สรุปประเด็นสัมมนาสามเหลี่ยมแห่งโอกาส เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย

Page 1

สรุปประเด็นงานสัมมนา “เขตเศรษฐกิจพิ เศษเชียงราย สามเหลี่ยมแห่งโอกาส” วิลาวัณย์ ตุทาโน พบธรรม บรรณบดี พรพินันท์ ยี่รงค์

ในวันศุกร์ ที่ 15 กรกฎาคม 2559 ได้มีการจั ด สั ม มนาในหั ว ข้ อ “เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษเชี ย งราย สามเหลี่ยมแห่งโอกาส” ณ โรงแรมดุสิตไอซ์แลนด์ จังหวัด เชียงราย สาหรับงานสัมมนาในช่วงเช้าเป็นการอภิปราย ของ ดร. วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาเขต เศรษฐกิจ พิเ ศษเชี ยงรายที่ มีประเด็น สาคัญ ในเรื่ องของ การผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การน าเทคโนโลยี เ ข้ า มาในใช้ ใ น อุตสาหกรรมให้มากขึ้น รวมถึงการเน้นทาอุตสาหกรรม แบบคลั ส เตอร์ ซึ่ งเป็ น การท าอุ ต สาหกรรมส าเร็ จ รู ป ที่ สามารถนาสิ นค้ าต้ นน้ าที่ ม าจากวัต ถุดิ บ ท้อ งถิ่ น มาเป็ น

ผลิ ต เป็ น สิ น ค้ า ปลายน้ าที่ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง เพื่ อ สร้ า ง ศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ผู้ว่าการ ได้เน้น ถึงความสาคัญของการพัฒนาและการวิจั ยอย่า ง ต่อ เนื่อ ง ซึ่ง เป็ นตั ว แปรส าคั ญ ในการต่ อ ยอดมู ล ค่า ทาง เศรษฐกิจต่อไปในอนาคต ท่ า นกล่ า วว่ า ประเทศไทยในยุ ค เริ่ ม ต้ น ได้ ถู ก ขับเคลื่อนโดยภาคการเกษตร ต่อมาเราเปลี่ยนตัวเองจาก การทาเกษตรมาเป็นการทาอุตสาหกรรมหนักที่เน้นการ ผลิตให้ มาก (mass production) แต่ขายในราคาต่า อย่ า งไรก็ ต าม จุ ด มุ่ งเน้ น ของประเทศในปั จ จุ บั น นั้ น ได้ 1


เปลี่ยนไปแล้ว ไม่ใช่การผลิตให้ได้มาก แต่เป็นการผลิตใน จ านวนน้ อ ยแต่ ส ร้ า งมู ล ค่ า ให้ สู ง ขึ้ น โดยรั ฐ บาลเองก็ พยายามผลักดันอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม แห่งอนาคต อาทิ อุตสาหกรรมที่พึ่งพาเทคโนโลยีการผลิต ด้วยหุ่นยนต์ การแพทย์ อุตสาหกรรมการบิน ชีววิทยา และอุตสาหกรรมดิจิตอล ซึ่งมองเห็นแนวโน้มการเติบโต ในอนาคต

ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ซึ่งได้ผลสรุปการเสวนา ดังนี้ 1. เชียงรายมีความพร้อมในระดับหนึ่ง ในการเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษ อีกทั้งยังได้รับความช่วยเหลือจาก ภาครัฐ ที่ต้องการกระตุ้นให้เกิดการลงทุนในพื้นที่ จึง ให้การสนับสนุนในด้านของการปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ย ต่าให้กับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 2. เมืองตองกีและเชียงตุงของเมียนมาร์ เป็นเมืองใหญ่ที่ เต็มไปด้วยโอกาสทางเศรษฐกิจ ซึ่งอยู่ไม่ห่างจาก เชียงรายมาก อย่างไรก็ตาม ยังพบปัญหาในเรื่องของ การจัดสรรพื้นที่ โดยต้องมีการเจรจาระหว่างคนใน พื้นที่กั บรัฐ บาลที่ต้องการจะเวนคืน ที่ดิน เพื่อ นาไป สร้างเป็นนิคมอุตสาหกรรม ทั้งนี้ นิคมอุตสาหกรรมที่ จะเกิดขึ้นต้องเป็นนิคมอุตสาหกรรมที่สอดคล้อ งกับ วั ต ถุ ดิ บ ในท้ อ งถิ่ น อย่ า งอุ ต สาหกรรมการแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร หรื อ การท่ อ งเที่ ย ว เป็ น ต้ น ไม่ ใ ช่ อุตสาหกรรมหนัก อย่างอุตสาหกรรมการผลิตยาน ยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นความกังวลของคนใน ท้ อ งถิ่ น ว่ า หากเกิ ด นิ ค มอุ ต สาหกรรมขึ้ น จะมี แ ต่ มลพิษ และของเสีย ที่ถูกปล่อยมาจากโรงงาน เป็น หน้าที่ของรัฐทีจ่ ะต้องสร้างความเข้าใจให้กับชุมชนใน ท้องถิ่น

