอลเบเนีย 3 1 1 1 7 ฟินแลนด์ 3 1 1 1 4 เอสโตเนีย 3 0 0 3 6 20.10.2011 20.10.2011 21.10.2011 21.10.2011 23.10.2011 23.10.2011
ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ตุรกี เอสโตเนีย เอสโตเนีย แอลเบเนีย
0-0 3-4 6-0 3-5 0-4 2-5
แอลเบเนีย ตุรกี ฟินแลนด์ แอลเบเนีย ฟินแลนด์ ตุรกี
กลุ่ม อี (เวเลส, มาซิโดเนีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ มาซิโดเนีย 3 3 0 0 15 ฝรั่งเศส 3 2 0 1 12 มอนเตเนโกร 3 1 0 2 13 สวิตเซอร์แลนด์ 3 0 0 3 2 20.10.2011 20.10.2011 21.10.2011 21.10.2011 23.10.2011 23.10.2011
24
ผรั่งเศส มาซิโดเนีย มอนเตเนโกร มาซิโดเนีย สวิตเซอร์แลนด์ มาซิโดเนีย
7-0 2-1 3-4 10-2 0-9 3-1
เสีย ผลต่าง คะแนน 5 +10 9 8 -1 4 6 -2 4 13 -7 0
เสีย ผลต่าง คะแนน 4 +11 9 6 +6 6 6 +7 3 26 -24 0
สวิตเซอร์แลนด์ มอนเตเนโกร ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ มอนเตเนโกร ฝรั่งเศส
รอบแบ่งกลุ่มรอบสอง กลุ่ม 1 (ซาราเยโว, บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ สเปน 3 3 0 0 20 นอร์เวย์ 3 1 1 1 5 บอสเนียเฮอร์เซโกวีน่า 3 1 0 2 3 เบลเยี่ยม 3 0 1 2 4 15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
สเปน บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า เบลเยี่ยม บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า นอร์เวย์
8-0 2-1 1-2 0-6 0-6 3-3
นอร์เวย์ เบลเยี่ยม นอร์เวย์ สเปน สเปน เบลเยี่ยม
กลุ่ม 2 (คัลตาริสเซตต้า, อิตาลี) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ อิตาลี 3 3 0 0 19 โรมาเนีย 3 2 0 1 14 โปแลนด์ 3 1 0 2 10 บัลแกเรีย 3 0 0 3 5 15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
โรมาเนีย อิตาลี โปแลนด์ อิตาลี บัลแกเรีย อิตาลี
3-0 5-2 3-9 10-1 4-5 4-2
สโลวีเนีย เซอร์เบีย อิสราเอล สโลวีเนีย มอลโดวา สโลวีเนีย
3-2 4-0 4-4 6-1 3-3 1-3
เสีย ผลต่าง คะแนน 5 +14 9 7 +7 6 18 -8 3 18 -13 0
บัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย บัลแกเรีย โปแลนด์ โรมาเนีย
กลุ่ม 3 (ลาสโก้, เซอร์เบีย) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เซอร์เบีย 3 2 1 0 11 สโลวีเนีย 3 2 0 1 10 อิสราเอล 3 0 2 1 9 มอลโดวา 3 0 1 2 4
15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
เสีย ผลต่าง คะแนน 0 +20 9 12 -7 4 9 -6 3 11 -7 1
เสีย ผลต่าง คะแนน 5 +6 7 6 +4 6 10 -1 2 13 -9 1 อิสราเอล มอลโดวา เซอร์เบีย มอลโดวา อิสราเอล เซอร์เบีย
25
www.uefa.com
กลุ่ม 4 (โคอิมบรา, โปรตุเกส) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ โปรตุเกส 3 3 0 0 14 สโลวะเกีย 3 2 0 1 8 ฝรั่งเศส 3 1 0 2 4 ลิทัวเนีย 3 0 0 3 4
15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
สโลวะเกีย โปรตุเกส ลิทัวเนีย โปรตุเกส ฝรั่งเศส โปรตุเกส
3-1 3-0 2-4 6-0 3-2 5-1
ฝรั่งเศส ลิทัวเนีย สโลวะเกีย ฝรั่งเศส ลิทัวเนีย สโลวะเกีย
กลุ่ม 5 (บากู, อาเซอร์ไบจาน) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ อาเซอร์ไบจาน 3 2 0 1 12 ยูเครน 3 2 0 1 8 โครเอเชีย 3 2 0 1 8 มาซิโดเนีย 3 0 0 3 3 15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
ยูเครน อาเซอร์ไบจาน โครเอเชีย อาเซอร์ไบจาน มาซิโดเนีย อาเซอร์ไบจาน
2-1 1-3 1-4 7-1 1-4 4-2
เสีย ผลต่าง คะแนน 1 +13 9 8 0 6 11 -7 3 10 -6 0
เสีย ผลต่าง คะแนน 6 +6 6 6 +2 6 6 +2 6 13 -10 0
มาซิโดเนีย โครเอเชีย ยูเครน มาซิโดเนีย โครเอเชีย ยูเครน
กลุ่ม 6 (เบอร์โน่, สาธารณรัฐเช็ก) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ สเปน 3 3 0 0 20 นอร์เวย์ 3 1 1 1 5 บอสเนียเฮอร์เซโกวีน่า 3 1 0 2 3 เบลเยี่ยม 3 0 1 2 4 15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
สาธารณรัฐเช็ก เบลารุส สาธารณรัฐเช็ก เนเธอร์แลนด์ ตุรกี สาธารณรัฐเช็ก
5-1 7-1 3-2 0-2 3-4 5-2
เนเธอร์แลนด์ ตุรกี ตุรกี เบลารุส เนเธอร์แลนด์ เบลารุส
กลุ่ม 7 (กยองยอส, ฮังการี) แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ รัสเซีย 3 3 0 0 10 ฮังการี 3 1 1 1 10 ลัตเวีย 3 0 2 1 5 คาซัคสถาน 3 0 1 2 3 15.12.2011 15.12.2011 16.12.2011 16.12.2011 18.12.2011 18.12.2011
รัสเซีย ฮังการี คาซัคสถาน ฮังการี ลัตเวีย ฮังการี
2-0 5-1 0-4 3-3 2-2 2-4
เสีย ผลต่าง คะแนน 0 +20 9 12 -7 4 9 -6 3 11 -7 1
เสีย ผลต่าง คะแนน 2 +8 9 8 +2 4 7 -2 2 11 -8 1
ลัตเวีย คาซัคสถาน รัสเซีย ลัตเวีย คาซัคสถาน รัสเซีย
www.uefa.com
รอบเพลย์ออฟ
นัดแรก 25.03.2012 26.03.2012 26.03.2012 26.03.2012 27.03.2012 27.03.2012 28.03.2012 นัดสอง 08.04.2012 08.04.2012 09.04.2012 10.04.2012 10.04.2012 11.04.2012 11.04.2012
28
ฮังการี สโลวีเนีย เบลารุส สโลวะเกีย โรมาเนีย อาเซอร์ไบจาน นอร์เวย์
1-0 2-0 1-7 0-4 0-4 2-3 0-5
เซอร์เบีย สาธารณรัฐเช็ก โปรตุเกส สเปน ยูเครน รัสเซีย อิตาลี
กยองยอส เบเลนเย่ มินสค์ บราติสลาว่า ตีร์กู-มูเรส บากู สยอร์ดาล
ยูเครน (ผลสองนัด 8-1) เซอร์เบีย (ผลสองนัด 6-2) รัสเซีย (ผลสองนัด 5-4) โปรตุเกส (ผลสองนัด 11-2) สเปน (ผลสองนัด 12-0) สาธารณรัฐเช็ก (ผลสองนัด 4-3) อิตาลี (ผลสองนัด 7-0)
1-4
โรมาเนีย
คาร์คีฟ
6-1
ฮังการี
เบลเกรด
2-2
อาเซอร์ไบจาน ทิวเมน
4-1
เบลารุส
ลิสบอน
8-0
สโลวะเกีย
พัลม่า เด มายอร์กา
4-1
สโลวีเนีย
ปราก
2-0
นอร์เวย์
บารี่
www.uefa.com
อัฟุตซอลโลก นดับ2012 โลก 24 ทีมสุดอ้ท้างอิางยจาก
www.futsalplanet.com
1 สเปน 2 บราซิล 3 อิตาลี 4 รัสเซีย 5 โปรตุเกส 6 อาร์เจนติน่า 7 อิหร่าน 8 ยูเครน 9 ปารากวัย 10 ญี่ปุ่น 11 ไทย 14 เซอร์เบีย 17 สาธารณรัฐเช็ก 19 โคลัมเบีย 21 คอสตาริกา 22 กัวเตมาลา 26 ลิเบีย 28 อียิปต์ 30 ออสเตรเลีย 35 ปานามา 37 เม็กซิโก 38 โมรอคโค 45 หมู่เกาะโซโลมอน 64 คูเวต
รอบแบ่งกลุ่ม กลุ่ม A กลุ่ม B กลุ่ม C
www.bangkokpost.com
กลุ่ม D กลุ่ม E กลุ่ม F
ไทย
THAILAND
อันดับโลก 11 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 3 ครั้ง 2000 2004 2008 ดีที่สุด รอบแรก
www.soccersuck.com
32
2
GROUP A
เจ้าภาพฟุตซอลโลกครั้งที่ 7 และเป็นชาติจากเอเชียลำ�ดับที่ 3 ต่อจากฮ่องกง และไต้หวันที่ได้รับเกียรติ์ นี้ จากกีฬาที่คนไทยเคยเรียกว่า “ฟุตบอล 5 คน” จากความทรงจำ�ที่นักฟุตบอล 5 คนของไทย แบกรองเท้าสตั๊ด ไปลงแข่ง จนต้องหารองเท้าฟุตซอลกันจ้าละหวั่น มาวันนี้ ไทยถือเป็นหนึ่งในชาติฟุตซอลลำ�ดับต้นๆของโลกและ ของเอเชีย พวกเขาเริ่มลงแข่งฟุตซอลโลกครั้งแรกในปี 2000 ที่กัวเตมาลา และจบด้วยการแพ้สามนัดรวด ต่อ มาในไต้หวัน 2004 ไทยยังคงตกรอบแรกเช่นเดิม เพราะอยู่ในสาบแข็งที่มีบราซิล กับสาธารณรัฐเช็ก แต่ส่งท้าย รอบแรกด้วยการชนะออสเตรเลียได้ 3-2 จนกระทั่งครั้งล่าสุดที่บราซิล 2008 ไทยเริ่มต้นด้วยการแพ้อิตาลีแบบ น่ามีคะแนน 0-1 ตามด้วยการชนะสหรัฐฯ 5-3 แต่มาโดนปารากวัยต้อน 0-8 และโดนโปรตุเกสยิงประตูชัยใน 7 วินาทีสุดท้าย พ่ายไป 2-3 ฟุตซอลโลก 2012 จึงเป็นทัวร์นาเมนต์แห่งความหวัง ที่แฟนบอลชาวไทยอยากเห็นทีมไทยสู้กับทีม ระดับโลกได้อย่างจริงจังในฐานะเจ้าภาพ ทีมชาติไทยชุดนี้ถือเป็นสายเลือดใหม่ที่แจ้งเกิดมาจาก ฟุตซอลลีกที่ กำ�ลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งแนวทางการทำ�ทีมของ วิคเตอร์ เฮอร์มันน์ โค้ชชาวดัตช์ ที่ตอนเข้ามาใหม่ๆ แผน บอลหลายคนไม่รู้จักชื่อ พร้อมด้วยค่าที่เป็นชาวดัตช์ซึ่งทีมชาติไม่เก่งฟุตซอล และค่าที่โค้ชคนเก่าของไทยคือยอด ฝีมืออย่าง ปูลปิส จึงมีความกังวลว่าทีมชาติอาจฟอร์มแย่ แต่เฮอร์มันน์พิสูจนแล้วว่า ด้วยวิถีของนักเตะพลังหนุ่ม ผสมกับเกมรุกอันดุดัน แม้จะมีปัญหาเสียประตูง่ายดายเกินไป ถึงกระนั้นก็ยังล้มอิหร่านในรอบรองชนะเลิศชิง แชมป์เอเชีย ที่ยูเออี 2012 ได้อย่างน่าประทับใจ แม้สุดท้ายจะได้รองแชมป์ด้วยการแพ้ญี่ปุ่น 1-6 ก็ตาม เฮอร์มัน น์จึงยืนยันว่าในทัวร์นาเมนต์นี้ ไทยพร้อมมีเซอร์ไพรส์อย่างแน่นอน “เป้าหมายของเรา คือการผ่านเข้ารอบ 8 ทีมสุดท้าย ฟุตซอลโลกให้ได้เป็นครั้งแแรก ในบ้านของเราเอง เราจะต้องมีความพร้อมที่สมบูรณ์แบบเพื่อรับมือกับคู่แข่งในทัวร์นาเมนต์นี้ ซึ่งแผนเตรียมตัวยังรวมไปถึงความ สำ�เร็จในศึกชิงแชมป์เอเชียที่ผ่านมาด้วย ผมจึงมั่นใจว่า ไทยพร้อมสร้างเซอร์ไพรส์ได้แน่นอน” ผู้เล่นตัวหลักของทีม ได้แก่ ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง, ณัฐวุฒิ หมัดยะลาน, สุรพงค์ ทมพา และ อภิวัฒน์ แจ่ม เจริญ
เกมแห่งชัยชนะในศึกฟุตซอลโลกครั้งที่ผ่านๆมา คือชนะออสเตรเลีย (2004 3-2) และสหรัฐอเมริกา (2008 5-3)
ยูเครน
UKRAINE
GROUP A
อันดับโลก 8 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 3 ครั้ง 1996 2004 2008 ดีที่สุด อันดับสี่ 1996
0
www.uefa.com
อีกหนึ่งตัวอันตรายจากยุโรปตะวันออก ตามสไตล์การเล่นแบบบดหนัก เอาแข็งแกร่งเข้าว่า ยูเครน จัดเป็นหนึ่งทีมที่มีประวัติในฟุตซอลโลกไม่ธรรมดา โดยเริ่มลงแข่งครั้งแรกในปี 1996 ซึ่งพวกเขาไปได้ไกลถึง การคว้าอันดับสี่ โดยแพ้รัสเซียในรอบชิงที่สาม แต่ในกัวเตมาลา 2000 พวกเขากลับไม่มาถึงรอบสุดท้าย แต่ นั้นก็เป็นเพียงอุบัติเหตุเล้กน้อยเท่านั้น เพราะหังจากนั้นในปี 2004 และ 2008 ยูเครนก็มาตามนัด แถมในฟุต ซอลโลกฉบับล่าสุดที่บราซิล พวกเขาเข้าถึงรอบแปดทีมสุดท้าย แต่สู้ความแข็งแกร่งของทีมร่วมกลุ่มในรอบสอง อย่าง บราซิล อิตาลี อิหร่าน ได้ แพ้สามนัดรวด ยุติเส้นทางลงที่ตรงนั้น ในส่วนของเส้นทางสู่ไทยแลนด์ 2012 ยูเครนเริ่มต้นในรอบคัดเลือกรอบสองของโซนยุโรป ไล่ทุบ เพื่อนร่วมกลุ่มอย่าง โครเอเชีย มาซิโดเนีย แต่ไปสะดุดแพ้อาเซอร์ไบจานในนัดสุดท้าย ถึงกระนั้นก็ยังมีสถิติเป็น อันดับสองของกลุ่ม ผ่านเข้าไปเพลย์ออฟพบกับโรมาเนีย ซึ่งในนัดแรก ยูเครนบุกไปโรมาเนียเสียกระจุยมาก่อน 4-0 ทำ�ให้เกมนัดที่สองยูเครนน่าจะเล่นได้อย่างสบายๆ แต่กลับโดนโรมาเนียมาไล่ยิงในนัดที่สอง พ่ายไป 1-4 จบการแข่งขันสองนัดด้วยประตูรวม 5-4 เข้ารอบอย่างหวุดหวิด เพราะถ้าโรมาเนียมายิงได้ในยูเครนอีกลูกเดียว แล้วสกอร์รวมเสมอกัน จะเป็นโรมาเนียที่ผ่านเข้ารอบด้วยกฎประตูทีมเยือนทันที ยูเครนชุดนี้ มีโค้ชท้องถิ่นอย่าง เกรนนาดี้ ลีเซนชุค ซึ่งเน้นให้ยูเครนเล่นเกมรับอย่างแข็งแกร่ง ซึ่งลี เซนชุคมองว่าเป็นเรื่องจำ�เป้นอย่างมากต่อการสร้างทีมยูเครนชุดนี้ รวมถึงการฝึกลูกเซ็ตพีซ เพื่อใช้ในการพลิก สถานการณ์ เพราะทุกทีมที่จะเจอในฟุตซอลโลก ล้วนแข็งแกร่งและมีโอกาสแพ้ชนะสูสีกันทั้งหมด ผู้เล่นตัวหลักของยูเครนมี วาเลรี่ เลคชานอฟ, มักซิม พาฟเลนโก้ และ เซอร์เกย์ เชปอร์นุค ความพ่ายแพ้รอบยูเครนในรอบแบ่งกลุ่มรอบแรก ของฟุตซอลโลก 2008 เริ่มด้วยการชนะจีน อียิปต์ กัวเตมาลา และเสมออาร์เจนติน่า จนน่าจะเป็นทีมสอดแทรกได้ในรอบสอง แต่ในรอบนั้นไปโดนอิตาลี บราซิล และอิหร่านอัดเละ ตกรอบไปในที่สุด
33
ปารากวัย
PARAGUAY
อันดับโลก 9 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 4 ครั้ง 1989 1992 2004 2008 ดีที่สุด รอบ 8 ทีม (2008)
