รายงานประจำปี 2554 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

Page 1




สารบัญ รู้จักคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ

1

ภารกิจ วัตถุประสงค์

2

ตราสัญลักษณ์ สี ดอกไม้ มหาวิทยาลัยนครพนม และคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

4

ภูมิหลังคณะศิลปศาสตร์แดละวิทยาศาสตร์

6

ทาเนียบผู้บริหารคณะฯ

9

ทาเนียบบุคลากร (สายผูส้ อน)

10

ทาเนียบบุคลากร (สายสนับสนุน)

17

ข้อมูลทั่วไปของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ข้อมูลบุคลากร / นักศึกษา และผูส้ าเร็จการศึกษา

22

ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนและหลักสูตร

28

การเงินและงบประมาณ

29

อาคาร สถานที่ และสาธารณูปโภค

32

ผลการดาเนินงานตามพันธกิจ / ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการผลิตนักศึกษาและบัณฑิต ให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์

35

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้

44

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการบริหารวิชาการแก่สังคม

48

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

56

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการบริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ 62


Faculty of Liberal Arts and Science Nakhon Phanom University

รายงานประจาปี

2554

Annual Report 2011


ปรัชญา พัฒนาองค์ความรู้ คู่คุณธรรม สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น สัมพันธ์อนุภูมิภาค ลุ่มแม่นาโขง

วิสัยทัศน์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เปิดโอกาสทางการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมจริยธรรมมี ความสามารถทางวิชาการ การจัดการศึกษาที่ดี การวิจัยในชันเรียนและการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ให้การบริการวิชาการแก่สังคม ส่งเสริมทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารองค์กรด้วยหลักธรรมาภิบาล และส่งเสริมให้ความร่วมมือในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นาโขง

พันธกิจ 1) ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ และทักษะในวิชาชีพเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 2) ผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพ 3) ส่งเสริมทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 4) ให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น เป็นแหล่งสืบค้นทางวิชาการ การวิจัย 5) ส่งเสริมความร่วมมือในอนุภาคลุ่มนาโขง 1 12


ภารกิจ 1) จัดการศึกษา โดยเน้นให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถทางวิชาการ และทักษะในการประกอบ วิชาชีพ 2) ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม ตรงตามความต้องการของสังคม 3) มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น ตอบสนองความต้องการ และเสริมสร้างองค์ความรู้ของท้องถิ่นให้ เข้มแข็งและยั่งยืน 4) ให้บริการทางวิชาการ และวิชาชีพ ถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีที่เป็นประโยชน์เพื่อพัฒนา ศักยภาพในการผลิตและบริการชุมชน สังคม และประเทศชาติ 5) ส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ทางวิชาการ และศิลปวัฒนธรรมในอนุภูมิภาคลุ่มนาโขง 6) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ และทักษะในวิชาชีพ เพื่อพัฒนาท้องถิ่น 2) เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพ 3) เพื่อส่งเสริมทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 4) เพื่อให้บริการแก่ท้องถิ่น 5) เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในอนุภูมิภาคลุ่มนาโขง 2 12


3


ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยนครพนม วงรีรปู หยดนา้ สื่อความหมายถึง หยดน้าหนึ่งหยดที่หลอมรวมกันเป็นแม่น้าแห่งการศึกษา เปรียบดุจการรวมสถานศึกษาเป็นวิยาลัยนครพนม โดยสีน้าตาลเป็นสีประจ้าจังหวัด และ สีเหลืองทองเป็นสีประจ้าจังหวัดนครพนม องค์พระธาตุพนมอยูบ่ นดอกบัว สือ่ ความหมายถึง การเคารพสักการะ องค์พระธาตุพนม อันเป็นสัญลักษณ์ประจ้าจังหวัดนครพนม และเป็นตัวแทนของคุณธรรมที่หลอมรวมใจ ของบุคคลทุกหมู่เหล่าเข้าไว้ด้วยกัน สายดอกบัวเจ็ดดอก สื่อความหมายถึง ลายประจ้าพระธาตุพนมซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่ง คุณธรรม และจ้านวนเจ็ดดอกนันเทียบเท่ากับสถานศึกษาทังเจ็ดแห่งที่หลอมรวมเป็น มหาวิทยาลัยนครพนม รวงข้าวสีเหลืองทอง สื่อความหมายถึง ความเจริญเติบโตและการรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิด ความสามัคคี เพื่อเป้าหมายแห่งความส้าเร็จในการปฏิบัติงานในนาม มหาวิทยาลัยนครพนม ฐานสิงห์ สื่อความหมายถึง ความเจริญเติบโตและการรวมกลุ่มกันเพื่อให้เกิดความสามัคคี เพื่อเป้าหมายแห่งความส้าเร็จในการปฏิบัติงานในนาม มหาวิทยาลัยนครพนม ซุม้ ประตูสที่ ศิ สื่อความหมายถึง ประตูแห่งการศึกษาทังสี่ทิศที่เปิดโอกาสให้บุคคลเข้ามา แสวงหาองค์ความรู้ คลืน่ นา้ สีฟา้ จ้านวนสามเส้น สื่อความหมายถึง แม่น้าโขงเป็นแม่น้านานาชาติที่ไหล อย่างต่อเนื่อง เปรียบประดุจการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่บุคคลทุกชนชาติ ขนาดมาตรฐานของตราสัญลักษณ์ ความกว้าง 3.25 ซม. ความสูง 4.50 ซม.

สีประจามหาลัยนครพนม

สีเหลืองทอง

ดอกไม้ประจามหาลัยนครพนม

ดอกกันเกรา

4


สีประจาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

สีแสด

ต้นไม้ประจาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

ต้นทองกวาว 5


ภูมิหลังคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เดิมเป็นสถาบันราชภัฏ 1 ใน 5 สถาบันราชภัฏที่จัดตังขึนใหม่ โดยได้ประกาศ เป็นสถาบันราชภัฏนครพนม ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฏีกา เล่มที่ 118 ตอนที่ 59 ก วันที่ 20 กรกฎาคม พุทธศักราช 2544 สถาบันราชภัฏนครพนม เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงานสภาสถาบันราชภัฏกระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจ ตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันราชภัฏ พทุธศักราช 2544 มาตรา 7 “ให้สถาบันราชภัฏเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อนการพัฒนา ท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชันสูง ทาการวิจัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและ พัฒนาเทคโนโลยี ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู สถาบันราชภัฏนครพนม ดาเนินภารกิจใต้การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลกและสังคม ทังในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สภาพแวดล้อม และเทคโนโลยี ซึ่งกระแสเหล่านีมีผลกระทบต่อทุกส่วนของสังคมรวมทังของสถาบันราชภัฏนครพนม จากสภาวการณ์ของโลก ยุคโลกาภิวัตน์ สภาวะเศรษฐกิจถดถอย รัฐบาลต้องบริหารประกาศภายใต้ขีดจากัดด้านงบประมาณ กอปรกับรัฐบาลมีแนวนโยบายในการปฏิรูปการเมือง รูปแบบราชการและการปฏิรูปการศึกษา โดยมีสาระสาคัญตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ที่กาหนดให้สถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐ สถาบันราชภัฏนครพนม จึงจาเป็นต้องเร่งพัฒนาสถาบันทังทางด้านคุณภาพและศักยภาพในการจัดการศึกษา โดยให้ความสาคัญกับการพิจารณาองค์การ ในภาพรวมให้เป็นระบบมากขึน เพื่อจะได้ผลักดันให้สถาบันพัฒนาก้าวหน้าต่อไป การยกฐานะสถาบันราชภัฏนครพนมเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด้วยพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 23 ก ลงในวันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 จึงมีผลให้สถาบันราขภัฏนครพนมได้รับการยกฐานะขึนเป็น มหาวิทยาลัยราชภัชฏนครพนม ตังแต่วันที่ 15 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 หลังจากนันในวันที่ 2 กันยายน 2548 ได้มีการหลอมรวมสถาบันการศึกษาที่อยู่ในจังหวัดนครพนม นันเป็นมหาวิทยาลัยนครพนม การจัดตังมหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครพนมได้รับการยกฐานะขึนตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภัฏ พุทธศักราช 2547 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 23 ก ลงในวันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 นับเนื่องมาจนกระทั่ง วันที่ 1 กันยายน 2548 พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยนครพนม พุทธศักราช 2548 ให้รวมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครพนม วิทยาเขตนครพนม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยาลัยเทคนิคนครพนม วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีนครพนม วิทยาลัยการอาชีพธาตุพนม วิทยาลัยการอาชีพนาหว้า และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี มาจัดตัง เป็นมหาวิทยาลัยนครพนม โดยได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 75 ก ลงในวันที่ 1 กันยายน 2548

