GIT_6_ISO_TC211

Page 1

1

บทที 6 มาตรฐานสากลเชิงพื นที (ISO/TC 211) จุดประสงค์ 1. อธิบายความหมายมาตรฐานเชิงพื นทีได้ 2. อธิบายความสําคัญของมาตรฐาน ISO/TC 211ได้ 3. ยกตัวอย่างกลุ่มมาตรฐาน ISO/TC 211 ได้ เนื อหา 1. บทนํา 2. ความหมายของมาตรฐานเชิงพื นที 3. ความสําคัญของ ISO/TC 211 4. ประเทศไทยกับ ISO/TC 211 5. สรุ ป


2

1. บทนํา หลั กการเขียนแผนทีและภูมิศาสตร์ (cartography and geography) ทีตอบสนองต่อนวั ตกรรมทาง เทคโนโลยีนั นเห็นได้ชัดเจนว่ามีล ั กษณะเฉพาะและประสบทีสอดคล้ องกับการเปลียนแปลงในช่วงครึ ง ศตวรรษทีผ่านมา ราวปี 1950s จากหลั กฐานต่างๆชี ให้เห็นว่าภูมิศาสตร์ได้ถูกชักนําไปสู่คอมพิวเตอร์และ การทํ าโมเดลเป็ นจํ านวนมากและโดดเด่นมาในช่วงทศวรรษ 1960s มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ในงานเขียนแผนที (cartography) ในช่วงปี 1970s และได้มีการพั ฒนาการใช้โปรแกรมCAD (automated/computer-assisted cartography) ซึ งสอดคล้ องกับการประยุกต์ทางคณิ ตศาสตร์ด ้านโทโปโลยี (topology) มาสู่งานทํ าแผนทีในราวปี 1975 นีเองแล้ วได้นํ าไปสู่การเติบโตการใช้ระบบGIS ในเวลาต่อมา โดยนับตั งแต่ปี1985-1995 มีการขยายตัวการใช้เทคโนโลยี GIS อย่างกว้ างขวาง ยิ งในช่วงปี 1995-2000 แล้ว อุตสาหกรรมฐานข้อมูลทางสเปเทียลและการขับเคลือนสารสนเทศภูมิศาสตร์ไปสู่โลกอินเตอร์เน็ต เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ถือได้ ว่าเป็ นยุคของการใช้ฐานข้อมูลกํ าหนดตํ าแหน่งของโลกเทคโนโลยีล้ วนเป็ นส่วน หนึ งของการผั นแปรไปสู่เทคโนโลยีทีสามารถใช้ได้สะดวกโดยทั วไป ยุคการเป็ นมาตรฐานเชิงพื นทีสมั ยใหม่ ได้ ขยายตั วในช่วงสิบปี มานีนับตั งแต่ต ้นปี 1980s ถึงปี 1990s ทํ าให้ได้มีความพยายามการทํ าแผนทีและภูมิศาสตร์ให้เป็ นมาตรฐานสากลแต่กเ็ ป็ นไปอย่างเชืองช้า ส่วนองค์กรในระดับชาติแล้ วก็ย ั งวุ่นวายอยู่ก ับมาตรฐานในการแลกเปลียนการถ่ายโอนข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (transfer/exchange) ระหว่างระบบคอมพิวเตอร์เท่านั น ส่วนการพั ฒนาเทคนิคของแต่ละมาตรฐานก็ยมีั ง ข้อจํ ากั ดและมีเพียงบางชุมชนคนใช้งานด้านนี และบางประเทศเท่านั นจึงยั งไม่มีมาตรฐานทีเป็ นกรอบ ระดับชาติเลย จากปี 1995 จึงได้มีการพั ฒนาISO/TC 211 ขึ น เพือพัฒนามาตรฐานระดับสากลด้านข้อมูล สเปเทียล ร่ วมกับ OGC (Open GIS Consortium) ในด้านคอมพิวเตอร์อินเทอร์เฟส ภายหลั งจากที คณะกรรมการ ISO/TC 211 และ OGC ได้วางกรอบการทํ างานร่ วมกันแล้ วทาง OGC จึงได้ยอมรับหลั กการ มาตรฐานของ ISO/TC 211 และได้น ําไปสู่การปรับเปลียนโปรแกรมปฏิบัติการระหว่างกัน (interoperability) เพือพั ฒนาซอฟแวร์เฉพาะ นับได้ว่าเริ มมีการปรับตั วทางอุตสาหกรรมและพั ฒนาผูข้ าย เฉพาะซึ งเป็ นผลมาจากการประยุกต์และการปฏิบัติงานระหว่างกันจากล่างขึ นบน ดังนั นความเป็ นมาตรฐาน ต้องแสดงให้เห็นถึงกระบวนการจากบนลงล่างด้วย เพือสร้างกรอบความเข้าใจในการทํ ามาตรฐานซึ งทาง อุตสาหกรรมสามารถนํามาปฏิบัติและบูรณาการให้สอดคล้ องกับทางOGC ได้วางกรอบไว้ สิ งเหล่านี จะ นําไปสู่ความเป็ นมาตรฐานสากลเพือการยอมรับในชุมชนคนทํ าแผนทีและภูมิศาสตร์ในการวางกรอบ มาตรฐานสากลทางภูมิศาสตร์ต่อไป สิ งทีต่างกันจากคณะกรรมการ ISO /TC 211 นั นเริ มจากการโปรแกรมการทํ างานในชุดมาตรฐาน ทางภูมิสารสนเทศ 20 มาตรฐาน ในขณะทีการพั ฒนามาตรฐานเดียวๆมีการเติบโตไปเร็ วกว่า โดยอยู่ภายใต้ ชุดของ ISO /TC 211 ประกอบด้ วยทั งทีอยู่ในระดับนามธรรมและระดับการปฏิบัติ ความร่ วมมือระหว่าง มาตรฐานสเปเทียลของคณะกรรมการ ISO/TC 211 ร่ วมกั บ OGC ซึ งต้องใช้แหล่งทรัพยากรทีมี


3

ประสิทธิภาพอย่างเดียวกั น อย่างน้อยทีสุดมีการซ้อนทับเชิงเทคนิคทีใช้ร่วมกันอยู่ แล้ วได้นําไปสู่มาตรฐาน ทีเกียวข้องกับการตลาดสเปเทียล ซึ งต้องให้บริ การทีเป็ นประโยชน์ก ับทุกกลุ่มด้วยเช่นกั น 2. ความหมายของ มาตรฐานเชิงพื นที 2.1 ความหมาย อ้ างจาก ดร. แก้ว นวลฉวี1 ได้ให้ความหมาย มาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หมายถึง มาตรฐานของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และ/หรื อ มาตรฐานข้อมูลเชิงพื นทีมาตรฐานระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์อาจได้มาโดยการรับเอามาตรฐานทีมี อยู่แล้ วมาใช้โดยตรง(adoption) หรื อการดัดแปลง (adaptation) มาจากสิ งทีมีอยู่แล้ วเช่น มาตรฐาน การประยุกต์ใช้ระบบGIS ในมาตรฐานเทคโนโลยี สารสนเทศ (Information Technology Standard) มาตรฐานระบบ GIS หมายถึง มาตรฐานทีใช้ได้ก ับข้อมูลภูมิศาสตร์หรื อข้อมูลเชิงพื นที (geographic data หรื อ spatial data) คํ านิยามทีง่ายและได้รับการยอมรับอย่างกว้ างขวางของgeographic data คือ ข้อมูลทีสามารถอ้ างอิงเชิงพื นทีได้(spatially referenced data) ด้วยคํ าจํ ากั ดความเช่นนี ข้อมูล ภูมิศาสตร์จะต้องสามารถแสดงให้เห็นได้บนพื นผิว (surface) ของโลกโดยมีจุดพิก ัดอ้ างอิงได้(เช่น เส้นรุ ้ง เส้นแวง เป็ นต้น) “ข้อตกลง หรื อข้อกํ าหนดซึงกํ าหนดวิธีการ เครื องมือและบริ การต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับการจัดการ ข้อมูล การสํารวจ จัดหา การประมวลผล การวิเคราะห์ การเข้าถึง การนําเสนอ และการรับ-ส่งข้อมูล ภูมิศาสตร์/ภูมิสารสนเทศในรู ปแบบดิจิตอล ระหว่างผูใ้ ช้หรื อระบบและตํ าแหน่งทีอยู่ทแตกต่ ี างกัน” 3.2 ประเภทของมาตรฐาน จํ าแนกได้อย่างกว้ างๆ ดังนี 3.2.1 มาตรฐานข้อมูล (Data standard) ประกอบด้ วย data classification, data content, data symbol and presentation, data usability, data format, metadata… 3.2.2 มาตรฐานกรรมวิธี (Processing standard) ประกอบด้วย data collection, data storage, data analyzing, data quality control, data transfer, data access… 3.2.3 มาตรฐานเทคโนโลยี (Technology standard) 3.2.4 มาตรฐานการบริ หารจัดการ (Organization standard) 3. ความสําคัญของ ISO/TC 211 กรอบ ISO/TC 211 ว่าด้วยมาตรฐานของข้อมูลพื นทีเชิงเลข(digital geographic information) ประกอบด้วยชุดมาตรฐานทีเกียวข้องกับสิ งหรื อปรากฏการณ์ทีเชือมโยงทางตํ าแหน่งทีตั งบนโลกทั ง ทางตรงและทางอ้ อม มาตรฐานเหล่านี ว่าด้วยเรื องเกียวกับสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ วิธีการ เครื องมือ และ 1