แม้ว่านี่จะเป็นฟุตซอลโลกสมัยที่ 5 ของปารากวัยแล้ว แต่ที่ผ่านมาพวกเขาก็ยังต้องอยู่ใต้เงาของยักษ์ ใหญ่ประจำ�ทวีปอย่างบราซิลกับอาร์เจนติน่ามาโดยตลอด พวกเขาได้ประเดิมฟุตซอลโลกครั้งแรกเมื่อปี 1989 ที่ เนเธอร์แลนด์ และตามมาด้วยฮ่องกงในปี 1992 แต่หลังจากนั้นสองครั้ง ปารากวัยตกรอบคัดเลือก ก่อนที่กลับ มาสู่รอบสุดท้ายได้อีกครั้งในปี 2004 ที่ไต้หวัน แต่พวกเขาไม่ผ่านรอบแรก ก่อนที่บราซิล 2008 ทัพอัลเบียร์โรฆ่า จะไปได้ไกลที่สุด ผ่านรอบแรกที่มีไทย อิตาลี และสหรัฐอเมริกา เข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มรอบสอง ซึ่งพวกเขาเจอศึก หนักทั้งอาร์เจนติน่า รัสเซีย และรองแชมป์อย่างสเปน ทำ�ให้ปารากวัยได้เพียงอันดับสุดท้าย ปารากวัยถือว่าพัฒนาขึ้นมาจากเมื่อก่อนมาก เป็นอีกหนึ่งทีมอันตรายจากอเมริกาใต้ ที่จะก้าวขึ้นเบียด กับบราซิลและอาร์เจนติน่าได้อย่างสูสี รวมทั้งในระดับโลกด้วย โดยผลงานการคว้าแชมป์ โคปา เมอร์โคซูร์เมื่อปี 2011 ด้วยการชนะเจ้าภาพอุรุกวัยและอาร์เจนติน่า รวมทั้งการคว้าอันดับสามของรายการ โคปา อเมริกา เดอ ฟุตซอล ซึ่งเป็นการชิงแชมป์ระดับทวีปมาครองในปี 2011 ทั้งนี้ฟาบิโอ อัลคาราซ ผู้เล่นตัวเก่งของทีม มั่นใจว่าเขาและเพื่อนร่วมทีมทีมซึ่งเล่นด้วยกันมาตั้งแต่ ปี 2004 จะถึงเวลาสร้างความยิ่งใหญ่ในไทยแลนด์ 2012 ได้เสียที “พวกเรามักจะได้เจอทีมยักษ์ใหญ่และเราก็ ชอบอย่างนั้น ซึ่งโค้ชคนใหม่ของพวกเราอย่าง เฟอร์นานโด แฟร์เรตติ จากเพื่อนบ้านอย่างบราซิล ได้ช่วยให้เรา เปลี่ยนรูปแบบและวิธีการเล่นไปในทางที่ดีขึ้นมาก” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ฟาบิโอ อัลคาราซ, ฆวน ซาลาส, วอลเตอร์ บิลลาลบา และ เปโดร ออร์ติซ รอบคัดเลือก ปารากวัยผ่านเอกวาดอร์ 3-0 ถล่มเวเนซุเอล่า 6-0 และต้อนอุรุกวัย 4-2 ก่อจะพ่าย โคลัมเบีย 2-7 คว้ารองแชมป์ของรอบแบ่งกลุ่ม ก่อนจะตัดเชือกชนะบราซิล 3-5 ในช่วงต่อเวลาพิเศษ และแพ้จุด โทษ อาร์เจนติน่า 6-7 ในการชิงชนะเลิศ
34
8
GROUP A
www.fifa.com
จำ�นวนผู้เล่นปารากวัยในรอบคัดเลือก ที่มีถิ่นฐานมาจากนอกประเทศ และทั้งหมดปัจจุบันค้าแข้งใน ลีกอาชีพของอิตาลี มีสามคนที่อาศัยในกรุงโรมคือ ฝาแฝด เอ็มมานูเอล และ กาเบรียล อยาล่า และ ออสการ์ เบลาสเกวซ
คอสตาริกา COSTA RICA อันดับโลก 21 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 2 ครั้ง (1992 2004) ดีที่สุด รอบแรก
GROUP A
www.fifa.com
9
คอสตาริกา กล้วยหอมแห่งแคริบเบียน เพิ่งมีประสบการณ์ในศึกฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายมาเพียงแค่ สองครั้ง คือในปี 1992 ที่ฮ่องกง ซึ่งน้องใหม่อย่างพวกเขาโดนเบลเยี่ยมอัดไป 2-6 เกมต่อมาโดนบราซิลสอน เชิง 1-15 และปิดท้ายด้วยการพ่ายออสเตรเลียอย่างสูสี 6-8 ตกรอบแรกด้วยผลต่างประตูได้เสีย 9-29 ทีมลอส ติกอส มาสมหวังกับชัยชนะนัดแรกในรอบสุดท้ายก็ต้องรออีกแปดปีต่อมา ที่กัวเตมาลา ซึ่งพวกเขาล้างแค้น ออสเตรเลียได้ 6-2 แต่ก็ยังไปไหนไม่ได้ไกลกว่ารอบแรก เมื่อแพ้รัสเซียและโครเอเชียในสองเกมที่เหลือ ในไทยแลนด์ 2012 มีการเพิ่มทีมจากเดิม 20 ทีมเป็น 24 ทีม หลายฝ่ายจึงคาดว่า คอสตาริกาน่าจะ ได้อานิสงค์ตรงนี้ ผ่านเข้ารอบไปโดยไม่ยาก อย่างไรก็ตาม ฟอร์มการเล่นในรอบคัดเลือกของพวกเขาก็ไม่ควร สบประมาท เพราะพวกเขาไม่ต้องสนใจโควต้าที่เพิ่มขึ้น แม้จะเริ่มต้นด้วยการเสมอเม็กซิโก 4-4 แต่หลังจากนั้น คอสตาริกาก็ใส่เกียร์เดินหน้าคว้าชัยชนะอย่างต่อเนื่องทั้งการเฉือนคิวบา 2-1 ถล่มเซนต์ คิตส์ แอนด์ เนวิส 7-1 ซึ่งรับประกันการเข้ารอบสุดท้าย ก่อนโชว์ฟอร์มเยี่ยมในรอบรองชนะเลิศด้วยการต้อนปานามา 4-1 และโชว์ ฟอร์มสุดเซอร์ไพรส์ชนะกัวเตมาลา 3-2 คว้าทั้งสิทธิ์รอบสุดท้ายและแชมป์ คอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพสมัย แรกนับตั้งแต่ปี 2000 ไปครอง ด้วยตำ�แหน่งแชมป์ทวีปที่พ่วงมา การเดินทางมาดวลแข้งในรอบสุดท้ายที่เมืองไทยของคอสตา ริกา จึง มีความมั่นใจสูงมาก โดยศูนย์หน้าอย่าง ฆอร์เก้ อาเรียส ผู้ได้รับเลือกให้เป็นผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำ�ศึกชิงแชมป์ ทวีปที่ผ่านมา รวมทั้งดิเอโก้ อันเดรียส ซูนิก้า ผู้เล่นทักษะสูง ต่างหวังจะนำ�คอสตา ริก้า ลงแข่งในรอบสุดท้าย สมัยที่สามด้วยฟอร์มการเล่นที่สุดยอด และตั้งเป้าผ่านรอบแรกให้ได้ ด้าน มิเชล คอร์โดบา อีกหนึ่งผู้เล่นในทีม กล่าวว่า “เราขออุทิศการผ่านเข้ารอบสุดท้ายครั้งนี้ให้แด่ชาวคอสตาริกาทุกคน รวมทั้งครอบครัวและโค้ช ทุกคนที่สนับสนุนพวกเรา เราจะทำ�ให้เพื่อนร่วมกลุ่มทั้งสามทีมได้ลำ�บากใจกันแน่นอน” ผู้เล่นตัวหลักของคอสตาริกา ได้แก่ ฆอร์เก้ อาเรียส, ไจโร โฆเซ่ โตรูโน่, ดิเอโก้ อันเดรียส ซูนิก้า และ หลุยส์ อเลฆานโดร ปาเนียกัว ประตูที่คอสตาริกา เสียใน คอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ 2012 ซึ่งเสียประตูน้อยที่สุดในบรรดาทุกทีมที่ลง แข่งขัน และแน่นอนว่าความดีความชอบต้องยกให้ฟอร์มการเซฟของ ไจโร โฆเซ่ โตรูโน่ เจ้าของตำ�แหน่งผู้ รักษาประตูยอดเยี่ยมประจำ�ทัวร์นาเมนต์
35
สเปน
SPAIN
อันดับโลก 1 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 6 ครั้ง 1989 1992 1996 2004 2000 2008 ดีที่สุด แชมป์ 2 สมัย (2000 2004) www.uefa.com
36
44
GROUP B
ตัวแทนมหาอำ�นาจฟุตซอลจากฝั่งยุโรป ที่สู้รบปรบมือกับบราซิลเรื่อยมาในยุทธภูมิฟุตซอลโลก ซึ่งมี จุดเริ่มต้นที่น่าประหลาดใจ เนื่องจากในฟุตซอลโลก 1989 พวกเขาเริ่มต้นฟุตซอลโลกสมัยแรก ด้วยการไม่ผ่าน รอบแบ่งกลุ่ม แต่หลังจากนั้นสเปนก็เริ่มฉายแววเก่งให้เห็น แม้จะยังตกอยู่ภายใต้ร่มเงาของบราซิลเรื่อยมาในปี 1992 1996 ซึ่งพวกเขาค่อยๆไต่ขึ้นมาทำ�อันดับสาม และรองแชมป์โดยการแพ้แก่บราซิลตามลำ�ดับ จนกระทั่ง ฟุตซอลโลกที่กัวเตมาลา พวกเขาก็สามารถหักด่านบราซิล เป็นแชมป์ทีมแรกจากฟากยุโรปได้สำ�เร็จ และยังสาน ต่อความสำ�เร็จในไต้หวัน 2004 ด้วยการเฉือนชนะอิตาลีไปอย่างสุดมัน 2-1 และยังเกือบจะไปหักหน้าเจ้าภาพ บราซิลในรอบชิงชนะเลิศ ปี 2008 ได้ด้วย แต่บราซิลแม่นจุดโทษกว่าชนะไป 4-3 แต่โดยสรุปคือ สเปนเป็นทีม เดียวในฟุตซอลโลกที่ผ่านเข้าชิงชนะเลิศแล้ว 4 สมัยติดต่อกัน และยัสามารถเพิ่มสถิติได้อีก หากผ่านเข้าไปเล่น ในเกมสุดท้ายของไทยแลนด์ 2012 มาตรฐานของฟุตซอลสเปนในทุกวันนี้ ไกลเกินกว่าระดับทวีปไปมากแล้ว พวกเขาเปรียบเสมือนหัว หอกสำ�คัญในการดวลความยิ่งใหญ่กับบราซิล ในยุโรป สเปนกวาดแชมป์ยุโรปไปถึง 5 จาก 7 สมัย และในรอบ คัดเลือก พวกเขาก็เดินหน้ากวาดชัยชนะได้โดยไม่เสียประตูให้ทีมใดเลย แม้แต่ประตูเดียว โดยในรอบแบ่งกลุ่ม รอบสอง สเปน ไล่ถลุง เบลเยี่ยม นอร์เวย์ และ บอสเนีย-เฮอร์เซโกวีน่า รวมกัน 20 ประตูเบาะๆ ก่อนจะผ่าน เข้าไปเพลย์ออฟกับสโลวะเกีย ซึ่งเหยื่อผู้โชคร้าย ก็โดนสเปนยิงรวมสองนัดไปอีก 12 ประตู และข่วนสเปนเป้น แผลไม่ได้เลยแม้แต่แผลเดียว เรียกได้ว่าสเปนน่าจะเป็นทีมที่มีสถิติในรอบคัดเลือกดีที่สุดแล้ว “เราต้องรักษาฟอร์มให้คงเส้นคงวาไปเรื่อยๆ ทีมชุดนี้ ไม่แพ้ใครมา 7 ปีแล้ว (ไม่นับจุดโทษของนัดชิง ฟุตซอลโลก 2008) ตลอด 108 เกมที่ผ่านมา เราได้พัฒนาวิธีคิด ให้สมกับเป็นผู้ชนะที่แท้จริง เราตั้งใจเล่นใน ทุกๆเกม และตั้งเป้ากับผลการแข่งขันให้ออกมาดีเสมอไปตลอดทั้งทัวร์นามเนต์” โค้ช เวนาซิโอ โลเปซ กล่าวไว้ หลังเกมที่ถล่มสโลวะเกียคาบ้าน 8-0 สเปนพัมนาตัวผู้เล่นฝีเท้าเยี่ยมมาจากลีกอาชีพในประเทศที่แข็งแกร่ง โดยเฉพาะจากสโมสรบาร์เซ โลน่า ที่คว้าแชมป์สโมสรยุโรปได้ในฤดูกาลก่อน ทั้งเฟอร์นานเดา ทอร์ราส และ ไอคาร์โด รวมถึงผู้เล่นจาก สโมสรอินเตอร์ โมวิสตา (ชื่อเดิมคือ บูเมอร์แรง อินเทอร์วิว) มหาอำ�นาจฟุตซอลเก่าแก่ของสเปนอีกด้วย ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ฆวนโฆ่, คิเค้, ออร์ติซ, อัลบาโร่, เซร์คิโอ, ทอร์ราส และ เฟอร์นานเดา
เกมที่สเปนลงเล่นในฟุตซอลโลกรอบสุดท้าย เป็นรองแค่บราซิล (49) และเป็นการลงแข่งครบทุกสมัย
อิหร่าน
IR IRAN
GROUP B
อันดับโลก 7 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 5 ครั้ง 1989 1992 2000 2004 2008 ดีที่สุด อันดับ 4 (1992)
5
www.fifa.com
แชมป์เอเชีย 10 จาก 12 ครั้งของอิหร่าน รับประกันความยิ่งใหญ่ในเอเชีย แต่ในระดับโลกอิหร่าน ยังทำ�ได้แค่เกือบๆเท่านั้น จากผลงานการผ่านเข้ารอบ 5 สมัยติดต่อกันนับตั้งแต่ปี 1992 ซึ่งพวกเขาไปไกลถึง อันดับที่สี่ หลังจากแพ้ในรอบรองชนะเลิศต่อ สหรัฐอเมริกา รองแชมป์ในปีนั้นไปอย่างน่าเสียดาย 2-4 หลัง จากนั้นในปี 1996 2000 และ 2004 อิหร่านก็ตกรอบแรกมาโดยตลอด ก่อนที่ปี 2008 อิหร่านจะโชว์ฟอร์มน่า ประทับใจ โดยในรอบแบ่งกลุ่ม อิหร่านเสมอสเปน 3-3 แบบเกือบชนะ จากนั้นก็ไล่เก็บ 3 คะแนนจาก ลิเบีย อุรุกวัย และสาธารณรัฐเช็ก ผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มรอบสองไปเจอของแข็งอย่างทั่วทั้งแผ่นอย่างบราซิล อิตาลี และยูเครน แต่อิหร่านหาได้เกรงกลัวไม่ พวกเขาแพ้บราซิลเพียง 0-1 เฉือนยูเครน 5-4 ก่อนจะเสมออิตาลี 5-5 สุดท้ายมีคะแนนเท่าอิตาลีแต่ประตูได้เสียเป็นรอง จึงได้เพียงที่สามของกลุ่ม ตกรอบไปอย่างน่าเสียดายมากๆ ผลานในรอบคัดเลือกของอิหร่าน ลงเล่นในศึกชิงแชมป์เอเชีย พวกเขาชนะห้าเกม แพ้เพียงเกมเดียวใน เกมสำ�คัญกับไทย ยิงไปถึง 45 ประตู เสียเพียง 9 ประตู เริ่มต้นในรอบแบ่งกลุ่มด้วยการเอาชนะเกาหลีใต้ 14-1 จากนั้นก็ชนะกาตาร์ 8-0 และ ออสเตรเลีย 9-0 ผ่านเข้ารอบ 8 ทีมอย่างสบายๆไปเถืออุซเบกิสถานง่ายๆ 6-3 แต่มาแพ้ไทยในเกมรอบรองชนะเลิศ 4-5 ในการต่อเวลาพิเศษ ก่อนจะไปแก้ตัวในนัดชิงอันดับสาม เอาชนะ ออสเตรเลีย 4-0 ผลงานอันดับสามถือว่าผิดไปจากความคาดหมายของอิหร่าน โค้ชอย่าง อาลี ซาเนอี จึงกระตุ้นเตือน ลูกทีมว่า “นี่เป็นสัญญาณที่เราจะต้องระวังให้ดี และต้องเตรียมตัวที่จะตอบคำ�ถามตัวเองให้ถูกต้องในการทำ�ศึก ชิงแชมป์โลกครั้งนี้” แต่ซาเนอี ก็ยังเชื่อมั่นในทีมชุดนี้ว่ามีดีพอที่จะไปได้ไกล “อย่างไรก็ดี ผมยังเชื่อในทีมชุดนี้ สำ�หรับผมแล้ว พวกเขาสามารถก้าวขึ้นไปติดท็อปโฟร์ของการแข่งขันครั้งนี้ได้” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ มอสตาฟา นาซารี่, อาลี ฮาสซานซาเดห์, โมฮัมหมัด ตาเฮรี่ และ วาฮิด ชามซาอี จำ�นวนทัวร์นาเมนต์ฟุตซอลโลกที่อิหร่านเคยเข้าแข่งขัน เท่ากับ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และอิตาลี แต่ยัง น้อยกว่าบราซิล อาร์เจนติน่า และสเปน ที่เล่นในรอบสุดท้ายครบทั้ง 6 ครั้ง
37
ปานามา อันดับโลก ดีที่สุด
35 -
PANAMA ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง
อีกหนึ่งทีมหน้าใหม่ของฟุตซอลโลก หลังจากมีแต่คำ�ว่าเฉียดสำ�หรับปานามาในดส้นทางสู่ฟุตซอลโลก มาโดยตลอด โดยเฉพาะเมื่อปี 2008 ที่บราซิล ซึ่งปานามาลงคัดเลือกจบด้วยอันดับ 4 แต่ทีมจากคอนคาเคฟได้ ไปแค่ 3 ทีม ทำ�ให้ปานามาต้องอดไปเล่นรอบสุดท้ายอย่างน่าเสียดาย ถึงกระนั้นสำ�หรับทีมที่เพิ่งเริ่มเล่นฟุตซอล จริงจังเมื่อปี 2004 และเพียง 8 ปี ในการได้ไปเล่นฟุตซอลโลกของปานามา ต้องถือว่าน่าชื่นชมไม่น้อย ที่มีพัฒา การที่เร็วมาก ตลอดทัวร์นาเมนต์คอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ 2012 ปานามาเป็นทีมที่เล่นเกมรุกได้ดีมาก ด้วยการ ยิงไปถึง 22 ประตู นำ�โดยดาวซัลโวประจำ�ทีมอย่าง มิเกล ลาสโซ่ แต่เกมรับกลับรั่วเป็นประตูน้ำ� เสียไปถึง 20 ประตู เริ่มจากเกมในรอบคัดเลือก ปานามาเริ่มต้นด้วยการชนะสหรัฐอเมริกา 5-2 ก่อนี่นัดต่อมาจะแพ้เจ้าภาพ กัวเตมาลา 2-5 แต่ยังมาเอาตัวรอดในนัดสุดท้ายด้วยการชนะแคนาดา 8-5 เข้ารอบเป็นที่สองของกลุ่ม และคว้า สิทธิ์ไปเล่นฟุตซอลโลกเป็นครั้งแรกของประเทศอีกด้วย ส่วนในรอบรองชนะเลิศ ปานามาก็ต้านความสดของคอสตาริก้าไม่ไหว พ่ายไป 1-4 แต่ได้รางวัลปลอบ ใจเมื่อตกลงมาเล่นในรอบชิงอันดับที่สาม ยังสามารถเอาชนะเม้กซิโกไปได้ 6-4 ในการต่อเวลาพิเศษ หลังเสมอ ในเวลาปกติ 4-4 “เราแสดงพลังในเกมรุกที่ไม่เป็นรองใครระหว่างรอบคัดเลือก และต้องเรียนรู้อีกมาก หากจะไปให้ ไกลกว่านี้ โดยเฉพาะความจำ�เป็นที่จะต้องเน้นเกมรับให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น” คัมปูซาโน่ โลเปซ โค้ชผู้มาก ประสบการณ์ซึ่งเคยคุมทีมชาติคิวบาในฟุตซอลโลก 3 สมัยกล่าว “ผมมีประสบการณ์ในฟุตซอลโลก ซึ่งเป้น เหตุผลว่าทำ�ไมเราจึงพร้อมที่จะเผชิญหน้ากับทุกทีมในฟุตซอลโลกหนนี้” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ คาร์ลอส เปเรซ, คาร์ลอส กู้ดริดจ์, ออสการ์ ฮิงคส์ และ มิเกล ลาสโซ่