6


ทคณะศิาเนีลปศาสตร์ ยบผูและวิ้บทริยาศาสตร์ หาร

7


8


ทาเนียบผู้บริหารคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

ทาเนียบผู้บริหารคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

รศ.ดร.ประสาท อิศรปรีดา คณบดีคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

9

ดร.มนตรี อนันตรักษ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร

ดร.สุเทพ ทองประดิษฐ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา

ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและการจัดการคุณภาพ

อ.กัลยาณี ม่วงไทย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ


บุคลากรสายผู้สอน สาขาวิชาการบริหารทั่วไป

ดร.สรร ธงยศ ประธานสาขาวิชาการบริหารทั่วไป

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.มาโนช สุวรรณสาร หัวหน้าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.สาราญ วิเศษ อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.มุทุดา แก่นสุวรรณ อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.กาญ ดาริสุ อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.กชกร เดชะคาภู อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.เจษฎา ไชยตา อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ.จารุกัญญา อุดานนท์ อ.ประจาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

10


สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ดร.สุเทพ ทองประดิษฐ์ หัวหน้าสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ดร.ประสาท อิศรปรีดา อ.ประจาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ผศ.ดร.ทัศนา ประสานตรี อ.ประจาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ อ.ประจาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

สาขาวิชาการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม

ดร.กาญจน์ หงษ์มณีรัตน์ หัวหน้าสาขาวิชาการพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล้อม

อ.อภิกนิษฐา นาเลาห์ อ.ประจาสาขาวิชาการพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อม

11

อ.สุริยนต์ หลาบหนองแสง อ.ประจาสาขาวิชาการพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อม


สาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

ดร.มนตรี อนันตรักษ์ หัวหน้าสาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมฯลฯ

อ.พิจิตรา ทีสุกะ อ.ประจาสาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมฯลฯ

ศ.ดร.ฉวีลักษณ์ บุณยะกาณจน อ.ประจาสาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมฯลฯ

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ดร.วรรณดาเรศ โภคาพานิช หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.วีระศักดิ์จุลดาลัย อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

รศ.พ.อ.ดร.วรศิษย์ อุชัย อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ดร.พรศักดิ์ ยตะโคตร อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

12


สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (ต่อ)

ดร.นันทวัน เอือวงศ์กูล อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ดร.อรดี พันธ์กว้าง อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.เสาวนาภรณ์ โชคสกุลพร อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ดร.จริญาณี ประสงค์กิจ อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.ชนาพร รัตนมาลี อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.กรรณิการ์ สุกะดีทัด อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.จารุวัฒก์ ทองมูล อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.ปรัชญา ธงพานิช อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.จอน เมฆสว่าง อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

อ.จารุวัฒก์ ทองมูล อ.ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

13


สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศก ึ ษา

ร.อ.ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์ หัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

ดร.วนิดา หงษ์มณีรัตน์ อ.ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

อ.สุธิดา เลขะวัฒนะ อ.ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

อ.สุวิสาข์ เหล่าเกิด อ.ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

อ.วัชรี แซงบุญเรือง อ.ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

อ.ณัฏฐชัย แสงทอง อ.ประจาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

อ.ลีลาวดี ชนะมาร หัวหน้าสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

ดร.ศิริดา บุรชาติ อ.ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

อ.รชฎ สุวรรณกูฏ อ.ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

14


สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (ต่อ)

อ.ชุมจิรา ราชิวงศ์ อ.ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

อ.จงใจ เตโช อ.ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

อ.อธิราชย์ นันขันตี อ.ประจาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

สาขาวิชาสังคมศึกษา

อ.ภาวดี พันธรักษ์ หัวหน้าสาขาวิชาสังคมศึกษา

อ.ไพฑูรย์ พวงยอด อ.ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา

อ.สุวิมล คาน้อย อ.ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา

อ.สิริยาพร สาลีพันธ์ อ.ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษาอาจารย์

15

อ.อนุชิต สิงห์สุวรรณ อ.ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา

อ.อภิรดี แข้โส อ.ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา


สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.มานะชัย แก้วสีดวง หัวหน้าสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.กัลยาณี ม่วงไทย อ.ประจาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.นาตยาภร บุญเรือง อ.ประจาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.เรณุมาศ โคตรพัฒน์ อ.ประจาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.วรรณธิภา อุนารัตน์ อ.ประจาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

อ.สุภาวรรณ ฤๅกาลัง อ.ประจาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

16


บุคลากรสายสนับสนุน

ฝ่ายบริหารจัดการ

ดร.มนตรี อนันตรักษ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร

นางภัคณัท หตะเสน รักษาการหัวหน้าสานักงานคณบดี

17

นางสาวอรอนงค์ มงกุฎ หัวหน้างานการเงินและบัญชี

นางสาวณัฐฐา ตันสังวรณ์ เจ้าหน้าที่งานการเงิน

นางสาวปัทมา มงคลเคหา เจ้าหน้าที่งานบัญชี

นางจิตราพร สมพล เจ้าหน้าที่งานพัสดุ

นางสาวพิมพร อ่อนคา เจ้าหน้าที่งานเลขานุการ/ธุรการ

นายปิยรัตน์ บุตรศรี เจ้าหน้าที่งานบุคลากร


ฝ่ายบริหารจัดการ (ต่อ)

นางสาวประภาพร สุริยสิทธิ์ เจ้าหน้าที่งานบัณฑิตศึกษา

นางสาวขนิษฐา สมดา เจ้าหน้าที่งานบัณฑิตศึกษา

นายศักดิ์ดา แสงเชือพ่อ เจ้าหน้าที่นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นายชรินทร์ เดชะคาภู เจ้าหน้าที่งานโสตทัศนูปกรณ์

นายนิธิศ ทองอนงค์ เจ้าหน้าที่งานโสตทัศนูปกรณ์

นายราชันย์ เสือคาจันทร์ เจ้าหน้าที่งานอาคารสถานที่ฯ

นายจงกล อินพา เจ้าหน้าที่งานยานพาหนะ

นายหนูพัด ช่อประพันธ์ เจ้าหน้าที่งานยานพาหนะ

นายพรชัย แสนชัย เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

นางมุ้ย แสนชัย เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

นางแหวน อินพา เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

นางปลืมจิตร ดวงศร เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

18


ฝ่ายบริหารจัดการ (ต่อ)