ทั้ ง นี้ เชี ย งราย เป็ น จั ง หวั ด ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นจุ ด ยุทธศาสตร์ เหมาะสมกับการพัฒนาให้เป็นเมืองแห่งโลจิ สติกส์ และเป็นระเบียงเศรษฐกิจที่สามารถติดต่อค้าขาย กับประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว เมียนมาร์ ตลอดจน ประเทศจีน ทางตอนใต้ ด้วยระยะทางเพียง 200 - 300 กิโลเมตร สินค้าไทยก็จะสามารถกระจายตัวเข้าไปขายใน ประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างรวดเร็ว เป็นการช่วยเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจให้กับเชียงราย ดังนั้น นอกเหนือจากการ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิต ต้องให้ความสาคัญ กับ การยกระดับภาคโลจิสติกส์ด้วยเช่นกัน ในช่ ว งต่ อ มา เป็ น การเสวนาในหั ว ข้ อ "เขต เศรษฐกิจพิเศษเชียงราย : สามเหลี่ยมแห่งโอกาส" โดย ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากผู้ เ ชี่ ย วชาญหลายท่ า น ทั้ ง จากภาครั ฐ

อุปสรรค-ทางออกของเขตเศรษฐกิจพิ เศษเชียงราย

ในช่วงบ่ายเป็นการเปิดให้มีการหอการค้าในแต่ ละพื้นที่ชายแดนทั้งอาเภอแม่สาย อาเภอเชียงของ และ อ าเภอเชี ย งแสนได้ เ สวนาร่ ว มกั น ในประเด็ น ของ “อุปสรรค-ทางออกของเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย” โดยเริ่มต้นประธานหอการค้าแม่สาย คุณผกายมาศ เวียร์ ร่า ได้ ก ล่ า วว่ า แม่ ส ายประสบปั ญ หาในด้ า นการเตรี ย ม ความพร้อมน้อย เนื่องจากเป็นเมืองที่มีการค้าขายอย่าง ต่อเนื่อง รวมถึงความเป็นอยู่ของอาเภอแม่สาย และเมือง ท่าขี้เหล็ก มีความใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ ทางแม่สายมีสถาบัน การเงินรองรับกว่า 12 แห่งในเขตพื้นที่ ฉะนั้น ในด้านของ การชาระเงินสาหรับการซื้อขายสินค้า ตลอดจนการปล่อย สิน เชื่ อ เพื่ อ การลงทุ น แม่ส ายจึ งค่ อ นข้ า งมี ค วามพร้ อ ม

อย่างมาก ขณะที่ คุณเกศสุดา สังขกร ประธานหอการค้า อาเภอเชียงแสน ได้กล่าวว่า เชียงแสนเป็นเมืองท่าในการ ขนส่งสินค้า ทางน้าออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และจีน ตอนใต้ในปริมาณมาก คาดว่าในอนาคต การพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษเชียงแสน จะสามารถผลิตหรือประกอบ สินค้าภายในพื้นที่ได้เพื่อส่งออก แต่ต้องรอภาครัฐบาลให้ การสนับสนุนต่อไป อย่างไรก็ตาม คุณธนิสร กระฏุมพร ประธานหอการค้า อาเภอเชียงของอาเภอ กล่าวว่าเชียง ของได้ประสบปัญหากับการขนส่งสินค้าติดขัดในช่วงหน้า ฝน เนื่องจากถนนแคบ และมีความลื่น ปัจจุบัน ทางแขวง บ่อ แก้ ว สปป.ลาวได้ อ นุ มั ติใ ห้ มี ก ารสร้ า งเส้ น ทาง R3A ใหม่ อาจท าให้ มี ก ารขนส่ งสิ น ค้ า สะดวกสบายมากขึ้ น 2