22
38
GROUP B
www.fifa.com
ประตูในคอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ 2012 ของปานามา กับค่าเฉลี่ย 4.4 ประตูต่อเกม ถือว่าพวกเขามีเกมรุก ที่น่ากลัวไม่น้อย
โมรอคโค
GROUP B
อันดับโลก ดีที่สุด
7
38 -
MOROCCO ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง
ก่อนหน้านี้วงการฟุตซอลโมรอคโค ไม่เคยลืมตาอ้าปากได้เลย โดยเฉพาะการอยู่ภายใต้ร่มเงาของ อียิปต์ ซึ่งมักจะเป็นชาติที่ได้ตั๋วไปฟุตซอลโลกบ่อยๆ มาหนนี้ ทีมจากแอฟริกาได้สิทธิ์เพิ่มเป็น 3 ทีม ประกอบ กับในรอบคัดเลือกโซนแอฟริกา มีทีมลงแข่งไม่มากนัก โมรอคโค จึงหมายมั่นปั้นมือว่า จะสร้างประวัติศาสตร์ บทแรกให้ได้เสียที เพียง 2 นัดเท่านั้นที่โมรอคโค ต้องฝ่าด่านไปให้ได้ นั่นคือเกมในรอบสาม ซึ่งโมรอคโคได้บายมายืนรอ ในรอบนี้ รอผู้ชนะจากรอบที่ผ่านมาๆ ซึ่งคู่แข่งแย่งตั๋วของโมรอคโคก็คือ โมซัมบิค ในนัดแรก โมรอคโคบุกไป เอาชนะได้สบายๆ 6-2 จนหลายฝ่ายมองว่าโมรอคโคคงไม่มีปัญหาในการกลับมาเล่นในบ้านของตัวเอง แต่ทว่า โมซัมบิคกลับมีแรงฮึด บุกมายิงนำ�โมรอคโคได้ก่อน 2-1 แถมในครึ่งหลังยังยิงนำ�ไปอีกเป็น 4-1 ทำ�ให้สกอร์รวม สองนัด โมรอคโคนำ�อยู่แค่ 7-6 ถ้าโดนยิงอีก 2 ลูก อาจชวดตั๋วทั้งๆที่กำ�อยู่ในแน่นๆแล้ว แต่สุดท้ายโมรอคโคก็ ยันไว้ได้ ด้วยความพ่ายแพ้ 1-4 ไม่โดนยิงมากกว่านี้ จึงผ่านเข้ารอบสุดท้ายอย่างหืดจับ “สิ่งสำ�คัญที่สุดคือการผ่านเข้ารอบ และเราทำ�ได้ มันไม่ง่ายหรอก ต้องขอบคุณสกอร์นัดแรกที่โมซัมบิก ที่ห่างมากพอ เราเริ่มเรียนรู้จากความผิดพลาดต่างๆ เพื่อหวังว่าเราจะเอาไปทำ�ที่ประเทศไทยอีก” ฮิชาม ดงุค กล่าวหลังเกมที่เกือบไม่ได้ไปต่อในรอบสุดท้าย ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ อาดิล ฮาบิล และ ยาเฮีย บาย่า ประตูที่โมรอคโคยิงได้ในรอบคัดเลือก 2 นัด โดย 6 ประตู ไปเกิดในนัดแรก ก่อนจะยิงเพิ่มได้อีกประตูในบ้าน ตัวเอง ผ่านเข้ารอบอย่างเสียวไส้ที่สุด
39
บราซิล
BRAZIL
อันดับโลก 2 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 6 ครั้ง 1989 1992 1996 2000 2004 2008 ดีที่สุด แชมป์ 4 สมัย (1989 1992 1996 2008)
เจ้าของแชมป์สี่สมัย ผู้ครองความยิ่งใหญ่ในยุทธภพฟุตซอลโลก ทัพเซเลเซาออกเดินหน้าคว้าความสำ�เร็จได้ ตั้งแต่ฟุตซอลโลกสามสมัยแรก ทั้งศึกที่ เนเธอร์แลนด์ 1989 ฮ่องกง 1992 และสเปน 1996 พวกเขาเหมา เรียบไม่แบ่งให้ใคร จนกระทั่งสเปนก้าวขึ้นมาท้าทายบัลลังก์ ทำ�ให้บราซิลสั่นคลอนไปบ้างในการได้รองแชมป์ที่ กัวเตมาลา ปี 2000 และตกรอบรองชนะเลิศที่ไต้หวัน ปี 2004 แต่ในปี 2008 ซึ่งบราซิลรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ เป้าหมายที่แน่นอนที่สุดคือการกลับมาคว้าแชมป์โลกให้ได้ในบ้านเกิดตัวเอง และพวกเขาก็ฝ่านฟันคู่แข่งมาจน ได้เข้าชิงชนะเลิศกับสเปน คู่ปรับที่โหดหินที่สุด ก่อนที่บราซิลจะเอาชนะไปได้ด้วยเกมที่ยืดเยื้อยาวไปจนถึงการ ฎีกาที่จุดโทษ บราซิลลงเล่นในรอบคัดเลือกของทวีปอเมริกาใต้ในบ้านตัวเองที่เมืองกรามาโด้ ได้อย่างสวยหรู เมื่อ เริ่มต้นถล่มคู่แข่งในรอบแบ่งกลุ่มอันประกอบไปด้วย อาร์เจนติน่า ชิลี เปรู และโบลิเวีย รวมกัน 4 นัด 37 ประตู เสียเพียงลูกเดียว เก็บชัยชนะรวด เดินหน้าต่อไปยังรอบรองชนะเลิศ แต่ในรอบนี้เองที่บราซิลเกิดอุบัติเหตุเล็ก น้อยด้วยการแพ้ปารากวัยในช่วงต่อเวลาพิเศษ 3-5 หลังในเวลาปกติเสมอกัน 2-2 ก่อนที่บราซิลจะมาแก้ตัวใน รอบชิงที่สาม ด้วยการชนะโคลัมเบียได้ 5-1 ด้วยความเป็นมหาอำ�นาจของฟุตซอลโลก บราซิลจึงหวังมาเมืองไทย เพื่อมารับถ้วยแชมป์กลับไป ประดับตู้โชว์ให้ได้อีกครั้ง พวกเขาตั้งใจจะกรีฑาทัพมาสำ�แดงเดชที่แผ่นดินสยามโดยไม่แพ้ใครตลอดทัวร์นาเมน ต์ โดยเฉพาะสุดยอดดาวเตะฟุตซอลของโลกอย่างฟัลเกา ซึ่งกดไป 34 ประตู จาก 25 เกม ในฟุตซอลโลกครั้งที่ ผ่านๆมา ก็หวังจะโชว์ฟอร์มร้อนแรงให้ได้อีกครั้ง โดยก่อนมาแข่ง ฟัลเกาอัดไป 7 ประตูในรอบคัดเลือก เป็นการ ลับคมที่ผลออกมาน่าพอใจ ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ฟัลเกา, เจ และ ซิโนเอ้
64
40
ประตูที่ทัพแซมบ้าสอยประตูคู่แข่งร่วงระนาว ตกเฉลี่ยที่ 7.1 ประตูต่อเกม
GROUP C
www.fifa.com
ญี่ปุ่น
JAPAN
GROUP C
อันดับโลก 10 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 3 ครั้ง 1989 2004 2008 ดีที่สุด รอบแรก
5
ปูมหลังในอดีตขอทัพซามูไรในฟุตซอลชิงแชมป์โลก ย้อนหลังกลับไปตั้งแต่ปี 1989 ในฐานะแชมป์ เอเชีย แต่ไม่สามารถต้านทานเพื่อนร่วมกลุ่มอย่าง เบลเยี่ยม อาร์เจนติน่า และแคนาดาได้ แพ้รวดสามนัด เก็บ กระเป๋ากลับบ้านอย่างรวดเร็ว หลังจากนั้นญี่ปุ่นต้องรอถึงปี 2004 กว่าจะได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายอีกครั้ง มา คราวนี้พวกเขาทำ�ได้ดีกว่าเดิมเล็กน้อยด้วยการยันเสมอสหรัฐอเมริกา 1-1 ในนัดสุดท้าย แต่ก่อนหน้านั้นไม่ สามารถต้านทานอิตาลีกับปารากวัยได้ ตกรอบแรกตามเคย มาครั้งล่าสุดในบราซิล 2008 พวกเขาอยู่ร่วมสาย กับบราซิล รัสเซีย คิวบา และหมู่เกาะโซโลมอน แม้จะต้องตกรอบแรกอีกสมัย แต่พวกเขาก็เก็บชัยชนะได้สำ�เร็จ จากคิวบา และหมู่เกาะโซโลมอน มาคราวนี้ในฐานะแชมป์เอเชีย ญี่ปุ่นมีพิษสงขึ้นมากจากการผสมผสานของเกมรับและเกมรุกที่เล่นโต้ กลับได้ขึ้นกว่าเดิม โดยเฉพาะศูนย์กลางของทีมอย่างกัปตัน ราฟาเอล เฮนมี่ ซึ่งกล่าวเมื่อตอนพาทีมคว้าแชมป์ เอเชียที่ยูเออีว่า “เราต้องทำ�งานหนักต่อไป การเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกันของพวกเราและทีมสปิริตคือพื้นฐาน สำ�คัญในการคว้าแชมป์เอเชีย และผมหวังว่าเราจะทำ�ได้ดีต่อเนื่องในฟุตซอลโลกที่จะมาถึงนี้” นอกจากเฮนมี่ แล้ว แผนการทำ�ทีมของโค้ชมากลีลาอย่าง โรดริโก้จากสเปน และผู้เล่นประสบการณ์สูงในแดนหน้าอย่าง เคนชิ โร่ โคกุเระ ก็พร้อมทะลวงแนวรับของทุกทีมในไทยแลนด์ 2012 นี้ จากผลงานในศึกชิงแชมป์เอเชียเป็นผลงนประจักษ์ชัด ราฟาเอล เฮนมี่ เป็นฮีโร่ในนัดแรกซึ่งญี่ปุ่นเฉือน เลบานอนหวุดหวิด 3-2 หลังจากนั้นเครื่องของญี่ปุ่นมาจุดติดในเกมที่ถล่มไต้หวันและทาจิกิสถานไปเกมละ 6-1 หลังจากนั้นในรอบ 8 ทีม ญี่ปุ่นก็การันตีการผ่านเข้ารอบสุดท้าย ด้วยชัยชนะเหนือคีร์กิซสถาน 1-0 ส่วนในรอบ รองชนะเลิศ ญี่ปุ่นก็ตบออสเตรเลียไปเบาะ 3-0 ปิดท้ายด้วยการชนะไทย 6-1 คว้าแชมป์เอเชียครั้งที่ 2 จาก 12 ครั้ง ซึ่งนอกนั้นเป็นของอิหร่านได้สำ�เร็จ ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ เคนชิโร่ โคกุเระ, ราฟาเอล เฮนมี่ และ เท็ตซึยิ มูราคามิ จำ�นวนประตูที่ญี่ปุ่นเสียตลอดทัวร์นาเมนต์ชิงแชมป์เอเชีย ซึ่งเป็นสถิติการเสียประตูน้อยที่สุด โดย 3 จาก 5 ประตู เสียในรอบแบ่งกลุ่ม
41
ลีเบีย อันดับโลก 26 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 1 ครั้ง ดีที่สุด รอบแรก
LIBYA 2008
10
42
ประตูจากสองนัดในรอบคัดเลือกรอบสาม พาลิเบียเข้าสู่รอบสุดท้ายได้เป็นครั้งที่สอง
GROUP C
ลิเบียจัดเป็นอีกหนึ่งชาติฟุตซอลที่มีพัฒนาการดีขึ้นอย่างรวดเร็วมาโดยตลอด ตั้งแต่เริ่มส่งทีมเข้าคัด เลือกฟุตซอลโลกครั้งแรกเมื่อปี 2000 แต่ก็ไม่ยังไม่ผ่านด่านเพื่อนบ้านอย่างอียปต์ไปได้ จนต้องรอถึงปี 2008 ลิเบียถึงได้เริ่มต้นการผจญภัยในรอบสุดท้าย ในฟุตซอลโลกครั้งแรกของพวกเขา มี 1 คะแนนกลับบ้านด้วยการ ยันเสมออุรุกวัย 3-3 แต่แพ้รวดในเกมที่เหลือ ในปัจจุบัน แม้ลิเบียจะเพิ่งผ่านสงครามกลางเมือง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับประเทศ รวมไปถึงทีม ฟุตซอลของลิเบีย ซึ่งไม่สามารถฝึกซ้อมในประเทศได้ แต่พวกเขาก็ยังโชว์ฟอร์มได้อย่างคงเส้นคงวา ภายใต้ การทำ�ทีมของโค้ช พาโบล ปริเอโต เพอร์ริลเล่ ชาวสเปนผู้จัดเป็นโค้ชที่ได้รับการยอมรับมากคนหนึ่งในระดับ โลก โดยผลจากการได้เล่นรอบสุดท้ายเมื่อ 4 ปีที่แล้ว ทำ�ให้พวกเขาได้บายไปรอในรอบสาม ซึ่งขอแค่ชนะคู่แข่ง ที่ฝ่าด่านเข้ามาอย่าง แอฟริกาใต้ได้ ก็จะเข้ารอบสุดท้ายทันที ซึ่งลิเบียที่มีอัตราการเล่นเป็นต่ออยู่มาก ก็ถลุง แอฟริกาใต้ไปได้สบายๆ ด้วยสกอร์สองนัด 10-4 “มันคงเร็วเกินไปที่จะบอกว่า เราจะไปได้สวยในรอบสุดท้าย แต่การเล่นที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าเรามี การเตรียมพร้อมที่ดี และก่อนมาเล่นที่เมืองไทย เราเตรียมแผนด้วยการลงแข่งฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาเหนือ ที่โมรอคโค เพื่อเสริมสร้างกระดูกและความมั่นใจก่อนลงเล่นในทัวร์นาเมนต์ฟุตซอลที่ใหญ่ที่สุดในโลก” ฟอร์ซี่ เบลฮาจ เจ้าหน้าที่ประสานงานของทีมฟุตซอลลิเบีย หล่นความเห็นเอาไว้ ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ อับดุลซัลลาม ชาราด้า, ยูเซฟ มัสบาห์ และ อาห์เหมด ฟาเตห์
โปรตุเกส อันดับโลก 5 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 3 ครั้ง ดีที่สุด อันดับสาม
PORTUGAL 2000 (2000)
2004
2008
GROUP C
www.uefa.com
7
โปรตุเกส อีกหนึ่งทีมอันตรายจากแถบเมดิเตอร์เรเนียน เดิมทีพวกเขายังไม่เก่งกาจฟุตวอลอะไรมาก นัก หลังจากพลาดฟุตซอลโลก 3 สมัยแรก ทัพฝอยทองซึ่งได้เทคนิคการเล่นจากบราซิลมาช่วยมากมาย ก็เริ่ม เป็นขาประจำ�ในฟุตซอลโลก เข้ารอบสุดท้ายใน 3 ครั้งหลังสุด รวมถึงการล่องเรือมาจอดเทียบทาที่เมืองไทยใน ครั้งนี้ด้วย สถิติที่ดีที่สุดของโปรตุเกสคือการคว้าอันดับที่สามในปี 2000 ที่กัวเตมาลา หลังจากสู้บราซิลในรอบ รองชนะเลิศไม่ไหว แต่หลังจากนั้นผลงานของโปรตุเกสก็เริ่มอัปปางลงตั้งแต่การตกรอบแบ่งกลุ่มรอบสองใน ไต้หวัน 2004 และจอดรอบแรกด้วยการแพ้เฮด-ทู-เฮด แก่อิตาลี ปารากวัย ในบราซิล 2008 จากความผิดหวังในบราซิล 2008 โปรตุเกสเริ่มฟอร์มทีมกันใหม่ แก้ไขจุดอ่อนหลายๆข้อของทีม และ กลับมาลงเล่นรอบคัดเลือกได้อย่างเต็มภาคภูมิ โดยออกสตาร์ทเกมรอบแบ่งกลุ่มรอบสอง โปรตุเกสเดินหน้า เอาชนะ ลิทัวเนีย ฝรั่งเศส และสโลวะเกีย เป็นที่หนึ่งของกลุ่มอย่างเด็ดขาด ก่อนเข้าไปพบกับงานง่ายอย่างเบ ลารุส ก่อนที่โปรตุเกสจะเชถล่มเอาชนะไปได้ด้วยสกอร์รวม 11-2 ผ่านเข้ารอบสุดท้ายได้สำ�เร็จ แม้โปรตุเกสจะผ่านเข้ารอบสุดท้ายได้สบายๆ แต่ปัญหาของโปรตุเกสในทัวร์นาเมนต์ใหญ่ๆคือ พวก เขามีเทคนิคที่แข็งแกร่ง แต่พละกำ�ลังยังสู้ทีมระดับเดียวกันไม่ได้ บ่อยครั้งที่พวกเขามักเพลี้ยงพล้ำ�ในช่วงท้าย เกม เพราะอึดไม่พอที่จะต้านทานคู่แข่ง “แน่นอน มันเป็นไปได้ที่เราจะทำ�ผลงนให้ดีขึ้นจากฟุตซอลโลกเมื่อสี่ปีที่แล้ว ถ้าดูจากฟอร์มการเล่น และการพัฒนาศักยภาพของผู้เล่นที่ผ่านมา เราเชื่อว่าเราสามารถก้าวไปสู่ระดับโลกได้ เรื่องอย่างนี้จะมีอะไร สำ�คัญไปกว่าการเสริมพละกำ�ลังให้แข็งแกร่ง” โค้ชของทีม จอร์จ บราซ กล่าวถึงแนวทางการทำ�ทีมเพื่อสู้ศึกฟุต ซอลโลก 2012 ขณะที่ตัวผู้เล่น มีหลายคนที่ผ่านศึกฟุตซอลโลกที่บราซิลมา โดยเฉพาะคาร์ดินาล ซึ่งเคยป่วนแนวรับ ไทย จนมีส่วนให้โปรตุเกสเอาชนะไทยในเกมนัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่ม ฟุตซอลโลกที่บราซิลไป 3-2 ในช่วง 7 วินาทีสุดท้าย เช่นเดียวกับริคาร์ดินโญ่ ซึ่งวิ่งตามริมเส้นได้ดีมาก น่าจะเป็นตัวอันตรายที่คู่แข่งของโปรตุเกสต้อง จับตามอง ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ เจา เบเนดิโต, คาร์ดินาล, เปโดร คารี่ และ ริคาร์ดินโญ่ ประตูที่คาร์ดินาลทำ�ได้ เป็นจำ�นวนประตูสูงสุดในรอบคัดเลือกโซนยุโรป ขณะที่ริคาร์ดินโญ่ ก็ติดอันดับตัว จ่ายบอลเพื่อทำ�ประตูสูงสุด อยู่ที่ 5 ครั้ง