นางสุดใจ พุ่มแก้ว แม่บ้านประจาหอพักนักศึกษา

นางทาริกา พลชัยยา เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

นางนาลักษณ์ คาไตรย์ เจ้าหน้าที่งานฝ่ายอาคารสถานที่

ฝ่ายพัฒนานักศึกษา

ดร.สุเทพ ทองประดิษฐ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา

นางอาติมา ศรีปากดี หัวหน้างานพัฒนานักศึกษา

19

นางสาวอิศราภรณ์ ไวสู้ศึก เจ้าหน้าที่งานกิจการนักศึกษา


ฝ่ายวิชาการ

อ.กัลยาณี ม่วงไทย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

นางสภาพร คงเกษม หัวหน้างานทะเบียนและประมวลผล

นางสาวอรอนงค์ คาคนชื่อ เจ้าหน้าที่งานทะเบียนและประมวลผล

นางสาวขนิษฐา หอมอ่อน เจ้าหน้าที่งานทะเบียนและประมวลผล

นางสาวนันทภัค ต้นโพธิ์ เจ้าหน้าที่งานวิชาการ

นางสาวสายชล อินพา เจ้าหน้าที่งานทะเบียนและประมวลผล

นางสุปภาดา เซียวสกุล เจ้าหน้าที่งานฝึกประสบการณ์และวิชาชีพฯ

20


ฝ่ายวิจัยและการจัดการคุณภาพ

ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและการจัดการคุณภาพ

นางสาววรปภา เทศประสิทธิ์ เจ้าหน้าที่งานกพร./วิจัย

นางสาวมีนา บุญระมี นางกัญจนพร ยืนนาน เจ้าหน้าที่งานแผนงานและงบประมาณ เจ้าหน้าที่งานบริการวิชาการ/บริหารความเสี่ยง

นางสาวพิมพ์ธิดา อารีรักษ์ เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพการศึกษา

21


ข้อมูลบุคลากร จานวนบุคลากรทั้งสิ้น 102 คน โดยจาแนกตามสายงานได้ดังนี้

สายงาน

ต่ากว่า ปริญญาตรี

บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน

18

วุฒิการศึกษา ปริญญา ปริญญาโท ตรี 44 17 9

ปริญญาเอก 14 -

รวม 58 44

โดยจาแนกตามหน่วยงานได้ดังนี้

วุฒิการศึกษา หน่วยงาน

ต่ากว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ รวม

17 17

17 17

53 53

ปริญญาเอก 14 14

รวม 102 102

บุคลากรที่ศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ

สายงาน บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน

จ่านวนบุคลากรทีศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก 15 8 -

22


บุคลากรสายสนับสนุน สาขาวิชาทีศึกษาต่อ

จ่านวนบุคลากรทีศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

สาขาวิชาบริหารการศึกษา นางอาติมา ศรีปากดี นางสาวมีนา บุญระมี นางสาวสายชล อินพา นางกัญจนพร ยืนนาน นางสาวปัทมา มงคลเคหา นางสาวขนิษฐา หอมอ่อน สาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการศึกษา นางสาวนันทภัค ต้นโพธิ์ รวม

23

6

-

1 7

-


บุคลากรสายวิชาการ จ่านวนบุคลากรทีศึกษาต่อ ระดับปริญญาโท -

รวม

-

ระดับปริญญาเอก นายวรวุฒิ อินทนนท์ นางสาวอภิกนิษฐา นาเลาห์ นางจงใจ เตโช นายรชฎ สุวรรณกูฏ นายไพฑูรย์ พวงยอด นางสาวนาตยาภร บุญเรือง นายจอน เมฆสว่าง นายเกรียงไกร ผาสุตะ นายอธิราชย์ นันขันตี นางสาวพิจิตรา ทีสุกะ นายมานะชัย แก้วสีดวง นางสาวสุธิดา เลขวัฒนะ นายวิสิฎฐ์ คิดคาส่วน

13

24


ข้อมูลนักศีกษา นักศึกษาภาคปกติ นักศึกษาภาคพิเศษ การรับนักศึกษาในระดับการศึกษาต่าง ๆ (จ่านวนนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2554) ปีการศึกษา 2554 มีการรับนักศึกษาใหม่ จานวน 1,377 คน โดยแบ่งเป็น - ระดับปริญญาตรี 4 ปี จานวน 177 คน - ระดับปริญญาตรี 5 ปี จานวน 1,097 คน - ระดับปริญญาโท จานวน 103 คน

25


ตารางแสดงจานวนนักศึกษา ที่รับเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2554

ระดับการศึกษา หลักสูตร/สาขาวิชา

ปริญญาตรี 5 ปี

1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาวิชาพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม 2. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ 198 สาขาการศึกษาปฐมวัย 331 สาขาภาษาอังกฤษ 100 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา 171 สาขาสังคมศึกษา 201 3. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 4. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ รวม ( 1,377 คน)

1,097

ปริญญา ตรี 4 ปี 17

ปริญญา ตรี 2 ปี ป.บัณฑิต (ต่อเนื่อง)

ปริญญา โท

อื่นๆ

24

136 64 39 153

24

103

26


วิธีการรับเข้านักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2554 - โดยการสอบคัดเลือก จานวน 1,377 คน จานวนนักศึกษาในระบบ ณ ปีการศึกษา 2554 ระดับการศึกษา หลักสูตร/สาขาวิชา

ปริญญา ตรี 5 ปี

1.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สาขาวิชาพัฒนาสังคม และสิ่งแวดล้อม การพัฒนาชุมชน 13 2. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ 342 สาขาการศึกษาปฐมวัย 652 สาขาภาษาอังกฤษ 287 สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา 252 3. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจ (บธ.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 5. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา หลักสูตรและนวัตกรรมการเรียนรู้ 6. หลักสูตรรัฐประศาสนาศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) การบริหารงานทั่วไป รวม ( 1,611 คน) 1,546

27

ปริญญา ตรี 4 ปี

ปริญญา ปริญญา ตรี 2 ปี ป.บัณฑิต โท (ต่อเนื่อง)

107 17 39

50

278 13 269 174

454

50

18 518

อื่นๆ


ผู้สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2554 ระดับการศึกษา หลักสูตร/สาขาวิชา 1.หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ สาขาวิชาพัฒนาชุมชน 2. หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาการศึกษาปฐมวัย 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 4. หลักสูตรบริหารธุรกิจ (บธ.บ.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป 5. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา รวม (488 คน)

ปริญญาตรี 5 ปี

ปริญญา ตรี 4 ปี

ปริญญา ตรี 2 ปี (ต่อเนื่อง)

ป. บัณฑิต

ปริญญา อื่นๆ โท

65 20 2 -

153 21 3 45 6

162

153

173 173

28


รองคณบดีฝ่ายบริหาร หัวหน้ าสานักงานคณบดี

โครงสร้ างการบริหารองค์ กรของคณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

คณะกรรมการประจาคณะ

คณบดี กรรมการบริหารความเสี่ ยง

กรรมการบัณฑิตศึกษาประจาสาขา

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและการจัดการ คุณภาพ

คณะกรรมการประกันคุณภาพ

รองคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนา นักศึกษา

รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ และกิจกรรมพัฒนา

งานวิชาการ

งานวิจยั

งานบริ การวิชาการ

งานบริ หารทัว่ ไป

งานทะเบียนและประมวลผล

งานประกันคุณภาพการศึกษาต่อ

งานชุมชนสัมพันธ์

งานแผนงานและงบประมาณ

งานการเงิน

งานพัฒนานักศึกษา

งาน กพร.

