Chapter 6 ISO_TC211

Page 1

บทที 6 มาตรฐานสากลเชิงพืนที (ISO/TC 211)


จุดประสงค์ 1. อธิบายความหมายมาตรฐานเชิงพืนทีได้ 2. อธิบายความสํ าคัญของมาตรฐาน ISO/TC 211ได้ 3. ยกตัวอย่ างกลุ่มมาตรฐาน ISO/TC 211 ได้

http://www.dpc.jipdec.or.jp/gxml/contents-e/images/overview.gif


เนือหา 1. 2. 3. 4. 5.

บทนํา ความหมาย ความสํ าคัญของ ISO/TC 211 ประเทศไทยกับ ISO/TC 211 สรุป


1.บทนํา ราวปี 1950s จากหลักฐานต่ างๆชีให้ เห็นว่ าภูมิศาสตร์ ได้ ถูก นําไปสู่ คอมพิวเตอร์ และการทําโมเดลเป็ นจํานวนมาก ในช่ วงทศวรรษ 1960s มีความโดดเด่ นมากเมือมีการ ประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ในงานเขียนแผนที (cartography) ในช่ วงปี 1970s และได้ มีการพัฒนาการใช้ โปรแกรม CAD (automated/computer-assisted cartography) ซึงสอดคล้องกับการ ประยุกต์ ทางคณิตศาสตร์ ด้านโทโปโลยี (topology) มาสู่ งานทําแผนที ในราวปี 1975 นีเองแล้ วได้ นําไปสู่ การเติบโตการใช้ ระบบ GIS ในเวลาต่ อมา


ปี 1985-1995 มีการขยายตัวการใช้ เทคโนโลยี GIS อย่ างกว้ างขวาง ช่ วงปี 1995-2000 แล้ ว อุตสาหกรรมฐานข้ อมูลทางสเปเทียล และ การขับเคลือนสารสนเทศภูมิศาสตร์ ไปสู่ โลกอินเตอร์ เน็ตเป็ นไปอย่ างรวดเร็ว ยุคการเป็ นมาตรฐานเชิงพืนทีสมัยใหม่ ได้ ขยายตัวในช่ วงสิ บปี มานี นับตังแต่ ต้นปี 1980s ถึงปี 1990s ทําให้ ได้ มีความพยายามการทําแผนทีและ ภูมิศาสตร์ ให้ เป็ นมาตรฐานสากลแต่ กเ็ ป็ นไปอย่ างเชืองช้ า ส่ วนองค์ กรในระดับชาติแล้ วก็ยงั วุ่นวายอยู่กบั มาตรฐานในการ แลกเปลียน การถ่ ายโอนข้ อมูลทางภูมิศาสตร์ (transfer/exchange) ระหว่ าง ระบบคอมพิวเตอร์ เท่ านัน ส่ วนการพัฒนาเทคนิคของแต่ ละมาตรฐานก็ยงั มีข้อจํากัดและมีเพียง บางชุ มชนคนใช้ งานด้ านนีและบางประเทศเท่ านัน จึงยังไม่ มีมาตรฐานทีเป็ น กรอบระดับชาติเลย


การเติบโตของอุตสาหกรรมสเปเทียล

http://www.opengeospatial.org/press/newsletters/200810


จากปี 1995 จึงได้มีการพัฒนา ISO/TC 211 ขึน เพือพัฒนา มาตรฐานระดับสากลด้านข้อมูลสเปเทียล ร่ วมกับ OGC (Open GIS Consortium) ในด้านคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เฟส ภายหลังจากทีคณะกรรมการ ISO/TC 211 และ OGC ได้วาง กรอบการทํางานร่ วมกันแล้ว ทาง OGC จึงได้ยอมรับหลักการ มาตรฐานของ ISO/TC 211 ขึน


