Student Consultant maual 2010, IT faculty

Page 1

ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

0


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

1

การผลิตบั ณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามให้มีคุณลักษณะทีพึงประสงค์ คือการผลิต บั ณฑิตให้มีความรู ้ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรมจริ ยธรรม ตลอดจนมีบุคลิกภาพทีดีนั นองค์ประกอบส่ วนหนึ งที สนับสนุนให้ได้บ ั ณฑิตดังกล่าวคือระบบอาจารย์ ทีปรึ กษา เนืองจากอาจารย์ ทีปรึ กษาเป็ นผู ้ ดูแลนักศึกษาที ใกล้ชิดนักศึกษามากทีสุ ดและยั งเป็ นผู ้ ทีสร้างความเข้ าใจระหว่างมหาวิทยาลัยอาจารย์ และนักศึกษา ตลอดจน กฎระเบียบต่างๆของมหาวิทยาลัยให้กระจ่างชัดกับนักศึกษาเพือให้เกิดผลการปฏิบ ั ติทีดีต่อนักศึกษาก่อนจะ สําเร็จออกไปเป็ นทรัพยากรบุคคลทีมีศ ั กยภาพในสังคม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ภายใต้ ฝ่ายประกันคุณภาพ ขอขอบคุณคณะกรรมการจั ดทํ าคู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา และหวั งเป็ นอย่างยิ งว่าคู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษานี คงเป็ น แนวทางและเอื อประโยชน์ในการให้ค ํ าปรึ กษาแก่นกั ศึกษาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ บั งเกิดผลดีแก่การพั ฒนา คุณภาพบั ณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในภาพรวมต่อไป

ฝ่ ายประกันคุณภาพ พฤษภาคม 2554


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

คํานํา บทที 1

บทที 2

บทที 3

บทที 4

บทที 5

บทนํา 1.1 วั ตถุประสงค์ของงานอาจารย์ ทีปรึ กษาในสถาบันอุดมศึกษา 1.2 ความสําคัญของอาจารย์ ทีปรึ กษาในสถาบันอุดมศึกษา 1.3 เครื องมือและข้อมูลในการให้คาปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี การจัดระบบงานอาจารย์ทีปรึกษา 2.1 การบริ หารงานอาจารย์ ทีปรึ กษา 2.2 บุคลากรทีเกียวข้องกับระบบงานอาจารย์ทีปรึ กษา 2.3 อาจารย์ ทีปรึ กษา 2.4 จรรยาบรรณอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี 2.5 หน้าทีของอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี 2.6 ข้อปฏิบัติของอาจารย์ ทีปรึ กษา 2.7 นักศึกษา การให้ ความช่ วยเหลือแก่นักศึกษาประจากลุ ่มทีปรึกษา 3.1 การให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการและการเรี ยนแก่นักศึกษาประจากลุ่มทีปรึ กษา 3.2 การให้ความช่วยเหลือด้านการปรับตัวทางสังคมแก่นักศึกษาประจากลุ่มทีปรึ กษา 3. 3 การให้ความช่วยเหลือด้านการวางแผนและการเตรียมตัวเพืออาชีพแก่นักศึกษา ประจํ ากลุ่มทีปรึ กษา แนวปฏิบัติในการให้ คําปรึกษา 4.1 บทบาทของอาจารย์ ทีปรึ กษาด้านกิจกรรมโฮมรู ม 4.2 หลั กการจั ดกิจกรรมโฮมรู ม 4.3 วิธีการให้คาปรึ กษาและการดาเนินงานในเบื องต้น 4. 4 การบันทึกการปฏิบัติงานอาจารย์ ทีปรึ กษา 4.5 ขอบเขตของการให้ค ํ าปรึ กษา 4.6 บทบาทหน้าทีของนักศึกษาต่ออาจารย์ ทีปรึ กษา 4.7 ปัจจัยทีส่งผลต่อความสําเร็ จในการช่วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์ ทีปรึ กษา ข้ อปฏิบัติในการให้ คาปรึกษาแก่นักศึกษา 5.1 องค์ประกอบของการให้คาปรึ กษา 5.2 ข้อปฏิบัติในการให้คาปรึ กษาแก่นักศึกษา

2

หน้า 4 4 4 5 7 7 7 9 10 10 12 12 14 14 14 15 17 17 17 18 18 19 20 20 21 21 23


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

สารบัญ (ต่อ)

ภาคผนวก

5.3 ผลผลิต 5.4 การป้ อนกลั บ ก. ปฏิทินการให้ คําปรึกษานักศึกษา ข. ตารางบันทึกให้ คําปรึกษา ค แบบฟอร์ มต่างๆ

3

หน้า 23 23 24 29 31


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

4

บทที 1 บทนํา สถาบั นอุดมศึกษามีภารกิจทีสําคั ญคือ การผลิตบั ณฑิตทีมีความรู ้คู่คุณธรรมมีบุคลิกภาพและมนุษย สัมพั นธ์ทีดี มีความสามารถในการประกอบอาชีพ และเป็ นสมาชิกทีดีของสังคม ซึ งในการดาเนินงานดังกล่าว ให้ได้ผลดีเป็ นรู ปธรรมนั นต้ องได้รับความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนในมหาวิทยาลัยและสิ งสําคั ญประการหนึ ง คือระบบอาจารย์ ทีปรึ กษา เพราะอาจารย์ ทีปรึ กษาเป็ นบุคคลทีใกล้ชดิ กับนักศึกษา อีกทั งเป็ นตั วแทนของ มหาวิทยาลัยในการทํ าหน้าทีดูแลช่วยเหลือนักศึกษาทั งด้ านวิชาการส่ วนตั ว และสังคม ดังนั นผู ้ ททํี าหน้าที อาจารย์ ทีปรึ กษาควรมีความรู ้ความเข้ าใจเกียวกับวั ตถุประสงค์ความสําคั ญและเครื องมือในการให้คาปรึ กษา นักศึกษาอย่างใกล้ชิดเพือประคั บประคองนักศึกษาให้ดํ าเนินตามแนวทางคุณลั กษณะบั ณฑิตทีพึงประสงค์ พร้อมทีจะออกไปรับใช้สังคมต่อไป1 1.1 วัตถุประสงค์ของงานอาจารย์ทีปรึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 1. เพือให้เกิดกระบวนการติดต่อสือสารระหว่างมหาวิทยาลัยกับนักศึกษาสร้างความอบอุ่นใจ เป็ นที พึ งพร้อมจะช่วยเหลือนักศึกษาในทุกด้ าน 2. เพือให้ค ํ าปรึ กษาแนะนําด้ านวิชาการเกียวกับหลั กสู ตรลักษณะรายวิชาทีเรี ยน การเลือกวิชาเรี ยน การลงทะเบียนเรี ยน วิธีการเรี ยนและการวั ดผล ทั งนี เพือให้นักศึกษาสามารถศึกษาการศึกษาครบครบตาม หลักสู ตรทีกําหนด 3. เพือสนับสนุนด้านการบริ หารของมหาวิทยาลัย ช่วยให้นักศึกษามีความเข้ าใจกฎระเบียบข้ อบั งคั บ ประกาศและคํ าสั งต่างๆ ของมหาวิทยาลัย อีกทั งบริ การและสวั สดิการต่างๆ ทีมหาวิทยาลัยจัดให้ก ับนักศึกษา 4. เพือช่วยส่ งเสริ มนักศึกษาให้สามารถพั ฒนาการดาเนินชีวิตอยู่ในมหาวิทยาลัยและแก้ปญั หาได้ อย่าง เหมาะสมจนสําเร็จการศึกษา 1.2 ความสําคัญของอาจารย์ทีปรึกษาในสถาบันอุดมศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา คือ บุคคลทีสถาบั นอุดมศึกษา แต่งตั งขึ นเพือให้ทํ าหน้าทีให้ค ํ แา นะนําช่วยเหลือ นักศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น ทางด้านวิชาการ ด้านกิจกรรม ด้านการพั ฒนาบุคลิกภาพการปรับตั วเข้ ากับสังคม การวางแผนและการเตรี ยมตั วเพืออาชีพดังนั นอาจารย์ ทีปรึ กษามีความสําคั ญต่อการพั ฒนาคุณภาพและมี ความสําคั ญต่อการสร้างความสําเร็จของนักศึกษา สรุ ปได้ดังนี

1

อ้ างจาก : มหาวิทยาลั ยราชภัฏเลย. (2552). คู ่ มืออาจารย์ ที ปรึกษา. สํานักส่งเสริ มวิชาการและงานทะเบียน.


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

5

1) ด้ านวิชาการ ช่วยให้ค ํ าแนะนําเกียวกับหลั กสู ตรโครงสร้างของหลักสู ตร การลงทะเบียนวิชาเรี ยน วิธีการเรี ยน การวั ดผล ตลอดจนแนวทางการศึกษาทีนักศึกษาจะสามารถจบหลักสู ตรไปได้อย่างราบรื น 2) ด้ านพัฒนาบุคลิกภาพ ช่วยพั ฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาเช่น วิธีการคิดและการแก้ปัญหา การแต่ง กายให้ถูกระเบียบและเหมาะสมกับโอกาส กิริยามารยาท การเข้ าสังคม การประพฤติปฏิบ ั ติตนให้เหมาะสมและ สอดคล้ องกับวั ฒนธรรมประเพณีไทยการสร้างมนุษยสัมพั นธ์ กาลเทศะ และการพั ฒนาคุณธรรมจริ ยธรรม เช่น ความซือสัตย์ ความอุตสาหวิริยะ และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3) ด้ านการทากิจกรรมต่าง ๆ ช่วยกระตุ ้ นและสนับสนุนให้นักศึกษาเข้ าร่ วมกิจกรรมของสถาบั น เช่น การปฐมนิเทศ วั นไหว้ ครูงานแห่เทียนเข้ าพรรษา งานปี ใหม่ งานกีฬาภายในและภายนอก ฯลฯ การเข้ าร่ วม ชมรม ชุมนุม หรื อสโมสรนักศึกษา เพือฝึ กทั กษะในการเป็ นผูนํ้ าและผู ้ ตามทีดีในสังคมประชาธิปไตยการ ทํ างานร่ วมกั น การแสดงความรู ้ความสามารถพิเศษ เช่น ดนตรี กีฬา ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ ตลอดจนการ ตั ดสิ นใจและการแก้ปัญหาต่างๆ ฯลฯ 4) ด้ านบริการและสวัสดิการ ให้ค ํ าแนะนําการบริ การและสวั สดิการต่างๆ ของสถาบั นให้นักศึกษา ทราบ เช่น แนะแนวการศึกษาและอาชีพ บริ การตรวจสุ ขภาพ บริ การของฝ่ ายทุนการศึกษา บริ การจากสานัก ส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียน บริ การจากสานักวิทยบริ การและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฯลฯ 5) ด้ านการสร้ างชือเสียงและภาพลักษณ์ ช่วยสนับสนุนและกระตุ ้ นให้นักศึกษามีประสบการณ์และ ทั กษะเฉพาะตั วเพือสร้างชือเสี ยงและภาพลักษณ์ให้ก ับสถาบั นจนเป็ นทียอมรับของสังคม เช่น ความรู ้ ความสามารถทางด้านการเรี ยน การสอบชิงทุน การได้รับถ้วยหรื อโล่รางวั ลด้านกีฬาดนตรีและการแสดง หรื อ การแข่งขั น การประกวด ฯลฯ 6) ด้ านการวางแผนชีวิตและเลือกอาชีพ กระตุ ้ นให้นักศึกษาวางแผนชีวิตและเลือกอาชีพโดยประสาน กับฝ่ ายต่าง ๆ เช่น ฝ่ ายแนะแนวการศึกษาและฝ่ ายจัดหางานจากกรมการจัดหางาน ฯลฯ 7). ด้ านการเป็ นสมาชิกทีดีของสังคม และเป็ นพลเมืองดีของชาติ สนับสนุนและกระตุ ้ นให้นักศึกษา ประพฤติปฏิบ ั ติตนให้เป็ นสมาชิกทีดีของสังคมและเป็ นพลเมืองดีของชาติโดยเสี ยสละอุทิศกาลังกาย กําลังใจ กําลังสติปัญญา หรื อกํ าลังทรัพย์ สร้างสรรค์ สังคมรวมทั งการให้ความร่ วมมือการแลกเปลียนความคิดเห็นทีเป็ น ประโยชน์ต่อสังคม ปฏิบ ั ติตามกฎระเบียบและกติกาทีกํ าหนดไว้ มีความจงรักภักดีต่อสถาบั นต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าส่ วนตน ฯลฯ 1.3 เครืองมือและข้อมูลในการให้ คาปรึกษาระดับปริญญาตรี 1. เอกสารข้ อบั งคั บว่าด้วยการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ของมหาวิทยาลัย 2. คู่มือการใช้บริ การการศึกษาผ่านเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต 3. คู่มือนักศึกษา 4. หลักสู ตรของคณะทีนักศึกษาสังกัด 5. คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