43
อาร์เจนติน่า ARGENTINA
อันดับโลก 6 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 6 ครั้ง 1989 1992 1996 2000 2004 2008 ดีที่สุด อันดับ 4 (2004)
อาร์เจนติน่าเป็นหนึ่งในสามชาติรวมถึงสเปนและบราซิลที่ลงเล่นในฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายครบทุก ครั้ง ซึ่งผลงานที่ดีที่สุดของอาร์เจนติน่าคือการคว้าอันดับสี่ ในการแข่งขันที่ไต้หวัน ปี 2004 และยกเว้นการ แข่งขันที่สเปนในปี 1996 ทัพลา อัลบิเซเลสเต้ ไม่เคยพลาดการผ่านรอบแรกเลย ขณะที่โค้ชของอาร์เจนติน่า เฟอร์นานโด ลาร์รานาก้า ตัดสินใจไม่เรียกผู้เล่นตัวหลักที่ค้าแข้งในยุโรป และเลือกใช้แต่ผู้เล่นดาวรุ่งของท้องถิ่น ซึ่งทำ�ให้อายุเฉลี่ยของทีมอยู่ที่ 26 ปี และเหลือผู้เล่นจากชุดที่บราซิล 2008 เพียงสี่คน ในรอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ซึ่งอาร์เจนติน่าคว้าแชมป์มาได้นั้น พวกเขามีสองผู้เล่นที่โชว์ ฟอร์มสุดยอดตลอดทัวร์นาเมนต์คือ ผู้รักษาประตู ศานติอาโก้ เอเลียส และ เลอันโดร พลานาส ตัวรุกที่ช่วย กันดูแลเกมรุกและรับของทีมฟ้า-ขาวให้เป็นไปอย่างไหลลื่น มีสถิติการยิง 18 ลูก เสีย 6 ลูก ตลอดทัวร์นาเมนต์ มีเพียงบราซิลเท่านั้นที่เอาชนะพวกเขาได้ในสกอร์ 3-0 นอกเหนือจากนั้นพวกเขาเอาชนะโคลัมเบียในรอบรอง ชนะเลิศ 1-0 และในนัดชิงชนะเลิศก็ดวลจุดโทษชนะปารากวัย 7-6 หลังเสมอในเวลาปกติ 1-1 “เราได้บรรลุเป้าหมายในการเล่นรอบคัดเลือกแล้ว แต่หนทางข้างหน้าคือการลงเล่นในรอบสุดท้าย ซึ่งเราจะต้องดึงศักยภาพเพื่อสร้างความได้เปรียบในการก้าวขึ้นไปคว้าแชมป์ให้ได้” โค้ช ลาร์รานาก้า ได้ให้ สัมภาษณ์หลังเกมนัดชิงชนะเลิศของรอบคัดเลือกจบลง “เป้าหมายในไทยคือการผ่านเข้าไปสู่รอบรองชนะเลิศ ส่วนหลังจากนั้นก็ขึ้นอยู่กับฟอร์มของผู้เล่นที่จะเค้นออกมาได้ถูกเวลาหรือไม่” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ซานติอาโก้ เอเลียส, เซบาสเตียน โคราซซ่า, เลอันโดร พลานาส, แม็กซิมิเลียโน่ เรสเคีย และ ซานติอาโก้ บาซิเล่
16
44
GROUP D
www.fifa.com
ชัยชนะของอาร์เจนติน่าในฟุตซอลชิงแชมป์โลกทุกสมัยที่ลงเล่น เป็นสถิติสูงสุดอันดับสี่ เป็นรองอิตาลี (18) สเปน (35) และบราซิล (41) เท่านั้น
เม็กซิโก
GROUP D
อันดับโลก 37 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง ดีที่สุด -
4
MEXICO
www.fifa.com
สำ�หรับผู้ที่ติดตามฟุตซอลมาพอสมควร อาจเกิดข้อสงสัยว่า เม็กซิโก เก่งฟุตซอลด้วยหรือ ทำ�ไมถึง มีชื่อในฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายกับทีมอื่นเขาด้วย ทั้งที่ผ่านมาแทบไม่เคยได้ยินผลงานใดๆของทีมฟุตซอลแดน จังโก้เลยแม้แต่น้อย ซึ่งพอไปพลิกแฟ้มประวัติเราจะพบว่า หน้าประวัติศาสตร์ฟุตซอลของเม็กซิโกก็แทบไม่ อะไรให้จดจำ�เช่นกัน พวกเขาไม่เคยมีโอกาสเฉียดกรายกับการผ่านเข้าไปเล่นในฟุตซอลโลกรอบสุดท้าย ปล่อย ให้มหาอำ�นาจประจำ�ทวีปอย่าง สหรัฐอเมริกา คิวบา กัวเตมาลา และคอสตาริกา ผลัดกันครองความยิ่งใหญ่ไป เรื่อยๆ แม้กระทั่งในระดับทวีปเอง พวกเขาทำ�ได้ดีที่สุดในการลงเล่นคอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ ครั้งแรก ตั้งแต่ปี 1996 หลังจากนั้นก็หายเข้ากลีบเมฆ แต่ด้วยฟุตซอลโลกหนนี้ ได้เพิ่มโควต้าของโซนคอนคาเคฟ จาก 3 ทีม เป็น 4 ทีม ทำ�ให้โอกาสของ เม็กซิโกเปิดกว้างขึ้น โดยเฉพาะผลจับฉลากรอบแบ่งกลุ่ม คอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ 2012 ซึ่งพวกเขาร่วมกลุ่ม กับ คอสตาริกา คิวบา และเซนต์คิตส์ แอนด์ เนวิส ในช่วงเวลาที่คิวบากำ�ลังฟอร์มตก และมีตัวการันตีสามแต้ม อย่างเซนต์ คิตส์ให้เสร็จสรรพ งานของเม็กซิโกเริ่มต้นด้วยการเสมอคอสตาริกา 4-4 จากนั้นก็เอาชนะเซนต์ คิตส์ แอนด์ เนวิส ไปได้อย่างยากเย็นผิดคาด 5-4 แถมครึ่งแรกโดนหมู่เกาะเล็กๆทีมนี้ขึ้นนำ�ไปก่อนด้วย ทำ�ให้นัด สุดท้าย จังโก้ ต้องมาชี้ชะตากับคิวบา ใครชนะเข้ารอบทันที ซึ่งปรากฎว่าครึ่งแรกเป็นเม็กซิโกที่นำ�ไปก่อน 2-1 ทำ�ให้ความกดดันตกไปอยู่กับคิวบา พอเข้าครึ่งหลังคิวบาพยายามบุกใส่ แต่กลายเป็นเข้าทางปืนจังโก้ มายิ่งเพิ่ม ได้อีก 3 ลูกฝังคิวบาจมดิน 5-1 เป็นการการันตีอันดับที่สองของกลุ่ม ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศ และหมายความ ว่าพวกเขาได้สิทธิ์ไปเล่นฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายอีกด้วย เมื่อพวกเขาได้รางวัลชิ้นใหญ่ไปครองแล้ว ในเกมรอบรองชนะเลิศจึงแพ้เจ้าภาพ กัวเตมาลา ไป 0-3 ตกลงเล่นรอบชิงอันดับสาม แพ้ต่อเวลาให้กับ ปานามา ไปอีก 4-6 แต่ก็เพียงพอสำ�หรับฟุตซอลโลกครั้งแรกใน ประวัติศาสตร์ของพวกเขา โค้ชผู้พาทีมจังโก้ไปสู่รอบสุดท้ายอย่าง รามอน ราย่า หวังว่าความสำ�เร็จแรกในกัวเตมาลา จะนำ�ไป ต่อยอดในประเทศไทยได้ โดยเฉพาะความหวังในแดนหน้าอย่าง มิเกล อังเคล ลิมอน ซึ่งโค้ชราย่า กล่าวถึงลูก ทีมว่า “เราเก็บตัวอยู่ด้วยกันร่วมสองเดือน แต่เรายินดีกับผลที่ออกมา เราทำ�งานหนักเพื่อบรรลุแผนที่วางเอา ไว้ ประโยชน์ที่ได้จากบทเรียนมากมายในรอบคัดเลือก เราเก็บตุนเอาไว้ เพื่อเราจะเดินทางไปยังประเทศไทยได้ อย่างพร้อมที่สุดเท่าที่จะพร้อมได้” ผู้เล่นตัวหลักของทีม ได้แก่ มิเกล อังเคล ลิมอน, ฟรานซิสดก้ คาติ, อาเดรียน กอนซาเลซ, มอร์กัน พลาต้า และ คาร์ลอส อัลแบร์โต้ โรดริเกวซ ประตูของมิเกล อังเคล ลิมอน ในกัวเตมาลา ทำ�ให้เขากลายเป็นดาวซัลโวประจำ�ทีม และยังมีตัวสนับสนุน ในการทำ�ประตูอีกมากเช่น ฟรานซิสโก้ คาติ, อาเดรียน กอนซาเลซ, มอร์แกน พลาต้า และ คาร์ลอส อัลแบร์ โต้ โรดริเกวซ ที่ยิงได้คนละสองประตู
45
อิตาลี อันดับโลก 3 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 5 ครั้ง ดีที่สุด รองแชมป์
ITALY 1989 1992 1996 2004 2008 2004
ราชันไร้มงกุฎแห่งวงการฟุตซอล กับห้าทัวร์นาเมนต์ที่ผ่านมา ซึ่งอิตาลีไม่เคยได้แชมป์โลกเลยซักครั้ง โดยเฉพาะความพยายามที่ใกล้เคียงที่สุดในปี 2004 แต่ไปเจอกระดูกชิ้นโตอย่างสเปน เบียดเอาชนะไป 2-1 รวม ทั้งในครั้งล่าสุดที่บราซิล 2008 ซึ่งทำ�ได้เพียงอันดับที่ 3 เพราะไปพลาดท่าพ่ายโจทก์เก่าอีกครั้งในช่วงต่อเวลา พิเศษ อิตาลีมาถึงรอบสุดท้ายในครั้งนี้ โดยไม่ระบมเท้าในรอบคัดเลือกเลย เมื่อสอยโรมาเนีย โปแลนด์ บัลแกเรีย ในรอบแรกรวมกัน 19 ประตู ก่อนตบเท้าเข้ารอบเพลย์ออฟ ไปเจอนอร์เวย์ ก่อนจะชนะทั้งไปและกลับ สกอร์รวมกัน 7-0 (5-0 2-0) ดังนั้นรอบคัดเลือกจึงไม่ใช่ปัญหาของอิตาลี เพราะปัญหาที่สำ�คัญที่สุดคือ เมื่อเข้ามาถึงรอบสุดท้าย อิตาลีมีแผนการอย่างไรในการก้าวขึ้นไปคว้า แชมป์ให้ได้เป็นครั้งแรก โค้ชโรแบร์โต เมนิเชลลี่ มีผู้เล่นฝีเท้าดีในมือให้เลือกอยู่มาก โดยเฉพาะผู้เล่นที่โอนสัญชาติ มาจากบราซิล ทั้งวัมแปร์ตา, กาเบรียล ลิมา เขามีคู่หน้าที่ไว้ใจได้อย่าง มาซิโอ ฟอนเต้ และ ซาอัด อัสซิส สำ�หรับ เมนิเชลลี่ ผู้เคยลงเล่นในฟุตซอลโลกปี 1992 เต็มไปด้วยความมั่นใจและความกระหายที่จะพาทีมคว้าแชมป์ แต่ก็ ยังไม่ลืมที่จะวางแผนอย่างรัดกุมตามสไตล์อิตาเลียน “เราบรรลุภารกิจในรอบคัดเลือก และมาถึงเมืองไทยได้ แต่ หลังจากเกมกับนอร์เวย์ เราคงไม่สามารถประมาทกับช่วงเวลาที่เหลืออยู่ ผมต้องขอบคุณหลายๆคนที่ช่วยทำ�ให้ เรามาถึงจุดนี้ได้ และเราเชื่อว่าหากเราทำ�ตามแผนอย่างดีแล้ว เราสามารถสานต่อภารกิจไปจนถึงตำ�แหน่งแชมป์ ได้” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ซาอัด อัสซิส, วัมแปร์ตา, ฟอร์ติโน่, กาเบรียล ลิมา และ ฮัมแบร์โต โฮโนริโอ
10
46
GROUP D
www.uefa.com
ประตูที่อิตาลียิงบัลแกเรียได้ในเกมรอบคัดเลือก ยิงมากที่สุดในเกมรอบคัดเลือกทุกๆโซนของฟุตซอลโลกหน นี้ และยังเป็จำ�นวนผู้เล่นที่ทำ�ประตูได้ในรอบคัดเลือกให้กับอิตาลีอีกด้วย
ออสเตรเลีย AUSTRALIA อันดับโลก 30 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 5 ครั้ง 1989 1992 1996 2000 2004 ดีที่สุด รอบแรก
GROUP D
www.fifa.com
“ฟุตซอลรูส์” ออสเตรเลีย เป็นหนึ่งในขาประจำ�ของฟุตซอลโลก ระหว่างปี 1989 ถึง 2004 ออสเตรเลียผ่านเข้า รอบสุดท้ายได้ถึง 5 ครั้งติดต่อกัน โดยผ่านเพื่อนร่วมทวีปที่อุดมไปด้วยหมู่เกาะทั้งนั้น ทว่าผลงานของพวกเขาไม่ ค่อยเป็นที่จดจำ�เท่าไหร่นัก เนื่องจากมักจะตกรอบแบ่งกลุ่มเป็นประจำ� กับชัยชนะเพียงสองนัด เสมอหนึ่ง และแพ้ ถึงสิบสอง ยิงได้ 24 เสีย 85 แถมในปี 2006 ออสเตรเลียย้ายทวีปไปอยู่เอเชีย และลงเล่นในชิงแชมป์เอเชีย 2008 ที่ไทย ทำ�ได้เพียงรอบแปดทีมสุดท้าย ฟุตซอลโลก 2008 จึงเป็นครั้งแรกที่ออสเตรเลียไม่ได้ผ่านเข้ารอบสุดท้าย มาถึงศึกชิงแชมป์เอเชีย 2012 ที่ สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์ ทัพออสเตรเลียอยู่ร่วมกลุ่มเดียวกับอิหร่าน กา ตาร์ และเกาหลีใต้ ดูจากรายชื่อทีมแล้ว ออสเตรเลียน่าจะควงอิหร่านผ่านเข้ารอบไม่ยาก พวกเขาประเดิมสนาม ด้วยการชนะกาตาร์ 3-1 ต่อมาก็ถล่มเกาหลีใต้เกมศุนย์ด้วยสกอร์ 6-0 และตบท้ายด้วยการแพ้อิหร่าน 0-9 แต่ยัง เข้ารอบเป็นอันดับสองของกลุ่ม ผ่านเข้ารอบก่อนรองชนะเลิศไปลุ้นชิงตั๋วฟุตซอลโลกกับคูเวต และผลปรากฎว่า ออสเตรเลียชนะไป 3-2 ในช่วงต่อเวลาพิเศษ หลังเสมอในเวลาปกติ 2-2 และกลับเข้าสู่ฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายได้ อีกครั้งหนึ่ง ในรอบรองชนะเลิศ ออสเตรเลียยันเสมอญี่ปุ่นได้ในครึ่งแรก 0-0 ก่อนจะโดนยิงสามลูกรวด แพ้ไป 0-3 ตกลงไปชิงอันดับสามเจออิหร่าน คู่แข่งเก่าจากรอบแรก ก่อนจะแพ้ทางกันอีกครั้ง พ่ายไป 0-4 แม้จะได้เพียงอันดับที่สี่ แต่ก็เป้นอันดับที่ดีที่สุดในชิงแชมป์เอเชีย โดยการนำ�ทีมของโค้ช สตีเว่น ไนท์ ได้ใช้การเล่นแบบแข็งแกร่งตามสไตล์ยุโรป ผสมกับการเล่นแบบรัดกุม ทำ�ให้ทีมทำ�ประตูได้จากจังหวะสวนกลับ ได้บ่อย แต่ถึงกระนั้นผู้เล่นส่วนใหญ่ยังเป้นผู้เล่นในระดับสมัครเล่น ประสบการณ์และโอกาสในการลงเล่นจึงยังมี น้อย เป็นจุดอ่อนหลักๆของทีมอยู่ ผู้เล่นออสเตรเลียชุดปัจจุบันยังมีสี่ผู้เล่นจากชุดฟุตซอลโลกเมื่อปี 2004 ทั้ง ผู้รักษาประตู ปีเตอร์ สปาดิส กองหน้าอย่าง แดนนี่ เอ็นกาลูเฟ่ รวมไปถึง ไซมอน คีธ และ ลาชลาน ไรท์ ส่วน ดาเนียล โฟการ์ตี้ ดาวซัลโวประจำ� ทีมจากชิงแชมป์เอเชีย 2012 และ กัปตันทีม เกรกอรี่ จิโอเวนาลี่ เป็นสองผู้เล่นตัวหลักในชุดปัจจุบัน “มันน่าตื่น เต้นมาก ที่ผู้เล่นสมัครเล่นอย่างพวกเราจะได้ไปฟุตซอลโลก” จิโอเวนาลี่ กล่าว “เราควรให้เครดิตกับโค้ชของเราที่ ทำ�งานได้อย่างยอดเยี่ยม จนกระทั่งเรามีวันนี้” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ เฟอร์นานโด เด โมราเอส, คริส เซบาลลอส, ดาเนี่ยล โฟการ์ตี้ และ เกรกอรี่ จิโอเวนาลี่
8
ผู้เล่นจากสิบสี่ของออสเตรเลียที่มีส่วนทำ�ประตู ในชิงแชมป์เอเชีย 2012 โดยเฉพาะดาเนี่ยล โฟการ์ตี้ ที่ยิง มากที่สุด สามประตู
47
อียิปต์
EGYPT อันดับโลก 28 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 5 ครั้ง 1992 1996 2000 2004 2008 ดีที่สุด รอบแบ่งกลุ่มรอบสอง 2000
และในปี 2004 และ 2008 อียปิต์ยังคงเป็นเจ้าประจำ�ของการแข่งขัน แต่ไปไม่ได้ไกลกว่ารอบแรก แม้ทุกวันนี้พวกเขาจะมีอันดับโลกที่เป็นรองลิเบีย แต่ความสำ�เร็จที่ผ่านมายังเป้นเครื่องสะท้อนความยิ่ง ใหญ่ของพวกเขาได้เป็นอย่างดี และในรอบคัดเลือกโซนแอฟริกา พวกเขาเริ่มลงแข่งในรอบสองพบกับตูนีเซีย ก่อน ที่จะเอาชนะไปได้สบายในสกอร์สองนัด 9-3 เข้ารอบสามไปพบกับไนจีเรีย ซึ่งอียิปต์เปิดบ้านเอาชนะไปได้ก่อนใน นัดแรก 8-2 แต่ในนัดที่สอง ซึ่งจะต้องกลับไปเล่นในบ้านของไนจีเรีย ปรากฎว่าทีมอินทรีมรกตขอถอนตัวจากการ แข่งขัน ทำ�ให้อียิปต์ ผ่านเข้ารอบสุดท้ายทันที หลังผ่านเข้ารอบ โค้ช บาเดอร์ อัล ดิน คาลิล ได้ให้ทรรศนะว่า “ในโลกของฟุตบอล แม้ไม่มีอะไรเป็นไป ไม่ได้ แต่ก็ไม่มีอะไรการันตีความสำ�เร็จได้ ที่ผ่านมาเราอาจเป็นขาประจำ�มาโดยตลอด แต่เรายังไปไม่ได้ไกลกว่าที่ เคยทำ�ไว้ที่กัวเตมาลา หากดูอันดับโลกตอนนี้ของเรา จะด้อยกว่าชาติอื่นๆมาก แต่เราเชื่อว่าเรามีดีพอที่จะปักหมุด ทีมของเราลงในฟุตซอลโลก 2012 ได้” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ มาห์มูด อับเดล ฮาคิม, และ อาห์เม็ด ยูสรี่