http://thaisdi.gistda.or.th/document/68/thailand%20standardization.pdf


4

การบริ การ ด้านการจัดการข้อมูล(รวมทั งคํ าจํ ากัดความและคํ าอธิบาย)การได้มา การคํ านวณ การวิเคราะห์ การเข้าถึง การแสดงผล และการถ่ายโอนข้อมูลในรู ปแบบดิจทัลและอิเลกทรอนิกส์ระหว่างผู้ ใช้ ระบบ และ ตํ าแหน่งทีแตกต่างกัน การทํ างานเหล่านี ต้องอาศั ยการเชือมโยงมาตรฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลทีเหมาะสม อย่างเป็ นไปได้ เพือให้มีความสามารถในการพั ฒนาและการประยุกต์ใช้ข ้อมูลทางภูมิศาสตร์ให้อยู่ภายใต้ มาตรฐานเดียวกัน 3.1 จุดประสงค์ของ ISO/TC 211 ได้ แก่ -เพือเพิ มความเข้าใจในการใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ -เพือเพิ มความสามารถ การเข้าถึง การบูรณาการ และการแบ่งปันสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกัน -เพือโปรโมทประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการประหยั ดในการใช้ภูมิสารสนเทศดิจิทัลและ เชือมโยงกับระบบฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ -เกียวข้องกับการแก้ปัญหาของมนุษยชาติและระบบนิเวศโลกอย่างเป็ นอั นเดียวกันได้ 3.2 โปรแกรมความเป็ นมาตรฐานของ ISO/TC 211 จําแนกได้ เป็ น 3 ลักษณะ ดังนี -ส่วนที เกียวกับ มาตรฐานข้อมูลสเปเทียล -ส่วนทีเกียวกับ การบริ การข้อมูลพื นฐานทางตํ าแหน่ง(LBS: location based services) และ มาตรฐานอิเมจ -ส่วนทีเกียวข้องกับสารสนเทศชุมชน กรอบงานทีเป็ นมาตรฐานเฉพาะเรื อง ในส่วนทีเป็ นการให้บริ การข้อมูลตํ าแหน่งLBS นั น นับตั งแต่ป2000 ี เป็ นต้นมา องค์กรทีเกียวข้อง กับการจัดการ การจัดเก็บ การประมวลผล การเผยแพร่ และการใช้ข ้อมํ ลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ได้เพิ มขึ น อย่างรวดเร็ วและมีแนวโน้มทีจะบูรณาการร่ วมกับการให้บริ การเว็บอินเตอร์เน็ตไปสู่ระบบปฏิบัติการอืนๆ การประยุกต์ใช้ทั งทีเป็ นการสือสารแบบไร้สายและพกพา ผลิตภัณฑ์ทีบอกตํ าแหน่งพิก ั ด การให้บริ การ และ การแก้ปัญหาทางพื นที เป็ นต้ น กํ าลั งนําไปสู่ยุคใหม่ทีเพิ มความต้ องการในการกํ าหนดตํ าแหน่งทางพื นที ผ่านโลกอินเตอร์เน็ตซึ งไม่เพียงแค่ชุมชนด้านภูมิศาสตร์อย่างเดียวอีกต่อไป แต่ทั งโลกกํ าลั งใช้LBS อยู่ แล้ ว ยั งสอดคล้ องกับการเติบโตทางเศรษฐกิจในช่วงต้นสหัสวรรษนี เป็ นไปอย่างรวดเร็ว ทํ าให้อุตสาหกรรม LBS เติบโตอย่างทีไม่เคยเป็ นมาก่อน และได้ไปสนับสนุนด้านการเงินภายใต้ ความร่ วมมือกับโทรคมนาคม ร่ วมกับบริ ษ ัทในด้านนี เพือขยายช่องทางการให้บริ การฐานข้อมูลเชิงพื นทีตอบสนองทางด้านเศรษฐกิจ นั นเอง จึงทํ าให้ระบบLBS ยิ งมีความสําคัญมากยิ งขึ น ยิ งไปกว่านั นยั งไปปั นให้ลูกค้าได้ใช้บริ กLBS าร ตาม ไปด้วย การปั นให้ผู้ ใช้ได้ใช้ระบบนี ได้ กระตุ ้นให้เกิดความต้องการจากด้านล่าง เพือตอบสนองด้านราคา และการให้บริ การต่อไป ซึ งในยุค 2000 นี เองมีสิ งทีสังเกตได้ว่า การเติบโตของอุตสาหกรรมสเปเทียลและ ตลาดสเปเทียลนั นมีนัยยะด้ วยกั น 6 ประการกล่าวคือ


