Summary - 9th Asian Future Forum

Page 1

มูลนิธิสถาบันวิจยั นโยบายเศรษฐกิจการคลัง

สรุ ปบรรยาย ครั้งที่ 9

อนาคตเอเชีย

Asian Future Forum

STI: แนวโน้มโลกและการรองร ับปร ับต ัวของไทย ผู ้บรรยาย ดร. พันธุอ ์ าจ ชัยรัตน์ ผู ้อํานวยการ บริษัท โนวิสเคป คอนซัลติง้ กรุ๊ป จํากัด พั ฒ นาการของวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม (Science Technology and Innovation: STI) ของไทยในเชิง นโยบายสาธารณะมักจะเน ้นการวิจัยในภาครัฐ สถาบันการศึกษา ระดับสูง หรือสถาบันวิจัย อย่างไรก็ตาม ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ที่ ผ่ า นมา ระบบการวิจั ย ของไทยให ค ้ วามสํ า คั ญ กั บ นวั ต กรรม แห่ ง ชาติม ากขึ้น เน น ้ การให ค ้ วามร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ และ ภาคเอกชน โดยมีหลายประเทศทีน ่ ํ า STI เข ้ามาเป็ นส่วนหนึง่ ใน ชีวต ิ ประจํ าวันของปั จเจกชนและสังคมมากขึน ้ ไม่จํากัด อยู่เฉพาะ ภาครั ฐ หรื อ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ เ ท่ า นั ้น ในภู ม ิภ าคเอเชี ย ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง ใ ต ้ เ อ ง ก็ มี ก า ร ป รั บ โ ค ร ง ส ร ้ า ง ข อ ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย แรงกระตุ ้นที่ทํ า ให ้ STI เปลี่ย นแปลงไปภายใต ้บริบ ทของ ้ และระยะยาว ได ้แก่ โลกทัง้ ในระยะสัน 1. ความท า้ ทาย จาก การเปลี่ ย นแป ลงของโล ก ซึ่ง เป็ นการ เปลี่ย นแปลงครั ง้ สํ า คั ญ ส่ง ผลต่อ การจั ด สรรทรัพ ยากรระยะยาว และภาคเอกชนไม่ส ามารถรั บ มือได ้ เช่น ภัย พิบัต ท ิ างธรรมชาติ ภัยจากการก่อการร ้าย ฯลฯ 2. ก าร เกิ ด ขึ้ น ขอ ง วิ ท ย าศ า ส ต ร์ ค วา มยั่ ง ยื น (Sustainability Science) มีค วามพยายามศึก ษาวิจั ย องค์ค วามรู ้ใหม่ หรือ การ ่ มโยงความรู ้ระหว่างสาขา เชือ 3. ภูมริ ัฐศาสตร์ของกลุ่มประเทศ BRICS ได ้แก่ บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และแอฟริก าใต ้ ซึง่ เป็ นกลุ่ม ที่ม ีค วามสามารถในการ วิจัยและพัฒนา 4. การรวมกลุ่ม ASEAN ทีก ่ อ ่ ให ้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภายในภูมภ ิ าคได ้ 5. ความปกติใ หม่ (New Normal) การกระจายความรู ้ทาง วิท ยาศาสตร์ไ ปสู่ ร ะดั บ ปั จเจกชนและสั ง คมท อ ้ งถิ่น ทํ า ให ้เกิด ปรากฏการณ์ ค วามปกติ ใ หม่ วิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมทีเ่ คยเป็ นเรือ ่ งไกลตัวกลับกลายเป็ นเรือ ่ งใกล ้ตัวมากขึน ้ 6. การพัฒนา STI อย่างเป็ นองค์รวม กล่าวคือ การดึงกลุ่มคนด ้อย โอกาสทางด ้านเทคโนโลยีเข ้ามาในระบบ หรือเข ้ามาเป็ นส่วนร่วม ของการใช ้องค์ความรู ้ร่วมกัน ทํ าให ้เกิด Sharing Economy และ สามารถควบคุมการใช ้ทรัพยากรได ้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ้ 7. นวัตกรรมราคาประหยัด (Cheap Innovation) มีการลดต ้นทุน ลดราคาสิน ค า้ ให ก ้ ลุ่ ม คนใ ต ฐ้ านพิ ร ามิด สามารถใช ไ้ ด ้ เช่ น Microfinance ในบังคลาเทศ เป็ นต ้น 8. การเปลี่ ย นแปลงกระบวนทั ศ น์ ข องนโยบายวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในอดีต STI มักจะเกิดขึน ้ เพือ ่ การเพิม ่ ขีด ความสามารถในการแข่งขัน แต่ปัจจุบัน STI เป็ นไปเพื่อการ พัฒนา ส่งผลกระทบต่อรูปแบบธุรกิจใหม่ สินค ้านวัต กรรมเกิด ขึน ้ ิ ทางปั ญญาเดิม ได ้ง่าย ทําให ้เกิดความท ้าทายต่อระบบทรัพย์สน ปั จจัยหน่วงทีม ่ ต ี อ ่ STI ได ้แก่ ่ ในภูมภ 1. ระบบความเชือ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ทีป ่ ระกอบไป ่ และวิท ยาศาสตร์ ด ้วยหลากหลายศาสนา ดัง นั น ้ ระบบความเชือ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ควรต ้องเป็ นไปในแนวทางเดียวกัน 2. การเมืองและการทูตทาง STI แนวความคิดเรือ ่ งนักการทูตด ้าน