เพือสร้างกรอบความเข้าใจในการทํามาตรฐานซึ งทาง อุตสาหกรรมสเปเทียลสามารถนํามาปฏิบตั ิและบูรณาการให้ สอดคล้องกับทาง OGC ซึ งได้วางกรอบไว้ สิ งเหล่านีจะนําไปสู่ ความเป็ นมาตรฐานสากลเพือการ ยอมรับในชุมชนคนทําแผนทีและภูมิศาสตร์ ในการวางกรอบ มาตรฐานสากลทางภูมิศาสตร์ ต่อไป


2. ความหมายของ มาตรฐานเชิงพืนที ดร. แก้ว นวลฉวี ได้ให้ความหมาย มาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หมายถึง มาตรฐานของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ และ/หรื อ มาตรฐานข้อมูลเชิง พืนทีมาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์อาจได้มาโดยการรับเอามาตรฐานทีมี อยูแ่ ล้วมาใช้โดยตรง (adoption) หรื อการดัดแปลง (adaptation) มาจากสิ งทีมีอยู่ แล้ว เช่น มาตรฐานการประยุกต์ใช้ระบบ GIS ในมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Standard) หรือ “ข้ อตกลง หรือข้ อกําหนดซึงกําหนดวิธีการ เครืองมือและบริการต่ าง ๆ ที เกียวข้ องกับการจัดการข้ อมูล การสํ ารวจ จัดหา การประมวลผล การวิเคราะห์ การ เข้ าถึง การนําเสนอ และการรับ-ส่ งข้ อมูลภูมิศาสตร์ /ภูมิสารสนเทศในรู ปแบบ ดิจิตอล ระหว่ างผู้ใช้ หรือระบบและตําแหน่ งทีอยู่ทแตกต่ ี างกัน”


โครงสร้ างของ OGC

http://img2.gamfe.com/userfiles/9799/photo/20100511152131924.gif


1.มาตรฐานกรรมวิธี (Processing standard) ประกอบด้ วย data collection, data storage, data analyzing, data quality control, data transfer, data access… 2.มาตรฐานเทคโนโลยี (Technology standard) 3. มาตรฐานการบริหารจัดการ (Organization standard) 4. มาตรฐานข้ อมูล (Data standard) ประกอบด้ วย data classification, data content, data symbol and presentation, data usability, data format, metadata…


3. ความสํ าคัญของ ISO/TC 211 กรอบ ISO/TC 211 ว่ าด้ วยมาตรฐานของข้ อมูลพืนทีเชิงเลข (digital geographic information) ประกอบด้ วยชุ ดมาตรฐานทีเกียวข้ องกับสิ งหรือ ปรากฏการณ์ ทเชื ี อมโยงทางตําแหน่ งทีตังบนโลกทังทางตรงและทางอ้ อม มาตรฐานเหล่ านีว่ าด้ วยเรืองเกียวกับสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์ วิธีการ เครืองมือ และการบริการ ด้ านการจัดการข้ อมูล (รวมทังคําจํากัดความและคําอธิบาย) การได้ มา การ คํานวณ การวิเคราะห์ การเข้ าถึง การแสดงผล และการถ่ ายโอนข้ อมูลในรู ปแบบ ดิจิทลั และอิเลกทรอนิกส์ ระหว่ างผู้ใช้ ระบบ และตําแหน่ งทีแตกต่ างกัน


ได้ แก่ 1. เพือเพิมความเข้ าใจในการใช้ สารสนเทศภูมิศาสตร์ 2. เพือเพิมความสามารถ การเข้ าถึง การบูรณาการ และการแบ่ งปัน สารสนเทศภูมิศาสตร์ ร่วมกัน 3. เพือโปรโมทประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และการประหยัดในการใช้ ภูมิสารสนเทศดิจทิ ลั และเชือมโยงกับระบบฮาร์ ดแวร์ และซอฟแวร์ 4. เกียวข้ องกับการแก้ ปัญหาของมนุษยชาติและระบบนิเวศโลกอย่ าง เป็ นอันเดียวกันได้