6. แฟ้ มระเบียนสะสมของนักศึกษา 7. แบบฟอร์มและแบบคํ าร้องต่าง ๆ 8. ข้ อมูลเกียวกับกิจกรรมนักศึกษาและข้ อมูลเกียวกับทุนการศึกษา 9. ข้ อมูลเกียวกับระเบียบข้ อบั งคั บทีเกียวข้ องกับนักศึกษา 10. ข้ อมูลเกียวกับการบริ การทีมหาวิทยาลัยจัดให้แก่นักศึกษา 11. ข้ อมูลเกียวกับสภาพแวดล้ อมของมหาวิทยาลัยและชุมชนทีมหาวิทยาลัยจัดตั งอยู่ 12. ข้ อมูลเกียวกับอาชีพต่างๆ ในสาขาทีนักศึกษาเรี ยนอยู่

6


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

บทที 2 การจัดระบบงานอาจารย์ ทีปรึกษา ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาจะสําเร็จลุล่วงไปด้วยดีนั นจํเาป็ นต้ องอาศั ยบุคลากรและหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัยทุกฝ่ าย และต้ องมีการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาอย่างเป็ นระบบได้แก่ 2.1 การบริหารงานอาจารย์ทีปรึกษา 1. กําหนดนโยบายให้ทุกคณะนําระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ไปดํ าเนินการให้มี ประสิ ทธิภาพ 2. แต่งตั งคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับมหาวิทยาลัย 3. ให้ความสําคั ญและสนับสนุนคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับมหาวิทยาลัย 4. สร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ ปฏิบ ั ติหน้าทีอาจารย์ ทีปรึ กษาอย่างมีประสิ ทธิภาพ 5. จัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ สาหรับการดําเนินงานและพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ปรึ กษาให้ ประสบความสําเร็จ 2.2 บุคลากรทีเกียวข้องกับระบบงานอาจารย์ทีปรึกษา มหาวิทยาลัยได้ แต่งตั งคณะกรรมการให้คํ าปรึ กษาเพือให้บ ั งเกิดผลดีต่อระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษา ประกอบด้วย 1) คณะกรรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับมหาวิทยาลัย2) คณะกรรมการพั ฒนา ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับคณะ3) อาจารย์ ทีปรึ กษา 4) นักศึกษา แต่ละส่ วนมีองค์ประกอบและมีหน้าที ดังต่อไปนี 2.2.1 คณะกรรมการพัฒนาระบบงานอาจารย์ทีปรึกษาระดับมหาวิทยาลัย คณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับมหาวิทยาลัยคือ คณะกรรมการทีได้รับคํ าสั ง แต่งตั งจากมหาวิทยาลัยราชภั ฏมหาสารคามให้ปฏิบ ั ติหน้าทีในตํ าแหน่งตามวาระของการดํารงตํ าแหน่งนั นๆ ประกอบด้วย 1) อธิการบดี เป็ นทีปรึ กษา 2) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ เป็ นประธาน 3) ผู ้ อานวยการสานักวิทยบริ การและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นกรรมการ 4) คณบดีทุกคณะ เป็ นกรรมการ 5) ผู ้ อานวยการกองพั ฒนานักศึกษา เป็ นกรรมการ 6) ผู ้ อานวยการสานักส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียน เป็ นกรรมการและเลขานุการ 7) รองผู ้ อานวยการสานักส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียน เป็ นกรรมการและผู ้ ช่วยเลขานุการ

7


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

8

โดยมีหน้าทีในการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับมหาวิทยาลัยได้แก่ 1) พั ฒนาระบบและดาเนินการตามระบบอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรีของมหาวิทยาลัย 2) จัดทํ าคู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรีและแบบฟอร์มต่างๆ ทีเกียวข้ อง 3) ประสานงานและผลักดันให้เกิดการพั ฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยทีเกียวข้ อง กับระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษา 4) จัดการอบรมอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี เป็ นส่ วนหนึ งของการปฐมนิเทศคณาจารย์ ใหม่ทุก ครั ง 5) ให้ค ํ าปรึ กษาแก่คณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ระดับคณะ 6) ประชาสัมพั นธ์ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ทางเว็บไซต์มหาวิทยาล ัย 7) ประสานงานให้ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี เป็ นส่ วนหนึ งของระบบการประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยให้ชัดเจน 8) จัดให้มีการประเมินผลระบบงานอาจารย์ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี เป็ นประจําทุกปี การศึกษา 9) นําผลการประเมินระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษามาปรับปรุ งระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาของ มหาวิทยาลัย 10) แจ้งผลการประเมินระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริญญาตรีของแต่ละคณะให้คณบดีทราบเพือ ปรับปรุ งการดําเนินงาน 2.2.2 คณะกรรมการพัฒนาระบบงานอาจารย์ทีปรึกษาระดับคณะ หน้าทีของคณบดีทีเกียวของกับระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษา มีดังนี 1) นํานโยบายเกียวกับระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษามาปฏิบ ั ติ 2) แต่งตั งคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ระดับคณะ 3) ให้ความสําคั ญและสนับสนุนระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ของคณะ 4) สร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ ทีปรึ กษาในคณะปฏิบ ัติหน้าทีอาจารย์ ทีปรึ กษาอย่างมีประสิ ทธิภาพ 5) จัดสรรงบประมาณ สาหรับการดาเนินงานของคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาของ คณะอย่างเพียงพอ คณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับคณะคือ คณะกรรมการทีได้รับแต่งตั งจาก คณบดีคณะต่าง ๆ ให้ดํารงตํ าแหน่งตามวาระทีอยู่ในตํ าแหน่งนั นๆ หรื อตามระยะเวลาทีคณบดีก ําหนด ประกอบด้วย 1) คณบดี เป็ นทีปรึ กษา 2) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ / ฝ่ ายกิจการนักศึกษา เป็ นประธาน 3) ประธานสาขาวิชาทุกสาขา เป็ นกรรมการ


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

9

4) หัวหน้าสานักงานคณบดี เป็ นกรรมการและเลขานุการ โดยหน้าทีของคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับคณะมีดังต่อไปนี 1) นําระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี มาดําเนินการ 2) จัดสัมมนาหรือฝึ กอบรมอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ของคณะให้มีความรู ้ความเข้ าใจบทบาท หน้าทีและข้ อปฏิบ ั ติของอาจารย์ ทีปรึ กษาตลอดจนเทคนิคและทั กษะในการให้คํ าปรึ กษา รวมทั งทั กษะการใช้ คอมพิวเตอร์ 3) จัดหาเครื องมือเพือใช้ในการให้คํ าปรึ กษาแก่อาจารย์ ทีปรึกษาระดับปริ ญญาตรี 4) ประสานงานกับหัวหน้าสาขาวิชาเพือจัดนักศึกษาให้อาจารย์ ทีปรึ กษาดูแลนักศึกษาหมู่เรี ยนละ1 คน และเสนอแต่งตั งอาจารย์ ทีปรึ กษาต่อคณบดี 5) จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์ ทีปรึ กษาภายหลังการจัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ 6) เป็ นทีปรึ กษาของอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับปริ ญญาตรี ของคณะ 7) ศึกษาปัญหาทีทํ าให้นักศึกษามีผลการเรี ยนตกตํ าและหาทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว 8) รวบรวมปัญหาและอุปสรรคของอาจารย์ ทีปรึกษาของคณะ 9) นําผลการประเมินระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษา และปัญหาอุปสรรคของอาจารย์ ทีปรึ กษามาปรับปรุ ง ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับคณะให้มีประสิ ทธิภาพ 10) กําหนดตารางเวลาให้นักศึกษามาพบอาจารย์ ทีปรึ กษาสัปดาห์ละ1 ครั งตลอดภาคการศึกษา 11) ส่ งเสริ มระบบพีช่วยน้องและเพือนช่วยเพือน ให้เป็ นผู ้ ช่วยอาจารย์ ทีปรึ กษา 2.3 อาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา คือ บุคคลทีสถาบั นอุดมศึกษา แต่งตั งขึ นเพือให้คํ าแนะนําช่วยเหลือนักศึกษาในด้ าน ต่าง ๆ เช่น ทางด้านวิชาการ ด้านการพั ฒนาบุคลิกภาพการปรับตั วเข้ ากับสังคมการเข้ าร่ วมกิจกรรม การ วางแผนและการเตรี ยมตั วเพืออาชีพเป็ นต้ น สาหรับรู ปแบบการจัดอาจารย์ ทีปรึ กษามหาวิทยาลัยจัดเป็ นราย ห้องตามสาขาวิชาต่ออาจารย์ 1 คน ดูแลจนกว่าจะสําเร็จการศึกษา โดยอาจารย์ ทีปรึ กษาจะต้ องมีคุณลั กษณะมีจรรยาบรรณ และมีหน้าทีดังต่อไปนี 1. คุณลักษณะด้ านบุคลิกภาพ มีดังนี 1) มีมนุษยสัมพั นธ์ 2) มีความรับผิดชอบ 3) ใจกว้ างและรับฟังความคิดเห็นของผู ้ อืน 4) มีความจริ งใจ และเห็นอกเห็นในผู ้ อืน 5) มีความเมตตากรุ ณา 6) มีความไวต่อการรับรู ้และเข้ าใจความรู ้สึกของนักศึกษา 7) มีความประพฤติเหมาะสมทีจะเป็ นแบบอย่างทีดีแก่นักศึกษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

10

8) พร้อมอุทิศเวลาให้ก ับนักศึกษา 9) มีความคิดในเชิงบวก 2. คุณลักษณะด้ านความรู ้ ความสามารถ มีดังนี 1) มีความรู ้ความสามารถในการปฏิบ ั ติหน้าทีของอาจารย์ ทีปรึ กษา 2) มีความสามารถในการสื อสาร 3) มีความรู เ้ รื องกระบวนการให้ค ํ าปรึกษาเข้ าใจแนวคิดและมีท ั กษะในการใช้เทคนิคการให้ คํ าปรึ กษา 4) มีความรู ้และความเข้ าใจธรรมชาติของนักศึกษา 5) มีความสามารถในการดูแลให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาเมือมีปัญหา 6) มีความรู ้เกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารทั นยุคสมั ย 7) มีความรู ้และความเข้ าใจสภาพสังคมเศรษฐกิจ วั ฒนธรรม และการเมืองการปกครอง 8) มีความรู ้เกียวกับกฎระเบียบ ข้ อบั งคั บหลักสู ตร และการลงทะเบียนเรี ยนของนักศึกษา 2.4 จรรยาบรรณอาจารย์ทีปรึกษาระดับปริญญาตรี มีดังนี 1). คํ านึงถึงสวั สดิภาพและสิ ทธิประโยชน์ของนักศึกษา 2). รักษาความลับของนักศึกษา 3). พยายามช่วยเหลือนักศึกษาจนสุ ดความสามารถ หากมีปัญหาใดทีเกินความสามารถทีจะช่วยเหลือ ได้ ก็ควรดํ าเนินการส่ งต่อนักศึกษาไปรับบริ การจากศูนย์ ให้คํ าปรึ กษาของมหาวิทยาลัย 4). ไม่วิพากษ์วิจารณ์บุคคลหรื อสถาบั นใดให้นักศึกษาฟังในทางทีก่อให้เกิดความเสื อมเสี ยแก่บุคคล หรื อมหาวิทยาลัยนั นๆ 5). เป็ นผู ้ ทีมีความประพฤติทีเหมาะสมตามจรรยาแห่งวิชาชีพในสาขาทีตนสอนและมีศีลธรรมจรรยา ทีดีงาม เพือเป็ นแบบอย่างทีดีแก่นักศึกษา 6). ปฏิบ ั ติหน้าทีในการให้คํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาในความดูแลทุกคนด้วยความเสมอภาค 7). ปฏิบ ั ติตนด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู ้ อืน สังคม และประเทศชาติ 2.5 หน้ าทีของอาจารย์ทีปรึกษาระดับปริญญาตรี มีดังนี 1. หน้ าทีของอาจารย์ทีปรึกษาด้ านทัวไป 1) ทํ าหน้าทีเป็ นตั วแทนของมหาวิทยาลัยเพือดูแลช่วยเหลือนักศึกษาทีรับผิดชอบ 2) ชี แจงให้นักศึกษาเข้ าใจหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษาและข้ อปฏิบ ั ติของนักศึกษาและชี แจง การบั นทึกข้ อมูลระเบียนสะสม 3) สร้างความสัมพั นธ์อ ั นดีก ับนักศึกษาทีรับผิดชอบซึ งเป็ นความสัมพั นธ์ระหว่างครูก ับศิษย์ 4) พิจารณาคํ าร้องต่างๆ ของนักศึกษา ในส่ วนทีเกียวข้ องกับหน้าทีของอาจารย์ ทีปรึ กษาให้