5

1. การตลาดสารสนเทศสเปเทียล (SIM: the spatial information market) เกียวข้องกับการ ประยุกต์ใช้ทางธุรกิจมากกว่าการสร้างการประยุกต์ทางสเปเทียล 2. เทคโนโลยีสเปเทียลได้กลายเป็ นสิ งทีง่ายต่อการบูรณาการไปสุ่ระบบธุรกิจ หนึ งในนั นด้ วย เหตุผลทีว่าธุรกิจสามารถควบรวมเอาความสามารถของสเปเทียลโดยไม่ต ้องขอความช่วยเหลือ จากผู้ ขาย SIM เลย 3. ฟังก์ชันสเปเทียลเป็ นขั นทีสองสําหรับฟังก์ชันทางธุรกิจอืนๆ ร่ วมกับระบบธุรกิจในภาพรวม 4. เครื องมือพั ฒนามาตรฐานการประยุกต์ของSIM เป็ นเรื องใหม่และมีความสะดวกสําหรับผู้ ค ้า ค่าย ออราเคิล ไมโครซอฟท์ และ ไอบีเอ็ม ดังนันนักพั ฒนาในค่ายต่างๆเหล่านี จะกลายเป็ นผู้ ทีมี บทบาทสําคัญ 5. ความอิ มตัวของอินเตอร์เน็ต ความสามารถของยีโอสเปเทียลได้ถูกขนถ่ายในฐานะการเป็ น แหล่งบริ การเช่นเดียวกับซอฟแวร์สําเร็ จรู ปอืนๆ 6. การประยุกต์ทางสเปเทียล เป็ นการบูรณาการแบบจุดประสงค์เดียวหรื อแบบกว้ างขวางหรือไม่ก็ ตาม แต่ระดับพื นฐานของข้อมูลสเปเทียลยั งเป็ นทีต้องการอยู่ เพราะทางธุรกิจยั งจํ าเป็ นต้องใช้ ข้อมูลสเปเทียลทีถูกต้องแม่นยํ า ดังจะเห็นได้ ว่าการให้บริ การตํ าแหน่งแบบพกพา หรื อLBMS (Location-based mobile services) กํ าลั งเป็ นทีต้องการมากขึ นอุตสาหกรรมบริ การในด้านนี กํ าลั งทํ ากํ าไรจากตลาดชนิดนี อยู่นั นเอง รวมไปถึง อุตสาหกรรมการเดินทางและการท่องเทียว การทํ าแผนทีและอุตสาหกรรมเร้าติง (routing industries) การ สือสาร การอํ านวยความสะดวก การขนส่ง การป้ องกั นประเทศ การเกษตร การจั ดการพิบัติภ ัย ความ ปลอดภัยสาธารณะ การจัดการรายการสินค้า โมเดลการทางสิ งแวดล้ อม และการเตือนภัย เป็ นต้ น ล้ วน ต้องการข้อมูลสเปเทียลทั งสิ น การบูรณาการของ LBS ร่ วมกับอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เครื อข่ายการสือสาร อุปกรณ์ไร้สาย และ ซอฟแวร์ต่างๆ ซึ งสามารถเข้าถึง ประยุกต์ใช้ และปฏิบัติการร่ วมกั น โดยลูกค้าสามารถจัดการ เองได้ ยิ งไป กว่านั นรวมไปถึงอุปกรณ์GPS ในระบบพกพาแบบไร้สายซึ งมีใช้อย่างเกลือนกลาดทีเป็ นPND (Personal Navigation Devices) โดยเฉพาะอย่างยิ งในรถยนต์ นอกจากนี ระบบLBS ยั งมีอยู่ในเว็บไซต์ของค่ายใหญ่ เช่น กูเกิล ยาฮู ไมโครซอฟท์ ล้ วนสร้างชุมชนยีโอสเปเทียลเพือให้บริ การฐานข้อมูลแผนทีบนเว็บ การบอก ตํ าแหน่งทิศทาง ภาพดาวเทียมซึ งค่อนข้างชั ดเจนอยู่มากมาย ซึ งบริ ษ ัทต่างๆ เหล่านี ไม่จ ํ าเป็ นต้องอาศั ย ผู้ เชียวชาญในสาขานี ในการทํ าตลาดแต่ได้จากสมาชิกทีลงทะเบียนไว้ ซึ งพวกเขาก็สามารถสร้างค่าต่างๆ ให้ เป็ นมาตรฐานของกลุ่มตนเองได้ และนีก็คือการพั ฒนาทีมีความหลากหลายแล้ วมีผลกระทบโดยตรงใน อนาคต ดังนั นการกํ าหนดมาตรฐานสเปเทียลจึงเป็ นเรื องสําคัญต่อทิศทางในอนาคต 3.3 อินเตอร์ เน็ต จีพีเอส การสือสารแบบพกพา ส่ งผลกระทบต่อการใช้ ยีโอสเปเทียล ความก้าวหน้าเหล่านี เป็ นผลมาจากการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ วในการขับเคลือนวิธีการทํ าแผนที


6

ภูมิประเทศ การบริ การ LBS ไปสู่ตลาดเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างกว้ างขวาง มีลูกค้าขนาดใหญ่ทีใช้ข ้อมูลสเป เทียลและคาดหวั งในคํ าถามพื นๆ ว่า“ทีไหน” มากกว่าคํ าถามอืน จึงทํ าให้เกิดการขับเคลือนพั ฒนาซอฟแวร์ แบบ open sources ขึนมามากมาย ไม่ว่าจะเป็ นการประยุกต์การทํ าแผนที อิเมจ จากบริ ษ ัทตามอินเตอร์เน็ตที มีการให้บริ การปฏิบัติการแบบ API (an open application program interface ) ไปสู่ Google Maps ซึ งมีคนใช้ เป็ นล้ านๆ มีจ ํ านวนโปรแกรมเมอร์ทีพั ฒนางานของตนเองขึ นมาอยู่ในopen Google API , Google Maps/Google Earth ต่างๆ หรื อค่ายไมโครซอฟท์ ก็มี Microsoft MapPoint ใน MSN Virtual Earth เป็ นต้น มาตรฐานและคุณลั กษณะเฉพาะทีพั ฒนาโดยคณะกรรมการISO/TC 211 ร่ วมกับ OGC นี ได้ท ํ างาน ร่ วมกั นในการกํ าหนดมาตรฐานการทํ าแผนทีและการใช้ข ้ อมูลยีโอกราฟิ ก เพืคอวามเป็ นไปได้ร่วมกับการใช้ ในระบบ LBS ต่อไป แต่ปัญหาอยู่ทีนักพั ฒนาเหล่านี ได้ใช้open sources software ทาง geo-spatial applications บุคคลเหล่านี รู้และทราบเกียวกับมาตรฐานดังกล่าว แต่ถ ้หา ากพวกเขาไม่ท ํ าตามข้อเสนอนี อะไรจะเกิดขึ น ก็ย ั งไม่มีใครตอบได้แม้ แต่ค่ายยั กษ์ใหญ่อย่าง กูเกิลและไมโครซอฟท์ ซึ งคุมตลาดขนาด ใหญ่ในช่วงแรกก็ไม่มีความรู้เรื องมาตรฐานและก็ไม่ได้ตกลงอะไรเลย ค่ายเหล่านี ก็ย ั งคงสร้างมาตรฐานของ ตนเอง เพราะระบบ API นั นได้สนับสนุนจากนักโปรแกรมเมอร์เป็ นล้ านๆ ทั วโลกอยู แล้่ วสําหรับผู้ ทีไม่ สามารถซื อโปรแกรมเต็มรู ปแบบได้ก็สามารถเข้าใช้โปรแกรมopen source ปฏิบัติการได้เลย อย่างไรก็ตาม ค่ายเหล่านี ก็เริ มทีจะยอมรับแนวคิดของOGC ตามข้อกํ าหนดมาตรฐานISO/IC 211 เพือขอความร่ วมมือ ระหว่างกั นเพือสร้างมาตรฐานสากล จากสถิติปี 2006 มีผู้ ใช้แผนทีในการค้ นหาของค่ายกูเกิลจํ านวน 26 ล้ าน คน (เฉพาะในสหรัฐอเมริ กา) ค่ายยาฮู (Yahoo) จํ านวน 26 ล้ านคน ค่ายแม็ปแคว้ สท์(MapQuest) จํ านวน 43.5 ล้ านคน แต่พอในปี 2006 เมือกูเกิลได้ปล่อยซอฟแวร์ Google Earth พบว่ามีผู้ ดาวน์โหลดมากกว่า100 ล้ านคน หากกูเกิลAPI ได้รับการยอมรับจากผู้ ใช้เพียง 1% จากทั งหมดก็จะมีถึงล้ านคนทีเป็ นผู้ ใช้หลั กในการ ยอมรับข้อตกลงของ OGC หรื อทํ าตามมาตรฐาน ISO ดังกล่าว เพราะค่ายเหล่านี ประสบความสําเร็ จสูงใน การให้บริ การแผนที อิเมจ และบอกทิศทางเพือตอบสนองความต้องการของผู้ ใช้อยู่แล้ ว และก็เป็ นผู้ น ําตลาด ด้าน LBS อยู่ด ้วย ในเดือนมิถุนายน 2007 ค่ายเทเลแอดล้ าส (Tele Atlas) ซึ งเป็ นหนึ งในบริ ษ ัทยั กษ์ใหญ่ด ้านPND (Personal Navigation Device) ซึ งเป็ นหนึ งในสองแห่งทีให้บริ การฐานข้อมูลดิจิทัลสําหรับนําร่ องในรถยนต์ ในชือ Tom Tom นั นทํ ากํ าไรมากกว่า2.8 พั นล้ านดอลล่าร์และมีแนวโน้มการขยายตัวสูงขึ น จาก17 ล้ านราย ในปี 2006 ขึ นเป็ น 83 ล้ านรายในปี 2010 ส่วนอีกค่ายหนึ งคือ ค่ายนาฟเท็ค (Navteq) เป็ นบริ ษ ัทพั ฒนาฐานข้อมูลดิจิทัลนําร่ องได้ ก ํ าไรจาก อุปกรณ์น ําร่ องพกพาโนเกียถึง 8.1 ล้ านเหรี ยญ (ข้อมูลปี 2007) และมีส่วนแบ่งการตลาดมือถือร้อยละ 36 จากทังหมด ยิ งไปกว่านั นยั งมีผู้ ใช้มือถือเพือใช้บอกตํ าแหน่งพิก ัดมากกว่346 า ล้ านคนในปี 2006 จึงทํ าให้ การบริ การ LBS มีตลาดการเติบโตสูง ทํ าให้ทั งPND และ GPS ถูกรวมเข้าอยู่ในโทรศั พท์มือถือในการ ให้บริ การตํ าแหน่ง ซึ งตรงนี เองทํ าให้ISO/TC 211 และ OGC ต้องมาพั ฒนามาตรฐานสากลร่ วมกั น แต่เป็ น มาตรฐานเพือใคร? บางทีดูเหมือนว่าทาง ISO/TC 211 กํ าลั งค้นหาการยอมรับของคนส่วนใหญ่ก ับองค์การ