โปรแกรมความเป็ นมาตรฐานของ ISO/TC 211 จําแนกได้ เป็ น 3 ลักษณะ ดังนี 1. ส่ วนที เกียวกับ มาตรฐานข้ อมูลสเปเทียล 2. ส่ วนทีเกียวกับ การบริการข้ อมูลพืนฐานทางตําแหน่ ง (LBS: location based services) และมาตรฐานอิเมจ 3. ส่ วนทีเกียวข้ องกับสารสนเทศชุมชน กรอบงานทีเป็ นมาตรฐาน เฉพาะเรือง


การประชุมของคณะกรรมการ ISO/TC 211

http://www.newstown.co.kr/newsbuilder/service/article/images/2006-06-02/c_20060602_33265_46678.jpg


ในยุค 2000 มีสิงทีสั งเกตได้ ว่า การเติบโตของอุตสาหกรรมสเป เทียลและตลาดสเปเทียลนันมีนัยยะด้ วยกัน 6 ประการกล่ าวคือ 1. การตลาดสารสนเทศสเปเทียล (SIM: the spatial information market) เกียวข้ องกับการประยุกต์ ใช้ ทางธุรกิจมากกว่ าการสร้ างการประยุกต์ ทางสเปเทียล 2. เทคโนโลยีสเปเทียลได้ กลายเป็ นสิ งทีง่ ายต่ อการบูรณาการไปสู่ ระบบธุรกิจ หนึงในนันด้ วยเหตุผลทีว่ าธุรกิจสามารถควบรวมเอาความสามารถ ของสเปเทียลโดยไม่ ต้องขอความช่ วยเหลือจากผู้ขาย SIM เลย 3. ฟังก์ชันสเปเทียลเป็ นขันทีสองสํ าหรับฟังก์ ชันทางธุรกิจอืนๆ ร่ วมกับระบบ ธุรกิจในภาพรวม


4. เครืองมือพัฒนามาตรฐานการประยุกต์ ของ SIM เป็ นเรืองใหม่ และมีความ สะดวกสํ าหรับผู้ค้าค่ าย ออราเคิล ไมโครซอฟท์ และ ไอบีเอ็ม ดังนัน นักพัฒนาในค่ ายต่ างๆเหล่ านีจะกลายเป็ นผู้ทมี​ี บทบาทสํ าคัญ 5. ความอิมตัวของอินเตอร์ เน็ต ความสามารถของยีโอสเปเทียลได้ ถูกขนถ่ าย ในฐานะการเป็ นแหล่ งบริการเช่ นเดียวกับซอฟแวร์ สําเร็จรู ปอืนๆ 6. การประยุกต์ ทางสเปเทียล เป็ นการบูรณาการแบบจุดประสงค์ เดียวหรือ แบบกว้ างขวางหรือไม่ กต็ าม แต่ ระดับพืนฐานของข้ อมูลสเปเทียลยังเป็ นที ต้ องการอยู่ เพราะทางธุรกิจยังจําเป็ นต้ องใช้ ข้อมูลสเปเทียลทีถูกต้ อง แม่ นยํา


ดังจะเห็นได้ ว่าการให้ บริการตําแหน่ งแบบพกพา หรือ LBMS (Locationbased mobile services) กําลังเป็ นทีต้ องการมากขึน อุตสาหกรรมบริการใน ด้ านนีกําลังทํากําไรจากตลาดชนิดนีอยู่นันเอง รวมไปถึงอุตสาหกรรมการ เดินทางและการท่ องเทียว การทําแผนทีและอุตสาหกรรมเร้ าติง (routing industries) การสื อสาร การอํานวยความสะดวก การขนส่ ง การป้องกันประเทศ การเกษตร การจัดการพิบตั ภิ ัย ความปลอดภัยสาธารณะ การจัดการรายการ สิ นค้ า โมเดลการทางสิ งแวดล้ อม และการเตือนภัย เป็ นต้ น