งานภูมิทศั น์

งานบัณฑิตศึกษา

งานความปลอดภัย

งานจัดการความรู้ (KM)

งานอบรมสัมมนาทางวิชาการ

งานสารบรรณ

งานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม

งานบริ หารความเสี่ ยง

งานกีฬาบุคลากร

งานบุคลากร

งานวิเทศสัมพันธ์

งานสารสนเทศเพื่อการสื บค้น งานประชาสัมพันธ์และแนะ

งานกองทุนการศึกษา

งานบริ หารสารสนเทศ ศูนย์นวัตกรรมการเรี ยนรู้ งานอาคารสถานที่ งานโสตฯ/ซ่ อมบารุ ง

29


ข้อมูลการเงินและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2554 จาแนกตามแหล่งเงิน

งบประมาณ งบรายจ่าย บุคลากร งบดาเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม

งบประมาณแผ่นดิน จ่านวน ร้อยละ 934,000 75.87 296,980 24.13 1,230,980 100

งบประมาณเงินรายได้ จ่านวน ร้อยละ 2,650,044 8.10 27,419,663 83.82 865,900 2.65 1,272,034 3.89 504,800 1.54 32,712,441 100

รวม จ่านวน ร้อยละ 2,650,044 8 28,353,663 84 865,900 3 1,569,014 5 504,800 1 33,943,421 100

ปีงบประมาณ 2554 จาแนกตามประเภทรายจ่าย

ภารกิจหลัก การผลิตบัณฑิต การวิจัยและพัฒนา การบริการวิชาการ

งบประมาณแผ่นดิน จ่านวน ร้อยละ 235,020 19.09 223,380 18.15

การทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม

73,600

5.98

200,000

0.61

273,600

0.81

698,980 1,230,980

56.78 100

16,894,204 32,712,441

51.64 100

17,593,184 33,943,421

51.83 100

การบริหารจัดการ องค์กร รวม

งบประมาณเงินรายได้ จ่านวน ร้อยละ 15,018,237 45.91 300,000 0.92 300,000 0.92

รวม จ่านวน 15,253,257 300,000 523,380

ร้อยละ 44.94 0.88 1.54

30


31


ข้อมูลอาคาร สถานที่ และสาธารณูปโภค 1. อุปกรณ์ เครืองมือ และเทคโนโลยี 1) ห้องเรียน ขนาด 60 ที่นั่ง 2) ห้องเรียน ขนาด 90 ที่นั่ง 3) ห้องเรียน ขนาด 150 ที่นั่ง 4) ห้องเรียน ขนาด 300 ที่นั่ง 5) ห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ 6) ห้องปฏิบัติการทางภาษา 7) ห้องปฏิบัติการทางเทคโนโลยี

จานวน.......11......ห้องเรียน จานวน.......1........ห้องเรียน จานวน.......3........ห้องเรียน จานวน.......1........ห้องเรียน จานวน.......6........ห้อง จานวน.......2........ห้อง จานวน.......2.........ห้อง

32


ยุทธศาสตร์ที่ 1 การผลิตนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์

33


34


ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ 1.1 การจัดบริการแก่นักศึกษา 1.1.1 ทุนการศึกษา ล่าดับที ผู้รับทุน 1 นางสาววัชรินทร์ เภาปิดตา 2 นายสันติสขุ หนูฤทธิ์ 3

4 5

35

นายวัชรินทร์ ศรีวิชา นายเดชา กฤษสุวรรณ นายธนิพันธ์ สิมลี นางสาวมลลัดา วรรณทาป นางสาวรัตติกาล ลุนลาน นายสมบัติ โสมี นางสาวกนกวรรณ ผาบัง นางสาวกนิฎฐา ช่างเงิน นางสาวจุฑาภรณ์ โคชบึง นายณัฐพงษ์ อุ่นชัย นายวีรสิทธิ์ พุทธรัตน์ นายไชยราวุฒิ คาหาญ นางสาวณัฐณิชา วงษ์ศรีญา นางสาวจิรนันท์ สุวรรณโชติ นางสาวฐิติพาร เจริญไทย นายสมเกียรติ นุ่มอุปถัมภ์ นางสาวจุรีรัตน์ เชือดวงผุย นายวสันต์ จันทร์ตุลา นางสาวสุนิสา อภัยพิตร

ชือทุน ทุนเฉลิมราชกุมารี ทุนอุดมศึกษาเพื่อการ พัฒนาจังหวัดชายแดน ภาคใต้ รุ่นที่ 5 (ศ.อบต.) ทุนจากคณะผู้บริหาร คณะศิลปศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ (วันไหว้ครู)

จ่านวนทุน 1 ทุน 1 ทุน

จ่านวนเงิน 24,000 20,000

16 ทุน

ทุนมูลนิธิช่วยนักเรียนที่ ขาดแคลนในพระ ราชินูปถัมภ์ ทุนนายธวัช เอี่ยมสม

1 ทุน

5,000 5,000 5,000 2,000 3,000 3,000 3,000 3,000 3,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 2,000 3,000

2 ทุน

2,000 2,000


งานหอพักนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้มีบริการหอพักนักศึกษา สาหรับนักศึกษาชันปีที่ 1 จานวน 16 ห้องสามารถรับนักศึกษาเข้าพักได้ 60 คน โดยมีอาจารย์ผู้ดูแลหอพักนักศึกษาจานวน 2 คน และมีอาจารย์ เจ้าหน้าที่ ดูแลหอพักนักศึกษาในเวลากลางคืนทุกวัน

โครงการตรวจหอพักนักศึกษา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ได้ดาเนินการตรวจเยี่ยมหอพักนักศึกษาบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียงกับ คณะฯ ได้ข้อสรุปว่ามีจานวนหอพักนักศึกษาเอกชนจานวน 25 หอพัก เป็นหอพักชาย 9 หอพัก หอพักหญิง 16 หอพัก

การบริการข้อมูลข่าวสาร, การให้คาปรึกษา - ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับรายละเอียดเกี่ยวกับกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา - ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการผ่อนผันทหาร - ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการหางานพิเศษ/หารายได้พิเศษ - ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ และบริการด้านสุขภาพ เช่น พานักศึกษาไปโรงพยาบาลเมื่อเกิด อุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยไม่สบาย

36


โครงการด้านยุทธศาสตร์ ที่ 1 ล่าดับ

หน่วยงาน

ระยะเวลาด่าเนินงาน

คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

1-2 ก.พ. 2554 24 พ.ย. 254

คณะศิลปศาสตร์ฯ

26 ธ.ค. 2554

โครงการศึกษา ดูงาน - สาขาวิชารัฐประศาสนตร์ - สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย - สาขาวิชา บริหารธุรกิจ

คณะศิลปศาสตร์ฯ

ม.ค. - ส.ค. 2554

6

โครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ - สาขาพัฒนาชุมชน - สาขารัฐประศาสนศาตร์

คณะศิลปศาสตร์ฯ

9 มี.ค. 2554 2 ธ.ค. 2554

7 8

โครงการอบรมคุณธรรมศึกษาธรรมชาติ โครงการตอบปัญหาภาษาอังกฤษ โครงการสานสัมพันธ์จากพี่สู่น้อง โครงการพัฒนาเฉพาะด้านคอมพิวเตอร์ โครงการรับน้องสาขาวิทยาศาสตร์ โครงการศึกษานิเวศวิทยา โครงการอบรม E- Learning โครงการแนะแนว

คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

12 พ.ย. 2554 2 ก.ย. 2554 ก.ค. 2554 26 ส.ค. 2554 ก.ค. 2554 19 เม.ย. 2554 16 ส.ค. 2554 18-30 พ.ย. 2553

1 2 3 4 5

9 10 11 12 13 14

37

ชือโครงการ/กิจกรรม โครงการวิพากษ์หลักสูตร สาขาสังคมศึกษา โครงการประชุมพัฒนาบุคลากรทางการสอน โครงการนิเทศนักศึกษาสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ โครงการรัฐประศาสนศาสตร์สัมพันธ์


ล่าดับ ชือโครงการ/กิจกรรม 15 โครงการวันลอยกระทง ประจาปี 2553 16 โครงการ 5 ธันวาคมมหาราชเทิดไท้องค์ราชัน 17 โครงการสานสัมพันธ์คณาจารย์เจ้าหน้าที่และ นักศึกษา 18 โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษากองทุน กยศ. 19 โครงการปัจฉิมนิเทศ 20 โครงการฝึกอบรมประกันคุณภาพนักศึกษา 21 โครงการวันไหว้ครู 22 โครงการไหว้พระ กราบปู่ สู่ขวัญน้องใหม่ 23 โครงการขับขี่ปลอดภัยเปิดไฟใส่หมวกนิรภัย 24 โครงการไหลเรือไฟ 25 กิจกรรมเข้าร่วมกีฬามหาวิทยาลัยนครพนม ครังที่ 4 26 โครงการกิจกรรม freshly ปีการศึกษา 2554 27 โครงการจัดซือวัสดุเพื่อให้ในการเรียนการสอน 28 โครงการศึกษาและพัฒนาการจัดการพืนที่ชุ่ม นา ลุ่มแม่นาโขงและแม่นาสาขา