นอกจากนี้ ได้ มี ก ารแนะน าสถาบั น พั ฒ นาแรงงาน นานาชาติเชียงแสน ซึ่งมีภารกิจหลักในการการฝึกอบรม อาชีพให้กับชาวไทย และกลุ่มประเทศใน GMS พร้อมทั้ง สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ จึงเป็นโอกาสดีที่ ทางสถาบั น ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากทั้ ง ภาครั ฐ และ ภ า ค เ อ กชน เ พื่ อ ผ ลิ ต แ ร ง งา นที่ มี คุ ณ ภ า พเ ข้ า สู่ ตลาดแรงงานภายในประเทศ

ประโยชน์ทางการค้า อย่างไรก็ตาม การส่งออกสินค้าเข้า ไปที่จีนยังประสบปัญหาอย่างมาก เนื่องจาก มีการติดขัด ทางการค้าระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลให้การค้าชะลอตัวในบางเดือน ทางอาเภอเชียงแสนจึงมีความต้องการให้ภาครัฐ มีการเจรจาทางการค้าระหว่างประเทศให้มีความสะดวก มากยิ่งขึ้น และสามารถค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านได้ ตลอดทั้งปี ไม่นานมานี้ การค้าชายแดนของทางเชียงแสน ได้เจออุปสรรคอีกหนึ่งอย่างคือ การปิดตัวของท่าเรือสบ หลวยในเมีย นมาร์ สาเหตุ มาจากที่ ทางการจีน ต้องการ ผลักดันท่าเรือกวนเหล่ยให้ประสบผลสาเร็จ ทาให้มีเรือ จอดค้างที่ท่าเรือเชียงแสนมาประมาณ 4 - 5 เดือน ซึ่ง ท่าเรือสบหลวยเป็นท่าเรือ ที่อยู่ห่างจากอาเภอเชียงแสน 195 กิโลเมตร เป็นเส้นทางไปยังเมืองลาของเมียนมาร์ และเมื อ งจิ่ ง หง เขตสิ บ สองปั น นาของจี น ตอนใต้ นอกจากนี้ ยั งมี ปัญ หาการปล่ อยน้ าของเขื่ อ นจิ งหง ซึ่ ง ปล่ อ ยน้ าน้ อ ยกว่ า 1200 ลู ก บาศก์ เ มตร จึ ง ท าให้ ไ ม่ สามารถเดินเรือได้เลย

ต่อมาหอการค้าในแต่ละพื้นที่ได้ชี้แจงถึง ปัญหา และอุปสรรคทางการค้าชายแดน สาหรับอาเภอแม่สายมี ปัญหาในเรื่องของปัจจัยภายนอก เนื่องจากทางพม่าได้มี การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองใหม่ โดยผู้นาคนใหม่ อย่าง ออง ซาน ซู จี ทาให้อาเภอแม่สายจึงมีการชะลอตัว ทางการค้า เพื่อเฝ้ารอการปรับตัวให้สอดคล้องกับการวาง กลยุท ธ์ใ หม่ ภายใต้ การปกครองของรั ฐบาลชุด ใหม่ ข อง เมี ย นมาร์ ทั้ งนี้ นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ มี ค วามสนใจในการ ลงทุน สร้า งศูน ย์ ประชุ ม ขนาดใหญ่ พร้ อ มศู น ย์ก ระจาย สินค้า เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเปลี่ยนถ่ายสินค้า และ สามารถนาเข้าหรือส่งออกสินค้าในปริมาณที่มากขึ้น ซึ่งจะ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับตลาดในประเทศเพื่อนบ้าน ได้ ตลอดจนปกป้องผู้ค้าภายในประเทศ ซึ่งไม่นานมานี้ ท่านรัฐ มนตรี กระทรวงพาณิ ชย์ ได้ ทาการเจรจากับ ทาง เมียนมาร์ โดยมีแนวคิดที่ร่วมกันในเรื่องของการเปิดจุด ผ่านแดนเพิ่มขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ ประธานหอการค้าอาเภอ แม่สายได้กล่าวเพิ่มเติมว่า ต้องการให้รัฐบาลช่วยกระตุ้น การลงทุ น ในเมี ย นมาร์ ใ ห้ ม ากขึ้ น พร้ อ มทั้ ง ให้ ก าร สนับสนุน และผลัก ดันสินค้าไทย เพื่ อขยายตลาดไปยั ง ประเทศเพื่อนบ้าน และประเทศจีน อย่างไรก็ตาม ปัญหา ที่ ส าคั ญ คื อ การขาดแคลนแรงงานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนื่ อ งจาก แรงงานชาวเมี ย นมาร์ ส่ ว นหนึ่ ง ได้ เ ริ่ ม ที่ จ ะ กลับคืนสู่ท้องถิ่นไปประกอบธุรกิจเป็นของตนเอง และอีก ส่วนหนึ่งบ้างก็ไปเป็นแรงงานที่มีทักษะในท้องถิ่น