ล้ วนต้ องการข้ อมูลสเปเทียลทังสิ น


3.2 อินเตอร์ เน็ต จีพเี อส การสื อสารแบบพกพา ส่ งผลกระทบต่ อการใช้ ยโี อสเปเทียล ลูกค้ าขนาดใหญ่ ทใช้ ี ข้อมูลสเปเทียลและคาดหวังในคําถามพืนๆ ว่ า “ที ไหน” มากกว่ าคําถามอืน จึงทําให้ เกิดการขับเคลือนพัฒนาซอฟแวร์ แบบ open sources ขึนมามากมาย มีการให้ บริการปฏิบัติการแบบ API (an open application program interface ) ไปสู่ Google Maps ซึงมีคนใช้ เป็ นล้ านๆ มี จํานวนโปรแกรมเมอร์ ทพัี ฒนางานของตนเองขึนมาอยู่ใน open Google API , Google Maps/Google Earth ต่ างๆ หรือค่ ายไมโครซอฟท์ ก็มี Microsoft MapPoint ใน MSN Virtual Earth

http://eden.ign.fr/wg/project_A09/index_figure


มาตรฐานและคุณลักษณะเฉพาะทีพัฒนาโดยคณะกรรมการ ISO/TC 211 ร่ วมกับ OGC นีได้ทาํ งานร่ วมกันในการกําหนดมาตรฐานการทําแผนที และการใช้ขอ้ มูลยีโอกราฟิ ก เพือความเป็ นไปได้ร่วมกับการใช้ในระบบ LBS ต่อไป แต่ปัญหาอยูท่ ีนักพัฒนาเหล่านีได้ใช้ open sources software ทาง geospatial applications บุคคลเหล่านีรู ้และทราบเกียวกับมาตรฐานดังกล่าว แต่ถา้ หากพวกเขาไม่ทาํ ตามข้อเสนอนี อะไรจะเกิดขึน ก็ยงั ไม่มีใครตอบได้ แม้แต่ ค่ายยักษ์ใหญ่อย่าง กูเกิลและไมโครซอฟท์ ซึงคุมตลาดขนาดใหญ่ในช่วงแรกก็ ไม่มีความรู ้เรื องมาตรฐานและก็ไม่ได้ตกลงอะไรเลย ค่ายเหล่านีก็ยงั คงสร้าง มาตรฐานของตนเอง เพราะระบบ API นันได้สนับสนุนจากนักโปรแกรมเมอร์ เป็ นล้านๆ ทัวโลกอยูแ่ ล้ว สําหรับผูท้ ีไม่สามารถซือโปรแกรมเต็มรู ปแบบได้ก็ สามารถเข้าใช้โปรแกรม open source ปฏิบตั ิการได้


อย่างไรก็ตามข้อจํากัดของ ISO/TC 211 ทีไม่สอดคล้องกับหลัก ความเป็ นจริ งในประเทศต่างๆ เนืองจากมีการพัฒนาโครงสร้าง สถาปั ตยกรรมข้อมูลสเปเทียลไม่เท่ากันทําให้การใช้มาตรฐาน ISO/TC 211 ไม่สามารถทําได้อย่างเต็มที


4.ประเทศไทยกับ ISO/TC 211 โครงสร้างสถาปั ตยกรรมข้อมูลสเปเทียลแห่ งชาติ หรื อ NSDI (National Spatial Data Infrastructure) องค์ กร ISO เป็ นองค์ กรอิสระซึงจัดตังขึนเมือ พ.ศ. 2490 โดยมี วัตถุประสงค์ เพือส่ งเสริมการกําหนดมาตรฐานและกิจกรรมทีเกียวข้ องเพือ ช่ วยให้ การแลกเปลียนสิ นค้ าและบริการเป็ นไปโดยสะดวก และช่ วยพัฒนา ความร่ วมมือระหว่ างประเทศในด้ านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ เศรษฐกิจ มาตรฐานทีกําหนดขึนเรียกว่ า มาตรฐานระหว่ างประเทศ (international standard) สมาชิกของ ISO แบ่ งออกเป็ น 3 ประเภท