48
5
ฟุตซอลโลกที่อียิปต์เคยผ่านเข้ารอบ เป็นสถิติของทวีปแอฟริกา
GROUP E
www.smm-online.com
“ฟาโรห์” อียปต์ จัดเป็นชาติ มหาอำ�นาจฟุตซอลแห่งแอฟริกา ตัวจริง เสียงจริง ซึ่งมีโอกาสได้ลุยฟุตซอลโลกมา ตั้งแต่ปี 1996 ที่สเปน และยังสร้างสถิติ เป็นชาติแรกของแอฟริกาที่ชนะในฟุตซอล โลก รอบสุดท้าย ด้วยการชนะออสเตรเลีย 8-2 ส่วนทัวร์นาเมนต์ที่ดีที่สุดของพวกเขา คือการผ่านเข้ารอบแบ่งกลุ่มรอบสอง ที่ กัวเตมาลา 2000 ซึ่งในรอบแรก พวกเขา เอาชนะไทยได้ด้วยสกอร์ 7-0
เช็ก CZECH REPUBLIC
GROUP E
อันดับโลก 17 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 2 ครั้ง 2004 2008 ดีที่สุด รอบแบ่งกลุ่มรอบสอง 2004
4
www.uefa.com
สาธารณรัฐเช็ก กับฟุตซอลโลก โคจรมาพบกัน 2 ครั้งด้วยกัน คือปี 2004 ซึ่งผ่านรอบแรกไปได้ในกุล่ม เดียวกับไทย แต่มาตกรอบแบ่งกลุ่มรอบสอง ซึ่งเจอของแข็งทั้งอิตาลี สเปน และโปรตุเกส เบียดตกรอบไป ต่อมา ในปี 2008 ที่บราซิล เช็กเข้ารอบมาอีกครั้ง โดยชนะลิเบีย กับอุรุกวัยได้ แต่ไปแพ้สเปน และอิหร่านในนัดสุดท้าย ตกรอบแรกไปอย่างน่าลุ้น สำ�หรับเช็กในปัจจุบัน พวกเขายังเป็นทีมระดับกลางที่พร้อมสอดแทรกอยู่เสมอ แต่การตกรอบแรก ยูโร ฟุตซอล 2012 ด้วยารแพ้โรมาเนีย และเจ้าภาพ โครเอเชีย ทำ�ให้ทีมต้องมาทบทวนการเล่นใหม่อีกครั้ง มีการเรียก ผู้เล่นตัวใหม่ๆเข้ามาลองทีม เพื่อเตรียมทำ�ศึกรอบคัดเลือกฟุตซอลโลก แต่ยังมีผู้เล่นประสบการณ์สูงประคองทีม อย่าง มิชาล มาเรส ในวัย 36 ปี รวมถึงกึ๋นของโค้ช นอยมันน์ ทำ�ให้ในรอบคัดเลือก เช็ก ผ่านด่านทั้ง เนเธอร์แลนด์ ตุรกี และ เบลารุส มาได้ ก่อนจะเข้าไปเพลย์ออฟกับทีมรองบ่อนอย่างสโลวีเนีย แต่ปรากฎว่าฟอร์มเก่งในรอบแรก ของเช็กหายไปหมดสิ้น เมื่อบุกไปแพ้สโลวีเนียมาก่อนในนัดแรก 0-2 เดือดร้อนเกมที่กลับมาเล่นในบ้าน ต้องเร่ง ฟอร์ม จนชนะมาได้ 4-1 เบียดเข้ารอบไปอย่างหวุดหวิด สำ�หรับเป้าหมายของเช็กในไทยแลนด์ 2012 นี้ โค้ชนอยมันน์ได้วางแผนการเล่นแบบรับลึก และเน้นโต้ ด้วยผู้เล่นวัยหนุ่มอย่างเช่น มิชาล ซีดเลอร์ ในวัย 22 ปี มีแนวรับวิ่งพล่านอย่าง ยีรี่ โนว็อตนี่ และรวมกำ�ลังกับผู้ เล่นประสบการณ์สูงอย่าง มิชาล มาเรส, มาเร็ค โคเป็คกี้ และ ลูคัส เรเซสตาร์ ในการบดขยี้คู่แข่งทุกรายในศึกครั้ง นี้ ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ โรมัน มาเรส, มิชาล มาเรส, ลูคัส เรเซตาร์ และ มาเร็ก โคเป็คกี้ ผู้เล่นอายุเกิน 35 ปี ที่เช็กส่งลงเล่นในรอบคัดเลือก ซึ่งล้วนเป็นผู้เล่นที่มีประสบการ์จากฟุตซอลโลกครั้งที่ ผ่านๆมาทั้งสิ้น
49
เซอร์เบีย
SERBIA
อันดับโลก 14 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง ดีที่สุด - www.uefa.com
50
3.4
GROUP E
ย้อนกลับไปในปี 1992 ยูโกสลาเวีย เคยเป็นหนึ่งในทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตซอลโลกที่ฮ่องกง แต่เนื่องจากสงครามกลางเมือที่เกิดขึ้น ทำ�ให้ประเทศถูกแบนจากเวทีโลกในทุกวงการ รวมไปถึงวงการ กีฬา ซึ่งทีมกีฬาของยูโกสลาเวียถูกแบนจากการแข่งขัน (อย่างในฟุตบอลยูโร 1992 ซึ่งการโดนแบนของ ยูโกสลาเวียทำ�ให้เดนมาร์กได้เข้ามาเล่นแทน และเป็นแชมป์ในบั้นปลาย) และส่งผลมาถึงฟุตซอลโลก 1992 ซึ่งยูโกสลาเวียก็ถูกแบนเช่นกัน ตั้งแต่นั้นมา ทีมโต๊ะเล็กจากแดนเซิร์บก็ไม่เคยได้ย่างกรายเข้ามาถึง รอบสุดท้ายได้เลย ไม่ว่าจะในชื่ออะไรก็ตาม จนกระทั่งทีมชาติเซอร์เบีย ยุค 2012 ได้สร้างประวัติศาสตร์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตซอลโลกเป็น ครั้งแรกของประเทศ หลังจากทีมมีพัฒนาการที่ดีขึ้นมากอีกทีมหนึ่งของยุโรปตะวันออก อย่างในฟุตซอลชิง แชมป์ยุโรป พวกเขาผ่านเข้าถึงรอบสุดท้ายได้ถึงสามครั้งติด และในครั้งล่าสุด ก็เข้าถึงรอบก่อนรองชนะเลิศ ก่อนไปแพ้รองแชมป์ในครั้งนั้นอย่างรัสเซีย ตกรอบไป ส่วนในรอบคัดเลือกฟุตซอลโลก เซอร์เบียก็ทำ�ได้ดีเช่นกัน พวกเขาเริ่มต้นในรอบแบ่งกลุ่มรอบ สอง โดยการยกพลไปเล่นที่สโลวีเนีย เก็บชัยชนะได้สามเกมรวด ทั้งในเกมกับมอลโดวา อิสราเอล และสโล วีเนีย ผ่านเข้าไปเพลย์ออฟกับฮังการี ซึ่งมีฝีเท้าที่ใกล้เคียงกัน ทำ�ให้คาดเดาได้ยากว่าใครจะได้ตั๋วผ่านเข้า รอบไป โดยในเกมนัดแรกที่กยองยอส ของฮังการี เป็นเจ้าถิ่นที่เฉือนเอาชนะไปได้ก่อน 1-0 แต่ในสัปดาห์ ต่อไป เซอร์เบีย กลับมารอเปิดบ้านที่เบลเกรด ไล่อักฮังการีเสียกลับบ้านไม่ถูกไปถึง 6-1 ชัยชนะจากนัด แรกของฮังการีไม่มีความหมายใดๆเลย เซอร์เบียได้ผ่านเข้าไปเล่นฟุตซอลโลกรอบสุดท้ายเป็นครั้งแรกใน ประวัติศาสตร์ด้วยสกอร์รวม 6-2 ทีมเบลี่ เบโลวี่ หรืออินทรีขาว ชุดนี้เป็นการผสมผสานของทีมเยาวชนและนักเตะรุ่นพี่ผู้มี ประสบการณ์ช่วยประคับประคองทีมได้ดี มีตัวรับคนสำ�คัญอย่างอเล็กซานเดอร์ ซิวาโนวิช ซึ่ง่ชวยทีมได้ดี มากในเกมเพลย์ออฟ รวมไปถึงกองหลังอีกคนอย่าง วิดาน โบโยวิช ซึ่งยิงไปถึง 4 ประตูในฟุตซอลชิงแชมป์ ยุโรปที่โครเอเชีย จนติดอันดับ 3 ของผู้ทำ�ประตูสูงสุดประจำ�ทัวร์นาเมนต์ ส่วนจุดอ่อนคือเกมรุกที่ยังสอด ประสานได้ไม่เนียนตาเท่าไหร่ และเทคนิคที่ยังเป็นรองหลายๆทีมอยู่ ที่สำ�คัญที่สุดคือเรื่องของประสบการณ์ ในทัวร์นาเมนต์ระดับโลก ซึ่งถือว่ายังเป็นโลกใหม่ของเซอร์เบีย ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ สโลโบดาน ราเยเซวิช, อเล็กซานเดอร์ ซิวาโนวิช, มิโอดรัก อัคเซนติเยวิช, โบ ยาน พานิเซวิช และ วิดาน โบโยวิช
ประตูเฉลี่ยที่เซอร์เบียยิงได้ในรอบคัดเลือก โดยเฉพาะเกมนัดสำ�คัญในรอบเพลยออฟนัดที่สองกับฮังการี ซึ่ง ขุนพลอินทรีขาวช่วยกันยิงไปหกเม็ด การันตีการเข้ารอบสบายๆ
คูเวต
KUWAIT
อันดับโลก 64 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง ดีที่สุด -
GROUP E
www.smm-online.com
7
คูเวตถือว่าเป้นชาติระดับเล็กในโลกฟุตซอล และการเข้ารอบสุดท้ายฟุตซอลชิงแชมป์โลกครั้งนี้ก็ เป็นครั้งแรกของพวกเขา ซึ่งหนทางในการข้ารอบมาได้นั้นถือว่าค่อนข้างโชคดี เพราะเข้ารอบในฐานะทีม ที่แพ้ในรอบแปดทีมสุดท้ายของศึกชิงแชมป์เอเชีย 2012 ที่มีผลงานดีที่สุด ส่วนเรื่องราวนอกเหนือจากนั้น ฟุตซอลคูเวตมักซ่อนตัวในหลืบเล็กๆ ไม่ค่อยมีใครได้รู้เรื่องราวมากนัก ผลงานที่ดีที่สุดในระดับทวีปของคูเวตคือ การคว้าอันดับ 4 ในปี 2003 หลังแพ้ไทย 2-8 ในเกมชิง อันดับสาม ขณะที่ปี 2004 เข้าถึงรอบแปดทีมสุดท้าย ทว่านับแต่นั้นมา พวกเขามักตกรอบแรกเป็นประจำ� จนกระทั่งในปี 2012 ที่ยูเออี พวกเขาอยู่ในรอบแบ่งกลุ่มที่มีทั้งอุซเบกิสถาน จีน และอินโดนีเซีย จึงไม่น่า แปลกใจหากผู้สันทัดกรณีจะมองว่า คงเป็นอีกหนึ่งครั้งที่คูเวตไม่ได้ไปต่อ แต่หลังการลงเล่นนัดแรกซึ่งคูเวต ยันเสมออุซเบกิสถานได้สำ�เร็จ 1-1 นั่นคือจุดที่ทำ�ให้หลายคนเริ่มหันมามองคูเวตมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้น คูเวตยิ่งเล่นยิ่งได้ใจ เอาชนะอินโดนีเซีย 9-3 ก่อนจะปิดท้ายด้วยการชนะจีนแบบช็อกตาตั้ง 5-0 เข้ารอบ เป็นที่หนึ่งของกลุ่มแบบไม่มีใครคาดคิด ในรอบแปดทีมสุดท้าย พวกเขาต้องเจอทีมสูงใหญ่ แรงปะทะดีอย่าง ออสเตรเลีย แต่ด้วยความ มั่นใจประกอบกับทีมเวิร์ค ทำ�ให้คูเวตสามารถยันออสเตรเลียได้ใน 40 นาทีของเวลาปกติ 2-2 ก่อนจะ โดนยิงขึ้นนำ�ในนาทีที่ 2 ของการต่อเวลา และไม่สามารถทวงประตูคืนได้ แพ้ไป 2-3 ทว่าคูเวตกลับได้อา นิสงค์จากการเพิ่มทีมของฟุตซอลโลก ทำ�ให้คูเวตซึ่งรู้ว่ามีตั๋วฟุตซอลโลกหนึ่งใบให้แก่ทีมผู้แพ้ในรอบแปด ทีมที่ทำ�ผลงานได้ดีที่สุด พวกเขาจึงพยายามอุดประตูไม่ให้ออสเตรเลียทำ�ประตูหนีห่าง เพราะอีกคู้หนึ่งนั้น คีร์กิซสถานแพ้ญี่ปุ่น 0-1 จากสถานการณ์คือคูเวตยังถือตั๋วอยู่ เพราะยิงได้ในรอบแปดทีมมากกว่าคีร์กิซ สถานหนึ่งลูก และพวกเขาก็ยันการบุกของออสเตรเลียได้สำ�เร็จ ตั๋วฟุตซอลโลกจึงถูกมือของคูเวตกำ�ไว้แน่น หลังผ่านเข้ารอบสุดท้าย โค้ช หลุยส์ ฟอนเซก้า บอกว่า “การเข้ารอบสุดท้ายถือว่าเป็นเป้าหมาย ของเรามาตั้งแต่แรกแล้ว เรารู้ว่าผู้เล่นของเราจะทำ�ให้ชาวคูเวตหันมาสนใจฟุตซอลมากขึ้น และการลงเล่น ในเวทีระดับโลกจะช่วยยกระดับให้ผู้เล่นทุกคนพัฒนาฝีเท้าขึ้นได้อย่างแน่นอน” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ อาห์หมัด อัล ฟาร์ซี่, อับดุลราห์มาน อัล วาดี, ชาเกอร์ อัล มูไตรี่ และ อับดุล ราห์มาน อัล ตาวีล จำ�นวนผู้เล่นที่ทำ�ประตูให้คูเวตในศึกชิงแชมป์เอเชีย 2012 ซึ่งยิงรวมกัน 14 ประตู
51
รัสเซีย อันดับโลก 4 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 4 ครั้ง 1996 2000 2004 2008 ดีที่สุด อันดับสาม 1996
RUSSIA
www.uefa.com
52
16
GROUP F
นอกจากบราซิล สเปน และอิตาลีแล้ว ชื่อของรัสเซียคืออีกหนึ่งมหาอำ�นาจฟุตซอลระดับโลก พวก เขามีเทคนิคชั้นดีจากการเล่นฟุตบอลในร่มซึ่งพวกเขาเล่นเป็นปกติมาช้านาน เวลาเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ซึ่ง ทำ�ให้เทคนิคของผู้เล่นรัสเซียมีความพลิ้วไหว นอกเหนือจากความแข็งแกร่งที่เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว แต่พวกเขายังต้องพัฒนาตัวเองอีกมากหากจะ ไปให้ไกลกว่าตำ�แหน่งอันดับสามที่เคยทำ�ไว้ที่กัวเตมาลา เมื่อปี 1996 โดยรัสเซียเคยลงแข่งในฟุตซอลโลก มาแล้ว 4 ครั้ง โดยนอกจากอันดับสามที่ได้จากการชนะยูเครนแล้ว ในครั้งล่าสุดที่บราซิลก็คว้าอันดับสี่มา ครองได้สำ�เร็จ และนั่นยังเป็นปีที่พวกเขาไล่ถลุงหมู่เกาะโซโลมอน 31-2 เป็นสถิติฟุตซอลโลกมาจนถึงทุก วันนี้ ส่วนในรอบคัดเลือก รัสเซีย ในฐานะทีมวางถุกจับมาเล่นในรอบแบ่งกลุ่มรอบสอง ไปเล่นที่ฮังการี ก่อนโชว์ฟอร์มสวยชนะสามนัดรวดทั้งกับ ลัตเวีย คาซัคสถาน และเจ้าของสนามอย่างฮังการี ผ่านเข้าไป เพลย์ออฟกับอาเซอร์ไบจาน ทีมดาวรุ่งพุ่งแรงใน พ.ศ. นี้ ซึ่งไม่ง่ายเลยที่รัสเซียจะโค่นอาเซอร์ไบจานได้ลง โดยพวกเขาบุกไปเฉือนเอาชนะได้ก่อนถึงเมืองบากู 3-2 ก่อนกลับมาบ้านยันเสมออาเซอร์ไบจานได้ 2-2 ทั้ง ที่ในครึ่งหลัง รัสเซียเจียนอยู่เจียนไปหลายจังหวะ แต่ยังอาศัยความเก๋าสนาม ผ่านเข้ารอบมาได้ ตัวหลักของทีมชาติรัสเซียยังเป็นชุดเดิมจากฟุตซอลโลกที่บราซิล และชุดคว้ารองแชมป์ยุโรปหน ล่าสุด ที่โดนสเปนแซงเอาชนะในการต่อเวลาพิเศษไปได้ 3-1 มีตัวผู้เล่นรัสเซียนอย่าง อเล็กซานเดอร์ ฟู คิด เป็นตัวชูโรง ผสมผสานกับตัวโอนสัญชาติ โดยมีดาวซัลโวฟุตซอลโลก 2008 อย่าง ปูล่า เป้นตัวเจาะ ตาข่าย สนับสนุนการเล่นโดยตัวทำ�เกมอย่าง ชิริลโล่ และผู้รักษาประตู กุสตาโว่ เป็นบราซิลเลียนทรีโอ ที่ สั่นประสาทคู่แข่งได้ทุกทีม ขณะเดียวกันตัวโค้ชอย่าง เซอร์เกย์ สโคโรวิช ยังต้องการเน้นให้ทีมรักษามาตรฐานที่เข้ารอบสี่ทีม สุดท้ายได้เป็นอย่างน้อย ก่อนที่ในรอบรองชนะเลิศจะไปว่ากันอีกที เพราะคู่แข่งอย่างบราซิล สเปน อิตาลี ที่น่าจะเข้าวินได้ตามคาด ไม่มีทีมไหนง่ายเลย และชื่อชั้นของรัสเซียเป็นรองทีมเหล่านี้ทั้งหมด ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ชิริลโล่, อเล้กซานเดอร์ ฟูคิน และ ปูล่า
ประตูของปูล่าที่ยิงได้ในฟุตซอลโลก 2008 ที่บราซิล จนกลายเป็นดาวซัลโว แซงหน้า ฟัลเกา ขวัญใจเจ้าถิ่น ไปได้สำ�เร็จ
มก.โซโลมอน SOLOMON IS.