ส่ว นอ าเภอเชีย งของ ประสบกั บ ปัญ หาระบบ ของหน่วยงานราชการที่เรียกว่า “One Stop Service (OSS)” ซึ่งปัญหาเกิดจากจากไม่ให้ความร่วมมือของแต่ละ หน่วยงานของทางภาครัฐ ไม่มีตัวอย่างให้เห็นชัดเจน และ การไม่แจ้งข้อมูล กลายเป็นปัญหาและอุปสรรคอย่างมาก แก่ผู้ประกอบการ ทางประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย ได้ ชี้ แ จงถึ ง ปั ญ หาที่ ส าคั ญ ของของเชี ย งราย คื อ กระบวนการวิธีการสื่อสาร และกระบวนการมีส่วนร่วม ของคนพื้นที่ ควรมีการให้ความรู้ การสื่อสาร และการทา ความเข้ า ใจ ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ในการไปสู่ ก ารประสบ ผลสาเร็จในการพัฒนาพื้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยการที่ จะนาความต้องการระดับประเทศมาใช้ในแต่ละพื้นที่ ต้อง ใช้ระยะเวลาเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตาม การขาดแคลนแรงงานไทย ทั้งแรงงานที่มีทักษะ และไร้ ทักษะในด้านการขนส่งสินค้า ทาให้การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิ จ ชะงั ก งั น เช่ น การขาดแคลนคนขั บ รถขนส่ ง สิ น ค้ า ระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น ที่ ต้ อ งการอย่ า งมาก

ในด้านของการค้าชายแดนของอาเภอเชียงแสน ได้เ น้น การส่ งออกถึง ร้อ ยละ 80 ซึ่ง ส่ว นใหญ่ ส่ง ออกไป ประเทศจีน แต่ไม่ได้มีการส่งออกไปที่ประเทศจีน โดยตรง ต้องส่งเข้าไปประเทศเพื่อนบ้านอย่างสปป.ลาว และเมียน มาร์ ก่อ นถึงจะเข้าจี นได้ เพราะการทา FTA ระหว่า ง ประเทศเพื่ อ นบ้ า นและประเทศจี น ท าให้ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ 3


เนื่องจาก เส้ นทาง R3A มีความอันตรายมาก ต้องใช้ แรงงานที่ มีป ระสบการณ์ สู ง นอกจากนี้ การท าเกษตร อินทรีย์ ซึ่งเป็นจุดแข็งของประเทศไทยต้องใช้แรงงานใน การดูแลจานวนมาก เป็นต้น

การค้ า การท่ อ งเที่ ย ว และเปิ ด เสรี ท างด้ า นการเงิ น ให้ ประเทศเพื่อนบ้าน อาเภอเชียงแสนอยากให้มีการบริหาร จัดการน้าในแม่น้าโขงให้สามารถเดินทางและขนส่งสิ นค้า ได้ตลอดทั้งปี รวมถึงการเจรจากับประเทศจีนให้สามารถ ส่งออกสินค้าไปได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกให้สูงขึ้น และอาเภอเชียงของ ต้องให้การทางานของส่วนราชการในพื้นที่ มีการกาหนด ทิ ศ ทางให้ แ น่ น อน แจ้ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร และเจรจากั บ ประเทศเพื่อนบ้านอย่าง สปป.ลาว โดยที่ควรจะเรียกทุก ภายส่วนมาร่วมกันเจรจาเพื่อให้เกิดความเข้าใจแบบทั่วถึง นอกจากนี้ ภาครัฐควรมีการสนับสนุน โครงการส่งเสริม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว ข อ ง เ ชี ย ง ข อ ง ใ ห้ ม า ก ขึ้ น ข ณ ะ ที่ ประธานสภาอุตสาหกรรม จังหวัดเชียงราย คุณพละวัต ตันศิริ ได้เพิ่มเติมในเรื่องของการอนุญาตให้แรงงานเมียน มาร์สามารถใช้ Boarding Pass ในการเดินทางไป-กลับ เพื่อทางาน และควรให้การสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหาร ฮาลาล เพื่อขยายตลาดไปยังกลุ่มชาวมุสลิมในประเทศจีน