1. Member body เป็ นตัวแทนทางด้ านการมาตรฐานของประเทศ แต่ ละประเทศจะมี หน่ วยงานซึงทําหน้ าทีสมาชิก ISO เพียงหน่ วยงานเดียว 2. Correspondent member เป็ นหน่ วยงานของประเทศซึงยังไม่ มีกจิ กรรมด้ านการ มาตรฐานอย่ างเต็มทีหรือยังไม่ มีการจัดตังสถาบันมาตรฐานเป็ นการเฉพาะ 3. Subscriber member เป็ นหน่ วยงานในประเทศทีมีความเจริญทางเศรษฐกิจตํา สมาชิกประเภทนีจะจ่ ายค่ าบํารุ งสมาชิกในอัตราทีได้ รับการลดหย่ อน สํ าหรับประเทศไทยโดยสํ านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) ซึงเป็ น สถาบันมาตรฐานแห่ งชาติและทําหน้ าทีเป็ นตัวแทนประเทศไทยในการเป็ นเป็ นสมาชิก ISO ประเภท member body ได้ เข้ าร่ วมดําเนินงานกับ ISO มาตังแต่ พ.ศ. 2508 ทังทางด้ าน บริหารและวิชาการ


ภายใต้ องค์ กร ISO หรือ The International Organization for Standardization จะมีหน่ วยงานทางด้ านภูมิสารสนเทศหรือ Geographic Information/Geomatics มีคณะกรรมการทางวิชาการชุ ดที 211 หรือ Technical Committee (TC) 211 เป็ นคณะกรรมการดําเนินงานในการพัฒนา มาตรฐาน ซึงประเทศไทยได้ เข้ าเป็ นสมาชิกและร่ วมดําเนินงานการพัฒนา มาตรฐานร่ วมกับ ISO/TC 211 ในปี 2541


ISO/TC 211 ได้กาํ หนดมาตรฐานสําหรับข้อมูลภูมิสารสนเทศเชิงเลข โดย กลุ่มของมาตรฐานในชุด19100 จะเป็ นเรื องเกียวกับวัตถุหรื อสิ งทีธรรมชาติ ปรากฏให้เห็น ทังโดยตรงหรื อโดยอ้อมทีเกียวพันกับข้อมูลเชิงตําแหน่งบนโลก การกําหนดมาตรฐานดังกล่าวจะมีการอ้างอิงหรื อเชือมโยงกับมาตรฐาน เทคโนโลยีทีเหมาะสม รวมถึงการกําหนดกรอบของการพัฒนาและประยุกต์ใช้ ข้อมูลเชิงพืนที สํ าหรับประเทศไทยมีสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ซึงได้ แต่ งตังคณะกรรมการวิชาการคณะที 904 มาตรฐานระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (กว. 904) มีหน้ าทีในด้ าน....


1. จัดทําร่ างมาตรฐานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และปฏิบัตงิ านทาง วิชาการอืนๆ ทีเกียวกับมาตรฐานนี 2. ร่ วมพัฒนามาตรฐานกับ ISO/TC 211 Geographic Information/ Geomatics โดยได้ ประกาศมาตรฐาน มอก.19115-2548 ด้ านมาตรฐานระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ –การอธิบายข้ อมูล ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ ม 122 ตอนที 110 ลงวันที 1 ธันวาคม 2548 แล้ ว ในเบืองต้ นได้ ทาํ ความร่ วมมือ ด้ านการมาตรฐาน ระหว่ าง สมอ. และ สทอภ.