7

การทํ าแผนทีแห่งชาติและองค์กรระหว่างประเทศในการสร้างสังคมทางวิชาชีพเฉพาะขึ นมา ส่วนทางOGC ซึ งมีเครื อข่ายสมาชิกทางอุตสาหกรรมสเปเทียลอยู่แล้ วแต่กํ าลั งเริ มทีจะมีการประชุมในระดับชาติเพือให้เกิด การยอมรับจากผู้ ใช้มากกว่า ดังนั นทางOGC ได้ท ํ างานด้านการประยุกต์ยีโอสเปเทียลไปสู่สถาปัตยกรรม เสรี หรื อ open architectures ในอุตสาหกรรม ITC มากกว่า (Information and Communication Technology) กระนั นก็ตามไม่ทงมาตรฐานสากลที ั มาจาก ISO/TC 211 หรื อ OGC ก็ตาม ก็ดูเหมือนว่าได้มีการใช้ open software อย่างกว้ างขวางไปแล้ วแล้ วยั งได้มีการบูรณาการopen APIs ทีสร้างขึ นโดยค่ายกูเกิลไปแล้ ว ความจริ งทีว่า ISO/TC 211 และ OGC ได้ก ํ าลั งพั ฒนามาตรฐานและคุณลั กษณะจํ าเพาะนั น เป็ นยงรู เพี ปแบบ การใช้ภายใน (internal usage) ร่ วมกับชุมชนยีโอสเปเทียล หากแต่ว่าทาง OGC APIs นั นไม่ได้เป็ นทีรู้จ ั กเท่า นั นเองหรื อไม่ได้กว้ างขวางนัก จึงทํ าให้เกิดแง่คิดว่า ความแตกต่างทางมาตรฐานเพือผู้ บริ โภค หรื อเพือคว าม เป็ นมืออาชีพยีโอสเปเทียลกันแน่ ซึ งเป็ นสิ งท้าทายของ ISO/TC 211 และ OGC ต่อไป เหนือสิ งอืนใดหากไม่คิดอะไรมาก สิ งทีทางคณะกรรมการ ISO/TC 211 และ OGC ได้ด ํ าเนินการ กํ าหนดมาตรฐานสากลและคุณลั กษณะจํ าเพาะ ก็เพราะว่าผู้ ใช้ในโลกอินเตอร์เน็ตเริ มมีจ ํ านวนมากขึ นและ ต้องมีความรู้ในเรื องประโยชน์มาตรฐานสากล ISO/TC 211 เหล่านี หากทํ าสําเร็ จในช่วงแรกก็จะเป็ น ประโยชน์อย่างมากต่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถนําไปใช้ได้อย่างถูกต้องตาม ต้องการ ยิ งไปกว่านั น สามารถเข้าถึง ตลอดจนการใช้ทีสอดคล้ องกับมาตรฐานของแหล่งข้อมูลทาง ภูมิศาสตร์แบบใหม่เป็ นข้อดีก ับทั งผู้ บโภคด้ ริ วย อย่างไรก็ตามข้อจํ ากั ดของISO/TC 211 ทีไม่สอดคล้ องกับ หลั กความเป็ นจริ งในประเทศต่างๆ เนืองจากมีการพั ฒนาโครงสร้างสถาปัตยกรรมข้อมูลสเปเทียลไม่เท่ากัน ทํ าให้การใช้มาตรฐานISO/TC 211 ไม่สามารถทํ าได้ เช่นในระดับชาติต ้องกํ าหนดให้สอดคล้ องกับGSDI (Global Spatial Data Infrastructure) ก่อน แต่ในความเป็ นจริ งประเทศกํ าลั งพั ฒนาต้องการข้อมูลสเปเทียล พื นฐานทีจํ าเป็ นเท่านั นเอง 4.ประเทศไทยกับ ISO/TC 211 จาก GSDI (The Global Spatial Infrastructure) ถูกกํ าหนดจากการประชุมครั งที5 เมือเดือน พฤษภาคม 2001 ได้ระบุว่า โครงสร้างสถาปัตยกรรมข้อมูลสเปเทียลระดับสากลถูกเชือมโยงเข้ากับประเทศ ต่างๆ และองค์กรต่างๆซึ งต้องมีส่วนในการสนับสนุนความเข้าใจและการปฏิบัติให้เป็ นไปตามนโยบาย มาตรฐานกลาง และกลไกประสิทธิภาพเพือการพั ฒนาและการปฏิบัติการด้านข้อมูลภูมิศาสตร์ร่วมกับ เทคโนโลยีระหว่างกัน เพือสนับสนุนการตั ดสินใจทุกๆระดับทีมีจุดประสงค์หลากหลาย เพราะข้อมูล ภูมิศาสตร์มีความสําคัญอย่างยิ งต่อการพั ฒนาประเทศ และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อม ฝ่ ายบริ หารจึงควรร่ วมมือกับรัฐ ท้องถิ น และเอกชนพั ฒนาNSDI (The National Spatial Data Infrastructure) ขึ นเพือสนับสนุนการประยุกต์ใช้ข ้อมูลภูมิศาสตร์เชิมง าตรฐานในกิจกรรมต่างๆ ในการประชุมครั งนั นมีประเทศต่างๆเข้าร่ วมมากกว่า 50 ประเทศ ซึ งกํ าลั งพั ฒนาโครงสร้าง สถาปัตยกรรมข้อมูลสเปเทียลแห่งชาติ หรื อ NSDI (National Spatial Data Infrastructure) ของตนเองขึ น