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

11

ทั นเวลา 5) ประสานงานกับอาจารย์ ผู ้ สอนและหน่วยงานต่างๆ ทีเกียวข้ องกับการจัดการเรี ยนการสอนและกอง พั ฒนานักศึกษางานทะเบียนและประมวลผล เพือช่วยเหลือนักศึกษาในกรณีทีมีปัญหา 6) ติดต่อกับนักศึกษาด้ วยวิธีการต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร 7) กําหนดเวลาให้นกั ศึกษาเข้ าพบเพือขอรับคํ าปรึ กษาแนะนําอย่างสมํ าเสมอ 8) เก็บข้ อมูลทีสําคั ญของนักศึกษาทีรับผิดชอบไว้ เป็ นความลั บเพือใช้จัดท ํ าระเบียนสะสม 9) ให้การรับรองนักศึกษาเมือนักศึกษาต้ องการนาเอกสารไปแสดงแก่ผู ้ อืนเช่น การศึกษาต่อ การขอรับ ทุนการศึกษา เป็ นต้ น 10) จัดทํ าระเบียนสะสมของนักศึกษาทีรับผิดชอบ 11) นําเสนอข้ อมูลป้ อนกลับมายั งผู ้ บริ หารและคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษา เกียวกับปัญหาต่าง ๆ ของนักศึกษา 12) ให้ความร่ วมมือกับคณะกรรมการพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับคณะ 13) พิจารณาตั กเตือนนักศึกษาทีมีความประพฤติไม่เหมาะสมหรื อแต่งกายไม่เรี ยบร้อย 14) ประสานงานกับผู ้ ปกครองนักศึกษาเมือนักศึกษามีปัญหา 15) ติดตามนักศึกษาในความรับผิดชอบทีขาดเรี ยนและมีปัญหาอืน ๆ ทีสมควรได้รับการช่วยเหลือ 2. หน้ าทีของอาจารย์ทีปรึกษาด้ านวิชาการ 1) ให้ค ํ าแนะนานักศึกษาในการค้ นคว้ าหาข้ อมูลเกียวกับกฎระเบียบข้ อบั งคั บหลักสู ตร และวิธีการ ศึกษา 2) ให้ข ้ อมูลทีถูกต้ องแก่นักศึกษาทีเกียวกับกฎ ระเบียบและข้ อบั งคั บทีสําคั ญซึ งอาจทาให้นักศึกษา ต้ องถูกลงโทษทางวินัย 3) ให้ค ํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาโดยใช้ข ้ อมูลภูมิหลังความสนใจและความสามารถของนักศึกษาเพือการ วางแผนประกอบอาชีพและแผนการศึกษา 4) ให้ค ํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาเกียวกับหลักสู ตรและการเลือกวิชาเรี ยนให้เหมาะสมกับคะแนนเฉลีย สะสมของนักศึกษา 5) วิเคราะห์ผลการเรี ยน และให้ค ํ าปรึกษาเกียวกับการลงทะเบียนเรี ยนให้เหมาะสมกับคะแนนเฉลีย สะสมของนักศึกษา 6) ควบคุมการลงทะเบียนเรี ยนของนักศึกษาให้เป็ นไปตามระเบียบข้ อบั งคั บของมหาวิทยาลัย 7) ให้ค ํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาในการเลือกวิชาเลือกเสรี และรายวิชาทั วไป 8) ให้ค ํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาในการเพิ ม-ถอนวิชาเรี ยน 9) ให้ค ํ าแนะนําแก่นักศึกษาเกียวกับการเรี ยนการค้ นคว้ า 10) ให้ค ํ าปรึ กษาแนะนาหรื อช่วยเหลือนักศึกษาเพือการแก้ไขปัญหาด้ านการเรี ยน


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

12

11) ติดตามผลการเรี ยนของนักศึกษาอย่างสมํ าเสมอ พร้อมทั งให้คาปรึ กษาแนะนํา เมือผลการเรี ยน ของนักศึกษาตํ าลง 12) ให้ค ํ าแนะนําและดูแลอย่างใกล้ชิดแก่นักศึกษาทีมีคะแนนเฉลียสะสมตํ ากว่า 2.00 13) ให้ความรู ้นักศึกษาเกียวกับการคิดระดับคะแนนเฉลียสะสม 14) ให้ค ํ าปรึ กษา แนะนําเกียวกับการศึกษาต่อในระดับสู งกว่าระดับปริ ญญาตรี 3. หน้ าทีของอาจารย์ทีปรึกษาด้ านการพัฒนานักศึกษา 1) ให้ค ํ าแนะนําเกียวกับบริ การต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทีตั งอยู่ในชุมชน 2) ให้ค ํ าปรึ กษาเบื องต้ นเกียวกับปัญหาทางด้ านสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตหากมีปัญหาใดทีเกิน ความสามารถทีจะช่วยเหลือได้ ก็ควรดํ าเนินการส่ งต่อนักศึกษาไปรับบริ การจากผู ้ เชียวชาญทางด้านนั นโดยตรง 3) ให้ค ํ าปรึ กษาเกียวกับการดํ าเนินชีวิต ความปลอดภัย 4) ให้ค ํ าปรึ กษาแนะนําทางด้านคุณธรรม จริ ยธรรม 5) ให้ค ํ าแนะนําเกียวกับการเข้ าร่ วมกิจกรรมนักศึกษา 6) ให้ข ้ อมูลเกียวกับอาชีพทีเป็ นประโยชน์ต่อนักศึกษา 2.6 ข้อปฏิบัติของอาจารย์ทีปรึกษา มีดังนี 1) ศึกษาข้ อมูลทีสําคั ญ เช่น กฎ ระเบียบ หลักสู ตร วิธีดาเนินการและบริ การต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย 2) สนใจติดตามข้ อมูลจากแหล่งต่างๆ เพือใช้ในการให้ค ํ าปรึ กษา 3) พั ฒนาตนเองให้มีคุณลั กษณะของอาจารย์ ทีปรึ กษาทั งด้านบุคลิกภาพและด้ านความรู ้ความสามารถ 4) ปฏิบ ั ติตามจรรยาบรรณอาจารย์ ทีปรึ กษา 5) นัดพบนักศึกษาในความดูแลทั งหมดก่อนวั นลงทะเบียนเรียนประจาภาคเพือซักซ้อมความเข้ าใจ เกียวกับ กฎ ระเบียบต่าง ๆ และวิธีการปฏิบ ั ติ 6) เขียนบั นทึกการให้คํ าปรึ กษาแนะนานักศึกษาโดยใช้ แบบฟอร์มทีมหาวิทยาลัยจัดทาขึ น 7) ปฏิบ ั ติให้ครบถ้วนตามหน้าทีกํ าหนดไว้ 2.7 นักศึกษา นักศึกษา คือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภั ฏมหาสารคาม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ทีศึกษาอยู่ใน ระดับปริ ญญาตรี มีข ้ อปฏิบ ั ติดังนี 1) ศึกษาข้ อมูลทีสําคั ญและปฏิบ ั ติตามกฎ ระเบียบ ข้ อบั งคั บของคณะและของมหาวิทยาลัย 2) เข้ าร่ วมกิจกรรมทีมหาวิทยาลัยจัดขึ น 3) พบอาจารย์ ทปรึ ี กษาตามทีอาจารย์ ทีปรึ กษากําหนดไว้ แต่เมือมีปัญหาเร่ งด่วนสามารถนัดพบอาจารย์ ทีปรึ กษาได้


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

4) ปฏิบ ั ติตามแผนการศึกษาทีอาจารย์ทีปรึ กษาและนักศึกษาได้ร่วมกันกํ าหนดขึ น 5) ศึกษาเล่าเรี ยนอย่างเต็มความสามารถเพือมุ่งสู่เป้ าหมาย คือ ความสําเร็จการศึกษา 6) ช่วยเหลือประสานงานให้เพือนนักศึกษาได้รับคํ าปรึกษาอย่างถูกต้ อง

13


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

14

บทที 3 การให้ ความช่ วยเหลือแก่นักศึกษาประจํากลุ่ มทีปรึกษา การให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาเป็ นหน้าทีโดยตรงของอาจารย์ ทีปรึ กษาและทุกภาคส่ วนของ มหาวิทยาลัยทั งด้ านวิชาการสวั สดิการ กิจกรรม แนะนําเกียวกับอาชีพ ศึกษาต่อ หรื อเรื องส่วนตั วและสังคม และต้ องทํ าความเข้ าใจกับสภาพแวดล้อมของนักศึกษาทั งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัการให้ ย ความ ช่วยเหลือแก่นักศึกษาประจากลุ่มทีปรึกษา แบ่งเป็ น 3 ลักษณะ คือ 3.1 การให้ ความช่ วยเหลือด้ านวิชาการและการเรียนแก่นักศึกษาประจากลุ ่มทีปรึกษา การช่วยเหลือด้ านวิชาการและการเรี ยนเพือสนับสนุนให้นักศึกษา สามารถศึกษาในสถานศึกษาได้ สําเร็จ อาจารย์ ทีปรึ กษาจะต้ องเป็ นผู ้ ทีมีความรู ้ความเข้ าใจในแนวปฏิบ ั ติตามระเบียบข้ อบั งคั บต่ๆางทีนักศึกษา เกียวข้ อง ดังนี 1) การให้ความรู ้ความเข้ าใจเรืองหลักสู ตรและแผนการเรี ยน 2) การให้ความรู ้ความใจในเรื องการเลือกวิชาและการลงทะเบียนเรี ยน 3) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องการเปลียนถอน - เพิ ม วิชาเรี ยนหรื อการลาพั กการเรี ยน 4) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องวิธีการเรี ยนและการแก้ปัญหาทางการเรี ยน 5) การแนะนําช่วยเหลือนักศึกษาทีเรี ยนอ่อนให้ปรับปรุ งการเรี ยนให้ดีขึ น 6) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องการวั ดผลและการสอบ 7) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องระเบียบการชาระเงินค่าธรรมเนียมต่างๆ 8) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องระเบียบการขอใบรับรองต่างๆ 9) การให้ความรู ้ความเข้ าใจในเรื องระเบียบและนโยบายของมหาวิทยาลัย 10). การให้ค ํ าแนะนําเรื องการศึกษาต่อในระดับสู งขึ น ในการให้ความรู ้ความเข้ าใจดังกล่าวอาจชี แจงในชั วโมงโฮมรู มหรื อการประชุมกลุ่มทีปรึ กษาหรื อให้ คํ าปรึ กษาเป็ นรายคนเมือนักศึกษามีปัญหามาขอรับคาปรึ กษา ส่ วนรายละเอียดของเนื อหาทางวิชาการ ให้ศกึ ษา จากคู่มือนักศึกษาหรื อขอจากสํานักส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียนเพิ มเติม 3.2 การให้ ความช่ วยเหลือด้ านการปรับตัวทางสังคมแก่นักศึกษาประจากลุ ่มทีปรึกษา การให้ความช่วยเหลือในด้านการปรับตั วทางสังคมแก่นักศึกษาประจากลุ่มทีปรึกษาอาจารย์ ทปรึ ี กษา สามารถดํ าเนินงานได้ท ั งภายในกลุ่มรายบุคคลในชั วโมงโฮมรู มหรื อการประชุมกลุ่มทีปรึ กษาซึ งอาจารย์ที ปรึ กษาต้ องชี ให้เห็นถึงความจํ าเป็ นในเรื องต่าง ๆ ทีเกียวกับนักศึกษาดังนี 1) อบรมเรื องกิริยามารยาท ศีลธรรม คุณธรรมและจริ ยธรรม