GROUP F
อันดับโลก 46 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 1 ครั้ง 2008 ดีที่สุด รอบแรก
หลังจากออสเตรเลียตัดสินใจย้ายทีมไปเล่นในทวีปเอเชียในปี 2006 นั่นทำ�ให้โอกาสของทีมใน บรรดาหมู่เกาะของมหาสมุทรแปซิฟิก ที่จะลืมตาอ้าปากในทัวร์นาเมนต์ระดับโลกเพิ่มขึ้นทันที โดยเฉพาะ ในฟุตซอลโลก ซึ่งทีมจากโอเชียเนียได้สิทธิ์หนึ่งทีม ดังนั้นการแข่งขันในทวีปหมู่เกาะแห่งนี้จึงประทุขึ้น อย่างหนักหน่วงขึ้นกว่าเมื่อก่อน และทีมแรกจากละแวกหมู่เกาะที่ก้าวเข้าสู่รอบสุดท้ายในฟุตซอลโลกนั่นคือ หมู่เกาะโซโลมอน ซึ่ง ผ่านเข้าไปเล่นในบราซิล 2008 แต่เมื่อความจริงในระดับโลกปรากฎขึ้น หมู่เกาะโซโลมอนแพ้รวดแบบ ย่อยยับตั้งแต่การแพ้คิวบา 2-10 แพ้บราซิล 0-12 แพ้ ญี่ปุ่น 2-7 และแพ้รัสเซียเป็นสถิติทัวร์นาเมนต์ 2-31 ตกรอบแรกพร้อมแบกลูกเสียกลับบ้านไปถึง 69 ประตู แม้จะยับเยินกลับประเทศ แต่ชาวโซโลมอนยังตั้งใจจะเห็นทีมไปเล่นในทัวร์นาเมนต์ระดับโลก เรื่อยๆ ในอีก 4 ปีต่อมา พวกเขาลงแข่งในโอเอฟซี ฟุตซอล แชมเปี้ยนชิพ ที่ประเทศฟิจิ ในรอบแบ่งกลุ่ม โซโลมอนผ่านตาฮิติ นิวคาลิโดเนีย และตูวาลู ไปได้สบายๆ เข้าสู่รอบรองชนะเลิศปราบวานูอาตู 13-1 ก่อน ที่ในรอบชิงชนะเลิศจะโคจรมาเจอกับตาฮิติอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในรอบแบ่งกลุ่ม หมู่เกาะโซโลมอนเฉือนมาได้ เพียง 1-0 ดังนั้นเกมในรอบชิงชนะเลิศนี้ จึงไม่ใช่ของง่ายๆสำ�หรับโซโลมอนแน่ และก็เป็นอย่างนั้นจริงๆใน ครึ่งแรก เมื่อเป็นฝ่ายตาฮิติที่รอจังหวะสวนกลับยิงประตูขึ้นนำ�หมู่เกาะโซโลมอนไปก่อนถึง 3-1 ดูเหมือนทุก อย่างจะขึ้นอยู่กับตาฮิติแล้ว แต่ในครึ่งหลัง ทีมโซโลมอนตั้งสติกลับมาได้ทัน ค่อยๆยิงไล่ตาฮิติขึ้นมาเรื่อยๆ จนกระทั่งพลิกแซงได้สำ�เร็จด้วยสกอร์ 6-4 คว้าแชมป์ทวีป พร้อมกับผ่านเข้าไปเล่นฟุตซอลโลกรอบสุดท้าย ได้เป็นสมัยที่สองติดต่อกัน เอลเลียตต์ ราโกโม่ กัปตันทีมให้สัมภาษณ์หลังเกมว่า “เราทำ�งานกันหนักมากเพื่อที่ยืนในฟุตซอล โลก เรากำ�ลังจะเดินทางไปลงแข่ง และเราจะเป็นความภาคภูมิใจของโอเชียเนีย” แน่นอนว่าลูกทีมของโค้ช ดิ๊คสัน คาเดา คงไม่คาดหวังจะผ่านเข้ารอบลึกๆ ขอเพียงแค่แพ้ด้วย สกอร์ที่น้อยลง หรือหวังเก็บคะแนนจากเพื่อนร่วมกลุ่มที่มีทั้งกัวเตมาลา โคลอมเบีย และโจทก์เก่าอย่าง รัสเซีย ให้ได้บ้างก็ถือว่าน่าภูมิใจไปทั้งทวีปแล้ว ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ มิกาห์ เลียอาลาฟา, เอลเลียตต์ ลาโกโม่, และ แจ็ค เว็ตนี่ย์
49
ประตูที่หมู่เกาะโซโลมอนทำ�ได้ใน โอเอฟซี ฟุตซอลแชมเปี้ยนชิพ 2011 โดยเฉพาะเกมที่ยิงถล่มตูวาลูในรอบ แบ่งกลุ่ม 16-0
53
กัวเตมาลา GUATEMALA อันดับโลก 22 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา 2 ครั้ง 2000 2004 ดีที่สุด รอบแรก www.futsalleage-blogspot.com
6,131
54
GROUP F
อดีตเจ้าภาพฟุตซอลโลกเมื่อปี 2000 เจ้าของผลงานเข้ารอบสุดท้ายสองสมัย โดยเริ่มจากครั้งที่ตน เป็นเจ้าภาพในปี 2000 แม้พวกเขาจะลงเอยด้วยการตกรอบแรก แถมยังโดนบราซิลอัดเละไปถึง 2-29 และ โดนโปรตุเกสอัดไป 2-6 แต่อย่างน้อยก็ยังเก็บชัยชนะได้ในเกมกับคาซัคสถาน 6-5 ก่อนที่จะเว้นว่างไปในปี 2004 และกลับเข้าสู่รอบสุดท้ายอีกครั้งในปี 2008 ซึ่งพวกเขาพัฒนามากขึ้นด้วยการชนะ 2 นัดในรอบแบ่ง กลุ่ม ชนะอียิปต์ 1-0 และชนะ จีน 10-1 และลูกได้สีย +5 แต่ยังไม่ดีพอที่จะผ่านเข้ารอบต่อไป ดังนั้การผ่าน เข้ามาเล่นในไทยแลนด์ 2012 กัวเตมาลาจึงไม่อยากมาพบจุดจบในรอบเดิมอีกต่อไป ก่อนจะมาถึงรอบสุดท้าย กัวเตมาลาต้องลงแข่งในศึกคอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ ซึ่งเป็นการคัด เลือกฟุตซอลโลกไปในตัว พวกเขาถูกยกให้เป็นเต็งลำ�ดับต้นๆที่จะได้ผ่านเข้ารอบสุดท้าย เนื่องจากพวกเขา เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันด้วย โดยในรอบแบ่งกลุ่ม พวกเขาชนะสามนัดรวด โดยเฉพาะนัดแรกที่เอาชนะ แคนาดาได้ 7-3 ต่อมาก็ยังเอาชนะปานามาได้ 5-2 และมาถึงนัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่ม กัวเตมาลาก็ เฉือนสหรัฐได้ 2-1 เป็นการถีบสหรัฐอเมริกาตกรอบอย่างไม่น่าเชื่อ และทำ�ให้กัวเตมาลาเข้ารอบในฐานะ แชมป์กลุ่ม และมีตั๋วฟุตศอลโลกพ่วงเข้าไปด้วย มาถึงรอบรองชนะเลิศ กัวเตมาลายังเถือเม็กซิโกเบาๆ 3-0 ก่อนจะทะลุเข้ารอบชิงชนะเลิศเจอกับคอสตาริกา แต่ความหวังที่จะคว้าแชมป์ทวีปในบ้านตัวเองต้องพัง ลง เมื่อเป็นฝ่ายตามหลังทีมกล้วยหอมตั้งแต่ครึ่แรก 1-2 ก่อนครึ่งหลังจะผลัดกันยิงคนละลูก และสุดท้าย กัวเตมาลาแพ้ไป 2-3 แต่ถึงกระนั้นพวกเขาก็ยังเป็นตัวแทน 1 ใน 4 ทีมของทวีป ไปลุยศึกรอบสุดท้าย ลูกทีมของ เอดูอาร์โด้ เอสตราด้า มีลีลาการเล่นที่หาตัวจับยาก และส่วนใหญ่มีพื้นฐานการเล่นที่ ดี มาจากลีกภายในประเทศคือ ลีกา นาซิอองนาล เด ฟุตซอล ซึ่งได้ปลุกกระแสให้ชาวกัวเตามาลาหันมา ติดตามฟุตซอลอย่างจริงจัง รวมทั้งเป็นการแข่งขันให้ผู้เล่นแต่ละคนต้องพัฒนาฝีเท้าไปในตัว ทำ�ให้ผลงาน ของทีมชาติค่อยๆดีขึ้นเรื่อยๆ “รากฐานของลีกนั้นดีมาก แต่ทุกอย่างต้องขึ้นอยู่กับทิศทางที่ทีมชาติจะเดิน หน้าไป มันช่วยให้เยาวชนในประเทศตื่นตัวกันมากขึ้น และสนใจมาเล่นฟุตซอล เราจึงมีผู้เล่นหน้าใหม่ๆที่ ก้าวขึ้นมามากมาย และทุกคนล้วนอยากติดทีมชาติ มีความกระหายในชัยชนะ ซึ่งเราหวังจะใช้จุดนี้ในการ เล่นฟุตซอลโลกหนนี้” เอสตราด้ากล่าวด้วยความมั่นใจในความกระหายของลูกทีม ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ อลัน โจชูว์ อกีร์ล่าร์, ฮุมแบร์โต อาร์มันโด เอสโคบาร์ และ โฆเซ่ ราฟาเอล กอน ซาเลซ
จำ�นวนผู้ชมเฉลี่ยของเกมคอนคาเคฟ แชมเปี้ยนชิพ นัดที่กัวเตมาลาลงแข่งซึ่งเป็นสถิติผู้ชมของทวีปไปใน ทันที บ่งบอกถึงความคลั่งไคล้ในเกมโต๊ะเล็กของชาวกัวเตมาลาเป็นอย่างมาก
โคลัมเบีย
COLOMBIA
อันดับโลก 19 ฟุตซอลโลกที่ผ่านมา - ครั้ง ดีที่สุด -
GROUP F
www.fifa.com
ไทยแลนด์ 2012 คือฟุตซอลโลกครั้งแรกของ “ลา คาเฟเตรอส” ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่น่าชื่นชมไม่ น้อยสำ�หรับชาติที่เพิ่งเริ่มเล่นฟุตซอลได้ไม่ถึง 10 ปี โดยฟุตซอลระดับชาติเกมแรกของโคลัมเบีย คือ เกมโค ปา อเมริกา ในเดือนสิงหาคม 2003 ซึ่งโคลัมเบียเอาชนะโบลิเวียไปได้ 5-2 หลังจากนั้นโคลัมเบียพยายาม พัมนาฝีเท้าให้เป็นหนึ่งในทีมระดับทวีป แต่ก็ยังไม่ดีพอ จนกระทั่งในเกมรอบคัดเลือกฟุตซอลโลก 2012 ที่ โคลอมเบียสามารถฝ่าด่านจนคว้าตั๋วของทวีปได้สำ�เร็จ โคลัมเบียเริ่มต้นรอบคัดเลือกด้วยการชนะอุรุกวัย 3-1 แม้จะมาสะดุดในเกมนัดที่สองด้วยการแพ้ เวเนซุเอล่า 4-5 และหลังจากนั้นอีกสองเกม พวกเขาไม่พลาดเลย ด้วยการชนะปารากวัย 7-2 และชนะ เอกวาดอร์ปิดท้าย 5-0 เป็นแชมป์กลุ่ม และการันตีการผ่านเข้ารอบสุดท้ายแน่นอนแล้ว ในรอบรองชนะ เลิศ โคลัมเบียสู้กับอาร์เจนติน่าได้อย่างสูสี ก่อนจะโดนยิงในครึ่งหลังแพ้ไป 0-1 ต้องลงไปชิงอันดับที่สาม กับบราซิล ก่อนที่จะแพ้บราซิลไปตามคาด 1-5 ผลงานที่ดีขึ้นอย่างผิดหูผิดตาของโคลัมเบีย ต้องยกความดีความชอบให้กับ โค้ช อาร์เน่ย์ ฟอนเซ ก้า ซึ่งเน้นพัฒนาเกมรุกให้มีประสิทธิภาพ จนเกิดดาวรุ่งหลายๆคนที่ถูกจับตามองจากทีมฟุตซอลยักษ์ใหญ่ ในยุโรป รวมไปถึงทัศนะคติการเล่นกับทีมที่ใหญ่กว่า ก็ทำ�ได้ดีขึ้น จนสามารถเบียดอุรุกวัย ทีมที่ได้ไปเล่น รอบสุดท้ายเมื่อครั้งที่แล้วได้สำ�เร็จ นำ�ทีมเกมรุกโดย อังเกลลอต คาโร่ เจ้าของผลงาน 5 ประตู จาก 6 นัด ในรอบคัดเลือก และอันเดรียส คามิโล่ อีกหนึ่งตัวยิงดาวรุ่งของทีม ขณะที่เกมรับ ได้ผู้รักษาประตูอย่าง ฆวน โลซาโน่ และ กองหลังตัวสุดท้ายอย่าง มิเกล ซิเอร่า ซึ่งมีประสบการณ์สูง ช่วยกวาดหน้าบ้านให้ทีมได้อย่าง ดีเยี่ยม อันเกลลอต คาโร่ เผยถึงความมั่นใจในศึกรอบสุดท้ายนี้ว่า “เราจบในอันดับที่เหนือกว่าอุรุกวัย ทีม ที่เคยไปเล่นฟุตซอลโลกก่อนเรา และมีผู้เล่นจำ�นวนหนึ่งไปเล่นในยุโรป ด้วยวินัย และความกล้าหาญในการ เล่นของเรา เราพร้อมแล้วที่ไปเล่นฟุตซอลโลก” ผู้เล่นตัวหลักได้แก่ ฆวน โลซาโน่, มิเกล ซิเอร่า, อันเกลลอต คาโร่ และ อันเดรียส คามิโล่
25.09
อายุเฉลี่ยของผู้เล่นโคลอมเบียในรอบคัดเลือก โดยผู้เล่นที่อายุมากที่สุดคือ ฆวน โลซาโน่ วัย 29 ปี ส่วน เย ฟรี่ ดูเก้ คือผู้เล่นอายุน้อยที่สุด อยู่ที่ 20 ปี
55
รายชื่อผู้เล่น GROUP A
ไทย
1 ประกิต ด่านขุนทด 30/12/1983 2 ก้องหล้า เหล็กกล้า 10/05/1986 3 นที จีปน 28/10/1986 4 ปิยพันธ์ รัตนะ 16/07/1985 5 จิรวัฒน์ สอนวิเชียร 25/10/1988 6 ธนัญชัย ชมบุญ 26/06/1985 7 กฤษดา วงษ์แก้ว 29/04/1988 8 เจษฎา ชูเดช 20/02/1989 9 ศุภวุฒิ เถื่อนกลาง 14/07/1989 10 อภิวัฒน์ แจ่มเจริญ 31/03/1991 11 ณัฐวุฒิ หมัดยะลาน 12/04/1990 12 สุรพงค์ ทมพา 25/11/1978 13 อารีฟ อาหามะ 15/01/1987 14 เกียรติยศ แฉล้มเขตร์ 02/11/1989 โค้ช วิกเตอร์ เฮอร์แมน (เนเธอร์แลนด์)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า กองกลาง
การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ไทย) สุราษฎร์ธานี (ไทย) ลำ�ปาง (ไทย) การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ไทย) สุราษฎร์ธานี (ไทย) สุราษฎร์ธานี (ไทย) ชลบุรี ธอส อาร์แบค (ไทย) ราชนาวี (ไทย) ชลบุรี ธอส อาร์แบค (ไทย) ชลบุรี ธอส อาร์แบค (ไทย) การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ไทย) ราชนาวี (ไทย) การท่าเรือแห่งประเทศไทย (ไทย) ชลบุรี ธอส อาร์แบค (ไทย)
1 ไจโร โตรูโน่ 2 อโดเนย์ วินดาส 3 จัสติน วัลเลส 4 หลุยส์ นาวาเรตเต้ 5 เอ็ดวิน คูบิลโล่ 6 จอร์เก้ อาเรียส 7 อเลฮานโดร ปาเนียกัว 8 โฆเซ่ กูวาร่า 9 มาร์โก คาร์วายาล 10 มิเชล คอร์โดบา 11 อารอน เยเรส 12 ดิเอโก้ ซูนิก้า 13 เอริค เบรเนส 14 อัลวาโร่ ซานตามาเรีย โค้ช ดิเอโก้ โซริส (คอสตาริกา)
ผู้รักษาประตู กองหน้า ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า ผู้รักษาประตู
ที เชิร์ต มุนโด้ (คอสตาริกา) โบรุสเซีย (คอสตาริกา) บาร์ริโอ พารัลตา (คอสตาริกา) มูนิซิปาล อลาเจลา (คอสตาริกา) โบรุสเซีย (คอสตาริกา) ที เชิร์ต มุนโด้ (คอสตาริกา) บาร์ริโอ พารัลตา (คอสตาริกา) บาร์ริโอ พารัลตา (คอสตาริกา) กอยโคเชีย-เอ็กซ์ตราโมส (คอสตาริกา) กอยโคเชีย-เอ็กซ์ตราโมส (คอสตาริกา) พาไรโซ่ ฟุตซอล (คอสตาริกา) ที เชิร์ต มุนโด้ (คอสตาริกา) พาไรโซ่ ฟุตซอล (คอสตาริกา) บาร์ริโอ พารัลตา (คอสตาริกา)
คอสตาริกา
56
22/11/1983 25/10/1985 28/05/1985 25/08/1991 23/08/1987 13/02/1984 20/05/1986 16/03/1991 02/12/1981 01/06/1983 24/02/1982 11/07/1990 16/12/1989 01/04/1988
GROUP A
ยูเครน
1 อีฟเก้น อีวานยัค 28/09/1982 2 มีคาโล โรมานอฟ 21/07/1983 3 สเตฟาน สตรุค 12/12/1984 4 เซอร์เกย์ ซูร์บา 14/03/1987 5 ดมิโตร โซโรกิน 14/07/1988 6 เซอร์เกย์ เชฟอร์นิอุค 18/04/1982 7 มัคซิม พาฟเลนโก้ 18/09/1975 8 อีฟเก้น โรกาชอฟ 30/08/1983 9 ดมิโตร เฟดอร์เชนโก้ 31/05/1986 10 เปโตร โชเตอร์มา 27/06/1992 11 เดนิส ออฟเซียนนิคอฟ 10/12/1984 12 คีร์รีโล่ ซีปัน 30/07/1987 13 โอเล็กซานเดอร์ โซโรคิน 13/08/1987 14 ดมิโตร ลีตวีนเนนโก้ 16/04/1987 โค้ช เกนนาดี ลีเซนชุค (ยูเครน)
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองกลาง กองหน้า ผู้รักษาประตู กองหลัง ผู้รักษาประตู
โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน) โพลิเทคห์ เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก (รัสเซีย) เอเนเกีย ลวีฟ (ยูเครน) โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน) โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน) เอเนเกีย ลวีฟ (ยูเครน) เอเนเกีย ลวีฟ (ยูเครน) เอเนเกีย ลวีฟ (ยูเครน) โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน) อูรากาน อีวาโน่-ฟรานคีฟสค์ (ยูเครน) เอเนเกีย ลวีฟ (ยูเครน) อูรากาน อีวาโน่-ฟรานคีฟสค์ (ยูเครน) โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน) โลโคโมทีฟ คาร์คีฟ (ยูเครน)
1 คาร์ลอส เอสปิโนล่า 06/04/1981 2 เอ็มมานูเอล อยาล่า 03/12/1985 3 ฟาบิโอ อัลคาราซ 07/01/1982 4 กาเบรียล อยาล่า 03/12/1985 5 คาร์ลอส ชิลาเวิร์ต 05/08/1976 6 อดอลโฟ่ ซาลาส 22/09/1993 7 ออสการ์ เบลาสเกวซ 26/05/1984 8 เนลสัน เลสคาโน่ 18/10/1987 9 ฆวน ซาลาส 20/10/1990 10 วอลเตอร์ บิลลัลบา 22/10/1977 11 หลุยส์ โมลินาส 16/02/1987 12 มาร์คอส เบนิเตซ 17/02/1985 13 กาเบรียล กิเมเนซ 29/05/1984 14 เรเน่ บิลลาลบา 08/07/1981 โค้ช เฟอร์นานโด เลย์เต้ (บราซิล)
ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองกลาง ผู้รักษาประตู กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า