8

และประกอบกับๆได้ใช้ GSDI เป็ นแนวทางในการกํ าหนดมาตรฐานสากลระดับสากลพอดี ทาง GSDIได้ ทํ างานใกล้ ชิดกับทางUN อยู่แล้ วเพราะทาง UN ได้ก ํ าหนดส่วนงานทีเป็ นกลุ่มทํ างานด้านUNGIWG (UN Geographic Information Working Group) ขึ นเพือทํ างานในด้านนีเฉพาะร่ วมกับองค์กรในยูเอ็นอีก 33 องค์กรซึ งได้รับแต่งตั งเพือให้ท ํ างานร่ วมกับISO/TC 211 และผู้ ใช้ ISO อืนๆ จึงทํ าให้มีการขยายกรอบการ ประชุมไปยั งภูมิภาคต่างๆ เช่นในยุโรปก็จะก่อตั งINSPIRE (Infrastructure for Spatial Information in Europe) มีสมาชิกมากว่า 30 ประเทศในสหภาพอียู เป็ นต้น ความเป็ นมาของคณะกรรมการ ISO/TC 211 ก่อนอืนนั นองค์กรISO เป็ นองค์กรอิสระซึ งจัดตั งขึ น เมือ พ.ศ. 2490 โดยมีว ั ตถุประสงค์เพือส่งเสริ มการกํ าหนดมาตรฐานและกิจกรรมทีเกียวข้องเพือช่วยให้การ แลกเปลียนสินค้าและบริ การเป็ นไปโดยสะดวก และช่วยพั ฒนาความร่ วมมือระหว่างประเทศในด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจ มาตรฐานทีกํ าหนดขึ นเรี ยกว่ามาตรฐานระหว่างประเทศ (international standard) สมาชิกของ ISO แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. Member body เป็ นตัวแทนทางด้านการมาตรฐานของประเทศ แต่ละประเทศจะมีหน่วยงานซึ งทํ า หน้าทีสมาชิก ISO เพียงหน่วยงานเดียว 2. Correspondent member เป็ นหน่วยงานของประเทศซึ งยั งไม่มีกิจกรรมด้านการมาตรฐานอย่าง เต็มทีหรื อยั งไม่มีการจั ดตั งสถาบันมาตรฐานเป็ นการเฉพาะ 3. Subscriber member เป็ นหน่วยงานในประเทศทีมีความเจริ ญทางเศรษฐกิจตํ าสมาชิกประเภทนี จะ จ่ายค่าบํ ารุ งสมาชิกในอั ตราทีได้รับการลดหย่อน สําหรับประเทศไทยโดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) ซึ งเป็ นสถาบัน มาตรฐานแห่งชาติและทํ าหน้าทีเป็ นตัวแทนประเทศไทยในการเป็ นเป็ นสมาชิกISO ประเภท member body ได้เข้าร่ วมดํ าเนินงานกับISO มาตั งแต่ พ.ศ. 2508 ทังทางด้านบริ หารและวิชาการ ภายใต้องค์กร ISO หรื อ The International Organization for Standardization จะมีหน่วยงานทางด้าน ภูมิสารสนเทศหรื อ Geographic Information/Geomatics มีคณะกรรมการทางวิชาการชุดที 211 หรื อ Technical Committee (TC) 211 เป็ นคณะกรรมการดํ าเนินงานในการพั ฒนามาตรฐาน ซึ งประเทศไทยได้เข้า เป็ นสมาชิกและร่ วมดํ าเนินงานการพั ฒนามาตรฐานร่ วมกั บISO/TC 211 ในปี 2541 ได้เข้าร่ วมประชุมครั ง แรกในการประชุม Plenary Meeting ครั งที 7 ณ กรุ งปักกิ ง ประเทศจีน และได้ด ํ าเนินงานอย่างต่อเนืองจนถึง ปัจจุบัน ISO/TC 211 ได้ก ํ าหนดมาตรฐานสําหรับข้อมูลภูมิสารสนเทศเชิงเลขโดยกลุ่มของมาตรฐานในชุด 19100 จะเป็ นเรื องเกียวกับวั ตถุหรื อสิ งทีธรรมชาติปรากฏให้เห็นทั งโดยตรงหรื อโดยอ้ อมทีเกียวพั นกับ ข้อมูลเชิงตํ าแหน่งบนโลกการกํ าหนดมาตรฐานดังกล่าวจะมีการอ้ างอิงหรื อเชือมโยงกับมาตรฐาน เทคโนโลยีทีเหมาะสม รวมถึงการกํ าหนดกรอบของการพั ฒนาและประยุกต์ใช้ข ้อมูลเชิงพื นที สําหรับประเทศไทยมีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรื อสมอ. ซึ งได้แต่งตั งคณะกรรมการ วิชาการคณะที 904 มาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(กว. 904) เพือทํ าหน้าทีด้าน


9

1. จัดทํ าร่ างมาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และปฏิบัติงานทางวิชาการอืนๆ ทีเกียวกับ มาตรฐานนี 2. ร่ วมพั ฒนามาตรฐานกับISO/TC 211 Geographic Information/Geomatics โดยได้ประกาศมาตรฐาน มอก.19115-2548 ด้านมาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์–การอธิบาย ข้อมูล ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 122 ตอนที 110 ลงวั นที 1 ธันวาคม 2548 แล้ ว ในเบื องต้นได้ท ํ า ความร่ วมมือด้านการมาตรฐาน ระหว่าง สมอ. และ สทอภ. (สํานักงานพั ฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิ สารสนเทศ) เมือวั นที 21 สิงหาคม 2551 ทีโรงแรมอมารี วอเตอร์เกท กรุ งเทพฯ2 ในด้าน (1) การกํ าหนดมาตรฐานภูมิสารสนเทศ (2) การรับรองมาตรฐานภูมิสารสนเทศ (3) การมาตรฐานภูมิสารสนเทศระหว่างประเทศ (4) การส่งเสริ มเผยแพร่ และพั ฒนาระบบการมาตรฐาน-ภูมิสารสนเทศ จากนั นจึงได้พ ั ฒนามาตรฐานสเปเทียลในด้านอืนๆ ตามมาแต่ก็ประสบปัญหาด้านความล้ าช้าในการ ดํ าเนินงาน รวมไปถึงขาดหน่วยงานรับผิดชอบและผู้ มีความรู้ความสามารถด้านการมาตรฐานเพือทํ าหน้าที โดยตรง การให้ความสําคัญกับข้อมูลภูมิสารสนเทศในนโยบายในระดับชาติย ั งไม่ชั ดเจน , คณะกรรมการภูมิ สารสนเทศแห่งชาติไม่ active นโยบายเกียวกับการพั ฒนาNSDI ยั งไม่มีเป็ นทางการ กรอบความรับผิดชอบ ในการจัดทํ า/บํ ารุ งรักษาชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพื นฐานยั งมิได้ถูกกํ าหนดให้หน่วยงานทีเกียวข้อและยั ง งไม่ มีการเริ มขั นตอนการปรับปรุ งแก้ไข กฎหมาย/ระเบียบทีอาจเป็ นอุปสรรคต่อการเผยแพร่ ข ้อมูล เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม สทอภ. และ กรมแผนทีทหาร ต่างเริ มพั ฒนาระบบ clearinghouse gateway ของประเทศแล้ ว นอกจากนี ยั งมีกรมโยธาธิการและผั งเมืองพั ฒนาระบบclearinghouse ของตนเอง ตัวอย่าง FGDS (Fundamental Geographic Data Set) ซึ งพัฒนาร่ วมกับ NSDI) ทีทํ าเสร็ จแล้ วได้แก่ 1.ได้มีการสํารวจจั ดทํ า/ปรับปรุ งชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพื นฐาน (FGDS) ทีสําคัญหลายรายการ เช่น -แผนทีภูมิประเทศ 1:5,000 ชุด L7018 (กรมแผนทีทหาร) -ภาพออร์โธสี + DEM 1:4,000 (กระทรวงเกษตรฯ) -ข้อมูลเส้นทางถนน/สถานทีสําคัญ 1:20,000 (บริ ษ ัทเอกชนจัดสร้าง) -ข้อมูลแผนทีฐาน 1:4,000 ในเขตเทศบาล (กรมโยธาธิการและผั งเมือง) -ข้อมูลแผนทีฐาน 1:1,000 (กฟน.) และ 1:4,000 (สํานักผั งเมือง) ในเขต กทม. 2.มีแผนงานในการสํารวจจั ดทํ าชุดข้อมูลFGDS เพิ มเติมอีก -ข้อมูลแผนทีฐาน 1:10,000 ทั วประเทศ (กรมโยธาธิการและผั งเมือง) -ข้อมูลแปลงทีดิน (กรมทีดิน)