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

15

2) อบรมให้รู้จักหน้าทีและความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อผู ้ อืน 3) แนะนําในเรืองการแต่งกายให้เหมาะสม 4) แนะนําในเรืองการคบเพือน 5) แนะนําในเรืองการปรับปรุ งบุคลิกภาพ 6) แนะนําในเรืองการใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ 7) ให้ค ํ าแนะนําเกียวกับการรู ้จักฝึ กฝนตนเองให้เป็ นคนอดทนและเสี ยสละเพือส่ วนรวม 8) แนะนําเกียวกับการฝึ กฝนตนเองให้เป็ นคนรู ้จักคิดช่างสังเกตและมีเหตุผล 9) แนะนําและช่วยแก้ปัญหาด้ านความประพฤติ 10) แนะนําและช่วยแก้ปัญหาด้ านสุ ขภาพกายและสุขภาพจิต 11. แนะนําและช่วยแก้ปัญหาทางด้านการเงินโดยการติดต่อขอทุนการศึกษาหรื อการช่วยหางานให้ท ํ า ในระหว่างปิ ดภาค การให้กู้ยืมเงินกองทุนให้กู้ยืมเพือการศึกษา 12) การให้ค ํ าแนะนําในเรื องการเช่าหอพั กทั งภายนอกและภายในมหาวิทยาลัย 13) แนะนําในเรื องข้ อควรปฏิบ ั ติในการใช้บริ การต่างๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น ห้องสมุด โรงอาหาร ห้องพยาบาล ฯลฯ 14) แนะนําในเรื องการเข้ าร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั งในและนอกมหาวิทยาลัย 15) การทํ าหน้าทีเป็ นสื อกลางเพือสร้างความเข้ าใจอันดีระหว่างผู ้ บริ หารคณาจารย์ และนักศึกษา 16) การวางแผนงานร่ วมกับอาจารย์ แนะแนวอาจารย์ ผู ้ สอนและอาจารย์ ทีปรึ กษาด้วยกันในเรื องการ ให้นําแนะนาแก่นักศึกษา 17) การมีส่วนร่ วมในการกํ าหนดหัวข้ อเรืองทีจะประชุมนักศึกษาในชั วโมงโฮมรู ม 18) การมีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรให้แก่นักศึกษา 19) การมีส่วนร่ วมในการเชิญวิทยากรมาให้การอบรมและให้ความรู ้แก่นักศึกษาในบางครั ง 20) การติดต่อกับผู ้ ปกครองของนักศึกษา 21) การจัดทํ าโครงการพิเศษเฉพาะกลุ่มเพือช่วยเหลือนักศึกษาในกลุ่มตามความต้ องการและจํ าเป็ น 22) การให้ค ํ าแนะนําในด้ านการป้ องกั นยาเสพติดพฤติกรรมเสี ยงทางเพศสัมพั นธ์ 23) การให้ค ํ าแนะนําการปฏิบ ั ติทีเหมาะสมกับบาททางเพศของตนเอง 24) การให้ค ํ าแนะนําและสร้างความเข้ าใจพื นฐานในเรื องสิทธิมนุษยชน 3. 3 การให้ ความช่ วยเหลือด้ านการวางแผนและการเตรียมตัวเพืออาชีพแก่นักศึกษาประจากลุ ่มทีปรึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษาจะต้ องให้ความช่วยเหลือนักศึกษาตั งแต่เริ มต้ นการเข้ าศึกษาในมหาวิทยาลัยอย่าง ต่อเนืองจนถึงปี สุดท้ ายทีจะจบการศึกษา ทั งนี เพือให้นักศึกษาสามารถออกไปทางานสู่ มหาวิทยาลัยวิชาชีพ ตาม สายวิชาทีนักศึกษาได้สําเร็จหรื อตามความถนัดของนักศึกษา ดังนั นกิจกรรมในการช่วยเหลือนักศึกษาทั ง ทางด้านการศึกษา อาชีพส่ วนตั ว ทางสังคม อาจารย์ ทีปรึ กษาสามารถดํ าเนินการได้โดยจัดกิจกรรมโฮมรูม หรื อ


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

16

การประชุมกลุ่มการนาเอาระบบเทคโนโลยีทีทั นสมั ยเข้ าไปใช้ในการหางานท ํ า การจัดให้นักศึกษาภายในกลุ่มมี โอกาสหาข้ อมูลและนํามาแลกเปลียนกันภายในกลุ่ม การให้ค ํ าปรึ กษาเป็ นรายคนทีมีปัญหาเฉพาะเรือง การจัด กิจกรรมพิเศษเพือช่วยเหลือนักศึกษาเป็ นการเฉพาะภายในกลุ่ม


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

17

บทที 4 แนวปฏิบัติในการให้คําปรึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษาต้ องเข้ าใจและตระหนักอยู่เสมอว่าการดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิดเป็ นหน้าทีทีต้ อง ปฏิบ ั ติควบคู่ไปกับการสอนเพือให้นักศึกษาได้รู้จักตนเองกํากับดูแลตนเองในด้านวิชาการปฏิบ ั ติตนได้ เหมาะสมในทุกสถานที และอยู่ร่วมกับบุคคลอืนได้อย่างสันติ 4.1 บทบาทของอาจารย์ทีปรึกษาด้ านกิจกรรมโฮมรู ม มีประโยชน์ ดังนี 1) ช่วยเสริ มสร้างความสัมพั นธ์และความคุ ้ นเคยระหว่างอาจารย์ ทีปรึ กษากับนักศึกษาและระหว่าง นักศึกษากับนักศึกษาในกลุ่มเดียวกัน 2). ช่วยให้นักศึกษาได้ แนวทางปฏิบ ั ติท ั งด้านการเรี ยน การปรับตั วในสังคม เป็ นการพั ฒนาตั วนักศึกษา ได้อีกทางหนึ งทีนอกเหนือจากการเรี ยนการสอนในรายวิชาต่างๆ 3). ช่วยสนับสนุนงานบริ หารของมหาวิทยาลัยได้อีกทางหนึ งเพราะเป็ นช่องทางในการนําข้ อปฏิบ ั ติ กฎ ระเบียบของมหาวิทยาลัยมาสู่ ต ั วนักศึกษาโดยผ่านทางอาจารย์ทีปรึ กษา ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยก็ได้รับ ทราบความคิดเห็น ความต้ องการของนักศึกษาโดยผ่านอาจารย์ ทีปรึ กษาอีกเช่นเดียวกัน 4.2 หลักการจัดกิจกรรมโฮมรู ม 1) มีการกํ าหนดระยะเวลาทีแน่นอนทีนอกเหนือจากตารางเวลาเรี ยนประจํ าของนักศึกษา 2) ชั วโมงโฮมรู มควรให้ตรงกันทุกหมู่เรี ยนหรื อทุกกลุ่มทีปรึ กษา เพือนักศึกษาจะได้ไม่ติดขั ดกับการ นัดสอน นัดสอบของอาจารย์ ผู ้ สอนบางท่านหรือไม่ติดขั ดกั บการนัดทํ ากิจกรรมกับเพือนนักศึกษากลุ่มอืน นอกจากนั นการใช้เวลาให้ตรงกันทั งมหาวิทยาลัยยั งช่วยป้ องกันปัญหาเรืองการหลงลืมได้บ ้ าง 3) มีการประสานงานกันระหว่างอาจารย์ ทีปรึ กษากับอาจารย์ แนะแนวและอาจารย์ อืนๆ ทีเกียวข้ องกับ นักศึกษาเพือเตรี ยมหัวข้ อเตรี ยมเรื อง เตรี ยมกิจกรรมโฮมรู มให้เกิดประโยชน์ท ั งแก่ต ั วนักศึกษาและทุกฝ่ ายได้ โดยแท้ จริ ง 4) มีการเก็บข้ อมูลปัญหาและความต้ องการของนักศึกษาอย่างเป็ นระบบและดํ าเนินการสร้างความ เข้ าใจ หรื อช่วยแก้ปัญหาหรื อสนองความต้ องการของนักศึกษาให้จริ งจังและสมเหตุสมผล 5) มีการติดตามผล การประเมินผล การจัดประชุม หรื อจัดกิจกรรมโฮมรู ม โดยฝ่ ายทีรับผิดชอบงาน ระบบอาจารย์ ทีปรึ กษาของมหาวิทยาลัยแล้วประชุมสัมมนารายงานสรุ ปโดยฝ่ ายทีรับผิดชอบนั นๆ ร่ วมกับ อาจารย์ ทีปรึ กษาทั งมหาวิทยาลัย