พาโบล โรฮาส (ปารากวัย) อัคคัว คลอเดีย (อิตาลี) ลาซิโอ (อิตาลี) อัคคัว คลอเดีย (อิตาลี) มาร์กา ฟุตซอล (อิตาลี) เวเนเซีย (อิตาลี) มอนเตซิวาโน่ (อิตาลี) วิลล่า ฮาเยส (ปารากวัย) ลาซิโอ (อิตาลี) เอเฟเม็ค (ปารากวัย) เซอร์โร่ ปอร์เตโญ่ (ปารากวัย) เปสคาร่า (อิตาลี) สตาร์ส คลับ (ปารากวัย) เอเฟเม็ค (ปารากวัย)
ปารากวัย
57
GROUP B
สเปน
1 คริสเตียน 2 ออร์ติซ 3 ไอคาร์โด 4 ทอร์ราส 5 เฟอร์นานเดา 6 อัลวาโร ่ 7 มิเกลลิน 8 กิเก้ 9 เซอร์จิโอ โลซาโน่ 10 บอร์ฆ่า 11 ลิน 12 ฆวนโฆ่ 13 ราฟา 14 อเลเมา โค้ช เวนาซิโอ โลเปซ (สเปน)
27/08/1982 03/10/1983 04/12/1988 24/09/1980 16/08/1980 29/09/1977 09/05/1985 04/05/1978 09/11/1988 16/11/1984 16/05/1986 19/08/1985 13/06/1980 25/06/1976
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองหน้า ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู กองหน้า
บาร์เซโลน่า (สเปน) อินเตอร์ โมวิสต้า (สเปน) บาร์เซโลน่า (สเปน) บาร์เซโลน่า (สเปน) บาร์เซโลน่า (สเปน) อินเตอร์ โมวิสต้า (สเปน) เอล โปโซ่ (สเปน) เอล โปโซ่ (สเปน) บาร์เซโลน่า (สเปน) มาร์ก้า ฟุตซอล (อิตาลี) บาร์เซโลน่า (สเปน) อินเตอร์ โมวิสต้า (สเปน) เอล โปโซ่ (สเปน) ดิน่า มอสโคว์ (รัสเซีย)
1 อาลีเรซา ซามีมี่ 2 อาลี เคียอี 3 อาล ลานาม่า 4 โมฮาหมัด เคชาวาช 5 ฮามิด อามาดี 6 อาฟชิน คาเซมี่ 7 อาลี ฮาสซันซาเดห์ 8 มอสตาฟา ตาเยบี 9 มาซู เดเนชวา 10 โมฮัมหมัด ตาเฮรี่ 11 ฮุสเซน ตาเยบี้ 12 มอสตาฟา นาซารี่ 13 อาหมัด เอสเมอิปูร์ 14 เซเปเฮอร์ โมฮัมมาดี้ โค้ช อาลี ซาเนอี (อิหร่าน)
29/06/1987 20/04/1987 21/05/1985 05/07/1982 24/11/1988 23/11/1986 02/11/1987 09/06/1987 30/01/1988 02/05/1985 29/09/1988 11/12/1982 08/09/1988 08/08/1989
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองหน้า ผู้รักษาประตู กองกลาง ผู้รักษาประตู
เมลลี่ ฮาฟฟารี่ (อิหร่าน) มานซูรี่ กาชัค (อิหร่าน) มานซูรี่ กาชัค (อิหร่าน) กิตี้ ปาซาน (อิหร่าน) มานซูรี่ กาชัค (อิหร่าน) กิตี้ ปาซาน (อิหร่าน) ซาบา กอม (อิหร่าน) มานซูรี่ กาชัค (อิหร่าน) อาร์จัน ชิราซ (อิหร่าน) มานซูรี่ กาชัค (อิหร่าน) กิตี้ ปาซาน (อิหร่าน) อาบิรี่ (อิหร่าน) กิตี้ ปาซาน (อิหร่าน) กิตี้ ปาซาน (อิหร่าน)
อิหร่าน
58
GROUP B
โมรอคโค
1 ราบี ซารี่ 2 โซฟิยาน เอล เมสราร์ 3 ฮาติม อูอาฮาบี 4 โมฮัมเหม็ด ดาฮู 5 ยูสเซฟ เอล มาสเร 6 ยาย่า บาย่า 7 บิลาล อัสซูฟี่ 8 อาดิล ฮาบิล 9 โมฮัมเหม็ด ตาลิบี 10 อาซิส เดอร์รู 11 อนูอาร์ ชราเยห์ 12 อาดิล เอล เบตตาชี่ 13 ยาย่า จาบราเน่ 14 ยูเนส เคลคากรี้ Coach: ฮิชาม ดงุค (โมรอคโค)
26/07/1981 05/06/1990 26/06/1988 20/06/1984 01/07/1987 23/01/1979 14/09/1988 27/05/1982 19/11/1983 06/06/1986 20/07/1985 06/03/1981 18/06/1991 19/09/1985
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า ผู้รักษาประตู
เคเอซี เคนิตรา (โมรอคโค) ดินาโม เคนิตรา (โมรอคโค) อาแจ๊กซ์ เตตวน (โมรอคโค) อาแจ็กซ์ แทนเจียร์ (โมรอคโค) เฟต สปอร์ตติฟ เซตตาต (โมรอคโค) เคเอซี เคนิตรา (โมรอคโค) อาแจ็กซ์ แทนเจียร์ (โมรอคโค) เคเอซี เคนิตรา (โมรอคโค) เจอูเนสเซ่ คูริบก้า (โมรอคโค) เคเอซี เคนิตรา (โมรอคโค) อาแจ็กซ์ แทนเจียร์ (โมรอคโค) เจอูเนสเซ่ คูริบก้า (โมรอคโค) เฟต สปอร์ตติฟ เซตตาต (โมรอคโค) อาแจ็กซ์ แทนเจียร์ (โมรอคโค)
1 เบเลนซิโอ ปาร์คส์ 28/03/1987 2 มิเกล เบลโล่ 18/09/1981 3 ออสการ์ ฮิงคส์ 20/09/1985 4 ออกัสโต้ แฮร์ริสัน 13/12/1976 5 เฟอร์นันโด เมน่า 08/08/1990 6 เอดการ์ ริวาส 21/04/1989 7 เคลาดิโอ กู๊ดริดจ์ 02/01/1990 8 คาร์ลอส เปเรส 29/08/1986 9 มิเกล ลาสโซ่ 03/12/1985 10 อัลกิส อัลวาราโด 13/01/1986 11 อโปลิน่าร์ กัลเวส 14/11/1976 12 เจม ลอนโดโน่ 18/01/1991 13 มิเชล เด เลออน 01/03/1989 14 เอ็นริเก้ บัลเดส 19/08/1982 โค้ช ออกัสติน คัมปูซาโน่ (คิวบา)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองหน้า ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหน้า
คูรุนดู (ปานามา) เปเรยิล (ปานามา) ซาน มาร์ติน (ปานามา) ซาน มาร์ติน (ปานามา) เปเรยิล (ปานามา) ซานตา มาเรีย (ปานามา) ซานตา มาเรีย (ปานามา) เปเรยิล (ปานามา) ชอริลโล่ (ปานามา) ซาน มาร์ติน (ปานามา) ซามาเรีย (ปานามา) ซันทราส (ปานามา) ซาน มาร์ติน (ปานามา) ลา ตูริน (ปานามา)
ปานามา
59
GROUP C
บราซิล
1 กูตต้า 2 เทียโก้ 3 แฟรงค์คลิน 4 อารี 5 คิโค่ 6 กาเบรียล 7 วินิซิอุส 8 ซิมี่ 9 เจ 10 แฟร์นานดิญโญ่ 11 เนโต้ 12 ฟัลเกา 13 วิลเด้ 14 โรดริโก้ โค้ช มาร์กอส โซราโต้ (บราซิล)
11/06/1987 09/03/1981 18/05/1971 06/03/1982 16/10/1981 17/11/1980 31/12/1977 29/10/1977 15/11/1983 01/07/1983 05/09/1981 08/06/1977 14/04/1981 07/06/1984
ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองหลัง
อินเทลลี่ ออร์ลันเดีย (บราซิล) โครน่า จอยน์วิลล์ ดัลปอนเต้ (บราซิล) โครินเธียนส์ (บราซิล) บาร์เซโลน่า (สเปน) อินเทลลี่ ออร์ลันเดีย (บราซิล) บาร์เซโลน่า (สเปน) อินเทลลี่ ออร์ลันเดีย (บราซิล) โครินเธียนส์ (บราซิล) อินเทลลี่ ออร์ลันเดีย (บราซิล) ดินาโม เคียฟ (ยูเครน) โครน่า จอยน์วิลล์ ดัลปอนเต้ (บราซิล) อินเทลลี่ ออร์ลันเดีย (บราซิล บาร์เซโลน่า (สเปน) คาร์ลอส บาร์โบซ่า (บราซิล)
1 ยูเซฟ เบนซาเอ็ด 2 อาเหม็ด ฟาราจ 3 บาเดอร์ ฮาซาน 4 โมฮัมเหม็ด ราเกบ 5 อับดูซาลาม ชีรัต 6 ราบี้ อับเดล 7 เรดา ฟาเต้ 8 ฮูซาม อัล วาฮิชิ 9 อาเหม็ด ฟาเต้ 10 โมฮาเหม็ด ราโฮม่ 11 ยูนิส ชาเมส 12 รามซี่ เอล ชารีฟ 13 ซาเล็ม อากีล่า 14 ฮูซาม อัลตูมี่ โค้ช พาโบล ปิเอโตร (สเปน)
31/10/1983 22/12/1987 01/10/1987 12/10/1987 20/11/1990 19/06/1985 20/01/1986 28/07/1986 18/12/1987 05/05/1984 11/06/1991 28/11/1988 24/12/1989 28/12/1990
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองหน้า กองหลัง กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า ผู้รักษาประตู
อัดฮาร่า (ลิเบีย) อัล อเมน (ลิเบีย) อัล จาซีร่า ซาบ้า (ลิเบีย) อัล อิตติฮัด ทรีโปลี (ลิเบีย) อัล อิตติฮัด ทรีโปลี (ลิเบีย) - อัล อาห์ลี เบงกาซี (ลิเบีย) อัล อาห์ลี เบงกาซี (ลิเบีย) อัล อาห์ลี เบงกาซี (ลิเบีย) - อัล เตอร์ซาน่า (ลิเบีย) อัล อาห์ลี เบงกาซี (ลิเบีย) อัล คูห์ตุด (ลิเบีย) อัดฮาร่า (ลิเบีย)
ลิเบีย
60
GROUP C
โปรตุเกส
1 เจา เบเนดิโต้ 2 เปาลิโน่ 3 เลย์เตา 4 เปโดร คารีย์ 5 นันดินโญ่ 6 อาร์นัลโญ่ 7 คาร์ดินัล 8 ดิโย่ 9 กอนคาโล่ 10 ริคาร์ดินโญ่ 11 เจา มาตอส 12 เบเบ้ 13 มารินโญ่ 14 อังเดร ซูซ่า โค้ช จอร์จ บราซ (โปรตุเกส)
07/10/1978 12/03/1983 03/01/1981 10/05/1984 18/12/1982 16/06/1979 26/06/1985 11/01/1988 01/07/1977 03/09/1985 21/02/1987 19/05/1983 30/03/1985 25/02/1986
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหลัง ผู้รักษาประตู กองกลาง ผู้รักษาประตู
สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) โมดิคุส ซานดิม (โปรตุเกส) นิการ์ส (ลัตเวีย) ริโอ อาฟ (โปรตุเกส) สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) เบนฟิกา (โปรตุเกส) นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) สปอร์ติ้ง ลิสบอน (โปรตุเกส) เบนฟิกา (โปรตุเกส) เบนฟิกา (โปรตุเกส) โอเปราริโอ (โปรตุเกส)
1 ฮิซามิซึ คาวาฮาร่า 2 จุน ฟูจิวาร่า 3 วาตารุ คิตาฮาร่า 4 ยูซูเกะ โคมิยาม่า 5 เท็ตซึยะ มูราคามิ 6 โนบุยะ โอโซโดะ 7 คาโอรุ โมริโอกะ 8 เคนซูเกะ ทาคาฮาชิ 9 โชตะ โฮชิ 10 เคนิชิโร่ โคกูเระ 11 คาซู มิอุระ 12 โทรุ โฟกิมบารา 13 คัตซูโตชิ เฮนมี่ 14 โคทาโระ อินาบะ โค้ช มิเกล โรดริโก (สเปน)
24/11/1978 23/11/1982 02/08/1982 22/12/1979 24/09/1981 28/06/1983 07/04/1979 08/05/1982 17/11/1985 11/11/1979 26/02/1967 18/10/1982 30/07/1992 22/12/1982
ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองหน้า ผู้รักษาประตู กองกลาง กองกลาง
นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) บาดราล อูรายาสึ (ญี่ปุ่น) นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) บาดราล อูรายาสึ (ญี่ปุ่น) ชริเกอร์ โอซาก้า (ญี่ปุ่น) วากาเซย์ โออิตะ (ญี่ปุ่น) นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) บาดราล อูรายาสึ (ญี่ปุ่น) บาดราล อูรายาสึ (ญี่ปุ่น) นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) โยโกฮาม่า (ญี่ปุ่น) ดิอูเกา โกเบ (ญี่ปุ่น) นาโกย่า โอเชียนส์ (ญี่ปุ่น) บาดราล อูรายาสึ (ญี่ปุ่น)
ญี่ปุ่น
61
GROUP D
ออสเตรเลีย
1 ปีเตอร์ สปาติส 09/04/1981 2 อารอน ซิมิไทล์ 08/04/1991 3 จารณรอด บาสเกอร์ 09/02/1991 4 เกรกอรี่ จิโอเวนาลี่ 14/08/1987 5 นาธาน นิสกี้ 24/05/1993 6 ดาเนียล โฟการ์ตี้ 10/01/1991 7 โธเบียส ซีโต้ 26/03/1988 8 เฟอร์นานโด 21/01/1980 9 คริส เซบาลลอส 16/06/1986 10 ลาชลาน ไรท์ 06/02/1981 11 แดนนี่ เอ็นกาลูเฟ่ 18/06/1987 12 กาวิน โอ ไบรอัน 30/09/1977 13 แอนเจโล คอนสแตนตินู 08/11/1978 14 คีแนน ดูมปีส์ 12/12/1989 โค้ช สตีเฟ่น ไนท์ (ออสเตรเลีย)
ผู้รักษาประตู กองกลาง กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองกลาง ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู กองกลาง
อีสต์ โคสต์ ฮีต (ออสเตรเลีย) อีสต์ โคสต์ ฮีต (ออสเตรเลีย) มัคคาบี ฮาโกอาห์ (ออสเตรเลีย) ดูรอล วอริเออร์ (ออสเตรเลีย) ดูรอล วอริเออร์ (ออสเตรเลีย) เวสต์ ซิตี้ ครูเซเดอร์ส (ออสเตรเลีย) ดูรอล วอริเออร์ (ออสเตรเลีย) วิคตอเรีย ไวเปอร์ (ออสเตรเลีย) อีสต์ โคสต์ ฮีต (ออสเตรเลีย) เอนฟิลดื โรเวอร์ส (ออสเตรเลีย) - แคมเบลล์ทาวน์ ซิตี้ เควก (ออสเตรเลีย) บูเมอร์แรงส์ (ออสเตรเลีย) -
1 อลองโซ่ ซาเวดร้า 2 อังเคล โรดริเกวซ 3 เบนจามิน มอสโก้ 4 ฟรานซิสโก้ คาติ 5 อาเดรียน กอนซาเลซ 6 มิเกล ลิมอน 7 ฆอร์เก้ โรดริเกวซ 8 วิคเตอร์ คิรอส 9 คาร์ลอส รามิเรส 10 กุสตาโว่ โรซาเลส 11 มอร์แกน พลาต้า 12 มิเกล เอสตราด้า 13 ฆอร์เก้ คิรอส 14 โอม่าร์ เซอร์วานเตส โค้ช ราม่อน ราย่า (เม็กซิโก)
ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองกลาง กองกลาง ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหน้า
- - - - - - - วิชิต้า วิงส์ (สหรัฐอเมริกา) - - - - - -
เม็กซิโก
62
08/11/1980 21/02/1985 02/09/1985 18/12/1981 21/03/1986 06/08/1985 04/05/1983 08/09/1976 06/11/1976 26/02/1981 11/12/1981 11/07/1983 29/09/1981 27/09/1985
GROUP D
อาร์เจนติน่า
1 ซานติอาโก้ เอเลียส 02/02/1983 2 ดาเมียน สตาซโซเน่ 31/01/1986 3 มาเธียส ลูคุยส์ 20/11/1985 4 พาโบล เบลซิโต้ 29/03/1986 5 พาโบล ทาบอร์ด้า 03/09/1986 6 แม็กซิมิลิอาโน่ เรสเคีย 29/10/1987 7 เลอันโดร คุซโซลิโน่ 21/05/1987 8 เฮอร์นาน การ์ชิอาส 02/06/1978 9 คริสเตียน บอร์รูโต 07/05/1987 10 มาร์ติน อมาส 25/10/1984 11 พาโบล บาซิเล่ 25/07/1988 12 มาธิอัส เควเวโด้ 11/03/1984 13 อลามิโร่ วาโปรากี้ 01/12/1983 14 อลัน คาโล 06/04/1987 โค้ช เฟอร์นานโด ลาร์รานาก้า (สเปน)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหน้า
ปิโนโช่ (อาร์เจนติน่า) ลาติน่า (อิตาลี) อินเตอร์ โมวิสตา (สเปน) กรุปโป้ ฟาสซิน่า (อาร์เจนติน่า) โบคา จูเนียร์ส (อาร์เจนติน่า) ฟุตซอล เอสเอเอ็มบี (อิตาลี) มอนเตซิลวาโน่ (อิตาลี) อัสติ (อิตาลี) มอนเตซิลวาโน่ (อิตาลี) โมนาคอร์ (อาร์เจนติน่า) โบคา จูเนียร์ส (อาร์เจนติน่า) เฟอร์โร คาร์ริล โอเอสเต้ (อาร์เจนติน่า) โบคา จูเนียร์ส (อาร์เจนติน่า) ปิโนโช่ (อาร์เจนติน่า)
1 สเตฟาโน มามมาเรน่า 2 มาร์โก เออร์โคเลสซี่ 3 มาร์ซิโอ ฟอร์เต้ 4 เซอร์จิโอ โรมาโน่ 5 ลูก้า เลคเจียโร่ 6 ฮุมแบร์โต โฮโนริโอ 7 จูเซปเป้ เมนตาสตี้ 8 อเลสซานโดร ปาเตียส 9 อเล็กซ์ เมอร์ลิม 10 ไจโร ดอส ซานโตส 11 ซาอัด อัสซิส 12 วาเลริโอ บาริเกลลี่ 13 กาเบรียล ลิม่า 14 มิเคลเล่ มิอาเรลลี่ โค้ช โรแบร์โต เมนิเชลลี่ (อิตาลี)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหลัง ผู้รักษาประตู กองหลัง ผู้รักษาประตู
มอนเตซิลวาโน่ (อิตาลี) มาร์ก้า ฟุตซอล (อิตาลี) ลาซิโอ (อิตาลี) โคจิอันโก เกนซาโน่ (อิตาลี) สปอร์ต ไฟว์ (อิตาลี) ลูปาเรนเซ่ (อิตาลี) โคจิอันโก เกนซาโน่ (อิตาลี) อัสติ (อิตาลี) ลูปาเรนเซ่ (อิตาลี) อัสติ (อิตาลี) บาร์เซโลน่า (สเปน) ลาซิโอ (อิตาลี) อัสติ (อิตาลี) โคจิอันโก เกนซาโน่ (อิตาลี)
อิตาลี