หน่วยงาน คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

ระยะเวลาด่าเนินงาน 10 พ.ย. 2554 5 ธ.ค. 2554 22 ธ.ค. 2553

คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปะศาสตร์ฯ

18 ม.ค. - 28 ก.พ. 53 23 ก.พ. 2554 17 มี.ค. 2554 17 มิ.ย. 2554 23 มิ.ย. 2554 29 มิ.ย. 2554 12 ต.ค. 2553 10-13 ธ.ค. 2553

คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปะศาสตร์ฯ

20 ก.ค. 2554 ต.ค. 53 - ก.ย. 2554 ปี 2554

37


เข้าร่วมการอบรม Supper Visor “ธรรมะก้าวหน้า ณ วัดธรรมกาย ครั้งที่ 30

รายงานประจ้าปี 2553 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

38

44


โครงการแนะแนว ประจาปี 2554

39


โครงการศึกษาและพัฒนาการจัดการพื้นที่ชุ่มน้า ลุ่มแม่น้าโขงและแม่นาสาขา ้

12


โครงการกิจกรรม freshly ปีการศึกษา 2554

41


โครงการเชื่อมความสัมพันธ์ นักศึกษาแลกเปลี่ยนไทย-ลาว-เวียดนาม

42


โครงการกิจกรรม วันแม่แห่งชาติ ปี 2554

43


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้

44


45


ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ การเผยแพร่ผลงานวิจัย ปีงบประมาณ 2554 ชือวารสารทีตีพิมพ์ วัน/เดือน/ปี การประชุมวิชาการเสนอ ผลงานวิจัย ครังที่ 3 “นโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน” 29 -30 ต.ค.2554 ณ คณะศิลป ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

ชืองานวิจัย

ชือผู้วิจัย

1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดาเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม: การวิจัยผสานวิธี

ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์

2. อานาจวาทกรรมที่แฝงอยู่ในโฆษณา ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ

อ.สุภาวรรณ ฤากาลัง

3. วิถีชีวิตคนไทในจังหวัดเหงะอาน ประเทศ ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ เวียดนาม 4. คุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากร มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์: ศึกษา เปรียบเทียบระหว่างบุคลากรสายวิชาการ และสายสนับสนุน

อ.จารุกัญญา อุดานนท์

5. ประวัติศาสตร์อีสาน พ.ศ.2475 ถึงสิน ทศวรรษ 2520

อ.อนุชิต สิงห์สุวรรณ

6. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทย-ลาว พ.ศ.2518-2548

อ.อภิรดี แข้โส

7. การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน อ.วัชรี แซงบุญเรือง พัฒนาอาชีพชุมชน การทาข้ามต้มมัด จักรพรรดิเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อสนับสนุน การท่องเที่ยว จังหวัดนครพนม 8. การศึกษาการบริหารทรัพยากรนาโดย ชุมชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษาลุ่มนาก่า ตอนล่าง อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

46

อ.วัชรี แซงบุญเรือง


การเผยแพร่ผลงานวิจัย ปีงบประมาณ 2554 ชือวารสารทีตีพิมพ์ วัน/เดือน/ปี การประชุมวิชาการเสนอ ผลงานวิจัย ครังที่ 3 “นโยบาย และยุทธศาสตร์การพัฒนา การศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน” 29 -30 ต.ค.2554 ณ คณะศิลป ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

ชืองานวิจัย

ชือผู้วิจัย

9. การพัฒนารูปแบบความเป็นครูของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยนครพนม

ผศ.ดร.ทัศนา ประสาน ตรี

10. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ขนมเทียนแก้ว: กลุ่มขนมเทียนแก้วบ้านเนินคะนึง ตาบล บ้านแพง อาเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม

ดร.ศิริดา บุรชาติ

11. การจัดการโลจีสติกส์การท่องเที่ยวของ จังหวัดชายแดนเพื่อเชื่อมโยงกับประเทศ เพื่อนบ้าน

อ.กชกร เดชะคาภู

12. การจัดการความรู้เศรษฐกิจชุมชนแบบ พึ่งตนเองกลุ่มเกษตรกรทาไร่สับปะรด ตาบลโนนตาล อาเภอท่าอุเทน จังหวัด นครพนม

อ.วีระศักดิ์ จุลดาลัย

13. การจัดการความรู้แบบบูรณาการเพื่อ เสริมสร้างควมเข้มแข็งของชุมชน กรณีศึกษาชุมชนบ้านโพนจาน อาเภอโพน สวรรค์ และชุมชนบ้านนาโดน อาเภอเมือง จังหวัดนครพนม

อ.สุริยนต์ หลาบหนอง แสง

47


ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบริการวิชาการแก่สังคม

48


49


ยุทธศาสตร์ที่3 การบริการวิชาชีพแก่สังคม หัวข้ออันเนื่องมาจากพระราชดาริ หัวข้อขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพระเบื้องยุคลบาทฯ

ระยะเวลา ดาเนินงาน 12 – 13 มิ.ย. 2554

ลาดับ

ชื่อโครงการ

1

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ทฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียงแก ชุมชนชาวไทยเชือสายเวียดนาม ในจังหวัดนครพนม

2

อ.ลีลาวดี ชนะมาร ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนจากภู มิ ปั ญ ญา 11-12 มิ.ย. 2553 ท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ก.ค. 2554 ดร.กาญจน์ หงษ์มณีรัตน์ โครงการการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์ป่าชุมชนและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมพัฒนาชุมชน อ.มุทุดา แก่นสุวรรณ โครงการการจั ด การความรู้ ต ามปรั ช ญาเศรษฐกิ จ 6 พ.ค. 2554 พอเพียงเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน โครงการอบรมการจั ด การความรู้ป รัช ญาเศรษฐกิ จ 11 ก.พ. 2554 อ.ปิยธิดา รัตนรามา พอเพียงในครัวเรือนเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาการใช้พืช สมุนไพรท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

3

4 5

ผู้รับผิดชอบโครงการ อ.วัชรี แซงบุญเรือง

หัวข้อการบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชมุ ชน

50

ระยะเวลา ด่าเนินงาน 30 ม.ค. 2554 15-16 มิ.ย. 2553

ล่าดับ

ชือโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการ

1 2

โครงการค่ายภาษาอังกฤษ (English Comp) โครงการแม่สอนลูกเพื่อเตรียมพร้อมแบบบูรณาการ เด็กปฐมวัย

3

โครงการสานสายใยรักจากพี่สู้น้อง

24-26 ธ.ค. 2553

อ.อภิกนิษฐา นาเลาห์

4

โครงการเผยแพร่ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับ ชีวิตประจาวันสาหรับประชาชน

6 พ.ค. 2554

อ.มาโนช สุวรรณสาร

5

โครงการค่ายอาสาพัฒนาห้องคอมพิวเตอร์และสื่อ การเรียนการสอน สาหรับโรงเรียนบ้านทุ่งมน

11-13 มี.ค. 2554

อ.สุวิสาข์ เหล่าเกิด

6

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้มีความสุข ด้วยการปฏิบัติธรรมและการใช้สมาธิบาบัด

27 ธ.ค. 2553

อ.วรวุฒิ อินทนนท์

อ.กัลยาณี ม่วงไทย ดร.ศิริดา บุรชาติ


หัวข้อการบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชมุ ชน (ต่อ)

ระยะเวลา ด่าเนินงาน 1 ก.ย. 2554 14-15 มี.ค. 2554

ล่าดับ

ชือโครงการ

7 8

โครงการวันวิทยาศาสตร์ โครงการฝึ ก อบรมเสริ ม ทั ก ษะวิ ช าชี พ ทางธุ ร กิ จ สาหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน

9

โครงการพัฒ นาสมรรถนะครู และบุคลากรทางการ ศึกษา

มิ.ย. 2554

ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์

10

โครงการส่ งเสริมพัฒ นาศักยภาพองค์กรชุมชนเพื่อ ความยั่งยืน

6 พ.ค. 2554

อ.ภาวดี พันธรักษ์

11

โครงการค่ายอาสาพัฒ นาห้ องคอมพิวเตอร์และสื่ อ การเรียนการสอน โครงการพูดและการพัฒนาบุคลิกภาพ โครงการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สัญจร โครงการการส่งเสริมการศึกษาร่วมกับเครือข่ายวิทยุ ชุมชน

9 ก.ค. 2553

อ.สุวิสาข์ เหล่าเกิด

20 ก.ค. 2554 24 ก.พ. 2554 7-8 ม.ค. 2554

อ.ไพฑูรย์ พวงยอด อ.จารุวัฒก์ ทองมูล อ.สุริยนต์ หลาบหนอง แสง

12 13 14

ผู้รับผิดชอบโครงการ อ.ชนาพร รัตนมาลี อ.กชกร เดชะคาภู

15

โครงการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้วิทยาศาสตร์กับทาง สถาบันการศึกษาในอนุภูมิภาคลุ่มนาโขงใน มหาวิทยาลัยจาปาสักสาธารณารัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว

21-24 มี.ค. 54

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

16

โครงการพัฒนาวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ด้วยมัลติมีเดีย สู่ประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนาโขง ณ มหาวิทยาลัย จาปาสัก สาธารณารัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

21-24 มี.ค. 54

คณะศิลปะศาสตร์ (ดร.สุมาลี)

51


โครงการบริการวิชาการ

แม่สอนลูกเพือ่ เตรียมพร้อมแบบบูรณาการเด็กปฐมวัย

52


โครงการส่งเสริมการเรียนรูท ้ ฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียงแกชุมชนชาวไทย เชือ้ สายเวียดนาม ในจังหวัดนครพนม

53


โครงการอบรมการจัดการความรูป้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในครัวเรือน เพือ่ อนุรก ั ษ์และพัฒนาการใช้พชื สมุนไพรท้องถิน ่ อย่างยัง่ ยืน

54


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ของชุมชนให้มค ี วามสุข ด้วยการปฏิบต ั ธิ รรมและการใช้สมาธิบาบัด

55


ยุทธศาสตร์ที่ 4 การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

56


57


ยุทธศาสตร์ที่ 4 ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ล่าดับ ชือโครงการ 1 โครงการจัดตังศูนย์ศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ศึกษา 2 โครงการสืบสานงานนาฎศิลป์ 3 โครงการปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

58

หน่วยงาน คณะศิลปศาสตร์ฯ

ระยะเวลาด่าเนินงาน ม.ค. – มี.ค. 54

คณะศิลปศาสตร์ ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

23 ส.ค. 2554 24 พ.ค. 54


โครงการจัดตั้งศูนย์ศิลปวัฒนธรรมอาเซียนศึกษา

59


60


โครงการวันลอยกระทง ประจาปี 2554

รายงานประจ้าปี 2553 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์

67

61


ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

62


63


ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ล่าดับ 1 2 3 4 5 6 7 8

9

64

ชือโครงการ/กิจกรรม โครงการแนะแนว โครงการจัดทารายงานประจาปี โครงการรายงานผลการปฏิบัติงานรายไตรมาส โครงการทบทวนยุทธศาสตร์และจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการ ประจาปีงบประมาณ 2554 โครงการ QA contents โครงการจัดทา SAR กิจกรรมประเมินคุณภาพภายประจาปีการศึกษา 2553 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการ ความรู้สู่การพัฒนาศักยภาพบุคลากร สาย สนับสนุน - สายวิชาการ - สายสนับสนุน โครงการศึกษาดูงานการจัดการศึกษา ประเทศ เกาหลี

หน่วยงาน คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

ระยะเวลาด่าเนินงาน 18-30 พ.ย. 53 1 ม.ค. - 1 มี.ค. 54 ม.ค. - ก.ย. 2554

คณะศิลปศาสตร์ฯ

25 ส.ค. 2553

คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ คณะศิลปศาสตร์ฯ

21 ก.พ. 2554 30-31 มี.ย. 2554 27 ก.พ. 2554

คณะศิลปศาสตร์ฯ

7-9 ธ.ค. 2554

คณะศิลปศาสตร์ฯ

16-21 พ.ค. 2554


รายงานผลการดาเนินงานการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินคุณภาพภายใน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๓ คณะผู้ ประเมินสรุปผลการประเมินตามตัวบ่งชีของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จานวน ๓๗ ตัวบ่งชีจาแนก รายละเอียด ดังนี ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้

ตาราง ป ๑ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษารายองค์ประกอบและรายตัวบ่งชี ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี

ผลการเนินงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ

เป้าหมาย

ผลลัพธ์ (% หรือ สัดส่วน)

ตัวตั้ง ตัวหาร

ตัวบ่งชีที่ ๑.๑ ตัวบ่งชีที่ ๑.๑.๑ (สมศ.๑๖) ตัวบ่งชีที่ ๒.๑

๖ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ

ตัวบ่งชีที่ ๒.๒

ร้อยละ ๑๖

ตัวบ่งชีที่ ๒.๓

ร้อยละ ๘

ตัวบ่งชีที่ ๒.๔

๗ ข้อ

ตัวบ่งชีที่ ๒.๔.๑ (สมศ.๑๔) ตัวบ่งชีที่ ๒.๕ ตัวบ่งชีที่ ๒.๖ ตัวบ่งชีที่ ๒.๗

๓ คะแนน

๔ คะแนน

ตัวบ่งชีที่ ๒.๗.๒ (สมศ.๒)

๓.๕๑ คะแนน

ตัวบ่งชีที่ ๒.๗.๓ (สมศ.๓)

ร้อยละ ๑๐

ตัวบ่งชีที่ ๒.๘ ตัวบ่งชีที่ ๓.๑ ตัวบ่งชีที่ ๓.๒

๔ ข้อ ๕ ข้อ ๕ ข้อ

๕ ๔ ๕

ร้อยละ ๑๗.๖๕

๒.๙๔

ร้อยละ ๙.๘๐

๐.๘๒

๒.๓๒

  

๕ ๔ ๔

๔.๗๙

๔.๒๖

๐.๑๐

  

๕ ๕ ๕

๕ ข้อ ๑๔๒ ๕๑

๒.๗๘ คะแนน

๕ ข้อ ๗ ข้อ ๔ ข้อ

ตัวบ่งชีที่ ๒.๗.๑ (สมศ.๑)

  

๘ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๙ ๕๑ ๕ ๕๑

๗ ข้อ ๖ ข้อ ๔ ข้อ ๒๐๘ ๒๑๗

ร้อยละ ๙๕.๘๕ ๔.๒๖ คะแนน

๙*๐.๑๒๕ ๑๑๔

หมายเหตุ (เหตุผลของการ คะแนน ประเมินทีต่าง ประเมิน = บรรลุ (เกณฑ์ สกอ.) จากทีระบุ = ไม่บรรลุ SAR) บรรลุ เป้าหมาย

ร้อยละ ๐.๙๙ ๕ ข้อ ๗ ข้อ ๖ ข้อ

64


ผลการเนินงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ

เป้าหมาย

ผลลัพธ์ (% หรือ สัดส่วน)

ตัวตั้ง ตัวหาร

ตัวบ่งชีที่ ๔.๑ ตัวบ่งชีที่ ๔.๒ ตัวบ่งชีที่ ๔.๒.๑ (สมศ.๕) ตัวบ่งชีที่ ๔.๒.๒ (สมศ.๖) ตัวบ่งชีที่ ๔.๒.๓ (สมศ.๗) ตัวบ่งชีที่ ๔.๓ ตัวบ่งชีที่ ๕.๑ ตัวบ่งชีที่ ๕.๑.๑ (สมศ.๘) ตัวบ่งชีที่ ๕.๒ ตัวบ่งชีที่ ๕.๒.๑ (สมศ.๙) ตัวบ่งชีที่ ๕.๓.๑ (อัตลักษณ์) ตัวบ่งชีที่ ๖.๑ ตัวบ่งชีที่ ๖.๑.๑ (สมศ.๑๐) ตัวบ่งชีที่ ๖.๑.๒ (สมศ.๑๑) ตัวบ่งชีที่ ๗.๑ ตัวบ่งชีที่ ๗.๑.๒ (สมศ.๑๓) ตัวบ่งชีที่ ๗.๒ ตัวบ่งชีที่ ๗.๓ ตัวบ่งชีที่ ๗.๔ ตัวบ่งชีที่ ๘.๑ ตัวบ่งชีที่ ๙.๑ ตัวบ่งชีที่ ๑๕ (สมศ.)