ในเรือง (1) การกําหนดมาตรฐานภูมิสารสนเทศ (2) การรับรองมาตรฐานภูมสิ ารสนเทศ (3) การมาตรฐานภูมิสารสนเทศระหว่ างประเทศ (4) การส่ งเสริมเผยแพร่ และพัฒนาระบบการมาตรฐาน-ภูมิสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม สทอภ. และ กรมแผนทีทหาร ต่างเริ มพัฒนาระบบ clearinghouse gateway ของประเทศแล้ว นอกจากนียังมีกรมโยธาธิการและ ผังเมืองพัฒนาระบบ clearinghouse ของตนเอง


ตัวอย่ าง FGDS (Fundamental Geographic Data Set) ซึงพัฒนา ร่ วมกับ NSDI) ทีทําเสร็จแล้ ว ได้ แก่ 1.ได้ มีการสํ ารวจจัดทํา/ปรับปรุ งชุ ดข้ อมูลภูมิสารสนเทศพืนฐาน (FGDS) ที สํ าคัญหลายรายการ เช่ น -แผนทีภูมปิ ระเทศ 1:5,000 ชุ ด L7018 (กรมแผนทีทหาร) -ภาพออร์ โธสี + DEM 1:4,000 (กระทรวงเกษตรฯ) -ข้ อมูลเส้ นทางถนน/สถานทีสํ าคัญ 1:20,000 (บริษัทเอกชนจัดสร้ าง) -ข้ อมูลแผนทีฐาน 1:4,000 ในเขตเทศบาล (กรมโยธาธิการและผังเมือง) -ข้ อมูลแผนทีฐาน 1:1,000 (กฟน.) และ 1:4,000 (สํ านักผังเมือง) ในเขต กทม.

2.มีแผนงานในการสํ ารวจจัดทําชุ ดข้ อมูล FGDS เพิมเติมอีก -ข้ อมูลแผนทีฐาน 1:10,000 ทัวประเทศ (กรมโยธาธิการและผังเมือง) -ข้ อมูลแปลงทีดิน (กรมทีดิน)


Geo-Spatial Data Clearinghouse หรือ GIS Portal


NSDI (National Spatial Data Infrastructure) หมายถึงโครงสร้ างพืนฐานด้ าน ข้ อมูลภูมสิ ารสนเทศระดับประเทศ หมายถึงระบบเครือข่ าย Internet/Intranet ใช้ ในการ เผยแพร่ ข้อมูลและข่ าวสารด้ านภูมสิ ารสนเทศ (Web Map Service) เพือวัตถุประสงค์การ ใช้ขอ้ มูลร่ วมกันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเพือการส่ งเสริ มการพัฒนาระบบงานประยุกต์ ในอุตสาหกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับนโยบาย และความต้องการข้อมูล การพัฒนาระบบ โครงสร้างพืนฐานด้านข้อมูลภูมิสารสนเทศ เกียวข้องกับเทคโนโลยี นโยบาย เงือนไข มาตรฐาน และบุคคลทีมีวตั ถุประสงค์การเผยแพร่ และส่ งเสริ มการใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศ ร่ วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ทังภาครัฐบาล ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และองค์กรที ไม่หวังกําไร


โครงสร้ าง NSDI

http://www.fgdc.gov/training/nsdi-training-program/curriculum


FGDS (Fundamental Geographic Data Set: FGDS) แปลว่ าชันข้ อมูลทีมี ศักยภาพสู งสํ าหรับการใช้ ข้อมูลร่ วมกันระหว่ างหน่ วยงานต่ างๆ สามารถเป็ น ข้ อมูลฐานในการอ้ างอิงเพือเพิมเติมชันข้ อมูลและ Attributes ด้ านอืนๆได้ โดย ข้อมูลประเภทนีเกียวข้องกับลักษณะของภูมิประเทศทัวไปทางคณะกรรมการ ภูมิสารสนเทศแห่ งชาติได้มีกาํ หนดชันข้อมูลภูมิสารสนเทศพืนฐานโดยมีผดู ้ ูแล ชุดข้อมูลภูมิสารสนเทศพืนฐานเป็ นหน่วยงานราชการต่างๆ และกําหนดมาตรา ส่ วนแผนทีฐานของประเทศ คือ 1:250,000, 1:50,000, 1:25,000, 1:10,000 และ 1:4,000 เพือให้ทุกหน่วยงาน จัดทําแผนที เป็ นมาตรฐานเดียวกันและสามารถ ใช้งานร่ วมกันได้