2

http://thaisdi.gistda.or.th/document/69/MoU%20Standard.pdf


10

นอกจากนี ยั งมีระบบ/กลไกทีทํ าหน้าทีช่วยให้เกิดการค้นพบ / เผยแพร่ / เข้าถึง / รับ-ส่ง ข้อมูลภูมิ สารสนเทศ มั กเรี ยกเป็ น GIS Portal หรื อ SDI Portal แนวคิดและกลไก SDI สามารถนําไปใช้ได้ในระดับ ต่าง ๆ ได้แก่ -SDI ระดับโลก (Global Spatial Data Infrastructure, GSDI) -SDI ระดับภูมิภาค (เช่น INSPIRE ของกลุม่ ประเทศประชาคมยุโรป) -SDI ระดับประเทศ (National Spatial Data Infrastructure, NSDI) -SDI ของกลุ่มองค์กรในแต่ละสาขาอาชีพ (Field of Application) -SDI สําหรับกลุ่มภารกิจเฉพาะเรื อง เช่น SDI for Disaster Management หรื อ SDI for SDI ภายในองค์กร (Organizational SDI) เป็ นต้น

รู ปที 1 Geo-Spatial Data Clearinghouse หรื อ GIS Portal 4.1 ISO/TC 211 กับ NSDI NSDI (National Spatial Data Infrastructure) หมายถึงโครงสร้างพื นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ ระดับประเทศ หมายถึงระบบเครื อข่าย Internet/Intranet ใช้ในการเผยแพร่ ข ้อมูลและข่าวสารด้านภูมิ สารสนเทศ (Web Map Service) เพือวั ตถุประสงค์การใช้ข ้ อมูลร่ วมกันอย่างมีประสิทธิภาพและเพือการ ส่งเสริ มการพั ฒนาระบบงานประยุกต์ในอุตสาหกรรมต่างๆ ให้สอดคล้ องกับนโยบายและความต้องการ ข้อมูล การพั ฒนาระบบโครงสร้างพื นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ เกียวข้องกับเทคโนโลยี นโยบาย เงือนไข มาตรฐาน และบุคคลทีมีว ั ตถุประสงค์การเผยแพร่ และส่งเสริ มการใช้ข ้อมูลภูมิสารสนเทศร่ วมกัน ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทั งภาครัฐบาล ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และองค์กรทีไม่หวั งผลประโยชน์เชิง พาณิ ชย์ การพั ฒนาระบบฯ ไม่ใช่การสร้างฐานข้อมูลส่วนกลาง แต่เพือการสร้างระบบเครื อข่ายเพือเชือมโยง ฐานข้อมูลของผู้ ให้ข ้อมูลต่างๆให้สามารถบริ การข้อมูลทีถูกต้อง ทันสมั ย และตรงกับความต้องการของผู้ ใช้ โดยระบบฯ ได้มีการพั ฒนา ปรับปรุ งและบํ ารุ งดูแลรักษาโดยหน่วยงานหลั กของรัฐบาลและผู้ ให้บริ การ ข้อมูล เพือให้สามารถใช้งานของระบบได้ตลอดเวลาและมีประสิทธิภาพ ระบบโครงสร้างพื นฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ ประกอบด้วยระบบเครื อข่ายให้บริ การข้อมูล (Clearinghouse) ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศพื นฐาน (Fundamental Geographic Data Set) ฐานข้อมูลคํ าอธิบาย ข้อมูล (Metadata) มาตรฐาน (Standard) และความร่ วมมือ (Partnership) ระหว่างหน่วยงานต่างๆ ระบบฯทีมี


11

ประสิทธิภาพ สามารถลดความซํ าซ้อนการทํ างานระหว่างหน่วยงานต่างๆทํ าให้คุณภาพของข้อมูลดีขึ นและ ค่าใช้จ่ายทีเกียวข้องน้อยลงสามารถให้ผู้ ใช้ข ้อมูลในระดับต่างๆ เข้าถึงข้อมูลได้ง่าเพิ ย มประสิทธิภาพใน การใช้ข ้อมูลร่ วมกันและสามารถสร้างและพั ฒนาการร่ วมมือทั งในระดับท้องถิ น ระดับภาค ระดับประเทศ และระดับโลกระหว่างภาครัฐบาล ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และองค์กรอืนๆในการสร้างและให้บริ การ ข้อมูลภูมิสารสนเทศทีมีคณภาพมากขึ น 4.2 ISO/TC 211 กับ FGDS FGDS (Fundamental Geographic Data Set: FGDS) แปลว่าชั นข้อมูลทีมีศ ั กยภาพสูงสําหรับการใช้ ข้อมูลร่ วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆสามารถเป็ นข้อมูลฐานในการอ้ างอิงเพือเพิ มเติมชั นข้อมูลและ Attributes ด้านอืนๆได้ โดยข้อมูลประเภทนี เกียวข้องกับลั กษณะของภูมิประเทศทัวไป ทางคณะกรรมการภูมิสารสนเทศแห่งชาติได้มีก ํ าหนดชั นข้อมูลภูมิสารสนเทศพื นฐานโดยมีผู้ ดูแล ชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพื นฐานเป็ นหน่วยงานราชการต่างๆและกํ าหนดมาตราส่วนแผนทีฐานของประเทศ คือ 1:250,000, 1:50,000, 1:25,000, 1:10,000 และ 1:4,000 เพือให้ทุกหน่วยงาน จัดทํ าแผนที เป็ นมาตรฐาน เดียวกั นและสามารถใช้งานร่ วมกันได้โดยในขั นแรกนั นทางคณะกรรมการฯได้ก ํ าหนดชั นข้อมูลภูมิ สารสนเทศพื นฐานและหน่วยงานผู้ ดูแลข้อมูลของประเทศไทยดังนี 1) เขตการปกครอง - กรมการปกครอง 2) เส้นทางคมนาคม - กระทรวงคมนาคม 3) แม่น ํ า ลํ าธาร แหล่งนํ -ากรมทรัพยากรนํ า 4) เขตชุมชน - กรมโยธาธิการและผั งเมือง 5) เขตป่ าไม้ - กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้ อม 6) การใช้ทีดิน - กรมพั ฒนาทีดิน 7) รู ปถ่ายทางอากาศ - กรมแผนทีทหาร 8) ภาพถ่ายจากดาวเทียม - สทอภ. 9) หมุดหลั กฐานแผนที - กรมแผนทีทหาร 10) DEM - กรมแผนทีทหาร 11) แผนทีภูมิประเทศ - กรมแผนทีทหาร 12) แปลงทีดิน - กรมทีดิน 4.3 ISO/TC 211 กับ Metadata ข้อมูลคํ าอธิบายข้อมูล หรื อเรี ยกว่าMetadata อธิบายรายละเอียดของชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศ อาทิ พื นทีครอบคลุม คุณภาพ เงือนไข ใคร อะไร และเมือไหร่ ต่างๆ ซึงสามารถนํามาพิจารณาความเหมาะสมใน การนําข้อมูลมาใช้โดยสามารถบอกได้ว่า