อย่างไรก็ตาม ทางสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน นานาชาติเชียงแสน ได้เล็งเห็นความสาคัญของการขาด แคลนแรงงานที่มีทักษะ ปัจ จุบัน จึงได้มีการร่วมมือกั บ วิทยาลัยเทคนิคเชียงรายในจัดตั้งหลักสูตรนักขับรถขนส่ง สิ น ค้ า ระ ห ว่ า งป ร ะเ ทศ โด ยกา ร ร่ วม มื อกั บ ทา ง วิทยาลัยเทคนิคเชียงรายจะสามารถเพิ่มบุคคลากรในการ ฝึ ก อบรมในหลั ก สู ต รต่ า งๆได้ ม ากขึ้ น ทางสถาบั น ได้ เตรี ย มพร้ อมในเรื่ อ งของอุ ป กรณ์ต่ า งๆ พร้อ มที่ จ ะเปิ ด หลักสูตรอย่างเป็นทางการในปี 2560 เพื่อตอบโจทย์ความ ต้องการแรงงานที่มีทักษะเข้าสู่ตลาดมากยิ่งขึ้น สาหรั บการสนั บสนุน ของภาครั ฐในการจัด ตั้ ง เขตเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม ทาง อาเภอแม่สายต้องการให้ ภาครัฐสนับสนุนนโยบายด้าน สรุปประเด็นสาคัญ:

 ในอนาคต ควรมีการสนับสนุนอุตสาหกรรมแบบผลิตน้อย คุณภาพและมูลค่าสูง และเน้นการร่วมกลุม่ คลัสเตอร์ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมขั้นสูงมาใช้ในกระบวนการผลิต และเน้นผลิตสินค้าปลายน้าเพื่อการส่งออก  ปัจจุบัน รัฐบาลได้ให้การสนับสนุนการลงทุนในการให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่าแก่ธุรกิจ SMEs  ตลาดที่น่าสนใจ คือ เมืองตองกีและเชียงตุงของเมียนมาร์  การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายโดยรวมติดปัญหาเรื่องเวนคืนที่ดิน  ภาคประชาชนกังวลเรื่อง นิคมอุตสาหกรรมจะเป็นอุตสาหกรรมหนัก และปัญหาสิ่งแวดล้อมที่จะตามมา  อาเภอแม่สายมีความพร้อมมากในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่ตดิ ปัญหาในด้านของปัจจัยภายนอกอย่าง สถานการณ์ทางการเมืองของเมียนมาร์ที่ทาให้การค้าชายแดนติดขัด และการขาดแคลนแรงงานในพื้นที่  อาเภอเชียงแสนมีศักยภาพในการค้าขายผ่านทางแม่น้าโขง ทาให้มีโอกาสในการตั้งโรงงานผลิตสินค้าเพื่อส่งออก ในพื้นที่ แต่ประสบกับปัญหาความไม่ต่อเนื่องในการทาการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน การปิดตัวของท่าเรือสบ หลวยของประเทศเมียนมาร์ และการปล่อยน้าของเขื่อนจิงหงของประเทศจีน  อาเภอเชียงของพบอุปสรรคอย่างมากในการใช้เส้นทาง R3A ที่ยังไม่สมบูรณ์ และการทางานที่ขาดความร่วมมือ ของหน่วยงานภาครัฐ  ประธานสภาอุตสาหกรรมเห็นถึงปัญหาสาคัญในเรื่องของการให้ความรู้เข้าใจ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ตลอดจนการขาดแคลนแรงงานในทุกระดับ

4


5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.