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

18

4.3 วิธีการให้ คาปรึกษาและการดาเนินงานในเบืองต้น อาจารย์ ทปรึ ี กษาควรเตรี ยมงานเองก่อนให้ค ํ าปรึกษาและดํ าเนินการให้เกิดประโยชน์แก่นักศึกษาใน การร่ วมมือแก้ไขปัญหาของนักศึกษา ในทีนี ควรเตรี ยมการและดําเนินการ ดังนี 1. การสังเกตพฤติกรรม อาจารย์ ทีปรึ กษาใช้วิจารณญาณของตนเองในการสังเกตการพูดคุยกับ นักศึกษาและเพือนในกลุ่ม หากสามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองให้ดาเนินการทั นทีหากไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ ด้วยตนเองจาเป็ นต้ องส่ งต่อให้ก ับบุคลากรกลุ่มอืนทีเกียวข้ องร่ วมดาเนินการแก้ไขปัญหา อาจารย์ ทีปรึ กษา จะต้ องประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาออกเป็ นพฤติกรรมปกติก ับพฤติกรรมทีเป็ นปัญหาซึ งจํ าเป็ นต้ องได้รับ ความช่วยเหลือเป็ นกรณีพิเศษ ถ้าหากอาจารย์ ทีปรึ กษาพบปัญหาของนักศึกษาซึ งแสดงพฤติกรรมผิดปกติซึ ง สังเกตได้ ดังตั วอย่างพฤติกรรมต่อไปนี 1) มีการแสดงออกเกินพอดี อาจผุดลุกผุดนั งเดินไปมากามือ กระพริ บตาถี ๆ เหงือออกมาก เกินปกติ 2) มีการแสดงออกน้อยไป อาจเก็บตั ว เฉือยชา เงียบขรึ ม เบือหน่ายต่อโลกต่อชีวิต 3) ซึมเศร้าเกินไป อาจท้ อแท้เบือสิ งแวดล้อม หมดหวั ง ทอดอาลัย เห็นว่าตั วเองไม่มคี ่า 4) ป่ วยทางกายจากปัญหาจิต อาจท้ องเดินปวดท้ อง อาเจียน ผมร่ วง เบืออาหาร หรื อกินอาหาร มากเกินไป 5) มีอารมณ์ผ ั นแปรเกินปกติอาจร้องไห้โดยไม่สมเหตุผล ทุบอกชกหัว ก่อการทะเลาะวิวาท ฯลฯ ตั วอย่างพฤติกรรมดังกล่าวเหล่านีอาจต้ องการความช่วยเหลือเป็ นพิเศษ ถ้าอาจารย์ ทีปรึ กษาเห็นว่าเกิน ความสามารถ หรื อเมือพยายามช่วยเหลือแล้วแต่ย ั งไม่ดีขึ นก็ต ้ องขอความร่ วมมือจากฝ่ ายแนะแนวและฝ่ าย ทะเบียน ในรายของนักศึกษาทีมีปัญหาปกติธรรมดาทีมิใช่บุคลิกภาพ แปรปรวน ดังกล่าวมาแล้ว ซึ งอาจเป็ น ปัญหาการเรี ยนหรื อการปรับตั วธรรมดาก็อยู่ในวิสัยทีอาจารย์ ทีปรึ กษาจะให้คํ าปรึ กษาได้ ซึ งการทีอาจารย์ ที ปรึ กษาจะทราบว่านักศึกษาของตนเป็ นอย่างไรหรื อปัญหาพฤติกรรมอยู่ระดับใดนั นจําเป็ นต้ องมีการเก็บข้ อมูล พฤติกรรมของนักศึกษาในกลุ่มของตนเองด้วย 2. การเก็บข้อมูลส่ วนตัวของนักศึกษา สามารถเก็บได้จากการสังเกต สัมภาษณ์ สื บประวั ติ หรื อการใช้ แบบกรอกข้ อมูลส่ วนตั วโดยให้นักศึกษากรอกนับตั งแต่แรกเข้ ามาเรี ยนแล้วเก็บไว้ ในแฟ้ มของอาจารย์ ทีปรึ กษา และจัดทํ าสําเนาให้ก ับหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัยทีดูแลงานนักศึกษาแฟ้ มข้ อมูลของนักศึกษาจะได้ นําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. 4 การบันทึกการปฏิบัติงานอาจารย์ทีปรึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบายด้านการปฏิบ ั ติภารกิจของอาจารย์ ทีปรึ กษาว่าต้ องอบรมและติดตามความ เป็ นไปของนักศึกษาในขณะทีศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยโดยหวั งจะให้นักศึกษาปฏิบ ั ติตนได้โดยเหมาะสมทั งใน ด้านการศึกษา การปฏิบ ั ติงาน การแก้ปัญหาตนเองและอืน ๆ จึงให้อาจารย์ ทีปรึ กษาได้พบนักศึกษาเพือให้ข ้ อคิด ให้คาแนะนํา ให้ค ํ าปรึ กษา และให้ความช่วยเหลือแก่นักศึกษาในกลุ่มตามความเหมาะสม ซึ งพบว่าอาจารย์ ที


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

19

ปรึ กษาส่ วนใหญ่ได้ท ํ าหน้าทีดังกล่าวได้ครบถ้วนหรื อเกือบครบถ้วนทั งทีทํ าเป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่มแต่ม ั ก เป็ นการทํ างานในลั กษณะผ่านมาแล้วผ่านเลยไปไม่มีการเก็บข้ อมูลไม่มีรายละเอียดการทางานเป็ นลายลั กษณ์ อักษรนานเข้ าก็หลงลืมหรื อไม่มีการสานต่องานในบางเรื องบางรายทีควรสานต่อและให้ความช่วยเหลือต่อไป การปฏิบ ั ติภารกิจของอาจารย์ ทีปรึ กษานั นถ้าอาจารย์ ทีปรึ กษาได้มีการบั นทึกไว้ เป็นระบบนับตั งแต่นักศึกษาเข้ า ประจํากลุ่มทีปรึ กษาแล้วบั นทึกเรื องไปตามลาดับเมือมีการปฏิบ ั ติภารกิจดังกล่าวทุกวั นทุกสัปดาห์ทุกเดือน ทุกภาคเรี ยน และทุกปี จนนักศึกษาจบรุ่นนั นๆ ไป นอกจากช่วยเตือนความจํ าเกียวกับงานทีปฏิบ ั ติแล้วยั งช่วย ให้รู้จักนักศึกษาในกลุ่มเพิ มขึ นและเป็ นแนวทางในการช่วยเหลือและพั ฒนานักศึกษาต่อไปทั งช่วยให้ได้มีการ ติดตามประเมินผลการช่วยเหลือทีผ่านมา และสะดวกต่อการรายงานผลการปฏิบ ั ติงาน ในเวลาต่อไป 4.5 ขอบเขตของการให้ คําปรึกษา การมาขอคํ าปรึ กษาของนักศึกษาทีท่านรับผิดชอบนั นจะมีขอบข่ายปัญหาอยู่ 3 ด้านคือ 1) ปัญหาเกียวกับชีวิตส่ วนตั วและสังคม 2) ปัญหาเกียวกับการศึกษา 3) ปัญหาเกียวกับการงานและอาชีพ ทั ง3 ด้านจะมีระดับของปัญหา 3 ลักษณะด้ วยกันดังข้ อมูลสรุ ปในตาราง4.1 ตาราง 4.1 สรุ ประดับของปัญหาและสาเหตุของปัญหา โดยวิเคราะห์ จากผู ้มาขอคําปรึกษา ระดับปัญหา ตัวอย่ างปัญหา 1. ปัญหาทีเกิดขึ นในระดั บความคิด - ตั ดสิ นใจไม่ได้ ว่าจะเลือกทํ างาน ชิ นใดก่อน - ตั ดสิ นใจไม่ได้ ว่าจะเลือกเรี ยนวิชา ใด 2. ปัญหาทีเกิดขึ นในระดั บ - น้อยใจทีตนเองขาดการยกย่อง ความรู ้สึก จากกลุ่มเพือน - รู ้สึกว่าตนเองมีปมด้ อย - ขาดความมั นใจในการดํ ารงชีวิต และทํ างาน 3. ปัญหาทีเกิดขึ นในระดั บ - ขาดเรี ยนในชั นเรี ยน พฤติกรรม - ไม่กล้ าแสดงออก - พฤติกรรมเบียงเบน - ติดยาเสพติด

สาเหตุของปัญหาสื บเนืองจากตัวผู ้ เรียน - ขาดข้ อมูลทีเกียวกั บตนเอง เช่น ไม่รู้ว่า ตนเองมีความสามารถ ความถนัดและ สนใจด้ านใด - การไม่ประสานสอดคล้ องในด้ านการ ปฏิบ ั ติงานระหว่างตนเองกั บประสบการณ์ สิ งแวดล้ อม - ขาดความรักและความอบอุ่นภายใน ครอบครัว - ผู ้ มาขอคํ าปรึ กษาไม่สามารถแก้ ไขปัญหา ของตนเองได้ และซ่ อนเร้นพฤติกรรมใน การปฏิบ ั ติตน - ผู ้ มาขอคํ าปรึ กษาไม่สามารถแก้ ไขปัญหา ได้ ตามความต้ องการ


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

20

4.6 บทบาทหน้ าทีของนักศึกษาต่ออาจารย์ทีปรึกษา ปัญหาประการหนึ งทีระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาไม่ประสบความสําเร็จเท่าทีควร คือ ปัญหาจากตั ว นักศึกษาเอง นักศึกษาบางคนไม่กล้ าเข้ าพบอาจารย์ ทีปรึ กษาบางคนไม่ทราบบทบาทหน้าทีของอาจารย์ ที ปรึ กษาว่าจะช่วยอะไรเขาได้บ ้ างและมีนักศึกษาอีกส่ วนหนึ งทีละเลยไม่สนใจต่อการเข้ าขอความช่วยเหลือไม่ เข้ าประชุมกลุ่ม ไม่ให้ความร่ วมมือกับกิจกรรมใด ๆ ทีอาจารย์ ทีปรึ กษาจัดให้แก่นักศึกษาในกลุ่มของตนบาง คนไม่เชือฟังอาจารย์ ทีปรึ กษาซึ งมิได้เป็ นผู ้ สอนนักศึกษาในกลุ่มนั นๆ ดังนั นนักศึกษาควรปฏิบ ั ติต่ออาจารย์ ที ปรึ กษาดังนี 1) เข้ าประชุมกลุ่มและพบอาจารย์ ทีปรึ กษาตามเวลาและสถานทีทีมหาวิทยาลัยกํ าหนด และตามที อาจารย์ ทีปรึ กษานัดหมาย 2) เข้ าร่ วมกิจกรรมทุกกิจกรรมทีอาจารย์ ทีปรึ กษาจัดถ้ามีเหตุจําเป็ นเข้ าร่ วมไม่ได้ต ้ องแจ้งให้อาจารย์ ที ปรึ กษาทราบล่วงหน้าหรื อรี บเข้ าพบอาจารย์ ทีปรึ กษาภายหลั งจากทีมีโอกาสเข้ าพบได้ 3) แจ้งอาจารย์ ทีปรึ กษาทราบเมือมีปัญหาส่วนตั วเร่ งด่วนและต้ องการให้ช่วยแก้ปัญหา 4) กรอกข้ อมูลหรื อรายละเอียดส่ วนตั วทีเกียวข้ องเมืออาจารย์ ทีปรึ กษามอบหมายเพือผลประโยชน์ ของนักศึกษาเอง 5) ติดตามข่าวสารจากป้ ายประกาศของมหาวิทยาลัยทีติดไว้ อย่างสมํเาสมอ เมือสงสัยเรื องใดให้แจ้ง อาจารย์ ทีปรึ กษารับทราบ 6) รับฟังคาตั กเตือน คํ าแนะนา ของอาจารย์ ทีปรึ กษา 7) เห็นคุณค่าและความสําคั ญของกิจกรรมโฮมรู มและเข้ าร่ วมกิจกรรมโดยตลอด 8) ศึกษาคู่มือนักศึกษาเพือเป็ นแนวทางการปฏิบ ั ติตนได้ อย่างถูกต้ องระหว่างการศึกษาในมหาวิทยาลัย 4.7 ปัจจัยทีส่ งผลต่อความสําเร็จในการช่ วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์ทีปรึกษา 1) อาจารย์ ทีปรึ กษาต้ องมีเวลาให้ก ับนักศึกษารู ้จักนักศึกษาในกลุ่มอย่างทัวถึงทุกคน 2) อาจารย์ทีปรึ กษามีความชัดเจนต่อการให้คํ าปรึ กษาด้ านการเรี ยนและส่ วนตั วสามารถประสานงาน กับหน่วยงานทีเกียวข้ องภายในมหาวิทยาลัยเพือช่วยเหลือแก้ไขปัญหาให้ก ับนักศึกษาได้ 3) อาจารย์ ทีปรึ กษาต้ องมีท ั ศนคติทีดีมีความทั นสมั ย 4) อาจารย์ ทีปรึ กษาสามารถให้ค ํ าแนะนาด้านการอยู่ร่วมกับบุคคลอืนและวางแผนเพือการประกอบ อาชีพในอนาคต 5) อาจารย์ ทีปรึ กษาชี ให้เห็นถึงประโยชน์ทีนักศึกษาจะได้รับในการเข้ าร่ วมกิจกรรมโฮมรู ม