12

ข้อมูลเริ มขึ นทีใด ขั นตอนการผลิต ข้อมูลอรรถาธิบายประกอบด้วย ระบบโครงข่ายแผนที ข้อมูลครอบคลุมพื นทีบริ เวณใด จะเอาข้อมูลมาได้อย่างไร จะต้องมีค่าใช้จ่ายในการได้ ข ้อมูลหรื อไม่ จะติดต่อใครเพือขอรายละเอียดเพิ มเติม Metadata เป็ นองค์ประกอบทีสําคัญในการพั ฒนาระบบGIS และประยุกต์การใช้งานให้ประสบ ผลสําเร็ จ สามารถแสดงได้ใน 2 ลั กษณะ  Metadata ป้ องกันองค์กรในการลงทุนเรื องข้อมูลMetadata เป็ นเหมือนบัตรรายการเกียวกับ ห้องสมุดข้อมูล GIS สําหรับองค์กร บุคลากรภายในองค์กรสามารถมองเห็นได้ว่าข้อมูลใดทีเป็ น ประโยชน์และจะเอามาใช้ได้อย่างไรการหลีกเลียงการสูญเสียของข้อมูลหรื อการผลิตข้อมูลทีมีอยู่ แล้ วให้น้อยทีสุด  Metadata ช่วยสนับสนุนการแบ่งบันข้อมูลMetadata ช่วยบุคลากรในการแบ่งปันข้อมูลด้ วยการ เตรี ยมการแสดงตํ าแหน่ง ประมาณการ และการได้มาของข้อมูลทีบุคลากรต้องการ การจัดสร้าง Metadata ต้องทํ าตามมาตรฐาน ซึ งได้มีการกํ าหนดความหมายของคํ าศั พท์และข้อมูล ผู้ ใช้สามารถอ่านข้อมูลอย่างง่าย และเข้าใจความหมายในทิศทางเดียวกั นมาตรฐานทีสําคัญ คือISO/TC211 (ISO19115:2003) Geographic Information-Metadata, ISO19115-2 Part 2: Extension for Imagery and Gridded Data และ FGDC Content Standard for Digital Geosaptial Metadata (CSDGM) มาตรฐานดังกล่าว ใช้ภาษา Extensible Markup Language: XML ในการจั ดเก็บข้อมูลสําหรับการเผยแพร่และกํ าหนดการ จัดเก็บข้อมูลเป็ นส่วนต่างๆ โดยแต่ละส่วนมีรายการทีบังคั บต้องใช้และไม่บังคับ ซึ งขึ นอยู่ก ับรายละเอียดที ผู้ จ ัดทํ าต้องการ3        

4.4 รายการมาตรฐานทีมีการศึกษาเบืองต้น สําหรับประเทศไทยประกอบด้ วย -ISO 19128 : Geographic information/Geomatics – Web map services interface ด้านการจัดทํ าและ ให้บริ การแผนทีทางอินเตอร์เน็ต -ISO 19121 : Geographic information/Geomatics – Imagery and Gridded data ด้านมาตรฐานของ ข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศ/ดาวเทียม หรื อข้อมูล Raster

3

http://iamtum333.spaces.live.com/blog/cns!9AC15FC2A0581093!588.entry


13

-ISO 19122 : Geographic information/Geomatics – Qualification certification of personnel ด้าน การกํ าหนดคุณสมบัติและการรับรองคุณสมบัติของบุคลากรด้านภูมิสารสนเทศ -ISO 19105 : Geographic information/Geomatics – Conformance and testing ด้านกระบวนการ ทดสอบและการตรวจสอบเพือให้เป็ นไปตามมาตรฐาน -ISO 19133 : Geographic information/Geomatics –Tracking and navigation ด้านการจัดทํ าระบบ นําทาง (นําหน) และการติดตามเส้นทาง -ISO 19126 : Geographic information/Geomatics – Profiles – FACC Data Dictionary ด้านการ จัดทํ ารายการรหัสและรายละเอียดของรายการข้อมูลภูมิสารสนเทศ -ISO 19135 : Geographic information/Geomatics – Procedures for registration to geographical information items ด้านระบบลงทะเบียนและการจัดทํ าทะเบียนของรายการข้อมูลภูมิสารสนเทศ -ISO 19109 : Geographic information/Geomatics – Rules for application schema ด้านกฎข้อบังคับ ในการจัดทํ าโครงร่ างของ Application -ISO 19144-1 : Geographic information/Geomatics – Part 1 : Classification system ด้าน โครงสร้างของระบบการจํ าแนก -ISO 19144-2 : Geographic information/Geomatics – Part 2 : Land Cover Classification system LCCS ด้านระบบการจํ าแนกสิ งปกคลุมดิน 4.5 รายการกําหนดชือมาตรฐานทีเกียวข้องกับคําอธิบายได้แก่ -สารสนเทศภูมิศาสตร์– ภาษา GML เพือการจัดเก็บและแลกเปลียนข้อมูลภูมิสารสนเทศ (Geographic information/Geomatics : Geography Markup Language) : เป็ นเรื องเกียวกับโครงสร้างของ ภาษา GML ทีใช้จ ัดเก็บข้อมูลเพือแลกเปลียนทางอินเตอร์เน็ต -สารสนเทศภูมิศาสตร์– ระบบให้บริ การระบุต ํ าแหน่งหลายรู ปแบบสําหรับการแสดงเส้นทางและ การนําร่ อง (Geographic information/Geomatics : Multimodal Location based services for routing and navigation) : เป็ นเรื องเกียวกับการกํ าหนดเส้นทางและการนําทาง(นําหน) ทีมีรูปแบบของการเดินทาง มากกว่าหนึ งรู ปแบบ -สารสนเทศภูมิศาสตร์– ข้อกํ าหนดผลิตภั ณฑ์ข ้อมูล(Geographic information/Geomatics : Data Product Specification) : เป็ นเรื องเกียวกับมาตรฐานของการจัดทํ าข้อกํ าหนดของผลิตภัณฑ์ข ้อมูลและการ ผลิตข้อมูล -ร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศ “Geographic information –Data quality measures” : เป็ นเรื อง เกียวกับ การวั ดและการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล


14

-สารสนเทศภูมิศาสตร์– ข้อกํ าหนดคุณสมบัติและการรับรองคุณสมบัติของบุคลากรทางภูมิ สารสนเทศ (Geographic information/ Geomatics : Qualification and certification of personnel) : เป็ นเรื อง เกียวกับการกํ าหนดคุณสมบัติและการรับรองคุณสมบัติของบุคลากรด้านภูมิสารสนเทศ -สารสนเทศภูมิศาสตร์– ส่วนติดต่อกับผู้ ใช้ของเครื องแม่ข่ายให้บริ การแผนทีทางอินเทอร์เน็ต (Geographic Information/Geomatics :Web Map server Interface) : เป็ นเรื องเกียวกับการจั ดทํ าและ ให้บริ การแผนทีทางอินเตอร์เน็ต -ร่ างมาตรฐานภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Spatial schema” : เป็ นเรื องเกียวกับ วิธีการกํ าหนด ผั งโครงร่ างสําหรับข้อมูลเชิงพื นที -ร่ างมาตรฐานภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Temporal schema” : เป็ นเรื องเกียวกับ วิธีการกํ าหนดผั งโครงร่ างสําหรับข้อมูลทีมีช่วงเวลา -ร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Encoding” : เป็ นเรื องเกียวกับการ เข้ารหัส สําหรับรายการข้อมูลเพือการแลกเปลียน -ร่ างมาตรฐานระบบภูมสิ ารสนเทศ “Geographic information – Metadata – XML schema implementation” : เป็ นเรื องเกียวกับการนําเอารู ปแบบโครงร่ างของการอธิบายข้อมูล(Metadata) เพือนํามา ให้บริ การตามมาตรฐาน XML 4.6 การจัดกลุ ่มมาตรฐานของ ISO/TC211 หากจะนํามาพิจารณาจัดกลุ่ม(Clusters) ของมาตรฐาน โดยการจั ดกลุ่มตามลั กษณะหรื อคุณสมบัติที คล้ ายคลึงกันสามารถจัดกลุ่ม (วีระภาส คุณรัตนสิริ (2551): 3-4 )ได้ด ังนี กลุ ่มที 1: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับโครงสร้างพื นฐาน (Infrastructure Standards) หรื อกลุ่มมาตรฐาน กรอบงาน (Framework Standards) คํ านิยาม: Infrastructure Standards หมายถึงมาตรฐานทีอธิบาย (ให้ค ํ าจํ ากัดความ) เกียวกับ การจัดระบบในภาพรวม ประกอบด้วยโครงสร้างและหลั กการทีเกียวข้องกับมาตรฐานชุดที191xx ของ องค์การมาตรฐานสากล (ISO) มาตรฐานชุดทีเรี ยกว่า Infrastructure Standards/Framework Standards ประกอบด้วย - ISO 19101 – Reference Model - ISO 19101-2 – Reference Model – Part 2: Imagery - ISO 19103 – Conceptual Schema Language - ISO 19104 – Terminology - ISO 19105 – Conformance and Testing - ISO 19106 – Profiles - ISO 19135 – Procedure for Registration of geographical information items