02/02/1984 15/05/1986 23/04/1977 28/09/1987 11/11/1984 21/07/1983 06/06/1991 08/07/1985 15/07/1986 18/07/1984 26/10/1979 19/10/1982 19/08/1987 29/04/1984
63
GROUP E
สาธารณรัฐเช็ก 1 ยาคุบ ซดานสกี้ 2 โธมัส คูเดลก้า 3 ดาวิด คูปัค 4 มาเต็จ สโลวาเช็ค 5 มิชาล โควัชส์ 6 ยีรี่ โนว็อตนี่ 7 ลุคัส เรเซสตาร์ 8 มาเร็ค โคเป็คกี้ 9 ดาวิด ฟริค 10 มาชาล ซีดเลอร์ 11 มิชาล เบเลจ 12 ลิบอณื เกอร์คั๊ก 13 ซเดเน็ก ซนาม่า 14 ยาน ยานอฟสกี้ โค้ช โธมัส นอยมันน์ (เช็ก)
28/05/1986 23/11/1990 27/05/1989 08/10/1990 17/04/1990 12/07/1988 28/04/1984 19/02/1977 17/02/1983 05/04/1990 16/11/1982 22/07/1975 28/12/1982 20/06/1985
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหน้า
เอร่า แพ็ค ชรูดิม (เช็ก) เอร่า แพ็ค ชรูดิม (เช็ก) เฮลาส เบอร์โน่ (เช็ก) เอร่า แพ็ค ชรูดิม (เช็ก) แทงโก้ เบอร์โน่ (เช็ก) โบฮีเมียนส์ 1905 (เช็ก) เอร่า แพ็ค ชรูดิม (เช็ก) เอร่า แพ็ค ชรูดิม (เช็ก) โบฮีเมียนส์ 1905 (เช็ก) แทงโก้ เบอร์โน่ (เช็ก) แทงโก้ เบอร์โน่ (เช็ก) วีโซเก้ มีโต้ (เช็ก) โบฮีเมียนส์ 1905 (เช็ก) พอดเบสคิดเซ่ (โปแลนด์)
1 เฮม่า 2 อาห์เมด เอล อากูซ 3 เอสลาม ชาลาบี 4 โมฮัมเหม็ด อีเดรส 5 บูกี้ 6 มอสตาฟา นาเดอร์ 7 อาเหม็ด อาบู เซรี 8 มิโซ่ 9 รามาดัน ซามาสรี่ 10 อิสลาม เอล ดอว์จ 11 อาเหม็ด ฮุสเซ็น 12 ฮุสเซ้น การิบ 13 อิสลาม กามีล่า 14 อาเหม็ด โมฮัมเหม็ด โค้ช บาเดอร์ คาลิล (อียิปต์)
28/05/1975 21/05/1978 01/12/1989 06/01/1981 18/03/1987 14/10/1984 30/10/1979 15/10/1985 11/07/1982 03/08/1983 01/02/1984 04/03/1978 01/01/1988 16/08/1982
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหลัง กองกลาง กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า
เอล ชามส์ (อียิปต์) เอล ชามส์ (อียิปต์) มิเซอร์ เอล มากาซ่า (อียิปต์) ตำ�รวจ (อียิปต์) เอล ชามส์ (อียิปต์) ตำ�รวจ (อียิปต์) มิต อ็อกบา (อียิปต์) เอล ชามส์ (อียิปต์) เอล ชามส์ (อียิปต์) ตำ�รวจ (อียิปต์) อาหรับ คอนสตรัคชั่น (อียิปต์) มิเซอร์ เอล มากาซ่า (อียิปต์) เอล เบฮีร่า อิเลคทริค (อียปต์) มิเซอร์ เอล มากาซ่า (อียิปต์)
อียิปต์
64
GROUP E
เซอร์เบีย
1 มิโอดรัก อัคเซนติเยวิช 22/07/1983 2 สเตฟาน ราคิช 22/11/1993 3 อเล็กซานเดอร์ ซิวาโนวิช 24/07/1988 4 วลาดิมีร์ มิโลซาวัค 01/12/1985 5 โบยาน พานิเซวิช 20/10/1975 6 บอริส ซิสม่าร์ 28/08/1984 7 สโลโบดาน ยานยิช 17/02/1987 8 มาร์โค เปอร์ซิช 13/09/1990 9 วลาดิมีร์ ลาซิค 19/06/1984 10 มลาเด้น โคซิค 22/10/1988 11 ดราแกน ดอร์เดวิช 27/04/1984 12 อเล้กซ่า อันโตนิช 19/06/1981 13 วิดาน โบโยวิช 27/06/1979 14 สโลโบดาน ราจเซวิช 28/02/1985 โค้ช อาค่า โควาเซวิช (เซอร์เบีย)
คูเวต
1 อับดุลลาห์ ฮายาห์ 2 โมฮัมเหม็ด อัลเบดาอีห์ 3 อับดุลราห์มาน อัลโมซาเบฮี 4 อาห์หมัด อัลฟาซี่ 5 ฮายัต ฮามัต 6 อับดุลราห์มาน อัลวาดี 7 อับดุลราห์มาน อัลตาวาอิล 8 อมาน ซาเลม 9 อาลี อัลบูไท 10 ชาเกอร์ อัลมูไตรี่ 11 อับดุลลาห์ ดาบี่ 12 ฮาหมัด อัล อาวัดดี้ 13 ฮานี่ มิเซ็น 14 โมฮัมหมัด โมฮัมหมัด โค้ช หลุยส์ ฟอนเซก้า (สเปน)
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหน้า กองหลัง ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า
19/12/1986 22/08/1989 13/06/1989 30/10/1989 24/12/1986 09/10/1986 03/02/1991 30/11/1981 09/06/1983 18/04/1986 30/06/1988 09/02/1989 04/04/1989 25/05/1989
อีโคโนมัค (เซอร์เบีย) อีโคโนมัค (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) อีโคโนมัค (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) เบเซจ (เซอร์เบีย) อีโคโนมัค (เซอร์เบีย) สเมเดโรโว (เซอร์เบีย) มาร์โบ อินเตอร์เมซโซ่ (เซอร์เบีย) อีโคโนมัค (เซอร์เบีย) อีโคโนมัค (เซอร์เบีย)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองหลัง กองหลัง ผู้รักษาประตู กองหน้า
อัล คูเวต (คูเวต) อัล ซัลมิย่า (คูเวต) อัล อราบี (คูเวต) คาซม่า (คูเวต) อัล ยาห์มูก (คูเวต) คาดเซีย (คูเวต) อัล คูเวต (คูเวต) คิตาน (คูเวต) คาดเซีย (คูเวต) เฟเฮยีล (คูเวต) คาดเซีย (คูเวต) อัล ยาห์มูก (คูเวต) คาซม่า (คูเวต) อัล ซัลมิย่า (คูเวต) 65
GROUP F
รัสเซีย
1 เลโอนิด คลิมอฟสกี้ 22/03/1983 2 วลาดิสลาฟ ชายัคเมตอฟ 25/08/1981 3 นิโคไล เปเรเวอร์เซฟ 15/12/1986 4 ดมิทรี พรุดนิคอฟ 06/01/1988 5 เซอร์เกย์ เซอร์กีเยฟ 28/06/1983 6 พาเวล ชุชชิลิน 18/10/1985 7 ปูล่า 02/12/1980 8 เอแดร์ ลิม่า 29/06/1984 9 พาเวล คริสโตโปลอฟ 15/03/1984 10 โรบินโญ่ 28/01/1983 11 ชิริลโล่ 20/01/1980 12 กุสตาโว่ 05/02/1979 13 อเล้กซานเดอร์ ฟูคิน 26/03/1985 14 อีวาน มิโลวานอฟ 08/02/1989 โค้ช เซอร์เกย์ สโคโรวิช (รัสเซีย)
ผู้รักษาประตู กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองหลัง กองหน้า กองหลัง ผู้รักษาประตู กองหน้า กองกลาง
ซิเบียร์ยัค โนโวซีเบียรส์ (รัสเซีย) นาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ทิวเมน (รัสเซีย) ซินาร่า เอกาเตรินเบิร์ก (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) กาซปรอม อูกร้า (รัสเซีย) กาซปรอม อูกร้า (รัสเซีย) กาซปรอม อูกร้า (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ดินาโม มอสโคว์ (รัสเซีย) ทิวเมน (รัสเซีย)
1 อันโธนี่ ตาโล่ 08/01/1996 2 พอล ฮูเอีย 01/03/1983 3 เอลเลียตต์ ราโกโม่ 28/05/1990 4 จอร์จ สตีเฟนสัน 07/02/1992 5 สแตนลี่ย์ ปัวอีราน่า 24/08/1990 6 มอฟแฟต ซิกวาเอ้ 30/06/1990 7 เจมส์ เอเกต้า 10/08/1990 8 เจฟฟรี่ย์ บูเล่ 15/11/1991 9 มิกาห์ เลอาลาฟา 01/06/1991 10 ซามูเอล โอซิเฟโล่ช 15/03/1991 11 โคลแมน มาเคา 25/11/1992 13 มาเธียส ซารู 05/02/1991 14 ดิ๊คสัน ราโม่ 14/07/1990 Coach: ดิ๊คสัน คาเดา (หมู่เกาะโซโลมอน)
ผู้รักษาประตู ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองหน้า
เซนทรัล คิงส์ (หมู่เกาะโซโลมอน) บริสโซโลน่า (หมู่เกาะโซโลมอน) บริสโซโลน่า (หมู่เกาะโซโลมอน) แคมป์ ยูไนเต็ด (หมู่เกาะโซโลมอน) บริสโซโลน่า (หมู่เกาะโซโลมอน) มาคูรู (หมู่เกาะโซโลมอน) มาริสต์ (หมู่เกาะโซโลมอน) โคโลอาเล่ (หมู่เกาะโซโลมอน) คอสซ่า (หมู่เกาะโซโลมอน) คอสซ่า (หมู่เกาะโซโลมอน) บ็อคส์ (หมู่เกาะโซโลมอน) เรอัล คาคาโมร่า (หมู่เกาะโซโลมอน) โคโลอาเล่ (หมู่เกาะโซโลมอน)
หมูเกาะโซโลมอน
66
GROUP F
โคลอมเบีย
1 ฆวน โลซาโน่ 17/09/1982 2 โยฮันน์ ปราโด้ 16/10/1984 3 หลุยส์ บาร์เรเนเช่ 13/01/1986 4 เยฟรี่ ดูเก้ 24/03/1992 5 โฆเซ่ คิรอซ 11/10/1985 6 มิเกล เซียร์ร่า 13/04/1983 7 โจนาธาน โตโร่ 21/03/1988 8 ฆอร์เก้ อบริล 26/07/1987 9 อันเดรส เรเยส 24/11/1988 10 อังเกลลอตต์ คาโร่ 03/12/1988 11 อเลฮานโดร เซอร์น่า 10/09/1986 12 คาร์ลอส นาเนซ 15/12/1984 13 ดิเอโก้ บานีย์ 25/08/1993 14 ยีสสัน ฟอนเนกรา 19/04/1992 โค้ช อาร์เนย์ ฟอนเนกรา (โคลัมเบีย)
ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองหน้า กองกลาง กองหลัง กองกลาง กองกลาง กองกลาง ผู้รักษาประตู กองหน้า กองกลาง
เดปอร์เตโว่ เด มาร์ติน (โคลัมเบีย) เดปอร์เตโว่ ลียง (โคลัมเบีย) ทาเลนโต้ โดราโด้ (โคลัมเบีย) เดปอร์ติโว่ เมต้า (โคลัมเบีย) บาร์รานกิลล่า ฟุตซอล (โคลัมเบีย) คาราคัส ฟุตซอล (เวเนซุเอล่า) เดปอร์ติโว่ ตาชิร่า (เวเนซุเอล่า) คาราคัส ฟุตซอล (เวเนซุเอล่า) เดปอร์ติโว่ ตาชิร่า (เวเนซุเอล่า) ทรูจิลลาโนส ฟุตซอล (เวเนซุเอล่า) มานิซาเลส ลิเนล (วเนซุเอล่า) เดปอร์เตโว่ ลียง (โคลัมเบีย) เดปอร์ติโว่ เมต้า (โคลัมเบีย) ทาเลนโต้ โดราโด้ (โคลัมเบีย)
1 คาร์ลอส เมริด้า 27/03/1978 2 มานูเอล อริสตอนโด้ 26/02/1982 3 มิเกล ซานติโซ่ 17/05/1985 4 โฆเซ่ กอนซาเลส 10/12/1986 5 เอดการ์ ซานติโซ่ 02/02/1987 6 ดาเนียล เทจาด้า 22/11/1986 7 บิลลี่ ปิเนด้า 07/10/1986 8 อาร์มานโด เอสโคบาร์ 29/03/1991 9 วอลเตอร์ เอ็นริเกซ 13/03/1988 10 เอริค เอเซเวโด้ 20/09/1980 11 อลัน อกีร์ลาร์ 02/12/1989 12 วิลเลียม รามิเรส 02/02/1980 13 เอสตูอาร์โด เด เลออน 06/07/1977 14 เอ็ดการ์ มาคาล 05/12/1990 โค้ช คาร์ลอส เอสตราดา (กัวเตมาลา)
ผู้รักษาประตู กองกลาง กองหลัง กองหลัง กองหลัง กองหน้า กองหน้า กองกลาง กองหน้า กองหน้า กองหน้า ผู้รักษาประตู กองหลัง กองหน้า
ฟาร์มาเซติคอส (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) อคัวซิสเตมาส (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) อคัวซิสเตมาส (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) อคัวซิสเตมาส (กัวเตมาลา) อคัวซิสเตมาส (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) กลูโคโซราล (กัวเตมาลา) เดปอร์ต (กัวเตมาลา)
กัวเตมาลา
67
โปรแกรมการแข่งขัน
วันที่ พฤ ที่ 1 พ.ย. 2555
สาย เอ เอ ซี ซี
เกมการแข่งขัน ยูเครน - ปารากวัย ไทย - คอสตาริกา ลิเบีย - โปรตุเกส บราซิล - ญี่ปุ่น
สนาม เวลา อินดอร์ 17.00 อินดอร์ 19.00 โคราช ชาติชาย 19.00 โคราช ชาติชาย 21.00
ศ ที่ 2 พ.ย. 2555
ดี ดี บี บี
อิตาลี - ออสเตรเลีย อาร์เจนติน่า - เม็กซิโก ปานามา - โมรอคโค สเปน - อิหร่าน
นิมิบุตร นิมิบุตร อินดอร์ อินเดอร์
17.00 19.00 19.00 21.00
ส ที่ 3 พ.ย. 2555
เอฟ เอฟ อีี อี
กัวเตมาลา - โคลัมเบีย รัสเซีย - โซโลมอน เช็ก - คูเวต อียปิต์ - เซอร์เบีย
นิมิบุตร นิมิบุตร อินดอร์ อินเดอร์
17.00 19.00 19.00 21.00
อา ที่ 4 พ.ย. 2555 จ ที่ 5 พ.ย. 2555 อ ที่ 6 พ.ย. 2555 พ ที่ 7 พ.ย. 2555
เอ เอ ซี ซี ดี ดี บี บี เอฟ เอฟ อี อี ซี ซี เอ เอ
ปารากวัย - คอสตาริกา อินดอร์ 17.00 ไทย - ยูเครน อินดอร์ 19.00 โปรตุเกส - ญี่ปุ่น โคราช ชาติชาย 19.00 บราซิล - ลิเบีย โคราช ชาติชาย 21.00 ออสเตรเลีย - เม็กซิโก นิมิบุตร 17.00 อาร์เจนติน่า - อิตาลี นิมิบุตร 19.00 อิหร่าน - โมรอคโค อินดอร์ 19.00 สเปน - ปานามา อินเดอร์ 21.00 โคลัมเบีย - โซโลมอน นิมิบุตร 17.00 รัสเซีย - กัวเตมาลา นิมิบุตร 19.00 คูเวต - เซอร์เบีย อินดอร์ 19.00 อียิปต์ - เช็ก อินดอร์ 21.00 ญี่ปุ่น - ลิเบีย อินดอร์ 17.00 บราซิล - โปรตุเกส โคราช ชาติชาย 17.00 ปารากวัย - ไทย อินดอร์ 19.00 คอสตาริกา - ยูเครน โคราช ชาติชาย 19.00
68
วันที่ พฤ ที่ 8 พ.ย. 2555
สาย ดี ดี บี บี
เกมการแข่งขัน สนาม เม็กซิโก - อิตาลี อินดอร์ ออสเตรเลีย -อารเจนติน่า นิมิบุตร โมรอคโค - สเปน อินดอร์ อิหร่าน - ปานามา นิมิบุตร
เวลา 17.00 17.00 19.00 19.00
ศ ที่ 9 พ.ย. 2555
เอฟ เอฟ อี อี
โซโลมอน - กัวเตมาลา โคลอมเบีย - รัสเซีย คูเวต - อียิปต์ เซอร์เบีย - เช็ก
อินดอร์ นิมิบุตร อินดอร์ นิมิบุตร
17.00 17.00 19.00 19.00
รอบ 16 ทีมสุดท้าย อา ที่ 11 พ.ย. 2555 37 38 39 40
2 สาย เอ - 2 สาย ซี 1 สาย เอ - 3 ซี/ดี/อี 1 สาย บี - 3 เอ/ซี/ดี 2 สาย บี - 2 สาย เอฟ
อินดอร์ อินดอร์ นิมิบุตร นิมิบุตร
16.00 18.30 18.30 21.00
จ ที่ 12 พ.ย. 2555 41 1 สาย ดี - 3 บี/อี/เอฟ โคราช ชาติชาย 16.00 42 1 สาย ซี - 3 เอ/บี/เอฟ โคราช ชาติชาย 18.30 43 1 สาย เอฟ - 2 สาย อี อินดอร์ 18.30 44 1 สาย อี - 2 สาย ดี อินดอร์ 21.00 รอบก่อนรองชนะเลิศ พ ที่ 14 พ.ย. 2555 45 ผู้ชนะคู่ 44 - ผู้ชนะคู่ 42 อินดอร์ 16.00 46 ผู้ชนะคู่ 40 - ผู้ชนะคู่ 38 อินดอร์ 18.30 47 ผู้ชนะคู่ 37 - ผู้ชนะคู่ 41 บางกอก ฟุตซอล18.30 48 ผู้ชนะคู่ 39 - ผู้ชนะคู่ 43 บางกอก ฟุตซอล21.00 รอบรองชนะเลิศ ศ ที่ 16 พ.ย. 2555 49 ผู้ชนะคู่ 47 - ผู้ชนะคู่ 48 บางกอก ฟุตซอล17.00 50 ผู้ชนะคู่ 45 - ผู้ชนะคู่ 46 บางกอก ฟุตซอล19.30 รอบชิงอันดับสาม และรอบชิงชนะเลิศ อา ที่ 18 พ.ย. 2555 51 ชิงอันดับ 3 ผู้แพ้คู่ 49 - ผู้แพ้คู่ 50 บางกอก ฟุตซอล17.00 52 ชิงชนะเลิศ ผู้ชนะคู่ 49 - ผู้ชนะคู่ 50 บางกอก ฟุตซอล19.30 69
ADVERTORIAL ติดต่อสอบถาม ติดตามความเคลื่อนไหว และ พูดคุย ติชม ได้ที่
FACEBOOK PAGE
facebook.com/damanskypage ivan.damansky @gmail.com
คลังเสื้อฟุตบอล facebook.com/footballjerseyvault History in brief - ประวัติศาสตร์โลกฉบับย่อ facebook.com/historyinbrief
นิตยสาร Stay-Go-Day-Day
Football hardcore facebook.com/Footballhardcore
Coming Soon ฉบับที่ 1 กรกฎาคม 2555 ฉบับที่ 2 ตุลาคม 2555 damansky.exteen.com damansky-football.exteen.com damansky-world.exteen.com
Stay-Go-Day-Day facebook.com/StayGoDayDayPage
EXteen Blog
มุมมอง เรื่องราวทั่วไปในสังคม ฟุตบอล ต่างประเทศ และประวัติศาสตร์
และโปรเจกต์หนังสือเล่มต่างๆในอนาคต อีกไม่นานเกินรอ
24 ทีม 52 นัด 1 แชมเปี้ยน
ฟุตซอลโลก 2012
71