เป็ นข้ อมูลคําอธิบายข้ อมูล หรือเรียกว่ า Metadata อธิบายรายละเอียด ของชุ ดข้ อมูลภูมิสารสนเทศ ได้ แก่ •ข้ อมูลเริมขึนทีใด •ขันตอนการผลิต •ข้ อมูลอรรถาธิบายประกอบด้ วย •ระบบโครงข่ ายแผนที •ข้ อมูลครอบคลุมพืนทีบริเวณใด •จะเอาข้ อมูลมาได้ อย่ างไร •จะต้ องมีค่าใช้ จ่ายในการได้ ข้อมูลหรือไม่ •จะติดต่ อใครเพือขอรายละเอียดเพิมเติม


โครงสร้ าง metadata

http://www.gisdevelopment.net/policy/gii/images/image1.gif


-ISO 19128 : Geographic information/Geomatics – Web map services interface ด้ านการจัดทําและให้ บริการแผนทีทางอินเตอร์ เน็ต -ISO 19121 : Geographic information/Geomatics – Imagery and Gridded data ด้ านมาตรฐานของข้ อมูลภาพถ่ ายทางอากาศ/ดาวเทียม หรือข้ อมูล Raster -ISO 19122 : Geographic information/Geomatics – Qualification certification of personnel ด้ านการกําหนดคุณสมบัตแิ ละการรับรองคุณสมบัติของบุคลากรด้ านภูมิ สารสนเทศ -ISO 19105 : Geographic information/Geomatics – Conformance and testing ด้ านกระบวนการทดสอบและการตรวจสอบเพือให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน


-ISO 19133 : Geographic information/Geomatics –Tracking and navigation ด้ านการจัดทําระบบนําทาง (นําหน) และการติดตามเส้ นทาง -ISO 19126 : Geographic information/Geomatics – Profiles – FACC Data Dictionary ด้ านการจัดทํารายการรหัสและรายละเอียดของรายการข้ อมูลภูมสิ ารสนเทศ -ISO 19135 : Geographic information/Geomatics – Procedures for registration to geographical information items ด้ านระบบลงทะเบียนและการจัดทําทะเบียนของ รายการข้ อมูลภูมสิ ารสนเทศ -ISO 19109 : Geographic information/Geomatics – Rules for application schema ด้ านกฎข้ อบังคับในการจัดทําโครงร่ างของ Application -ISO 19144-1 : Geographic information/Geomatics – Part 1 : Classification system ด้ านโครงสร้ างของระบบการจําแนก -ISO 19144-2 : Geographic information/Geomatics – Part 2 : Land Cover Classification system LCCS ด้ านระบบการจําแนกสิ งปกคลุมดิน


ภาษา GML เพือการจัดเก็บและแลกเปลียนข้ อมูลภูมิสารสนเทศ (Geographic information/Geomatics : Geography Markup Language) : เป็ นเรืองเกียวกับโครงสร้ างของภาษา GML ทีใช้ จดั เก็บข้ อมูลเพือแลกเปลียน ทางอินเตอร์ เน็ต ระบบให้ บริการระบุตําแหน่ งหลายรู ปแบบสํ าหรับการแสดงเส้ นทางและการ นําร่ อง (Geographic information/Geomatics : Multimodal Location based services for routing and navigation) : เป็ นเรืองเกียวกับการกําหนดเส้ นทาง และการนําทาง(นําหน) ทีมีรูปแบบของการเดินทางมากกว่ าหนึงรู ปแบบ ข้ อกําหนดผลิตภัณฑ์ ข้อมูล (Geographic information/Geomatics : Data Product Specification) : เป็ นเรืองเกียวกับมาตรฐานของการจัดทําข้ อกําหนด ของผลิตภัณฑ์ ข้อมูลและการผลิตข้ อมูล