15

เป็ นต้น กลุ ่มที 2: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการอธิบายเนื อหาของข้อมูล(data content) คํ าจํ ากัดความข้อมูล (data definitions) และการจํ าแนกประเภทตามรู ปร่ าง (classification of features) มาตรฐานกลุ่มนี ประกอบ ไปด้วย - ISO 19110 – Methodology for feature cataloguing - ISO 19115 – Metadata - ISO 19115-2 – Metadata part 2: extension for imagery and gridded data - ISO 19126 – Profile FACC data dictionary - ISO 19131 – Data product specifications เป็ นต้น กลุ ่มที 3: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการอ้ างอิงเชิงพื นทีพื นที (Spatial referencing) มาตรฐานกลุม่ นี ประกอบไปด้วย - ISO 19111 – Spatial reference by coordinates - ISO 19112 – Spatial reference by geographic identifiers - ISO 19127 – Geodetic codes and parameters และ - ISO 19130 – Sensor data models for imagery and gridded data เป็ นต้น กลุ ่มที 4: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับแบบจํ าลองข้อมูลหลั ก(core data model) มาตรฐานกลุ่มนี ประกอบไปด้ วย - ISO 19107 – Spatial schema - ISO 19108 – Temporal schema - ISO 19115 – Metadata :กลุ่มแบบจํ าลองข้อมูลหลั ก(Core data model) เกียวข้องกั บลั กษณะเชิงเรขาคณิ ต (geometry) topology และ เวลา (time) และยั งมีมาตรฐานทีสามารถจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้อีก ได้แก่ - ISO 19109 – Rules for application schema - ISO 19137 – Core profile of the spatial schema - ISO 19141 – Schema for moving features เป็ นต้น กลุ ่มที 5: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับคุณภาพข้อมูล (data quality)ซึงเป็ นกลุ่มมาตรฐานประกอบไปด้วย - ISO 19113 – Quality principles - ISO 19114 – Quality evaluation procedures - ISO 19115 – Metadata


16

- ISO 19138 – Data quality measures เป็ นต้น กลุ ่มที 6: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับสัญลั กษณ์และการแสดงลั กษณะข้อมูล(Symbology and data representation ) ได้แก่ -ISO 19117 – Portrayal กลุ ่มที 7: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับข้อมูลของข้อมูลหรื อมาตรฐานการอธิบายข้อมูล(Metadata) ซึ ง ประกอบด้วยมาตรฐาน ISO ดังต่อไปนี - ISO 19115 – Metadata - ISO 19115-2 – Metadata part 2: extension for imagery and gridded data และ - ISO 19139 – Metadata – XML schema implementation เป็ นต้น กลุ ่มที 8: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับรู ปแบบการแลกเปลียนข้อมูล (data exchange formats) ประกอบ ไปด้วยมาตรฐาน ISO ดังต่อไปนี - ISO 19115 – Metadata - ISO 19118 – Encoding - ISO 19136 – Geography Markup Language (GML) เป็ นต้น กลุ ่มที 9: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการแลกเปลียนและการบริ การข้อมูล(Data interchange and services) ซึ งเกียวกับมาตรฐาน ISO ดังต่อไปนี - ISO 19116 – Positioning services - ISO 19119 – Services - ISO 19125-1 – Simple feature access - Part 1: common architecture - ISO 19125-2 – Simple feature access – Part 2: SQL option นอกจากนี ยั งมีมาตรฐานเพิมเติมเกียวกับการให้บริ การลั กษณะต่างๆ อีกเช่น - ISO 19128 – Web map service interface - ISO 19132 – Location based services – reference model - ISO 19133 – Location based services – tracking and navigation และ - ISO 19134 – Location based services – multimodal routing and navigation เป็ นต้น กลุม่ ที 10: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับข้อมูลภาพ(Imagery) ซึ งประกอบไปด้ วยมาตรฐานISO ดังต่อไปนี - ISO 19101-2 – Reference model – Part 2: imagery


17

- ISO 19115-2 – Metadata – Part 2: imagery and gridded data - ISO 19123 – Schema for coverage geometry and functions - ISO 19129 – Imagery, gridded and coverage data framework และ - ISO 19130 – Sensor data models for imagery and gridded data เป็ นต้น4 5. สรุ ป เนืองจากทุกประเทศเริ มให้ความสนใจในการจัดทํ าโครงสร้างพื นฐานทางด้านภูมิสารสนเทศเพือ ให้บริ การ และประเทศไทยก็เริ มให้ความสนใจในเรื องนี เช่นกันการจั ดทํ าSDI ของหลายประเทศทีผ่านมา นั นล้ วนประสบปัญหาเช่นเดียวกับประเทศไทย ทั งเรื องข้อมูลทีมีความซํ าซ้อน ความร่ วมมือ ความพร้อม เป็ นต้น ............................................ เอกสารอ้างอิง Andreas, Donaubauer; Astrid Fichtinger; Matthäus Schilcher; Florian Straub. (2006). Model Driven Approach for Accessing Distributed Spatial Data Using Web Services - Demonstrated for Cross-Border GIS Applications. Germany: Munich. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.fig.net/pub/fig2006/papers/ts82/ts82_04_donaubauer_etal_0603.pdf Galdi, David. (n.d). Spatial Data Storage and Topology in The Redesigned Maf/Tiger System. n.p. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.census.gov/geo/mtep_obj2/topo_and_data_stor.pdf Hächler, Thomas. (2003). Online Visualization of Spatial Data: A prototype of an Open Source Internet Map Server with Backend Spatial Database for the Swiss National Park. Switzerland: University of Zurich. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.carto.net/papers/thomas_haechler/thomas_haechler_open_source_webgis_2003.pdf Kuba, Petr. (2001). Data Structures for Spatial Data Mining, in FI MU Report Series. Czech Republic: Masaryk University Brno , Department of Computer Science, Faculty of Informatics. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.fi.muni.cz/reports/files/2001/FIMU-RS-200105.pdf

4

http://gisportal.mot.go.th/motfgds/doc/isotc211/Part3ISOTC211.pdf


18

Oort, Pepijn van. (2005). Spatial Data Quality: from Description to Application. Netherlands : NCG, Nederlandse Commissie voor Geodesie, Netherlands Geodetic Commission, Delft, The Netherlands. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.ncg.knaw.nl/Publicaties/Geodesy/pdf/60Oort.pdf วีระภาส คุณรัตนสิริ. (2551). ISO 19134 มาตรฐานระบบให้ บริการระบุตําแหน่งหลายรู ปแบบสําหรับแสดง เส้ นทางและการนําร่ อง : ISO 19134 Multimodal Location Based Services for Routing and Navigation. กรุ งเทพ: ภาควิชาการจัดการป่ าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลั ยเกษตรศาสตร์. Retrieved on Aug 20, 2010 from https://pindex.ku.ac.th/file_research/mapgeo_weeraphart_51.pdf คณะสิ งแวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลั ยมหิดล. (2552). เอกสารประกอบการประชุ มเรือง การศึกษาเพือจัดทําร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศISO/TS 19139 Geographic Information Metadata XML schema implementation. นครปฐม: คณะสิ งแวดล้ อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลั ยมหิดล. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://www.stkc.go.th/stportalDocument/stportal_1248857030.pdf สํานักงานพั ฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน): สทอภ. Retrieved on Aug 20, 2010 from http://gisportal.mot.go.th/motfgds/doc/isotc211/Part3ISOTC211.pdf ข้อมูลจากเว็บไซต์ http://inspire.jrc.ec.europa.eu/reports/ImplementingRules/DataSpecifications/D2.7_v3.0.pdf มาตรฐาน ข้อมูลสเปเทียล http://www.isotc211.org/Outreach/ISO_TC%20_211_Standards_Guide.pdf http://www.lenzg.net/mysql/Navigating-The-Spatial-Data-Support.pdf http://dbis.ucdavis.edu/courses/ECS266-SQ08/01-introduction.pdf


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.