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

21

บทที 5 ข้ อปฏิบัติในการให้คําปรึกษาแก่ นักศึกษา ระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาจะประสบผลสําเร็จนอกจากทุกภาคส่วนในมหาวิทยาลัยจะต้ องให้ความ ร่ วมมือกันแล้วอาจารย์ ทีปรึ กษาควรรู ้จักองค์ประกอบของการให้คํ าปรึ กษา เทคนิคการให้คาปรึกษาและข้ อ ปฏิบ ั ติในการให้คํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาเพือให้การให้คํ าปรึกษาแก่นักศึกษาประสบผลสําเร็จและมีประสิ ทธิภาพ 5.1 องค์ประกอบของการให้ คาปรึกษา 1. พฤติกรรมการให้ ความสนใจ มีดังนี 1) การประสานสายตา 2) การแสดงถึงการมีส่วนร่ วมในการให้คาปรึกษา โดยใช้ล ักษณะท่าทางทีสบาย 3) การตอบสนองต่อการพูดของนักศึกษาและความตั งใจทีจะแก้ปัญหา 4) การสร้างจุดมุ่งหมายและการพั ฒนาข้ อผูกพั นของการให้คํ าปรึ กษา 5) การสะท้ อนความรู ้สึกและเข้ าใจความรู ้สึก 6) การใช้ความเงียบ 7) การแสดงออกทางสี หน้า ลักษณะท่าทางทีแสดงออกทางร่ างกาย น้าเสี ยง จังหวะของการ หายใจ 2. เทคนิคการสร้ างสัมพันธภาพ มีดังนี 1) สร้างบรรยากาศทีเป็ นมิตร อบอุ่น ยิ มแย้ มแจ่มใส 2) ให้ความสนใจแก่นักศึกษา 3) ให้ความเมตตากรุณาแก่นักศึกษา 4) แสดงความจริ งใจเมือนักศึกษามาขอรับคํ าปรึ กษา 5) ยอมรับในคุณค่าและความแตกต่างระหว่างบุคคล 6) พยายามทํ าความเข้ าใจทั งความรู ้สึกปัญหาและความต้ องการของนักศึกษา 7) ให้ความช่วยเหลือนักศึกษาอย่างเต็มใจ 3. เทคนิคการให้ คําแนะนําและการให้ คาปรึกษา มีดังนี 1) การให้ค ํ าแนะนํา (Advising) เป็ นวิธีทีอาจารย์ ทีปรึ กษาให้การช่วยเหลือแก่นักศึกษามาก ทีสุ ด สิ งทีอาจารย์ ทีปรึ กษาแนะนานักศึกษามั กจะเป็ นเรื องทีเกียวกับกฎ ระเบียบ หรื อวิธีปฏิบ ั ติทีใช้ก ันอยู่เป็ น ประจํา เช่น การลงทะเบียนเรี ยน วิธีการเพิ ม – ถอนวิชาเรี ยน หรื อปัญหาเล็กน้อยทีอาจารย์ ทีปรึ กษาซึ งเป็ นผู ้ ทีมี วุฒิภาวะและประสบการณ์มากกว่าสามารถช่วยได้


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

22

2) การให้ค ํ าปรึ กษา (Counseling) เป็ นกระบวนการช่วยเหลือให้นักศึกษาเข้ าใจตนเองสภาพแวดล้ อม และปัญหาทีเผชิญอยู่และสามารถใช้ ความเข้ าใจดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรื อตั ดสินใจเลือกเป้ าหมายในการดํ าเนิน ชีวิตทีเหมาะสมกับตั วเองดังนั นเทคนิคในการให้คํ าปรึ กษาทีสําคั ญทีอาจารย์ ทีปรึ กษาควรทราบมีดังนี  การฟัง (Listening) เป็ นการแสดงความสนใจโดยใช้สายตาสังเกตท่าทาง และพฤติกรรม เพือให้ทราบว่าอะไรเกิดขึ น เทคนิคนี ประกอบด้วยการประสานสายตาการวางท่าทางอย่าง สบาย การใช้มือประกอบการพูด ทีแสดงถึงความสนใจต่อนักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษาอาจ สะท้ อนข้ อความหรื อตีความให้กระจ่างชัดหรื อถามคํ าถามเพือให้ทราบถึงปัญหาและความ ต้ องการของนักศึกษา  การนํา (Leading) เป็ นการกระตุ ้ นให้นักศึกษาได้สํารวจและกล้ าแสดงออกถึงความรู ้สึกเจต คติ ค่านิยม หรื อการกระทาของตน  การเรี ยบเรี ยงคาพูดใหม่ (Paraphrasing) เป็ นการตรวจสอบว่าอาจารย์ ทีปรึ กษาเข้ าใจนักศึกษา ในสิ งทีเขาต้ องการ  การสะท้ อนกลับ(Reflecting) เป็ นการช่วยทํ าให้นักศึกษาเข้ าใจตนเองเกียวกับความรู ้สึก ประสบการณ์ หรื อปัญหาได้ อย่างถูกต้ องยิ งขึ น  การเผชิญหน้า (Confrontation) เป็ นกลวิธีหนึ งทีอาจารย์ ทีปรึกษาจะบอกถึงความรู ้สึกและ ความคิดเห็นของตนเองต่อนักศึกษาอย่างตรงไปตรงมาเพือช่วยให้นักศึกษาได้เข้ าใจถึง ความรู ้สึกนึกคิด ตลอดจนพฤติกรรมของตนเองให้ถูกต้ องตรงตามความเป็ นจริ งมากขึ น  การตั งคํ าถาม (Questioning) อาจารย์ ทีปรึ กษาควรใช้คาถามทีเหมาะสมและใช้คาถามเพือให้ ได้ค ํ าตอบทีแน่ชัด โดยมีจุดมุ่งหมายจะสร้างความเข้ าใจในแง่มุมต่างๆของนักศึกษา  การตีความ (Interpretation) เป็ นกระบวนการทีอาจารย์ ทปรึ ี กษาอธิบายความหมายของ เหตุการณ์ให้นักศึกษาได้เข้ าใจปัญหาของตนเองในด้านอืนทีอาจยั งไม่ได้มองมาก่อนและช่วย ให้นักศึกษาได้เข้ าใจถึงปัญหาของตนเองให้กว้ างขวางมากยิ งขึ น  การสรุ ป (Summarization) คือ การทีอาจารย์ ทีปรึ กษารวบรวมความคิดและความรู ้สึกทีสําคั ญ ๆ ตามทีนักศึกษาแสดงออกมา เป็ นการให้นักศึกษาได้สํารวจความคิดและความรู ้สึกของ ตนเองให้กว้ างขวางยิ งขึ น  การให้ข ้ อมูล(Information) เป็ นการให้ข ้ อมูลด้านการศึกษาอาชีพ และสภาพแวดล้ อมทาง สังคม สามารถตั ดสิ นใจหรือเห็นแนวทางในการแก้ปัญหา  การให้กาลังใจ (Encouragement) เป็ นการพูดเพือช่วยกระตุ ้ นให้นักศึกษากล้ าสู ้ปัญหาเกิด ความมั นใจและพร้อมทีจะแก้ไขปัญหา  การเสนอแนะ (Suggestion) เป็ นการเสนอความคิดเห็นทีเหมาะสม เพือนาไปสู่การแก้ไข ปัญหา โดยเปิ ดโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้เหตุผลในการตั ดสินใจได้ด้วยตนเอง


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

23

5.2 ข้อปฏิบัติในการให้ คาปรึกษาแก่นักศึกษา เพือให้การให้ค ํ าปรึ กษาแก่นักศึกษาเป็ นไปได้ด้วยดีอาจารย์ ทีปรึ กษาควรปฏิบ ั ติดังนี 1) สร้างสัมพั นธภาพ เพือสร้างความศรัทธา เชือถือ ไว้ วางใจ สบายใจในการมาพูดคุยด้วยบรรยากาศที เป็ นกันเองจะทํ าให้นักศึกษาสบายใจเป็ นตั วของตั วเองซึ งมีผลต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา 2) ศึกษาทาความเข้ าใจในตั วนักศึกษาทั งด้านบุคลิกภาพลักษณะนิสัย และปัญหาทีประสบว่าเป็ น อย่างไร ปัญหาหนักเบาแค่ไหน ซึ งนักศึกษาบางคนต้ องใช้วิธีค่อยเป็ นค่อยไปบางคนคิดเร็ว ตั ดสิ นใจเร็ว บาง คนจิตใจเข้ มแข็งบางคนเปราะ บางคนต้ องค่อย ๆ หว่านล้อม ปัญหาบางปัญหานักศึกษาแก้ได้ด้วยล ําพั งตั วเอง บางปัญหาต้ องอาศั ยการช่วยเหลือจากผู ้ อืนซึ งต้ องพิจารณาเลือกใช้วิธีการให้เหมาะสมกับตั วนักศึกษาและ สภาพปัญหา 3) ต้ องให้คํ าปรึ กษาได้ทุกด้ านไม่ควรมุ่งให้ค ํ าปรึ กษาด้านการเรี ยนเพียงอย่างเดียวและต้ องถือว่าปเ ็ น ภาระหน้าทีโดยตรงของอาจารย์ ทีปรึ กษามิใช่จะผลักภาระรับผิดชอบนี ให้ฝ่ายแนะแนวกองพั ฒนานักศึกษา หรื อสํานักส่ งเสริ มวิชาการและงานทะเบียนเท่านั นแต่ควรมีการประสานงานกับฝ่ ายทีกล่าวมาด้วยสาหรับ ปัญหาบางกรณีของอาจารย์ ทีปรึ กษา 4) ควรให้คาปรึ กษาในทั นทีทีนักศึกษามาพบ ไม่ควรประวิงเวลาหรือขอนัดไปเป็ นวั นอืนนักศึกษาจะ เกิดความรู ้สึกอบอุ่นและเห็นว่าอาจารย์ ให้ความสําคั ญกับตั วเขา 5) ขณะพูดคุยให้คาปรึ กษา ควรใจหนักแน่น ใจกว้ างทีจะให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นโดยเสรี แต่ ขณะเดียวกั นก็ต ้ องพยายามให้เขาไม่ละเมิดสิ ทธิของคนอืนเพือฝึ กทักษะทางสังคมให้เขาโดยใช้ค ํ าพูดที นักศึกษารู ้สึกว่าอาจารย์ ให้เกียรติและยอมรับตั วเขาด้วย 6) มีการบั นทึกเพือเตือนความทรงจําภายหลังยุติการพูดคุยให้คํ าปรึ กษาแล้ว เพือเป็ นข้ อมูลในการ ช่วยเหลือครั งต่อๆ ไป 7) มีการติดตามผลพฤติกรรมของนักศึกษาภายหลังให้คาปรึกษาไปด้วย เพือส่ งเสริ มพั ฒนาหรื อให้ กําลังใจขจัดอุปสรรคทีอาจเกิดจากการพยายามลงมือแก้ปัญหา 8) เมือให้ค ํ าปรึกษาแก่นักศึกษาไปแล้ว หรื อขณะดําเนินการให้ค ํ าปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึกษาต้ องรักษา จรรยาบรรณของการให้ค ํ าปรึ กษาโดยเคร่ งครัด 5.3 ผลผลิต คือ ผลทีเกิดขึ นจากการใช้ระบบการให้คาปรึ กษา ได้แก่ มีการติดต่อสือสารระหว่างอาจารย์ และ นักศึกษาเพือให้ค ํ าปรึ กษาแนะนําด้ านวิชาการ ด้านกิจกรรม ด้านการบริ การและสวั สดิการนักศึกษามีความ เข้ าใจกฎ ระเบียบ ข้ อบั งคั บของมหาวิทยาลัยนักศึกษามีความพึงพอใจต่อระบบการให้ค ํ าปรึ กษา นักศึกษามี ความสามารถพัฒนาการดํ าเนินชีวิตอยู่ในมหาวิทยาลัยและแก้ปัญหาได้ อย่างเหมาะสมสําเร็จการศึกษา 5.4 การป้ อนกลับ คือ การนําผลการประเมินด้ านผลผลิตไปใช้ประกอบการพิจารณาเพือปรับปรุ งปัจจัยนาเข้ า และพั ฒนาระบบงานอาจารย์ ทีปรึ กษาเพือให้ได้ผลผลิตทีดีขึ น


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

24

ก. ปฏิทินการให้ คําปรึกษานักศึกษา ปฏิทินการให้ค ํ าปรึ กษานักศึกษาถือเป็ นปฏิทินกิจกรรมทีใช้เป็ นแนวทางในการให้คาปรึ กษาสําหรับ อาจารย์ ทีปรึ กษาในชั วโมงโฮมรู มเพือช่วยเหลือแนะนานักศึกษาในเรืองการศึกษาอาชีพ ส่ วนตั ว สังคม และ อบรมด้านระเบียบวินัยคุณธรรม จริ ยธรรม ตลอดจนการแนะนาการใช้บริ การและกิจกรรมต่าง ๆ เพือให้ นักศึกษาได้รับประโยชน์จากมหาวิทยาลัยมากทีสุดและเพือให้นักศึกษาประสบความสําเร็จในการศึกษา ดังนั น อาจารย์ ทีปรึ กษาอาจปรับปรุ งและปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม

ภาคเรียนที 1 สั ปดาห์ 1

2

จุดประสงค์ กิจกรรม 1. เพือทํ าความรู ้จักและสร้างสัมพั นธ์ที 1. การสร้างความคุ ้ นเคยในกลุ่ม ดีต่อกั น 2. เพือจัดทํ าฐานข้ อมูลนักศึกษา 2. การทํ าทะเบียนนักศึกษา (ประวั ติ ส่ วนตั ว ประวั ติการศึกษา และอืนๆ) 3. เพือให้มีความรู ้ความเข้ าใจใน หลั กสู ตรและแผนการเรี ยน สาขาวิชา 3. แนะนํ าหลั กสู ตรและแผนการเรี ยน

ผู ้ รับผิดชอบ อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/

4. เพือให้รู้ถึงแหล่งทุน เข้ าใจถึง ระเบียบและข้ อปฏิบ ั ติต่าง ๆ ในการรับ ทุน 1. เพือให้นักศึกษารู ้ถึงจุดมุ่งหมาย แนวทางและข้ อปฏิบ ั ติทีเหมาะสมใน การรับน้องใหม่

กองพั ฒนานักศึกษา/ อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

4. ทุนการศึกษาของนักศึกษา 5. แนะนํ าการบั นทึกคู่มือนักศึกษา และการวางแผน 1. การรับน้อง

2. เพือให้รู-้ เข้ าใจเกียวกั บแนวปฏิบ ั ติ 2. ระเบียบและแนวปฏิบ ั ติของงาน ทางด้ านวิชาการและสามารถปฏิบ ั ติได้ ด้ านวิชาการ (การเพิ มถอนวิชาเรี ยน อย่างถูกต้ อง ผลการเรี ยนหรื อการแก้ E, การยืนคํ า ร้องขอสอบ)

สานักส่ งเสริ มวิชาการฯ

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

สั ปดาห์

3 4

5

6 7

8

9 10

จุดประสงค์ 3. เพือให้ได้ ตระหนักเกียวกั บการ ประพฤติและการแต่งกายทีเหมาะสม ในสถาบั น

กิจกรรม 3. บทบาทหน้าทีของนักศึกษาใน มหาวิทยาลั ย+การแต่งกาย

ผู ้ รับผิดชอบ อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

4. เพือให้นักศึกษาตรวจสอบการ ลงทะเบียนเรี ยนของตนเองได้ อย่าง ถูกต้ อง 1.เพือตรวจสอบการเรี ยนและผลการ เรี ยนได้ อย่างถูกต้ อง

4. การตรวจสอบใบยืนยั นการ ลงทะเบียนกั บแผนการเรี ยน

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ สานักส่ งเสริ มวิชาการฯ

1.การตรวจสอบรายวิชาทีเรี ยนไป แล้ ว

อาจารย์ ทีปรึ กษา

1. เพือให้นักศึกษาได้ ทราบเงือนไข ประโยชน์ของการประกั น 2. เพือให้นักศึกษาป้ องกั นตั วเองได้ อย่างปลอดภั ย 1.เพือให้นักศึกษาสามารถวางแผนการ เรี ยนจนสํ าเร็ จการศึกษาและรู ้ระเบียบ การวั ดผล 1.เพือให้นักศึกษาได้ เรี ยนรู ้และนํ าไป ปฏิบ ั ติตั วได้ อย่างถูกต้ อง

1. การเกิดอุบ ั ติเหตุ

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา

1. เพือให้มีความรู ้ความเข้ าใจเกียวกั บ โรคเอดส์และยาเสพติด 2. เพือให้ตระหนักในการดูแลรักษา สุ ขภาพตั วเอง 3. เพือให้นักศึกษาเตรี ยมความพร้อม ก่อนสอบพร้อมทั งวิเคราะห์และหา แนวทางในการแก้ ปัญหาจากการเรี ยน การสอน 1.เพือให้ทราบนโยบายของ มหาวิทยาลั ยพร้อมทั งสร้างความเข้ าใจ และแลกเปลียนความคิดเห็นซึ งกั นและ กั น 1.เพือปลูกฝังและสร้างคุณลั กษณะ ทางด้ านจริ ยธรรมให้แก่นักศึกษา

1. เอดส์และยาเสพติด

1. ให้มีความรู ้ความเข้ าใจในธรรมชาติ ของชีวิต

2. ภั ยทีอาจจะเกิดขึ นได้

1.การแนะนํ าการวางแผนการเรี ยนจน อาจารย์ ทีปรึ กษา สําเร็ จและระเบียบการวั ดผล/ ประเมินผล 1.มารยาทสังคม อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

2. การดูและรักษาสุ ขภาพ

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/

3. การเตรี ยมตั วสอบกลางภาค ปัญหา กองพั ฒนานักศึกษา การเรี ยนการสอน

1.พบผู ้ บริ หาร

คณบดี/รองคณบดี

1.ความซื อสัตย์ ความรับผิดชอบ ความกตั ญ ู ฯลฯ

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

1.ความรักในวั ยเรี ยน

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

25


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

สั ปดาห์

11

จุดประสงค์ 2. รู ้วิธีปฏิบ ั ติตนเมือมีความรัก 3. เพือให้มีความรู ้ความเข้ าใจทาง เพศศึกษาและพฤติกรรมเสี ยง 1.เพือให้นักศึกษารู ้จักเสี ยสละเพือ ส่ วนรวม

กิจกรรม

ผู ้ รับผิดชอบ

1.การบํ าเพ็ญประโยชน์/กิจกรรม 5 ส

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ คณะกรรมการ 5 ส

12

1.เพือให้นักศึกษามีการพั ฒนา บุคลิกภาพให้เป็ นทีต้ องการของสังคม

1.บุคลิกภาพทีดี

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ ฝ่ ายกิจการนักศึกษา

13

1.รู ้จักการวางแผนและเตรี ยมตั วสอบ ปลายภาค

1.การเตรี ยมตั วสอบปลายภาค

อาจารย์ ทีปรึ กษา

ภาคเรียนที 2 สั ปดาห์ 1

2

3 4

5 6

จุดประสงค์ 1.ตรวจสอบการเรี ยนและผลการเรี ยน ได้ อย่างถูกต้ อง

กิจกรรม 1.การแก้ E การเรี ยนเพิ ม ถอน รายวิชาเรี ยน การตรวจสอบแผนการ เรี ยน การส่ งเกรดของผู ้ สอน 1. เพือให้นักศึกษาเตรี ยมความพร้อมทั ง 1. วิธีเรี ยนและการแก้ ปัญหาการเรี ยน วิเคราะห์และหาแนวทางในการ แก้ ปัญหาจากการเรี ยน 2. มารยาทในชั นเรี ยน/การใช้ 2. เพือให้นักศึกษาได้ เรี ยนรู ้และนํ าไป ห้องสมุด/ในห้องประชุม ปฏิบ ั ติตั วในสังคมได้ อย่างถูกต้ อง 1.เพือให้นักศึกษามีการพั ฒนา 1.การแต่งกายและบุคลิกภาพ บุคลิกภาพให้เป็ นทีต้ องการของสังคม 1.เพือให้ทราบนโยบายของ 1.พบผู ้ บริหาร มหาวิทยาลั ยพร้อมทั งสร้างความเข้ าใจ และแลกเปลียนความคิดเห็นซึ งกั นและ กั น 1.เพือให้ตระหนักในการดูแลรักษา 1.การส่ งเสริ มสุ ขภาพระหว่างเรี ยน สุ ขภาพตั วเอง 1.วิเคราะห์ข ้ อมูลในอดีตเพือนํ ามา 1.กิจกรรมวั นนี ดีกว่าเมือวาน ปรับปรุ งวางแผนการดาเนินชีวิตต่อไป (ทบทวนอดีตเพือแก้ ไข) (การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ) 2.การศึกษาต่อ 3. กรมการจัดหารงาน

ผู ้ รับผิดชอบ อาจารย์ ทีปรึ กษา/ สํานักส่ งเสริ มวิชาการ และงานทะเบียน อาจารย์ ทีปรึ กษา

อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา รองคณบดี

อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/กอง พั ฒนานักศึกษา

26


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

สั ปดาห์ 7 8 9

10

11

12

13

จุดประสงค์ 1.เพือให้นักศึกษารู ้จักเสี ยสละเพือ ส่ วนรวม 1.ดํ ารงตนให้เหมาะสมตามอั ตภาพของ ตนเอง 1.เพือให้ฝึกนักศึกษาได้ รู้จักคิด วิเคราะห์และแก้ ปัญหาเป็ น พร้อมทั ง อภิปรายการแก้ ปัญหาร่ วมกั น 1.เพือให้นักศึกษาได้ มีความรู ้ความ เข้ าใจบทบาททางด้ านประเพณี วั ฒนธรรมต่าง ๆ ในช่วงเทศกาล 1.เพือให้มีความรู ้ ความเข้ าใจพร้อมทั ง ปฏิบ ั ติตนตามแนวทางประชาธิปไตย ได้ อย่างถูกต้ อง 1. ให้มีความรู ้ความเข้ าใจในธรรมชาติ ของชีวิต 2. รู ้วิธีปฏิบ ั ติตนเมือมีความรักเพือให้มี ความรู ้ ความเข้ าใจทางเพศ ศึกษา พฤติกรรมเสี ยง 1.เพือให้นักศึกษารู ้วิธีปฏิบ ั ติตั วเองเมือ มีปัญหาด้ านการเรี ยนพร้อมทั งแนว ทางการแก้ ไข

กิจกรรม 1.บํ าเพ็ญประโยชน์เพือส่ วนรวม 1.วิถีการดํ าเนินชีวิต

ผู ้ รับผิดชอบ อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา

1.กิจกรรมการวิเคราะห์และแก้ ปัญหา อาจารย์ ทีปรึ กษา ในสถานการณ์ทีกํ าหนดให้ 1.แนวทางปฏิบ ั ติในเทศกาลปี ใหม่ และเทศกาลต่างๆ

อาจารย์ ทีปรึ กษา

1.ประชาธิปไตยในสถาบั น

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

1.ความรักในวั ยเรี ยน

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

1.การเตรี ยมตั วสอบปลายภาคพลาด แล้ วทํ าอย่างไร

อาจารย์ ทีปรึ กษา

27


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

สําหรับปฏิทินการให้คําปรึกษานักศึกษาด้ านอาชีพ มีแนวทางปฏิบัติ ดังนี ชั นปี

ภาคเรียนที 1

จุดประสงค์ เพือให้นักศึกษารู ้จักตนเอง ด้ านอาชีพ

2

เพือให้นักศึกษารู ้จักข้ อมูล เกียวกั บอาชีพทีตนสนใจ เพือให้นักศึกษาวางแผนเข้ า สู่ อาชีพได้ เพือให้นักศึกษารู ้จักแหล่ง ในการหางานทาและรู ้วิธี เลือกสถานทีทางาน เพือให้นักศึกษามีความ พร้อมในการเตรี ยมตั วก่อน สมัครงาน เพือให้นักศึกษาสามารถ เขียนประวั ติย่อได้ เพือให้นักศึกษาสามารถ เขียนใบสมั ครงานได้ เพือให้นักศึกษามีความ พร้อมในการสัมภาษณ์งาน

1

1 2

2

1 3 2 1 4

2

กิจกรรม การสํารวจตนเองด้ านอาชีพ เช่น ค่านิยมทางอาชีพ ความสนใจใน อาชีพ การสํารวจงานอาชีพ การวางแผนทางอาชีพ การหางานและการเลือกทีทางาน

ผู ้ รับผิดชอบ อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

การเตรี ยมตั วก่อนสมั ครงาน

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

การเขียนประวั ติย่อ(RESUME)

อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา อาจารย์ ทีปรึ กษา/ กองพั ฒนานักศึกษา

การเขียนใบสมั ครงาน การสัมภาษณ์งาน

28


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

29

ข. ตารางบันทึกการให้ คําปรึกษา ครั งที 1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

ว/ด/ป

เรือง และรายละเอียด

ชือนศ./ชั นปี

ข้ อคิดเห็น


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

ครั งที 10.

11.

12.

13.

14.