วิท ยาศาสตร์ถอ ื เป็ นเรื่องใหม่ แต่ก็เป็ นเรื่องสํ าคั ญในการเจรจา ระหว่างประเทศทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติ 3. นวัตกรรมของจีนและอินเดีย ทีอ ่ าจเป็ นภัยคุกคามต่อการสร ้าง แบรนด์ ข องคนไทย การพั ฒ นาแบรนด์ ข องตนภายในตลาด เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับประเทศเป็ นไปได ้ยาก 4. การเติบ โตแบบสีเ ขีย ว (Green Growth) ปั ญหาด ้าน สิง่ แวดล อ ้ ม และการเปลี่ ย นแปลงสภาพภูม ิอ ากาศทํ า ให ้การ กําหนดนโยบาย STI ต ้องคํ านึงถึงปั ญหาเหล่านี้มากขึน ้ เกาหลีใต ้ เป็ นเพีย งประเทศเดีย วที่ดํ า เนินนโยบายการเติบโตแบบสีเ ขีย ว อย่างชัดเจน 5. ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ก า ร จั ด อั น ดั บ มหาวิทยาลัยทําให ้นักวิจัยเน ้นการตีพม ิ พ์ผลงานมากกว่าการสอน และการวิจัย ที่เน ้นผู ้เรียนและสังคมเป็ นสํ าคัญ นอกจากนั น ้ การ ปรับโครงสร ้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยก็ไม่ได ้เอือ ้ ต่อการ สร ้างความรู ้แบบครบวงจรของนักวิจัย 6. ก าร คอ ร์ รั ป ชั่ น ใ นวงก ารวิ ท ย าศ าสต ร์ เทค โนโ ลยี แ ล ะ นวัต กรรม ที่ขัด ขวางการพัฒนาประเทศ เช่น การเลือกปฏิบัตใิ น การให ้ทุนวิจัยหรือการให ้ตําแหน่ง ปั จจัยที่สามารถเป็ นได ้ทัง้ แรงกระตุ ้นและแรงหน่วงต่อ STI ได ้แก่ 1. การปรับกระบวนทัศน์เชิงเศรษฐศาสตร์เทคโนโลยีระดับโลก เกิดคําถามเรือ ่ งความเปลีย ่ นแปลงทางสังคมกับเทคโนโลยีวา่ สิง่ ใดเกิด ก่อนกัน โดยมีการแข่ง ขันทางความคิด ระหว่าง 3 กลุ่ม ใหญ่ ได ้แก่ กลุ่มนักเศรษฐศาสตร์ทม ี่ องว่ารัฐเป็ นตัวแสดงสําคัญ ในการกํ า หนดนโยบาย กลุ่ ม นั ก บริห ารยุ ท ธศาสตร์ ท ี่ ม องว่ า บรรษั ทข า้ มชาติ ข นาดใหญ่ เ ป็ นตั ว แสดงสํ าคั ญ ในการผลิ ต เทคโนโลยีทส ี่ ง่ ผลกระทบต่อโลก และกลุม ่ นักวิทยาศาสตร์ทม ี่ อง ว่าผู ้สร ้างเทคโนโลยีจะพัฒนาให ้เกิด สินค ้านวัตกรรม เรียกได ้ว่า ผู ้สร ้างองค์ความรู ้กับตลาดดําเนินไปพร ้อมกัน 2. การเคลื่อนย ้ายทางนวัตกรรม (Mobility Innovation) ที่จะ นํ า ไปสู่ก ารกระจายตัว ของสัง คมเมือ งรูป แบบใหม่ เมือ งจะเป็ น ผู ้ผลิตนวัตกรรมทีส ่ ําคัญ 3. การกระจายความรู ้ (Decentralization of Knowledge) มีการ ก ร ะจ าย ตั วขอ ง ผู ส ้ ร า้ ง ค วามรู ไ้ ป สู่ เ มื อ ง ใ ห ม่ แ ล ะเกิ ด ก าร แพร่กระจายและแลกเปลีย ่ นองค์ความรู ้แบบใหม่ด ้วย ประเทศไทย: ผู ้ใช ้หรือผู ้ตามเทคโนโลยี? - ไทยสามารถเป็ นผู ้นํ าได ้โดยการใช ้ความเป็ นเมืองมหานครเป็ น เวทีของ STI ให ้แก่ภาคเอกชน ทํ าให ้สามารถเพิม ่ ศักยภาพและ โอกาสในการพัฒนาได ้ - ต ้องพยายามทํ าให ้เกิด Inclusive Green Economy โดยต ้อง ไม่ทําให ้คนไทยใช ้พลังงานทางเลือกราคาแพง - STI ต ้องเข ้าไปมีบทบาทในการกํ าหนดนโยบายทุกด ้าน ทั ง้ การเงิน การค า้ การลงทุ น การศึก ษา เพื่ อ ให ้มี ลั ก ษณะเป็ น Inclusive Policy Development โดยนั ก การเมือ งต ้องให ้ ความสําคัญกับ STI มากขึน ้ - กลุ่ ม เทคโนโลยี ท ี่ ม ีศั ก ยภาพ เช่ น เทคโนโลยี ด า้ นอาหาร พลังงานหมุนเวียน นวัตกรรมทางด ้านการบริการ นวัตกรรมความ เป็ นเมือง และเทคโนโลยีสําหรับกลุม ่ คนด ้อยโอกาส