65

๕ ข้อ ๔ ข้อ

๖ ข้อ ๔ ข้อ

๓*๐.๑๒๕ ร้อยละ ๐.๗๓ ๕๑ ๒ มากกว่าร้อยละ ๒ ร้อยละ ๓.๙๒ ๕๑ ๑ มากกว่าร้อยละ ๕ ร้อยละ ๑.๙๖ ๕๑ ๓,๘๐๘,๗๐๐ ๘๒,๗๙๗.๘๓ ๒๕,๐๐๐ บ./คน บ./คน ๔๖ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๑๖ ร้อยละ ร้อยละ ๒๔ ๘๔.๒๑ ๑๙ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๔ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๓.๕๑ คะแนน ๔.๕๒ คะแนน ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๓ ข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๘ ข้อ เฉลียรวมเฉพาะ สกอ. เฉลียรวม สกอ.+อัตลักษณ์ เฉลียรวม สกอ.+สมศ. เฉลียรวมเฉพาะ สมศ. เฉลียรวม สกอ.+สมศ.+อัตลักษณ์ มากกว่าร้อยละ ๒

บรรลุ เป้าหมาย = บรรลุ = ไม่บรรลุ

คะแนน ประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

 

๔ ๔

๐.๓๗

๐.๙๘

๐.๙๘

              คะแนนเฉลีย คะแนนเฉลีย คะแนนเฉลีย คะแนนเฉลีย คะแนนเฉลีย

๕ ๕ ๕ ๓ ๔ ๕ ๕ ๔.๕๒ ๔ ๕ ๕ ๕ ๔ ๔.๒๑ ๔.๒๑ ๔.๒๔ ๓.๙๓ ๓.๒๕ ๓.๙๕

หมายเหตุ (เหตุผลของ การประเมินที ต่างจากทีระบุ SAR)


ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้

ตาราง ป ๑ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษารายองค์ประกอบและรายตัวบ่งชี (เฉลี่ยรวมเฉพาะผล สกอ.) ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี

ผลการเนินงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ

เป้าหมาย

ผลลัพธ์ (% หรือ สัดส่วน)

ตัวตั้ง ตัวหาร

บรรลุ เป้าหมาย = บรรลุ = ไม่บรรลุ

คะแนน ประเมิน (เกณฑ์ สกอ.)

 

๕ ๕

ร้อยละ ๑๗.๖๕

๒.๙๔

ร้อยละ ๙.๘๐

๐.๘๒

๗ ข้อ ๕ ข้อ ๕ ข้อ ๗ ข้อ ๗ ข้อ ๖ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๕ ข้อ ๗ ข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๕ ข้อ ๖ ข้อ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ๒๕,๐๐๐ บ./ ๓,๘๐๘,๗๐๐ ๘๒,๗๙๗.๘๓ ตัวบ่งชีที่ ๔.๓ คน บ./คน ๔๖ ตัวบ่งชีที่ ๕.๑ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๕.๒ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๖.๑ ๔ ข้อ ๓ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๗.๑ ๖ ข้อ ๗ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๗.๒ ๔ ข้อ ๔ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๗.๓ ๓ ข้อ ๕ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๗.๔ ๖ ข้อ ๖ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๘.๑ ๗ ข้อ ๗ ข้อ ตัวบ่งชีที่ ๙.๑ ๘ ข้อ ๘ ข้อ รวมคะแนนเฉลียทุกตัวบ่งชีข้ อง สกอ.(๒๓ ตัวบ่งชี้)

        

๔ ๕ ๔ ๔ ๕ ๕ ๕ ๔ ๔

         คะแนนเฉลีย

๕ ๕ ๓ ๕ ๔ ๕ ๕ ๕ ๔ ๔.๒๑

ตัวบ่งชีที่ ๑.๑ ตัวบ่งชีที่ ๒.๑

๖ ข้อ ๔ ข้อ

ตัวบ่งชีที่ ๒.๒

ร้อยละ ๑๖

ตัวบ่งชีที่ ๒.๓

ร้อยละ ๘

ตัวบ่งชีที่ ๒.๔ ตัวบ่งชีที่ ๒.๕ ตัวบ่งชีที่ ๒.๖ ตัวบ่งชีที่ ๒.๗ ตัวบ่งชีที่ ๒.๘ ตัวบ่งชีที่ ๓.๑ ตัวบ่งชีที่ ๓.๒ ตัวบ่งชีที่ ๔.๑ ตัวบ่งชีที่ ๔.๒

๘ ข้อ ๕ ข้อ ๙ ๕๑ ๕ ๕๑

หมายเหตุ (เหตุผลของ การประเมินที ต่างจากทีระบุ SAR)

66


ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ ตาราง ป ๑ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษารายองค์ประกอบและรายตัวบ่งชี (เฉลี่ยรวมเฉพาะผล สมศ.) ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี ผลการเนินงาน ตัวบ่งชี้คุณภาพ

เป้าหมาย

บรรลุ เป้าหมาย

ผลลัพธ์ = บรรลุ (% หรือ = ไม่บรรลุ ตัวหาร สัดส่วน) ๒๐๘ ร้อยละ  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑) ๔ คะแนน ๙๕.๘๕ ๒๑๗  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๒) ๓.๕๑ คะแนน ๔.๒๖ คะแนน ๙*๐.๑๒๕  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๓) ร้อยละ ๑๐ ร้อยละ ๐.๙๙ ๑๑๔ ๓*๐.๑๒๕  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๕) มากกว่าร้อยละ ๒ ร้อยละ ๐.๗๓ ๕๑ ๒  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๖) มากกว่าร้อยละ ๒ ร้อยละ ๓.๙๒ ๕๑ ๑  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๗) มากกว่าร้อยละ ๕ ร้อยละ ๑.๙๖ ๕๑ ๑๖ ร้อยละ  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๘) ร้อยละ ๒๔ ๘๔.๒๑ ๑๙  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๙) ๔ ข้อ ๕ ข้อ  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๐) ๔ ข้อ ๔ ข้อ  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๑) ๔ ข้อ ๕ ข้อ  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๓) ๓.๕๑ คะแนน ๔.๕๒ ๑๔๒  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๔) ๓ คะแนน ๒.๗๘ คะแนน ๕๑  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๕)  ตัวบ่งชีที่ (สมศ.๑๖) ๔ ข้อ ๕ ข้อ รวมคะแนนเฉลียทุกตัวบ่งชีข้ อง สมศ.(๑๔ ตัวบ่งชี้) คะแนนเฉลีย

67

ตัวตั้ง

คะแนน ประเมิน (เกณฑ์ สกอ.) ๔.๗๙ ๔.๒๖ ๐.๑๐ ๐.๓๗ ๐.๙๘ ๐.๙๘ ๕ ๕ ๔ ๕ ๕ ๒.๓๒ ๔.๒๑ ๔ ๓.๒๕

หมายเหตุ (เหตุผลของ การประเมินที ต่างจากทีระบุ SAR)


ตาราง ป ๒ ผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบคุณภาพ (เฉพาะผลเฉลี่ยรวม สกอ.) ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี คะแนนการประเมินเฉลีย