15.

16.

17.

18.

19. 20.

ว/ด/ป

เรือง และรายละเอียด

ชือนศ./ชั นปี

30

ข้ อคิดเห็น


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

31

ค. แบบฟอร์ มต่างๆ IT -RMU ๐๑

ประวัตินักศึกษา สาขาวิชา................................................. คณะ.................................................... คําชีแจง ให้นักศึกษาเติมข้อความในช่องว่างตามความเป็ นจริ งด้ วยตัวบรรจง

รู ปถ่าย ขนาด “1”

และหรื อเขียนเครื องหมาย √ ลงใน ( ) ข้ อมูลทั งหมดจะเก็บ เป็ นความลั บและจะนํามาใช้เพือประโยชน์สําหรับนักศึกษาเท่านั น ข้ อมูลส่ วนตัว 1. ชือ – สกุล.....................................................ชือเล่น.........................รหัสประจํ าตัว..................................... เกิดวั นที............เดือน................................. พ.ศ. .....................อายุ..............ปี ศาสนา................................. 2. กํ าลั งศึกษา ระดับ ( ) ปริ ญญาตรี 4 ปี ( ) ปริ ญญาตรี เทียบโอน 3. ปัจจุบันนักศึกษาอาศั ยอยู่ก ับ(นาย/นาง/น.ส.).............................................................................................. ทีอยู่ของนักศึกษา.......................................................................................................................................... ............................................................................ โทรศั พท์.......................................................................... E-mail address............................................................................................................................................... เกียวข้องกับนักศึกษา..................................................................................................................................... 4. เพือนสนิท 1.ชือ ...............................................................ระดับชัน.......................สาขาวิชา....................... ทีอยู.่ .............................................................โทรศั พท์............................................................ 2.ชือ.................................................................ระดับชั น......................สาขาวิชา....................... ทีอยู.่ .............................................................โทรศั พท์............................................................ 5.อาจารย์ ทีสนิท 1. ชือ............................................................2. ชือ................................................................. 6.สถานศึกษาเดิม.......................................................อํ าเภอ...................................จังหวั ด............................... 7.สุขภาพ 1. หมู่เลือด................... 2. โรคประจํ าตั ว คือ........................................................................................... - โรค....................................เคยได้รับการรักษาจาก..................................... - โรค....................................เคยได้รับการรักษาจาก..................................... 3. เคยแพ้ ยา..............................................................................................................................................


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

32

4. อืนๆ..................................................................................................................................................... ข้ อมูลครอบครัว 1. บิดาชือ-สกุล..................................................................อายุ..............ปี การศึกษา........................................ ทีอยู.่ ....................................................................................................โทรศั พท์........................................... อาชีพ...................................................................................รายได้ประมาณเดือนละ.............................บาท สถานทีทํ างาน......................................................................................โทรศั พท์.......................................... 2. มารดาชือ-สกุล...............................................................อายุ..............ปี การศึกษา........................................ ทีอยู.่ ....................................................................................................โทรศั พท์........................................... อาชีพ...................................................................................รายได้ประมาณเดือนละ.............................บาท สถานทีทํ างาน......................................................................................โทรศั พท์.......................................... 3. สถานภาพครอบครัว บิดา/มารดา ( ) ถึงแก่กรรม ( ) อยู่ด ้วยกัน ( ) แยกกันอยู่ ( ) หย่าร้าง ( ) อืน ๆ (ระบุ)....................................................... 4. นักศึกษาอยู่ในความปกครอง (นาย / นาง / น.ส.)..................................................................................อาชีพ.............................................. รายได้/เดือน..............................บาท ทีอยู.่ .................................................................................................... ..............................................................................................รหัสไปรษณี ย.์ ................................................. โทรศั พท์.............................................................. 5. ผู้ สนับสนุนการศึกษา ( ) บิดา มารดา ( ) ผู้ ปกครอง ( ) อืน ๆ ................................................................... 6. ประเภทของทุนทีท่านได้รับ ( ) ทุนให้เปล่าประเภทต่อเนืองจาก ........................................................................................................ ( ) ทุน กยส.

ลงชือ..................................................... ( ) ................./................/.................


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

33

IT -RMU ๐๒ บันทึกการให้ คําปรึกษา ครั งที................. วั นที.............เดือน..................................พ.ศ. ................. ชือ – สกุล (นาย/นาง/นางสาว)..............................................................เพศ....................อายุ.........................ปี รหัสประจํ าตัว.............................................สาขาวิชา.......................................ภาควิชา.................................... อาจารย์ ทีปรึ กษา........................................................................ วิธีการติดต่อกับอาจารย์ ทีปรึ กษา ปัญหา ( ) มาพบด้ วยตนเอง ( ) ปัญหาการเรี ยน ( ) โทรศั พท์ ( ) ปัญหาส่วนตั ว ( ) ผ่านระบบสารสนเทศ มทรส. ( ) อืน ๆ ระบุ.............................. ( ) อืน ๆ ระบุ.............................. ปัญหา การให้การปรึ กษา/การช่วยเหลือ ผลทีได้รับ

เริ มเวลา...................................น. สิ นสุดเวลา...................................น. รวม.............................นาที ลงชือ......................................................... (.......................................................) อาจารย์ ทีปรึ กษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

34

IT -RMU ๐๓

บันทึกข้ อความ ส่วนราชการ ..................................................................................................................................................... ที.......................................................................................วั นที...............เดือน................................................. เรื อง รายงานการปฏิบัติงานในหน้าทีอาจารย์ ทีปรึ กษา เรี ยน คณบดี ผ่านหัวหน้าสาขาวิชา ตามทีคณะมอบหมายให้ข ้าพเจ้าเป็ นอาจารย์ ทีปรึ กษาระดับชั นปี ที................................................... ห้อง/กลุ่ม.....................หมู.่ ........................................สาขาวิชา......................................................................... จํ านวน...................คน ขอรายงานผลการปฏิบัติงานประจํ าภาคเรี ยนที......................ปี การศึกษา.................... ดังนี 1. การเข้าพบนักศึกษา จํ านวน.......................ครั ง 2. ผลการเรี ยนของนักศึกษา ( ) สอบผ่านทุกรายวิชา จํ านวน......คน ( ) สอบไม่ผ่านบางรายวิชา จํ านวน......คน ( ) พ้ นสภาพ จํ านวน….....คน ( ) ลาพั กการเรี ยน จํ านวน........คน ( ) ลาออก จํ านวน.........คน ( ) อืน ๆ (ระบุ)................จํ านวน…......คน 3. การให้หรื อส่งนักศึกษาเข้ารับความช่วยเหลือ / แนะนํา เกียวกับ ( ) ครอบครัว จํ านวน.........คน ( ) เศรษฐกิจ จํ านวน….....คน ( ) สังคม จํ านวน..........คน ( ) การเรี ยน จํ านวน….....คน ( ) สุขภาพ จํ านวน.........คน ( ) อืน ๆ (ระบุ)................จํ านวน..........คน 4. เรื องอืน ๆ (ระบุ)...................................................................................................................... จึงเรี ยนมาเพือโปรทราบและพิจารณา ลงชือ......................................................... (........................................................) อาจารย์ ทีปรึ กษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

35

IT -RMU ๐๔

บันทึกข้ อความ ส่วนราชการ ..................................................................................................................................................... ที.......................................................................................วั นที...............เดือน................................................. เรื อง ขอความช่วยเหลือ/แนะนํา นักศึกษา เรี ยน .................................................................................................. เนืองด้วย นาย/นาง/นางสาว.................................................................................................นักศึกษา รหัสประจํ าตัว...................................................สาขาวิชา.................................................................................. เป็ นนักศึกษาทีอยู่ในความดูแลของข้าพเจ้าควรได้ รับความช่วยเหลือ แนะนําเพิ มเติมจากท่าน ในเรื อง.................................................................................................ซึ งมีรายละเอียดในสิ งทีส่งมาด้วย ดังนี 1. ............................................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................................................. จึงเรี ยนมาเพือโปรทราบและพิจารณา ลงชือ......................................................... (........................................................) อาจารย์ ทีปรึ กษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

36

IT -RMU ๐๕

ที ศธ.................../....................

มหาวิทยาลั ยราชภัฏมหาสารคาม คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศ วั นที...............เดือน....................................พ.ศ..............

เรื อง ขอเชิญพบเพือปรึ กษาหารื อ เรี ยน ผู้ ปกครอง นาย/นาง/นางสาว................................................................ คณะมีความประสงค์จะขอปรึ กษาหารื อกับท่าน ในเรื อง ( ) ความประพฤติ ( ) อืน ๆ ของ นักศึกษา ซึ งอยู่ในความปกครองของท่าน จึงขอให้ท่านสละเวลาไปพบอาจารย์.............................................. ณ.............................................................................ในวั นที............เดือน...................................พ.ศ................ เวลา..................................................น. เพือสะดวกในการติดต่อโปรดนําเอกสารฉบับนี มาด้วย จึงเรี ยนมาเพือทราบ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ขอแสดงความนับถือ

ลงชือ........................................................ (.......................................................) คณบดี

สํานักงานคณบดี โทร ๐๔๓-๗๒๑๖๑๖ ต่อ ๖๓๐๒ , ๖๓๐๘ โทรสาร ๐๔๓-๗๒๑๖๑๖


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

37

IT -RMU ๐๖

บันทึกข้ อความ ส่วนราชการ ..................................................................................................................................................... ที.......................................................................................วั นที...............เดือน................................................. เรื อง การสํารวจปัญหานักศึกษา เรี ยน ประธานคณะกรรมการการให้ค ํ าปรึ กษา......................................................................................... ตามทีคณะ.................................................................มอบหมายให้ข ้าพเจ้าเป็ นอาจารย์ ทีปรึ กษาของ นักศึกษาระดับชั นปี.................สาขาวิชา..................................................ห้อง / กลุ่ม.......................หมู.่ .......... ข้าพเจ้าได้ท ํ าการสํารวจปัญหาของนักศึกษาดังกล่าวแล้ ว และได้แก้ไขปรับปรุ งในด้านต่าง ๆ ดังนี ( ) การเรี ยน

จํ านวน.............................คน

( ) ความประพฤติ

จํ านวน.............................คน

( ) ครอบครัว

จํ านวน.............................คน

( ) เศรษฐกิจ

จํ านวน.............................คน

( ) สังคม

จํ านวน.............................คน

( ) สุขภาพ

จํ านวน.............................คน

( ) อืน ๆ

จํ านวน.............................คน

จึงเรี ยนมาเพือโปรทราบและพิจารณา

ลงชือ......................................................... (........................................................) อาจารย์ ทีปรึ กษา


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

38

IT -RMU ๐๗

บันทึกการพบนักศึกษา ระดับชั นปี...................กลุ่ม...................สาขาวิชา..............................................ภาควิชา.................................. ประจํ าเดือน..................................................................ปี การศึกษา................................................................... กิจกรรมการพบนักศึกษา ครั งที1 เรื อง ............................................................... ครั งที 2 เรื อง ............................................................... ครั งที3 เรื อง ............................................................... ครั งที 4 เรื อง ............................................................... รายการ ครั งที1 ครั งที2 ครั งที3 ครั งที4 หมายเหตุ วั นที................ วั นที................ วั นที................ วั นที................ ชือ-สกุล ต ส ว ต ส ว ต ส ว ต ส ว 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

รายการ ชือ-สกุล

ครั งที1 วั นที................ ต ส ว

บันทึกการพบนักศึกษา ครั งที2 ครั งที3 วั นที................ วั นที................ ต ส ว ต ส ว

ครั งที4 วั นที................ ต ส ว

39

หมายเหตุ

21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35

ลงชือ......................................................... (........................................................) อาจารย์ ทีปรึ กษา หมายเหตุ ต (การแต่งกายถูกต้ องตามระเบียบ) ส (ความสะอาดด้ านร่างกายและเครื องแต่งกาย) ว (การตรงต่อเวลาในการเข้ าร่ วมกิจกรรมพบอาจารย์ ทีปรึ กษา)


ค ู ่มืออาจารย์ ทีปรึกษา2554 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.รภ.มหาสารคาม

40


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.