ประเด็นช่วงถาม-ตอบ - การใช ้ความเป็ นเมืองของไทยเพือ ่ ขับเคลือ ่ น STI ทําได ้ยาก เนือ ่ งจากกฎหมายผังเมืองกําลังจะหมดอายุ ทําให ้ขณะนี้ ประเทศไทยอยูใ่ นช่องว่างของการ สร ้างเมือง มีการสร ้างเมืองตามความต ้องการของตลาด โดยเฉพาะเมืองที่มน ี ค ิ มอุตสาหกรรม เช่น จังหวัดระยอง ในขณะทีอ ่ ุตสาหกรรมขยายตัว เมือง ขยายตามอุตสาหกรรม ดังนัน ้ ปั ญหาทีต ่ ้องตามแก ้กันต่อไปคือความเป็ นชุมชนทีอ ่ ยูร่ ว่ มกับอุตสาหกรรม - ไทยมีปัญหาการทําวิจัยมากมาย แต่ไม่สามารถผันมาเป็ นธุรกิจได ้ โดยเฉพาะสังคมทีม ่ ภ ี ูมป ิ ั ญญาท ้องถิน ่ ว่าจะสามารถผลิตเพือ ่ ขายได ้อย่างไร OTOP ของไทยไม่สามารถแปรสภาพองค์ความรู ้ด ้วยตนเองได ้ ต ้องอาศัยอาจารย์มหาวิทยาลัย ในขณะเดียวกัน ปั ญหาทีเ่ กิดขึน ้ คือช่องว่างระหว่างผู ้ประกอบการ กับมหาวิทยาลัย จุดอ่อนคือผู ้ประกอบการไม่สามารถเข ้าถึงองค์ความรู ้ของมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยก็ให ้การอบรมแก่ผู ้ประกอบการแบบไม่ตรงจุด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.