องค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ ๑ องค์ประกอบที่ ๒ องค์ประกอบที่ ๓ องค์ประกอบที่ ๔ องค์ประกอบที่ ๕ องค์ประกอบที่ ๖ องค์ประกอบที่ ๗ องค์ประกอบที่ ๘ องค์ประกอบที่ ๙ เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ ของทุกองค์ประกอบ ผลการประเมิน

I

P

O

รวม

๒.๙๓ ๕.๐๐ -

๕.๐๐ ๔.๒๕ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ๕.๐๐ ๓.๐๐ ๔.๗๕ ๕.๐๐ ๔.๐๐

๕.๐๐ -

๕.๐๐ ๓.๘๕ ๕.๐๐ ๔.๓๓ ๕.๐๐ ๓.๐๐ ๔.๗๕ ๕.๐๐ ๔.๐๐

ผลการประเมิน ๐.๐๐ -๑.๕๐ การดาเนินงานต้อง ปรับปรุงเร่งด่วน ๑.๕๑ -๒.๕๐ การดาเนินงานต้อง ปรับปรุง ๒.๕๑ -๓.๕๐ การดาเนินงาน ระดับพอใช้ ๓.๕๑ -๔.๕๐ การดาเนินงาน ระดับดี ๔.๕๑ -๕.๐๐ การดาเนินงาน ระดับดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก พอใช้ ดีมาก ดีมาก ดี

๓.๔๕

๔.๕๐

๕.๐๐

๔.๒๑

ดี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ดี

หมายเหตุ

68


ตาราง ป ๓ ผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการอุดมศึกษา (เฉพาะผลเฉลีย่ รวม สกอ.)

ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี คะแนนการประเมินเฉลีย

มาตรฐานอุดมศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานที่ ๒ มาตรฐานที่ ๒ ก มาตรฐานที่ ๒ ข มาตรฐานที่ ๓ เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

69

I

P

O

รวม

-

-

๕.๐๐

๕.๐๐

ผลการประเมิน ๐.๐๐ -๑.๕๐ การดาเนินงานต้อง ปรับปรุงเร่งด่วน ๑.๕๑ -๒.๕๐ การดาเนินงานต้อง ปรับปรุง ๒.๕๑ -๓.๕๐ การดาเนินงานระดับ พอใช้ ๓.๕๑ -๔.๕๐ การดาเนินงานระดับดี ๔.๕๑ -๕.๐๐ การดาเนินงานระดับดี มาก ดีมาก

-

๔.๗๑

-

๔.๗๑

ดีมาก

๓.๔๕ -

๔.๔๔ ๔.๐๐

-

๔.๑๔ ๔.๐๐

ดี ดี

๓.๔๕

๔.๕๐

๕.๐๐

๔.๒๑

ดี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ดี

หมายเหตุ


ตาราง ป ๔ ผลการประเมินตนเองตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ (เฉพาะผลเฉลีย่ รวม สกอ.)

ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี คะแนนการประเมินเฉลีย

มุมมองด้านการบริหาร จัดการ

I

P

O

รวม

ผลการประเมิน ๐.๐๐ -๑.๕๐ การดาเนินงาน ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ๑.๕๑ -๒.๕๐ การดาเนินงาน ต้องปรับปรุง ๒.๕๑ -๓.๕๐ การดาเนินงาน ระดับพอใช้ ๓.๕๑ -๔.๕๐ การดาเนินงาน ระดับดี ๔.๕๑ -๕.๐๐ การดาเนินงาน ระดับดีมาก

๑.ด้านนักศึกษาและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย ๒.ด้านกระบวนการภายใน

-

๔.๖๗

๕.๐๐

๔.๗๑

ดีมาก

๕.๐๐

๔.๔๔

-

๔.๕๐

ดี

๓.ด้านการเงิน

๕.๐๐

๕.๐๐

-

๕.๐๐

ดีมาก

๑.๙๐

๔.๐๐

-

๒.๙๕

พอใช้

๓.๔๕

๔.๖๑

๕.๐๐

๔.๒๑

ดี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ดี

๔.ด้านบุคลากร การ เรียนรู้ และนวัตกรรม เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ของ ทุกมุมมอง ผลการประเมิน

หมายเหตุ

70


ตาราง ป ๕ ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา (เฉพาะผลเฉลี่ยรวม สกอ.)

ประเภทสถาบัน  กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี คะแนนการประเมินเฉลีย

มาตรฐาน สถาบันอุดมศึกษา

๑.ด้านกายภาพ ๒.ด้านวิชาการ ๓.ด้านการเงิน ๔.ด้านการบริหารจัดการ

-

๔.๖๗

-

-

เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที ๑

๒.๙๓

๔.๖๐

-

๔.๒๒

๑.ด้านการผลิตบัณฑิต ๒.ด้านการวิจัย ๓.ด้านการให้บริการทาง วิชาการแก่สังคม ๔.ด้านการทานุบารุงศิลปะ และวัฒนธรรม เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ของ มาตรฐานที ๒ เฉลียรวมทุกตัวบ่งชี้ของ ทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

71

ผลการประเมิน ๐.๐๐ -๑.๕๐ การดาเนินงาน ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ๑.๕๑ -๒.๕๐ การดาเนินงาน ต้องปรับปรุง ๒.๕๑ -๓.๕๐ การดาเนินงาน I P O รวม ระดับพอใช้ ๓.๕๑ -๔.๕๐ การดาเนินงาน ระดับดี ๔.๕๑ -๕.๐๐ การดาเนินงาน ระดับดีมาก ๑. มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ๑.๙๐ ๔.๓๓ ๓.๓๖ พอใช้ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก

หมายเหตุ

ไม่รวม สมศ. ตัวที่ ๑๕ ดี

๒. มาตรฐานด้านการด่าเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ๔.๖๗ ๕.๐๐ ๔.๗๕ ดีมาก ๕.๐๐ ๔.๐๐ ๔.๓๓ ดี -

๕.๐๐

-

๕.๐๐

ดีมาก

-

๓.๐๐

-

๓.๐๐

พอใช้

๕.๐๐

๔.๓๘

๕.๐๐

๔.๕๐

ดี

๓.๔๕

๔.๕๐

๕.๐๐

๔.๒๑

ดี

พอใช้

ดี

ดีมาก

ดี


คณะกรรมการจัดทารายงานประจาปี ประจาปีงบประมาณ 2554 ที่ปรึกษา 1. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท อิศรปรีดา คณบดีคณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2. ดร.สุเทพ ทองประดิษฐ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนานักศึกษา 3. ดร.มนตรี อนันตรักษ์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร 4. ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและการจัดการคุณภาพ 5. อาจารย์วรวุฒิ อินทนนท์ รองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและกิจกรรมพัฒนา

คณะกรรมการดาเนินงาน 1. ดร.สุมาลี ศรีพุทธรินทร์ 2. อาจารย์กัลยาณี ม่วงไทย 3. ดร.สรร ธงยศ 4. อาจารย์มาโนช สุวรรณสาร 5. ดร.กาญจน์ หงษ์มณีรตั น์ 6. ดร.ศิรดิ า บุรชาติ 7. รศ.พ.อ.ดร.วรศิษย์ อุชัย 8. ว่าที่ ร.อ.ดรชาญวิทย์ หาญรินทร์ 9. อาจารย์สุวิมล คาน้อย 10. นางสภาพร คงเกษม 11. นางสาวนันทภัค ต้นโพธิ์ 12. นางอาติมา ศรีปากดี 13. นายราชันย์ เสือคาจันทร์ 14. นางภัคณัท หตะเสน 15. นายปิยรัตน์ บุตรศรี 16. นายนิธิศ ทองอนงค์ 17. นางกัญจนพร ยืนนาน 18. นางสาวพิมพ์ธิดา อารีรักษ์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ออกแบบ นางสาวสุวสิ าข์

เหล่าเกิด

อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

เหียทา

นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศกึ ษา

จัดทารูปเล่ม นายชัยรัตน์

72




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.