ร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศ “Geographic information –Data quality measures” : เป็ นเรืองเกียวกับการวัดและการตรวจสอบคุณภาพ ของข้ อมูล ข้ อกําหนดคุณสมบัติและการรับรองคุณสมบัติของบุคลากรทางภูมิ สารสนเทศ (Geographic information/ Geomatics : Qualification and certification of personnel) : เป็ นเรืองเกียวกับการกําหนดคุณสมบัติและ การรับรองคุณสมบัติของบุคลากรด้ านภูมสิ ารสนเทศ ส่ วนติดต่ อกับผู้ใช้ ของเครืองแม่ ข่ายให้ บริการแผนทีทางอินเทอร์ เน็ต (Geographic Information/Geomatics :Web Map server Interface) : เป็ นเรืองเกียวกับการจัดทําและให้ บริการแผนทีทางอินเตอร์ เน็ต


-ร่ างมาตรฐานภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Spatial schema” : เป็ นเรืองเกียวกับวิธีการกําหนดผังโครงร่ างสํ าหรับข้ อมูลเชิงพืนที -ร่ างมาตรฐานภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Temporal schema” : เป็ นเรืองเกียวกับวิธีการกําหนดผังโครงร่ างสํ าหรับ ข้ อมูลทีมีช่วงเวลา -ร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Encoding” : เป็ นเรืองเกียวกับการเข้ ารหัส สํ าหรับรายการข้ อมูลเพือการ แลกเปลียน -ร่ างมาตรฐานระบบภูมิสารสนเทศ “Geographic information – Metadata – XML schema implementation” : เป็ นเรืองเกียวกับการนําเอา รู ปแบบโครงร่ างของการอธิบายข้ อมูล (Metadata) เพือนํามาให้ บริการตาม มาตรฐาน XML


กลุ่มที 1: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับโครงสร้างพืนฐาน (Infrastructure Standards) หรื อกลุ่มมาตรฐานกรอบงาน (Framework Standards) กลุ่มที 2: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการอธิบายเนือหาของข้อมูล (data content) คําจํากัดความข้อมูล (data definitions) และการจําแนกประเภทตามรู ปร่ าง (classification of features) กลุ่มที 3: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการอ้างอิงเชิงพืนที (Spatial referencing) กลุ่มที 4: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับแบบจําลองข้อมูลหลัก (core data model) กลุ่มที 5: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับคุณภาพข้อมูล (data quality)


กลุ่มที 6: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับสัญลักษณ์และการแสดงลักษณะข้อมูล (Symbology and data representation ) กลุ่มที 7: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับข้อมูลของข้อมูลหรื อมาตรฐานการอธิบาย ข้อมูล (Metadata) กลุ่มที 8: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับรู ปแบบการแลกเปลียนข้อมูล (data exchange formats) กลุ่มที 9: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับการแลกเปลียนและการบริ การข้อมูล (Data interchange and services) กลุ่มที 10: กลุ่มมาตรฐานเกียวกับข้อมูลภาพ (Imagery)


5. สรุป เนืองจากทุกประเทศเริมให้ ความสนใจในการจัดทําโครงสร้ าง พืนฐานทางด้ านภูมิสารสนเทศเพือให้ บริการ และประเทศไทยก็เริม ให้ ความสนใจในเรืองนีเช่ นกัน การจัดทํา SDI ของหลายประเทศที ผ่ านมานันล้ วนประสบปัญหาเช่ นเดียวกับประเทศไทย ทังเรือง ข้ อมูล ทีมีความซําซ้ อน ความร่ วมมือ ความพร้ อมเป็ นต้ น


คําถาม 1.ข้ อมูลสเปเทียลแห่ งชาติ มีความสําคัญอย่ างไร 2.มาตรฐานข้ อมูลสเปเทียล จําแนกเป็ นประเภทใดบ้ าง ทําไม่ ต้องมีระบบมาตรฐานข้ อมูลสเปเทียลระหว่ างประเทศ 3.ทํ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.